แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 สัปดาห์ที่ 19 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เวลา เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.1 ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 เวลา 50 นาที ชื่อครูผู้สอน นางสาววรางคณา พันปาน ___________________________________________________________________________ 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหา การบวก การลบเกี่ยวกับระยะเวลา และสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. สาระการเรียนรู้ / เนื้อหาสาระ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.4/1 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา สาระสำคัญ : การแก้โจทย์ปัญหาการบวกการลบอ่านทำความเข้าใจวิเคราะห์โจทย์ปัญหาและแสดงวิธีทำ ในการ คิดวิเคราะห์และแสดงวิธีทำอาจมีวิธีคิดที่แตกต่างกันได้ สาระการเรียนรู้ : การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบทำได้โดย 1. อ่านทำความเข้าใจปัญหา 2. วางแผนแก้ปัญหา 3. แสดงวิธีทำในการคิดวิเคราะห์ (แสดงวิธีทำอาจมีวิธีคิดที่แตกต่างกันได้) 3. เทคนิควิธีการสอน / รูปแบบการสอน 1.การสอนแบบปฏิบัติ
4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื้อสัตย์สุจริต 7. รักความเป็นไทย 3. มีวินัย 8. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝ่เรียนรู้ 9. เชื่อมั่น และกล้าแสดงออก 5. มุ่งมั่นในการทํางาน 5. สมรรถนะ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 2. ความสามารถในการคิด 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีทำโจทย์ปัญหา การบวก การลบ เกี่ยวกับระยะเวลาได้(K) ด้านทักษะ (Process) 2.ผู้เรียนสามารถแสดงวิธีทำโจทย์ปัญหา การบวก การลบ เกี่ยวกับระยะเวลาได้(P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute) 3.ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้(A) 7. กระบวนการเรียนรู้ ขั้นนําเข้าสู่บทเรียน (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การบอกระยะเวลา โดยครูกำหนดโจทย์ระยะเวลาให้นักเรียนเกิดการกระตุ้นการคิดของนักเรียน ดังนี้ 1) 8 สัปดาห์ เป็น ......... วัน (8 × 7 = 56 วัน) 2) 2 ชั่วโมง 30 นาที เป็น ........ นาที[(2 × 60) + 30 = 150 นาที] 3) 15 เดือน เป็น ........ ปี ....... เดือน (15 ÷ 12 ได้1 เศษ 3 คิดเป็น 1 ปี3 เดือน) 4) 75 วัน เป็น ......... เดือน ........ วัน (75 ÷ 30 ได้ 2 เศษ 15 คิดเป็น 2 เดือน 15 วัน) 5) 5 วัน 10 ชั่วโมง เป็น ........ ชั่วโมง [(5 × 24) + 10 = 130 ชั่วโมง)]
ขั้นสอน (35 นาที) 2. ครูใช้สื่อ Power point อธิบายเรื่องโจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ดังนี้
3.ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเพิ่มเติม ในแบบฝึกหัด 5.8 รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์(หน้า 110)
4. นักเรียนทำกิจกรรม “เซียมซีทายระยะเวลา” โดยให้นักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียนทีละคน เขย่าไม้เซียมซีให้หล่นจากแก้ว แต่ละไม้จะมีตัวเลขกำกับแล้วหยิบใบเซียมซีตามตัวเลขที่ตัวเองได้ แต่ละใบจะมีโจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับระยะเวลาแต่งต่างกัน ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้ ถูกต้อง 5. ตัวแทนนักเรียน 2-3 คน ออกมาแสดงวิธีทำตามโจทย์ที่ตัวเองได้บนกระดาน ขั้นสรุป (5 นาที) 6.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา ดังนี้ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบทำได้โดย 1. อ่านทำความเข้าใจปัญหา 2. วางแผนแก้ปัญหา 3. แสดงวิธีทำในการคิดวิเคราะห์(แสดงวิธีทำอาจมีวิธีคิดที่แตกต่างกันได้) 8. สื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ 2. เซียมซีทายระยะเวลา 3. Power point เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
9. การวัดการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัดและ ประเมินผล วิธีการวัดและ ประเมินผล ผลการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1.ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีทำ โจทย์ปัญหา การบวก การลบ เกี่ยวกับระยะเวลาได้(K) แบบสังเกต พฤติกรรมการ ตอบคำถาม สังเกตพฤติกรรม การตอบคำถาม ดีมาก : ผู้เรียนตอบคำถามได้จำนวน 4-5 ข้อ พอใช้: ผู้เรียนตอบคำถามได้ 3ข้อ ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบคำถามได้ น้อยกว่า 3 ข้อ ด้านทักษะ (P) 2.ผู้เรียนสามารถแสดงวิธีทำ โจทย์ปัญหา การบวก การลบ เกี่ยวกับระยะเวลาได้(P) แบบฝึกหัด ตรวจแบบฝึกหัด ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 80-100 % พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 50-79 % ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 50 % ด้านเจตคติ (A) 3.ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้(A) กิจกรรม “เซียมซีทาย ระยะเวลา” ตรวจกิจกรรม “เซียมซีทาย ระยะเวลา” ดีมาก : ผู้เรียนตอบถูก 80-100 % พอใช้: ผู้เรียนตอบถูก 50-79 % ปรับปรุง : ผู้เรียนตอบถูกน้อยกว่า 50 % เกณฑ์การประเมิน 1. ดีมาก = 3 คะแนน 2. พอใช้ = 2 คะแนน 3. ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
10. ผลของการใช้วิธีสอน พร้อมข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 11. การบันทึกหลังการเรียนการสอนที่ควรปรับปรุง ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 12. แนวทางปรับปรุงแก้ไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ........………………………………....... ( นางสาววรางคณา พันปาน ) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ........………………………………....... ( คุณครูกรกนก ไชยพูน ) ครูพี่เลี้ยง ........………………………………....... ( อาจารย์อุบลรัตน์ หริณวรรณ ) อาจารย์นิเทศ
แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ตอบคำถามถูก 4-5 ข้อ) ระดับพอใช้ (ตอบคำถามถูก 3 ข้อ) ปรับปรุง (ตอบคำถามถูก น้อยกว่า 3 ข้อ) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กหญิง พร้อมณลิน พิชัยณรงค์ 2 เด็กหญิง นัทธมน อารยวุฒิกุล 3 เด็กชาย ณภัทร หัตถกรรม 4 เด็กชาย ชัยพัชร์ ซันดู 5 เด็กหญิง ไปรยา พลีบัตร 6 เด็กหญิง ภิญญาพัชญ์ อินทวงศ์ 7 เด็กหญิง ณฐมน โรจนพงศ์ทวี 8 เด็กหญิง รัศมิ์ภัชสรณ์ กรประดิษฐ์ศิลป์ 9 เด็กหญิง ไอยวริญ ช้อยเพ็ง 10 เด็กหญิง รวีวิภา สุวรรณรัตน์ 11 เด็กหญิง ปวีณ์กร น้าประทานสุข 12 เด็กหญิง ศิศิรา ศรีวิชัย 13 เด็กชาย ลำปาง บุญฤทธิ์ 14 เด็กชาย พัทธ์สรัณ เดชวิลัย 15 เด็กหญิง ปัญญ์นภัส ตันติพัฒนเสรี 16 เด็กหญิง นลิญา อ๊อดปัญญา 17 เด็กชายกัณฐกะ จันทะเล 18 เด็กชายจิรภัทร พรมมินทร์ 19 เด็กชายภัทรพัฒน์ แก้วบุญเรือง 20 เด็กชายธีร์ธรรม คูประเสริฐยิ่ง 21 เด็กชายไอยเรศ เหมือนแย้ม 22 เด็กชายณัฏฐพล ปัญญา 23 เด็กหญิง ปาลิกา ปรีปาน 24 เด็กหญิง ศราธา อ่ำสำอางค์ 25 เด็กหญิง ณัชชากรณ์ ยะตานัง เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แบบบันทึกการทำกิจกรรม “เซียมซีทายระยะเวลา” คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ผู้เรียนตอบถูก 80-100 %) ระดับพอใช้ (ผู้เรียนตอบถูก 50-79 %) ปรับปรุง (ผู้เรียนตอบถูก น้อยกว่า 50 %) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)
แบบบันทึกการทำแบบฝึกหัด คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม ที่ ชื่อ – สกุล สมาชิก รายการ สรุปการประเมิน ดีมาก (ผู้เรียนตอบถูก 80-100 %) ระดับพอใช้ (ผู้เรียนตอบถูก 50-79 %) ปรับปรุง (ผู้เรียนตอบถูก น้อยกว่า 50 %) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายวีระเกียรติ แสงยะ 2 เด็กชายธนพัฒน์ เหล่ายนตร์ 3 เด็กชายภูมิรพี เจริญธุระกิจ 4 เด็กชายนภัสดล ไชยานนท์ 5 เด็กชายจิตติ์ติณณ์ เจนวิทยชัย 6 เด็กชายภูริ สมเครือ 7 เด็กหญิงณีรนุช วงกัณหา 8 เด็กหญิงบัณฑิตา จันทต๊ะไชยวงค์ 9 เด็กหญิงณัฐนิการ์ บังเมฆ 10 เด็กหญิงปานรดา ใจคำ 11 เด็กหญิงฐิตสิริ ถ้ำทอง 12 เด็กหญิงณัชชานันท์ พรมสอน 13 เด็กหญิงพณัตศศิตา เอี่ยมสะอาด 14 เด็กชายธนวรรธน์ อึ้งตระกูล 15 เด็กชายศุภกร เตียวตระกูล 16 เด็กชายโอภาส ผิวเหลืองสวัสดิ์ 17 เด็กชายปัณณพ ผลิศักดิ์ 18 เด็กชายตฤณ สุวรรณชัย 19 เด็กหญิงณัฐนันท์ ดำรงสิริรุ่งโรจน์ 20 เด็กหญิงชัญญานุช แปงจิตต์ 21 เด็กหญิงพบพร วิงวอน 22 เด็กหญิงชลิดา ธัญชโนทัย 23 เด็กชายณภัทร สงวนเกียรติ 24 เด็กชายวรัญญู อัญญมณีทาน เกณฑ์การผ่านระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน 1.ดีมาก = 3 คะแนน 2.พอใช้ = 2 คะแนน 3.ปรับปรุง = 1 คะแนน ลงชื่อ…………………………………………………..ผู้ประเมิน (………………………………………………….)