แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ทศนิยม เรื่อง การหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน เวลา 50 นาที มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1 ตัวชี้วัด ป.6/9 ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาผลหารโดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/9 : หาผลหารของทศนิยมที่มีตัวหาร และผลหาร เป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง สาระสำคัญ : การหารทศนิยมสามารถทำได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนแล้วจึงหา ผลหาร หรือใช้การตั้งหารยาวเข้ามาช่วย สาระการเรียนรู้ : ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทศนิยม การหารทศนิยม เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 เทียบได้กับทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 เทียบได้กับทศนิยมสองตำแหน่ง และเศษส่วนที่ มีตัวส่วนเป็น 1,000 เทียบได้กับทศนิยมสามตำแหน่ง ในกรณีที่ตัวส่วนไม่เป็นตัวประกอบของ 10 100 หรือ 1,000 จะใช้การหารเข้ามาช่วย หากได้ผลหารไปเรื่อย ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด จะใช้การประมาณค่าในการแปลง เศษส่วนเป็นทศนิยม 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน การเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค Student Team Achievement Division (STAD) 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน
5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนอธิบายการหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนได้ (K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถหาผลหารทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งได้ (P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน โดยครูยกตัวอย่างการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนบนกระดาน ดังนี้ 0.7 = 7 10 , 0.07 = 7 100 , 0.007 = 7 1000 1.2 = 12 10 , 1.02 = 102 100 , 1.002 = 1002 1000 ขั้นสอน (35 นาที) 2. ครูสอนการหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน เมื่อตัวหารเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง โดยครูยกตัวอย่างโจทย์ ดังนี้ จงหาผลหารของ 0.324 ÷ 0.12 วิธีทำ 0.324 ÷ 0.12 = 324 1000 ÷ 12 100 = 324 1000 × 100 12 = 27 10 = 2.7 ตอบ ๒.๗ 324 ÷ 12 = 27 1000 ÷ 100 = 10
แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปว่า การหารทศนิยมหรือจำนวนนับด้วยทศนิยม 2 ตำแหน่ง อาจทำได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนแล้วหาผลหาร และเขียนผลหารในรูปทศนิยม 3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มทำกิจกรรม “ปล่อยปลาพาเพลิน” กลุ่มละ 5 คน โดยภายในกลุ่มนั้น จะประกอบด้วย นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูง 2 คน ปานกลาง 2 คน และต่ำ 1 คน 4. นักเรียนทำกิจกรรม “ปล่อยปลาพาเพลิน” กติกาคือครูแจกบัตรภาพรูปปลาที่มีโจทย์การหาร ทศนิยมกลุ่มละ 5 ใบ และกระดานตู้ปลากลุ่มละ 1 แผ่น ให้แต่ละกลุ่มแก้โจทย์ปัญหาที่ได้ให้ครบทุกใบแล้วติด บัตรภาพรูปปลาให้ตรงกับคำตอบบนกระดานตู้ปลาให้ถูกต้อง 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบ ซึ่งภายในกลุ่มจะมีการช่วยเหลือ อภิปรายซักถาม และตรวจสอบซึ่งกันและกัน โดยครูจะสุ่มถามคำถามนักเรียนในกลุ่มเพื่อวัดความเข้าใจ กลุ่มใดตอบถูกจะได้ ข้อละ 1 คะแนนเป็นคะแนนกลุ่ม 6. เมื่อกิจกรรมกลุ่มเสร็จครูทำการทดสอบเป็นรายบุคคลโดยแต่ละคนทำชิ้นงานเรื่อง การหารทศนิยม แล้วนำคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนเยอะที่สุดจะได้รับรางวัล ขั้นสรุป (5 นาที) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการการหารผลหารของทศนิยมที่มีตัวหารไม่เกิน 3 ตำแหน่ง การหารทศนิยม หรือจำนวนนับด้วยทศนิยม อาจทำได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนแล้วหาผลหาร และเขียนผลหารในรูปทศนิยม 8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. บัตรภาพโจทย์การหารทศนิยม 2. กระดานตู้ปลา 3. ชิ้นงานเรื่อง การหารทศนิยม
9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนอธิบายการหาร ทศนิยมโดยเขียนทศนิยมใน รูปเศษส่วนได้ (K) กิจกรรม ปล่อยปลาพาเพลิน ตรวจกิจกรรม ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้จำนวน 5 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ 3-4 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ 1-2 ข้อ ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถหาผลหาร ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งได้ (P) ชิ้นงาน ตรวจชิ้นงาน ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 5 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 3-4 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูก 1-2 ข้อ ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เรียน ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรม และ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) แบบสังเกต พฤติกรรมการให้ ความร่วมมือในการ ทำงาน สังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ ในการทำงาน ดีมาก : ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานอย่างตั้งใจ พอใช้: ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานโดยมีครูกระตุ้น ปรับปรุง : ผู้เรียนให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมีเพื่อนคอยช่วย เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการทำงาน คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ให้ความร่วมมือ ในการทำงาน อย่างตั้งใจ) ระดับพอใช้ (ให้ความร่วมมือ ในการทำงาน เมื่อครูกระตุ้น) ปรับปรุง (ให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมี เพื่อนคอยช่วย) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชาย ภัทรพล เสนาธรรม 2 เด็กหญิง ณัฐชญา สุวรรณเลิศ 3 เด็กชาย นพรุจ อาชามาส 4 เด็กชาย อริวัฒน์ วิวัฒน์มหาโรจน์ 5 เด็กชาย ปกเกล้า ประดิษฐ์ 6 เด็กชาย ภูมิภัทร นันทะเรือน 7 เด็กหญิง วริชา ศิริไชยเนตร 8 เด็กชาย ชัยดล คุณวุฒิ 9 เด็กชาย โอบบุญ อินทะไชย 10 เด็กชาย ภูริพล ไชยานนท์ 11 เด็กชาย พศิน พรมแก้ว 12 เด็กชาย ปภังกร เป็งตัน 13 เด็กชาย จตุรวิทย์ ขัติยวรา 14 เด็กชาย ศรา ศรีวิชัย 15 เด็กหญิง ปิยธิดา อนุรักษ์ชัยวิทย์ 16 เด็กหญิง พริ้มเพรา วัฒนจรัสพงศ์ 17 เด็กหญิง เบญญาภา สว่างเดือนเพ็ญ 18 เด็กหญิง ชัชญาภา สุภัทรดิลกกุลโต 19 เด็กหญิง ปิยธิดา สุทธิพงศ์เจริญ 20 เด็กชาย กรินทร์ เตจ๊ะ เกณฑ์การให้คะแนน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../………………
แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถามเป็นกลุ่ม คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามได้ 5 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามได้ 3-4 ข้อ) ปรับปรุง (ตอบคำถามได้ 1-2 ข้อ) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชาย ภัทรพล เสนาธรรม เด็กหญิง ณัฐชญา สุวรรณเลิศ เด็กชาย นพรุจ อาชามาส เด็กชาย อริวัฒน์ วิวัฒน์มหาโรจน์ เด็กชาย ปกเกล้า ประดิษฐ์ 2 เด็กชาย ภูมิภัทร นันทะเรือน เด็กหญิง วริชา ศิริไชยเนตร เด็กชาย ชัยดล คุณวุฒิ เด็กชาย โอบบุญ อินทะไชย เด็กชาย ภูริพล ไชยานนท์ 3 เด็กชาย พศิน พรมแก้ว เด็กชาย ปภังกร เป็งตัน เด็กชาย จตุรวิทย์ ขัติยวรา เด็กชาย ศรา ศรีวิชัย เด็กหญิง ปิยธิดา อนุรักษ์ชัยวิทย์ 4 เด็กหญิง พริ้มเพรา วัฒนจรัสพงศ์ เด็กหญิง เบญญาภา สว่างเดือนเพ็ญ เด็กหญิง ชัชญาภา สุภัทรดิลกกุลโต เด็กหญิง ปิยธิดา สุทธิพงศ์เจริญ เด็กชาย กรินทร์ เตจ๊ะ เกณฑ์การให้คะแนน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../………………
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่4 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 12 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การคูณ การหาร เรื่อง โจทย์ปัญหาการหาร เวลา 50 นาที มาตรฐานการเรียนรู้ ค1.1 ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.4/11 ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์และแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหาการหารได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวนผลที่ เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.4/11 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอนของจำนวนที่มากกว่า 100,000 และ 0 สาระสำคัญ : การแสดงวิธีทำ และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการหาร ต้องเริ่มจากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา วางแผนแก้โจทย์ปัญหาโดยเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีทำเป็นลำดับขั้นตอน แล้วจึงหาคำตอบพร้อมทั้ง ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ สาระการเรียนรู้ : การแก้โจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน 1.การสอนแบบปฏิบัติ 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน
5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหาการหารที่กำหนดให้ได้ (K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหาการหารที่กำหนดให้ได้ (P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาดังนี้ - สิ่งที่โจทย์กำหนดคืออะไร - สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร - เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร ครูยกตัวอย่างการวิเคราะห์โจทย์ดังนี้ โรงงานต้องการจัดสบู่365,000 ก้อน ใส่กล่อง กล่องละ 144 ก้อน ได้กี่กล่อง เหลือสบู่กี่ก้อน - สิ่งที่โจทย์กำหนดคือ โรงงานต้องการจัดสบู่365,000 ก้อน - สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร ใส่กล่อง กล่องละ 144 ก้อน ได้กี่กล่อง เหลือสบู่กี่ก้อน - เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร 365,000 ÷ 144 = - วิธีทำ โรงงานต้องการจัดสบู่ 365,000 ก้อน ใส่กล่อง กล่องละ 144 ก้อน ได้ 365,000 ÷ 144 = 253 กล่อง เหลือ 63 ก้อน ตอบ จัดใส่กล่องได้ 253 กล่อง เหลือ 63 ก้อน
ขั้นสอน (35 นาที) 2. ครูอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการหาร จากในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.4 (หน้า 155) ดังนี้
3.ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “ตั๋วเครื่องบินการหาร” โดยมีกติกา ดังนี้ -ครูมีตั๋วเครื่องบินไปแต่ละจังหวัดให้นักเรียนเลือก ซึ่งตั๋วเครื่องบินแต่ละใบจะมีโจทย์ปัญหาการ หารแตกต่างกันออกไปไม่ซ้ำกัน ดังนี้ -นักเรียนออกมาสุ่มเลือกตั๋วเครื่องบินหน้าชั้นเรียนทีละคน คนที่สุ่มได้ตั๋วฟรี! ไปกลับ 3 วัน 2 คืน ครูจะสุ่มตั๋วเครื่องบินให้ แต่มีสิทธิพิเศษสามารถขอเปลี่ยนโจทย์ที่ครูสุ่มให้กับเพื่อนคนใดก็ได้1 คน เมื่อนักเรียนได้ ตั๋วเครื่องบินครบแล้ว ครูจะแจกใบงานเรื่อง ตั๋วเครื่องบินการหาร โดยให้นักเรียนเขียนโจทย์ที่ตัวเองได้ลงในใบงาน สิ่งที่โจทย์ถาม สิ่งที่โจทย์กำหนด และประโยคสัญลักษณ์ตามหัวข้อที่กำหนด พร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบให้ถูกต้อง -ครูขออาสาสมัคร 2-3 คน มาเฉลยใบงานเรื่อง ตั๋วเครื่องบินการหาร ในข้อที่ตัวเองได้รับ หน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป (5 นาที) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาการหาร ดังนี้ โจทย์ปัญหาเป็นการนำจำนวน หรือสถานการณ์ต่างๆ มาเขียนเป็นคำถาม เพื่อให้คิดคำตอบ ซึ่งเราต้องอ่านโจทย์ให้เข้าใจพิจารณาว่าโจทย์ กำหนดอะไรให้บ้าง โจทย์ถามอะไร ควรใช้วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร 8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.4 2. กิจกรรม ตั๋วเครื่องบินการหาร 3. ใบงานเรื่อง ตั๋วเครื่องบินการหาร
9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหาการ หารที่กำหนดให้ได้ (K) แบบสังเกต การตอบคำถาม การตอบค าถาม ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้ถูกต้อง ด้วยตนเองทุกครั้ง พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ โดยมีครูคอยช่วยบางครั้ง ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ โดยมีครูและเพื่อนคอยช่วยทุกครั้ง ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถแสดงวิธีทำ โจทย์ปัญหาการหารที่ กำหนดให้ได้ (P) ใบงาน ตรวจใบงาน ดีมาก : ผู้เรียนทำใบงานได้ถูกต้อง 80-100% พอใช้: ผู้เรียนทำใบงานได้ถูกต้อง 60-79% ปรับปรุง : ผู้เรียนทำใบงานได้ ถูกต้องน้อยกว่า 60% ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เรียน ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรม และ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) แบบสังเกต พฤติกรรมการให้ ความร่วมมือในการ ทำงาน สังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ ในการทำงาน ดีมาก : ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานอย่างตั้งใจ พอใช้: ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานโดยมีครูกระตุ้น ปรับปรุง : ผู้เรียนให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมีเพื่อนคอยช่วย เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการทำงาน คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ให้ความร่วมมือใน การทำงานอย่างตั้งใจ) ระดับพอใช้ (ให้ความร่วมมือในการ ทำงานเมื่อครูกระตุ้น) ปรับปรุง (ให้ความร่วมมือในการ ทำงานโดยมีเพื่อนคอยช่วย) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พร้อมณลิน พิชัยณรงค์ 2 เด็กหญิง นัทธมน อารยวุฒิกุล 3 เด็กชาย ณภัทร หัตถกรรม 4 เด็กชาย ชัยพัชร์ซันดู 5 เด็กหญิง ไปรยา พลีบัตร 6 เด็กหญิง ภิญญาพัชญ์อินทวงศ์ 7 เด็กหญิง ณฐมน โรจนพงศ์ทวี 8 เด็กหญิง รัศมิ์ภัชสรณ์กรประดิษฐ์ศิลป์ 9 เด็กหญิง ไอยวริญ ช้อยเพ็ง 10 เด็กหญิง รวีวิภา สุวรรณรัตน์ 11 เด็กหญิง ปวีณ์กร น้าประทานสุข 12 เด็กหญิง ศิศิรา ศรีวิชัย 13 เด็กชาย ลำปาง บุญฤทธิ์ 14 เด็กชาย พัทธ์สรัณ เดชวิลัย 15 เด็กหญิง ปัญญ์นภัส ตันติพัฒนเสรี 16 เด็กหญิง นลิญา อ๊อดปัญญา 17 เด็กชายกัณฐกะ จันทะเล 18 เด็กชายจิรภัทร พรมมินทร์ 19 เด็กชายภัทรพัฒน์แก้วบุญเรือง 20 เด็กชายธีร์ธรรม คูประเสริฐยิ่ง 21 เด็กชายไอยเรศ เหมือนแย้ม 22 เด็กชายณัฏฐพล ปัญญา 23 เด็กหญิง ปาลิกา ปรีปาน 24 เด็กหญิง ศราธา อ่ำสำอางค์ 25 เด็กหญิง ณัชชากรณ์ยะตานัง ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก ตอบคำถามได้ถูกต้อง ด้วยตนเองทุกครั้ง ระดับพอใช้ ตอบคำถามได้ โดยมีครูคอยช่วยบางครั้ง ปรับปรุง ตอบคำถามได้ โดยมีครู และเพื่อนคอยช่วยทุกครั้ง ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พร้อมณลิน พิชัยณรงค์ 2 เด็กหญิง นัทธมน อารยวุฒิกุล 3 เด็กชาย ณภัทร หัตถกรรม 4 เด็กชาย ชัยพัชร์ซันดู 5 เด็กหญิง ไปรยา พลีบัตร 6 เด็กหญิง ภิญญาพัชญ์อินทวงศ์ 7 เด็กหญิง ณฐมน โรจนพงศ์ทวี 8 เด็กหญิง รัศมิ์ภัชสรณ์กรประดิษฐ์ศิลป์ 9 เด็กหญิง ไอยวริญ ช้อยเพ็ง 10 เด็กหญิง รวีวิภา สุวรรณรัตน์ 11 เด็กหญิง ปวีณ์กร น้าประทานสุข 12 เด็กหญิง ศิศิรา ศรีวิชัย 13 เด็กชาย ลำปาง บุญฤทธิ์ 14 เด็กชาย พัทธ์สรัณ เดชวิลัย 15 เด็กหญิง ปัญญ์นภัส ตันติพัฒนเสรี 16 เด็กหญิง นลิญา อ๊อดปัญญา 17 เด็กชายกัณฐกะ จันทะเล 18 เด็กชายจิรภัทร พรมมินทร์ 19 เด็กชายภัทรพัฒน์แก้วบุญเรือง 20 เด็กชายธีร์ธรรม คูประเสริฐยิ่ง 21 เด็กชายไอยเรศ เหมือนแย้ม 22 เด็กชายณัฏฐพล ปัญญา 23 เด็กหญิง ปาลิกา ปรีปาน 24 เด็กหญิง ศราธา อ่ำสำอางค์ 25 เด็กหญิง ณัชชากรณ์ยะตานัง ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 15 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน 2 เวลา 50 นาที มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1 ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/3 ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาอัตราส่วนที่เท่ากันได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่ เกิดขึ้นจากการดำเนินการสมบัติของการดำเนินการและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/3 : หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ สาระสำคัญ : อัตราส่วน เป็นความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณ ซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกัน หรือต่างกัน ก็ได้ การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้สามารถทำได้โดยใช้การคูณหรือการหารด้วย จำนวนเดียวกัน สาระการเรียนรู้ : อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน และมาตราส่วน 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน 1. การสอนแบบปฏิบัติ 2. การสอนโดยใช้กิจกรรม 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน
5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนบอกวิธีการตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนที่กำหนดให้ได้(K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถเขียนแสดงขั้นตอนการหาอัตราส่วนที่เท่ากันของอัตราส่วนที่กำหนดให้ได้(P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน โดยให้นักเรียนชาย 4 คน และ นักเรียน หญิง 2 คน ออกมายืนหน้าชั้นเรียนแล้วให้นักเรียนสังเกตและตอบคำถามเกี่ยวกับอัตราส่วนดังนี้ - นักเรียนหน้าชั้นเรียนมีจำนวนทั้งหมด 6 คน เป็นชายจำนวน 4 คน และหญิงจำนวน 2 คน ดังนั้นจะ เขียนอัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหญิงเป็นเท่าไร (อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหญิง เป็น 4 ต่อ 2 เขียนแทน 4 : 2) - เขียนอัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหน้าชั้นเรียนทั้งหมดเป็นเท่าไร (อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนชายต่อจำนวนนักเรียนหน้าชั้นเรียนทั้งหมดเป็น 4 ต่อ 6 เขียนแทน 4 : 6) - เขียนอัตราส่วนของจำนวนนักเรียนหญิงต่อจำนวนนักเรียนหน้าชั้นเรียนทั้งหมดเป็นเท่าไร (อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนหญิงต่อจำนวนนักเรียนหน้าชั้นเรียนทั้งหมดเป็น 2 ต่อ 6 เขียนแทน 2 : 6)
ขั้นสอน (35 นาที) 2.ครูใช้การอธิบาย และยกตัวอย่างในสื่อศิลาจารึกเรื่อง อัตราส่วน ดังนี้ - อัตราส่วน คือการเขียนสัญลักษณ์แทนการเปรียบเทียบของปริมาณสองปริมาณ โดยใช้สัญลักษณ์ a : b หรือ (อ่านว่า a ต่อ b) - อัตราส่วนที่เท่ากัน คืออัตราส่วนใดๆ เมื่อนำมาทำเป็นอัตราส่วนอย่างต่ำแล้ว ได้อัตราส่วนที่เท่ากัน ตัวอย่าง การเขียนอัตราส่วนของจำนวนไข่ไก่เป็นฟองต่อราคาเป็นบาท จะพบว่าอัตราส่วนดังกล่าว เป็นอัตราส่วน เดียวกันดังนี้ จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) 2 4 6 8 10 ราคาไข่ไก่ (บาท) 5 10 15 20 25 กล่าวได้ว่าอัตราส่วนเหล่านี้เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน เขียนได้ดังนี้ 2 : 5 = 4 : 10 = 6 : 15 = 8 : 20 = 10 : 25 หรืออาจเขียนในรูปเศษส่วนได้ ดังนี้ 2 5 = 4 10 = 6 15 = 8 20 = 10 25
จะเห็นได้ว่าอัตราส่วนข้างต้นแต่ละจำนวนมีความเกี่ยวข้องกันดังนี้ 4 10 = 2×2 5×2 , 6 15 = 2×3 5×3 , 8 20 = 2×4 5×4 , 10 25 = 2×5 5×5 - การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน โดยใช้การคูณไขว้ อัตราส่วน a : b และอัตราส่วน c : d หรือ และ นั่นคือ ถ้า ad = bc แล้ว = ถ้า ad ≠ bc แล้ว ≠ ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า อัตราสาวน 3 6 เท่ากับ 5 10 หรือไม่ จากการคูณไขว้ 3 6 5 10 ดังนั้น 3 6 = 5 10 จะได้ 3 : 6 = 5 : 10 3.ครูให้นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรม ตอบคำถาม kahoot “อัตราส่วนที่เท่ากัน” โดยนักเรียนจะได้I pad คู่ ละ 1 เครื่อง ใช้โปรแกรม kahoot ในการตอบคำถามทั้งหมด 10 ข้อ คู่ใดตอบคำถามได้ถูกต้องมากที่สุด เป็นอันดับ 1 จะได้รับแต้มสะสม 3 แต้ม อันดับ 2 จะได้รับแต้มสะสม 2 แต้ม และอันดับ 3 จะได้รับแต้ม สะสม 1 แต้ม ตามลำดับ และสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายวิธีการคิดคนละ 1 ข้อ 3 × 10 = 30 6 × 5 = 30
ขั้นสรุป (5 นาที) 4.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนที่เท่ากัน 2 อัตราส่วน เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ ซึ่งจะได้ว่า - คูณแต่ละจำนวนในอัตราส่วนด้วยจำนวนนับจำนวนเดียวกันที่มากกว่า 1 - หารแต่ละจำนวนในอัตราส่วนด้วยจำนวนนับจำนวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว - เปรียบเทียบผลคูณไขว้ของอัตราส่วนสองอัตราส่วน ถ้าผลคูณเท่ากันแสดงว่า อัตราส่วนทั้งสองเท่ากัน ถ้าผลคูณไม่เท่ากันแสดงว่า อัตราส่วนทั้งสองไม่เท่ากัน 5.ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดรายวิชาคณิตศาสตร์ (แบบฝึกหัด 4.7 หน้า 122 ข้อ1-2) เพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจ
8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบฝึกคณิตศาสตร์ป.6 เล่ม 1 สสวท. 2. ศิลาจารึก อัตราส่วน 3. โปรแกรม kahoot เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน 9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนบอกวิธีการ ตรวจสอบการเท่ากันของ อัตราส่วนที่กำหนดให้ได้(K) กิจกรรม Kahoot อัตราส่วนที่เท่ากัน ตรวจกิจกรรม Kahoot อัตราส่วนที่เท่ากัน ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 8 - 10 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 5 - 7 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 5 ข้อ ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถเขียนแสดง ขั้นตอนการหาอัตราส่วนที่ เท่ากันของอัตราส่วนที่ กำหนดให้ได้(P) แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝึกหัด ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 11-14 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 7-10ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 7 ข้อ ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เรียน ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรม และ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) แบบสังเกต พฤติกรรมการให้ ความร่วมมือในการ ทำงาน สังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ ในการทำงาน ดีมาก : ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานอย่างตั้งใจ พอใช้: ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานโดยมีครูกระตุ้น ปรับปรุง : ผู้เรียนให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมีเพื่อนคอยช่วย เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการทำงาน คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ให้ความร่วมมือ ในการทำงาน อย่างตั้งใจ) ระดับพอใช้ (ให้ความร่วมมือ ในการทำงาน เมื่อครูกระตุ้น) ปรับปรุง (ให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมี เพื่อนคอยช่วย) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พรรณพิชา จาเลิศ 2 เด็กชาย ปัณณ์วัตร แตงฉ่ำ 3 เด็กชาย ณัฐภัทร รุ่งสว่าง 4 เด็กชาย มัททวะ ประเสริฐจิตร์ 5 เด็กชาย อภิณัฐ ทิบุญ 6 เด็กชาย จิรากร กรประดิษฐ์ศิลป์ 7 เด็กหญิง เขมณัฏฐ์ ณ ลำปาง 8 เด็กหญิง วริศรา น้าประทานสุข 9 เด็กชาย อชิรวัตติ์ ผดุงศร 10 เด็กชาย ณพวินท์ มีศีล 11 เด็กชาย ธนะวิทย์ ครองบุญ 12 เด็กหญิง พัทธนัทธ์ เป็ดทอง 13 เด็กชาย ภามพรรษ บูรณะกิจทวี 14 เด็กชาย อากาศพิสุทธิ์ ทิพย์วังเมฆ 15 เด็กชาย สรวิศ มุ่งดี 16 เด็กชาย ภากร เรือนโรจน์รุ่ง 17 เด็กหญิง ภัทรา เรือนโรจน์รุ่ง 18 เด็กชาย ปราชญ์ ไม้สนธิ์ 19 เด็กชาย อาชวิน ท้าวคำลือ 20 เด็กหญิง ณัฐธยาน์อักษร เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../……………
แบบบันทึกกิจกรรม Kahoot อัตราส่วนที่เท่ากัน คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามได้ 8-10 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามได้ 5-7 ข้อ) ปรับปรุง (ผู้เรียนตอบถูก น้อยกว่า 5 ข้อ) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พรรณพิชา จาเลิศ 2 เด็กชาย ปัณณ์วัตร แตงฉ่ำ 3 เด็กชาย ณัฐภัทร รุ่งสว่าง 4 เด็กชาย มัททวะ ประเสริฐจิตร์ 5 เด็กชาย อภิณัฐ ทิบุญ 6 เด็กชาย จิรากร กรประดิษฐ์ศิลป์ 7 เด็กหญิง เขมณัฏฐ์ ณ ลำปาง 8 เด็กหญิง วริศรา น้าประทานสุข 9 เด็กชาย อชิรวัตติ์ ผดุงศร 10 เด็กชาย ณพวินท์ มีศีล 11 เด็กชาย ธนะวิทย์ ครองบุญ 12 เด็กหญิง พัทธนัทธ์ เป็ดทอง 13 เด็กชาย ภามพรรษ บูรณะกิจทวี 14 เด็กชาย อากาศพิสุทธิ์ ทิพย์วังเมฆ 15 เด็กชาย สรวิศ มุ่งดี 16 เด็กชาย ภากร เรือนโรจน์รุ่ง 17 เด็กหญิง ภัทรา เรือนโรจน์รุ่ง 18 เด็กชาย ปราชญ์ ไม้สนธิ์ 19 เด็กชาย อาชวิน ท้าวคำลือ 20 เด็กหญิง ณัฐธยาน์ อักษร เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../………………
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 17 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เวลา เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นนาที วินาที เวลา 50 นาที มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.1 ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายการบอกระยะเวลาเป็นนาที วินาทีและสามารถนำความรู้การบอกเวลาเป็นนาที วินาทีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา สาระสำคัญ : 1.บอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 2.ระยะเวลา หมายถึง ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง 3.เครื่องหมายวรรคตอนที่ใช้บอกระยะเวลา คือ ทวิภาค (:) ใช้คั่นระหว่างนาทีกับวินาที 4.60 วินาที เท่ากับ 1 นาที สาระการเรียนรู้ : การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ระยะเวลา หมายถึง ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีก เวลาหนึ่ง 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน การเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค Student Team Achievement Division (STAD) 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน
5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายการบอกเวลาเป็นนาทีและวินาที ได้ (K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถบอกระยะเวลาเป็นนาที วินาทีได้(P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เดิมโดย ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเวลาใน การทำกิจกรรมต่างๆ โดยครูกำหนดประโยคแสดงเวลาให้นักเรียนอ่านกระตุ้นการคิดของนักเรียน ดังนี้ - พ่อเข้านอนเวลา 22:43 น. - เพชรแข่งว่ายน้ำ400 ม. ใช้เวลา 13:20 น. - แจนรับประทานอาหารเช้าเวลา 7.26 น. - ภาพยนตร์เรื่องหนึ่งมีความยาว 1:58:20 น. ให้ตัวแทนนักเรียน ออกมาหมุนเข็มนาฬิกา ตามเวลาที่ครูกำหนด
ขั้นสอน (35 นาที) 2. ครูใช้สื่อ Power point อธิบายเรื่องการบอกเวลาเป็นนาที และวินาทีดังนี้
3. ให้นักเรียนพิจารณาการอ่านเวลาเป็น วินาที นาทีครูถามคำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้ - เข็มวินาทีเดิน 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 วินาทีดังนั้น เข็มวินาทีเดิน 60 ช่องเล็ก เท่ากับ 60 วินาทีแสดง ว่า 60 วินาทีเท่ากับ 1 นาที - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) - ระยะเวลา หมายถึงช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง เครื่องหมายวรรค ตอนที่ใช้คือ ทวิภาค (:) - 60 วินาที เท่ากับ 1 นาที 3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มทำกิจกรรม “Hollywood Game Night Laor Uthit” กลุ่มละ 5 คน โดยภายในกลุ่มนั้น จะประกอบด้วย นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนสูง 2 คน ปานกลาง 2 คน และต่ำ 1 คน 4. นักเรียนทำกิจกรรม “Hollywood Game Night Laor Uthit” โดยมีกติกาดังนี้ - ครูแจกบัตรภาพนาฬิกาจำลองให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 แผ่น
- แต่ละกลุ่มหมุนเข็มนาฬิกา และเขียนตัวเลขแสดงเวลาชั่วโมง นาที และวินาที ตามเวลาที่ครูกำหนด บนกระดาน - กลุ่มที่หมุนเข็มนาฬิกา และเขียนตัวเลขแสดงเวลาตามที่ครูกำหนดได้ถูกต้องเป็นกลุ่มแรก จะได้ คะแนนสะสม 3 คะแนน กลุ่มที่ 2-3 ได้คะแนนสะสม 2 คะแนน และกลุ่มที่ 4-5 ได้คะแนนสะสม 1 คะแนน ตามลำดับ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบ ซึ่งภายในกลุ่มจะมีการช่วยเหลือ อภิปรายซักถาม และตรวจสอบซึ่งกันและกัน โดยครูจะสุ่มถามคำถามนักเรียนในกลุ่มเพื่อวัดความเข้าใจ กลุ่มใดตอบถูกจะได้ ข้อละ 1 คะแนนเป็นคะแนนกลุ่ม 6. เมื่อกิจกรรมกลุ่มเสร็จครูทำการทดสอบเป็นรายบุคคลโดยแต่ละคนทำแบบฝึกหัด 5.2 (หน้า 98-99) ในแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ แล้วนำคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มใดได้ คะแนนเยอะที่สุดจะได้รับรางวัล
ขั้นสรุป (5 นาที) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการบอกระยะเวลาเป็นนาที และวินาที ดังนี้ - เข็มวินาทีเดิน 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 วินาทีดังนั้น เข็มวินาทีเดิน 60 ช่องเล็ก เท่ากับ 60 วินาทีแสดงว่า 60 วินาทีเท่ากับ 1 นาที - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) - ระยะเวลา หมายถึงช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง เครื่องหมายวรรคตอนที่ใช้ คือ ทวิภาค (:) - 60 วินาที เท่ากับ 1 นาที 8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจำลอง 2. บัตรภาพนาฬิกาจำลอง 3. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายการ บอกเวลาเป็นนาทีและวินาที ได้ (K) แบบสังเกต พฤติกรรมการ ตอบคำถาม เป็นกลุ่ม สังเกตพฤติกรรม การตอบคำถาม เป็นกลุ่ม ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้จำนวน 5 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ 3-4 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ 1-2 ข้อ ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถบอก ระยะเวลาเป็นนาที วินาทีได้ (P) แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝึกหัด ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 80-100 % พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 50-79 % ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 50 % ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เรียน ให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรม และ รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย (A) แบบสังเกต พฤติกรรมการให้ ความร่วมมือในการ ทำงาน สังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ ในการทำงาน ดีมาก : ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานอย่างตั้งใจ พอใช้: ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการ ทำงานโดยมีครูกระตุ้น ปรับปรุง : ผู้เรียนให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมีเพื่อนคอยช่วย เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถามเป็นกลุ่ม คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามถูก 5 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามถูก 3-4 ข้อ) ปรับปรุง (ตอบคำถามถูก 1-2ข้อ) ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../……………….
แบบสังเกตพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการทำงาน คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ให้ความร่วมมือใน การทำงานอย่างตั้งใจ) ระดับพอใช้ (ให้ความร่วมมือใน การทำงานเมื่อ ครูกระตุ้น) ปรับปรุง (ให้ความร่วมมือใน การทำงานโดยมี เพื่อนคอยช่วย) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../……………….
แบบบันทึกการทำแบบฝึกหัด คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ผู้เรียนตอบถูก 80-100 %) ระดับพอใช้ (ผู้เรียนตอบถูก 50-79 %) ปรับปรุง (ผู้เรียนตอบถูก น้อยกว่า 50 %) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….) ………………/………………../………………
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 18 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เวลา เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน เวลา 50 นาที มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.1 ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายการบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน และสามารถนำความรู้การบอกเวลาเป็น นาที วินาทีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา สาระสำคัญ : 1. ระยะเวลา หมายถึง ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง 2. เครื่องหมายวรรคตอนที่ใช้บอกระยะเวลา คือ ทวิภาค ( : ) ใช้คั่นระหว่าง นาทีกับวินาที และ ชั่วโมงกับนาทีกับวินาที 3. 60 นาที คิดเป็น 1 ชั่วโมง 4. 24 ชั่วโมง คิดเป็น 1 วัน สาระการเรียนรู้ : การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน ระยะเวลา หมายถึง ช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่ง ถึงอีกเวลาหนึ่ง 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน การเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค Student Team Achievement Division (STAD) 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน
5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายการบอกเวลาเป็นนาที ชั่วโมง และวันได้ (K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง และวันได้(P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้(A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นนาที วินาที โดยครูกำหนดโจทย์ระยะเวลาให้นักเรียนเกิดการกระตุ้นการคิดของนักเรียน ดังนี้ และให้ตัวแทนนักเรียน ออกมาหมุนเข็มนาฬิกา ตามเวลาที่โจทย์กำหนดกำหนด
ขั้นสอน (35 นาที) 2. ครูใช้สื่อ Power point อธิบายเรื่องการบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน ดังนี้
3. ให้นักเรียนพิจารณาการอ่านเวลาเป็น วินาที นาทีครูถามคำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้ - เข็มนาทีเดิน 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 นาทีดังนั้น เข็มนาทีเดิน 60 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 ชั่วโมง แสดงว่า 60 นาทีเท่ากับ 1 ชั่วโมง - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) - ระยะเวลา หมายถึงช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง เครื่องหมายวรรคตอนที่ใช้คือ ทวิภาค (:) - 60 นาที เท่ากับ 1 ชั่วโมง 24 ชั่วโมงเท่ากับ 1 วัน 3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มทำกิจกรรม “จับคู่ดูเวลา” กลุ่มละ 6-7 คน โดยมีกติกาดังนี้ - ครูแจกแผ่นชาร์ตระยะเวลาให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 แผ่น - ให้แต่ละกลุ่มโยงเส้นจับคู่ข้อความทางซ้ายกับทางขวาที่สัมพันธ์กันให้ถูกต้อง - กลุ่มที่โยงเส้นจับคู่ข้อความได้ถูกต้องเป็นกลุ่มแรก จะได้คะแนนสะสม 3 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้ คะแนนสะสม 2 คะแนน และกลุ่มที่ 3-4 ได้คะแนนสะสม 1 คะแนน ตามลำดับ
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคำตอบ ซึ่งภายในกลุ่มจะมีการช่วยเหลือ อภิปรายซักถาม และตรวจสอบซึ่งกันและกัน โดยครูจะสุ่มถามคำถามนักเรียนในกลุ่มเพื่อวัดความเข้าใจ กลุ่มใดตอบถูกจะได้ ข้อละ 1 คะแนนเป็นคะแนนกลุ่ม 6. เมื่อกิจกรรมกลุ่มเสร็จครูทำการทดสอบเป็นรายบุคคลโดยแต่ละคนทำใบงานเรื่อง ระยะเวลา แล้วนำคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนเยอะที่สุดจะได้รับรางวัล ขั้นสรุป (5 นาที) 7.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน ดังนี้ - เข็มนาทีเดิน 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 นาทีดังนั้น เข็มนาทีเดิน 60 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 ชั่วโมง แสดงว่า 60 นาทีเท่ากับ 1 ชั่วโมง - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) - ระยะเวลา หมายถึงช่วงเวลาที่ต่อเนื่องจากเวลาหนึ่งถึงอีกเวลาหนึ่ง เครื่องหมายวรรค ตอนที่ใช้คือ ทวิภาค (:) - 60 นาที เท่ากับ 1 ชั่วโมง 24 ชั่วโมงเท่ากับ 1 วัน 8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. แผ่นชาร์ตระยะเวลา 2. บัตรภาพนาฬิกาจำลอง 3. ใบงานเรื่อง ระยะเวลา 4. Power point เรื่อง การบอกระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง วัน
9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายการ บอกเวลาเป็นนาที ชั่วโมง และวันได้ (K) แบบสังเกต พฤติกรรมการ ตอบคำถาม เป็นกลุ่ม สังเกตพฤติกรรม การตอบคำถาม เป็นกลุ่ม ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้จำนวน 8-10 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ 5-7 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ น้อยกว่า 5 ข้อ ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถบอก ระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง และวันได้(P) ใบงาน ตรวจใบงาน ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 80-100 % พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 50-79 % ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 50 % ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้(A) กิจกรรม “จับคู่ดูเวลา” ตรวจกิจกรรม “จับคู่ดูเวลา” ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้จำนวน 8-10 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ 5-7 ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ น้อยกว่า 5 ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถามเป็นกลุ่ม คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามถูก 8-9 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามถูก 5-7 ข้อ) ปรับปรุง (ตอบคำถามถูก น้อยกว่า 5 ข้อ) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พร้อมณลิน พิชัยณรงค์ 2 เด็กหญิง นัทธมน อารยวุฒิกุล 3 เด็กชาย ณภัทร หัตถกรรม 4 เด็กชาย ชัยพัชร์ ซันดู 5 เด็กหญิง ไปรยา พลีบัตร 6 เด็กหญิง ภิญญาพัชญ์ อินทวงศ์ 7 เด็กหญิง ณฐมน โรจนพงศ์ทวี 8 เด็กหญิง รัศมิ์ภัชสรณ์ กรประดิษฐ์ศิลป์ 9 เด็กหญิง ไอยวริญ ช้อยเพ็ง 10 เด็กหญิง รวีวิภา สุวรรณรัตน์ 11 เด็กหญิง ปวีณ์กร น้าประทานสุข 12 เด็กหญิง ศิศิรา ศรีวิชัย 13 เด็กชาย ลำปาง บุญฤทธิ์ 14 เด็กชาย พัทธ์สรัณ เดชวิลัย 15 เด็กหญิง ปัญญ์นภัส ตันติพัฒนเสรี 16 เด็กหญิง นลิญา อ๊อดปัญญา 17 เด็กชายกัณฐกะ จันทะเล 18 เด็กชายจิรภัทร พรมมินทร์ 19 เด็กชายภัทรพัฒน์ แก้วบุญเรือง 20 เด็กชายธีร์ธรรม คูประเสริฐยิ่ง 21 เด็กชายไอยเรศ เหมือนแย้ม 22 เด็กชายณัฏฐพล ปัญญา 23 เด็กหญิง ปาลิกา ปรีปาน 24 เด็กหญิง ศราธา อ่ำสำอางค์ 25 เด็กหญิง ณัชชากรณ์ ยะตานัง เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แบบบันทึกการทำใบงานเรื่อง ระยะเวลา คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ผู้เรียนตอบถูก 80-100 %) ระดับพอใช้ (ผู้เรียนตอบถูก 50-79 %) ปรับปรุง (ผู้เรียนตอบถูก น้อยกว่า 50 %) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แบบบันทึกกิจกรรม“จับคู่ดูเวลา” คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามถูก 8-9 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามถูก 5-7 ข้อ) ปรับปรุง (ตอบคำถามถูก น้อยกว่า 5 ข้อ) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พร้อมณลิน พิชัยณรงค์ 2 เด็กหญิง นัทธมน อารยวุฒิกุล 3 เด็กชาย ณภัทร หัตถกรรม 4 เด็กชาย ชัยพัชร์ ซันดู 5 เด็กหญิง ไปรยา พลีบัตร 6 เด็กหญิง ภิญญาพัชญ์ อินทวงศ์ 7 เด็กหญิง ณฐมน โรจนพงศ์ทวี 8 เด็กหญิง รัศมิ์ภัชสรณ์ กรประดิษฐ์ศิลป์ 9 เด็กหญิง ไอยวริญ ช้อยเพ็ง 10 เด็กหญิง รวีวิภา สุวรรณรัตน์ 11 เด็กหญิง ปวีณ์กร น้าประทานสุข 12 เด็กหญิง ศิศิรา ศรีวิชัย 13 เด็กชาย ลำปาง บุญฤทธิ์ 14 เด็กชาย พัทธ์สรัณ เดชวิลัย 15 เด็กหญิง ปัญญ์นภัส ตันติพัฒนเสรี 16 เด็กหญิง นลิญา อ๊อดปัญญา 17 เด็กชายกัณฐกะ จันทะเล 18 เด็กชายจิรภัทร พรมมินทร์ 19 เด็กชายภัทรพัฒน์ แก้วบุญเรือง 20 เด็กชายธีร์ธรรม คูประเสริฐยิ่ง 21 เด็กชายไอยเรศ เหมือนแย้ม 22 เด็กชายณัฏฐพล ปัญญา 23 เด็กหญิง ปาลิกา ปรีปาน 24 เด็กหญิง ศราธา อ่ำสำอางค์ 25 เด็กหญิง ณัชชากรณ์ ยะตานัง เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)