๕๐
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลือ่ นท่ี
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.5 1.อธิบายวธิ กี ารหาแรงลัพธข์ อง - แรงลพั ธ์เปน็ ผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุ โดยแรงลัพธ์ของ
แรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่ แรง 2 แรงที่กระทำต่อวัตถุเดียวกันจะมขี นาดเทา่ กับผลรวมของ
กระทำตอ่ วัตถุในกรณีทว่ี ตั ถุอยู่ แรงทัง้ สองเมื่อแรงท้ังสอง อยู่ในแนวเดียวกันและมีทิศทางเดียวกัน
น่งิ จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ แต่จะมีขนาดเท่ากับผลตา่ งของแรงท้ังสองเมอื่ แรงทั้งสอง อยู่ใน
2.เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ แนวเดยี วกันแตม่ ีทิศทางตรงข้ามกนั สำหรับวัตถุท่ีอยนู่ ิง่ แรงลัพธ์
กระทำต่อวตั ถุทีอ่ ยู่ในแนว ทก่ี ระทำต่อวัตถมุ ีค่าเป็นศนู ย์
เดียวกนั และแรงลัพธท์ ่ีกระทำ - การเขยี นแผนภาพของแรงทีก่ ระทำต่อวตั ถสุ ามารถเขยี นได้โดย
ตอ่ วตั ถุ ใชล้ ูกศร โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง และความยาวของ
3. ใช้เครื่องชงั่ สปริงในการวดั ลูกศรแสดงขนาดของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ
แรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ
4. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มี - แรงเสยี ดทานเป็นแรงทีเ่ กดิ ขึ้นระหวา่ งผิวสัมผัสของวัตถุ เพ่ือ
ตอ่ การเปลี่ยนแปลงการ ต้านการเคล่ือนท่ขี องวตั ถนุ นั้ โดยถา้ ออกแรงกระทำต่อวัตถุทอี่ ยู่น่งิ
เคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐาน บนพนื้ ผิวหนึง่ ให้เคลื่อนที่ แรงเสียดทานจากพืน้ ผวิ นัน้ ก็จะต้านการ
เชิงประจกั ษ์ เคลื่อนที่ของวตั ถุ แต่ถ้าวัตถกุ ำลงั เคล่อื นท่ี แรงเสยี ดทานก็จะทำให้
5. เขยี นแผนภาพแสดงแรง วตั ถุนนั้ เคล่อื นทชี่ ้าลง หรือหยดุ น่งิ
เสียดทานและแรง ท่ีอยู่ในแนว
เดยี วกันท่ีกระทำต่อวตั ถุ
๕๑
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พันธ์
ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณ์ที่
เกีย่ วข้องกับเสยี ง แสง และคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป.5 1. อธิบายการไดย้ นิ เสียงผา่ น - การได้ยินเสียงน้นั ตอ้ งอาศัยตัวกลางโดยอาจเปน็ ของแข็ง
ตัวกลาง จากหลกั ฐานเชงิ ของเหลว หรืออากาศ เสยี งจะส่งผ่านตวั กลางมายังหู
ประจกั ษ์
2. ระบุตวั แปร ทดลองและ - เสยี งท่ีได้ยินมีระดบั สงู ตำ่ ของเสยี งตา่ งกันข้นึ กับความถี่ของการ
อธบิ าย ลกั ษณะและการเกดิ สัน่ ของแหล่งกำเนดิ เสยี ง โดยเม่อื แหล่งกำเนดิ เสียงส่ันดว้ ยความถี่
เสยี งสูง เสยี งต่ำ ตำ่ จะเกิดเสยี งตำ่ แตถ่ ้าส่นั ด้วยความถ่สี ูงจะเกิดเสยี งสงู สว่ นเสยี ง
3. ออกแบบกำรทดลองและ ดังค่อยทไ่ี ดย้ นิ ขน้ึ กับพลังงานการสนั่ ของแหลง่ กำเนิดเสียง โดยเมอ่ื
อธบิ าย ลักษณะและการเกดิ แหล่งกำเนดิ เสียงส่ันพลงั งานมากจะเกิดเสยี งดัง แตถ่ ้าแหลง่ กำเนดิ
เสยี งดงั เสียงค่อย เสียงสน่ั ด้วยพลงั งานนอ้ ยจะเกดิ เสยี งค่อย
4. วัดระดับเสียงโดยใช้ - เสยี งดังมาก ๆ เป็นอันตรายตอ่ การได้ยนิ และเสียงท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ
เคร่อื งมือวดั ระดับเสยี ง ความรำคาญเป็นมลพิษทางเสียง เดซเิ บลเป็นหน่วยทีบ่ อกถึงความ
5. ตระหนกั ในคณุ ค่าของ ดังของเสยี ง
ความรูเ้ ร่อื งระดบั เสยี งโดย
เสนอแนะแนวทางในการ
หลีกเลี่ยงและลดมลพิษทาง
เสียง
6.ตระหนกั ถงึ คุณค่าของน้ำโดย - นำ้ จดื ทมี่ นุษย์นำมาใช้ไดม้ ีปริมาณนอ้ ยมาก จึงควรใชน้ ำ้ อยา่ ง
นำเสนอแนวทาง การใช้น้ำ ประหยดั และรว่ มกนั อนรุ ักษ์น้ำ
อย่างประหยัดและการอนุรักษ์
น้ำ
7. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบาย - วฏั จกั รน้ำ เปน็ การหมุนเวยี นของน้ำท่มี ีแบบรูป ซ้ำเดิม และ
การหมนุ เวยี น ของนำ้ ในวัฏจักร ต่อเนอื่ งระหว่างน้ำในบรรยากาศ น้ำผวิ ดิน และน้ำใต้ดนิ โดย
นำ้ พฤติกรรมการดำรงชีวิตของพืชและสัตวส์ ง่ ผลต่อวัฏจกั รน้ำ
๕๒
สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ
ประยกุ ตใ์ ช้ เทคโนโลยีอวกาศ
ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.5 1. เปรยี บเทียบความ - ดาวทีม่ องเหน็ บนท้องฟา้ อยู่ในอวกาศซ่งึ เป็นบริเวณที่อยู่นอก
แตกตา่ งของดาวเคราะห์ บรรยากาศของโลกมีท้ังดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาวฤกษเ์ ปน็
และดาวฤกษ์จาก แหลง่ กำเนิดแสงจึงสามารถมองเหน็ ได้ ส่วนดาวเคราะห์ ไม่ใช่
แบบจำลอง แหลง่ กำเนดิ แสง แตส่ ามารถมองเหน็ ไดเ้ นอ่ื งจากแสงจากดวง
อาทติ ยต์ กกระทบดาวเคราะห์แลว้ สะทอ้ นเข้าสู่ตำ
2 ใช้แผนทดี่ าวระบุ. - การมองเห็นกลมุ่ ดาวฤกษม์ ีรปู รา่ งตา่ ง ๆ เกิดจากจินตนาการของผู้
ตำแหนง่ และเสน้ ทาง การ สังเกต กลุม่ ดาวฤกษ์ต่าง ๆ ท่ีปรากฏในทอ้ งฟ้าแต่ละกล่มุ มีดาวฤกษ์
ขึ้นและตกของกลุ่มดาว แต่ละดวงเรียงกันท่ีตำแหน่งคงที่ และมีเส้นทางการขึ้นและตกตาม
ฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ และ เสน้ ทางเดมิ ทุกคืน ซ่ึงจะปรากฏตำแหนง่ เดิมการสงั เกตตำแหนง่ และ
อธิบายแบบรปู เสน้ ทาง การข้นึ และตกของดาวฤกษ์และกลมุ่ ดาวฤกษส์ ามารถทำได้โดยใช้
การข้นึ และตก ของกลุ่ม แผนทด่ี าว ซ่ึงระบุมมุ ทิศและมมุ เงยที่กลมุ่ ดาวนน้ั ปรากฏ ผู้สังเกต
ดาวฤกษ์บนทอ้ งฟา้ ในรอบ สามารถใช้มือในการประมาณค่าของมมุ เงยเม่ือสงั เกตดาวในท้องฟา้
ปี
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทงั้ ผลต่อสิ่งมีชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม
ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.5 1. เปรียบเทยี บปรมิ าณนำ้ ในแต่ - โลกมที ้ังน้ำจืดและนำ้ เคม็ ซ่ึงอยใู่ นแหล่งนำ้ ต่าง ๆ ทมี่ ีทงั้ แหล่ง
ละแหล่ง และระบุปริมาณน้ำที่ น้ำผิวดนิ เช่น ทะเล มหาสมทุ ร บึง แมน่ ้ำ และแหล่งนำ้ ใต้ดิน
มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ เชน่ น้ำในดนิ และน้ำบาดาล นำ้ ทง้ั หมดของโลกแบง่ เป็น
ได้ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ น้ำเคม็ ประมาณร้อยละ 97.5ซง่ึ อยู่ในมหาสมทุ รและแหล่งนำ้
อ่นื ๆ และทเ่ี หลืออีกประมาณร้อยละ 2.5 เป็นน้ำจืด ถำ้
เรยี งลำดบั ปรมิ าณน้ำจดื จากมากไปนอ้ ยจะอยู่ที่ ธารนำ้ แข็ง
และพดื น้ำแข็ง น้ำใต้ดนิ ชัน้ ดินเยือกแขง็ คงตวั และนำ้ แขง็ ใต้ดนิ
ทะเลสาบ ความชน้ื ในดิน ความชื้นในบรรยากาศ บึง แมน่ ้ำ
และนำ้ ในสิ่งมีชีวิต
ป.5 2. ตระหนกั ถึงคุณค่าของน้ำโดย - นำ้ จืดทีม่ นษุ ย์นำมาใช้ได้มีปริมาณนอ้ ยมาก จึงควรใชน้ ำ้ อย่าง
นำเสนอแนวทาง การใช้น้ำอย่าง ประหยดั และรว่ มกนั อนรุ ักษ์น้ำ
ประหยัดและการอนุรักษน์ ำ้
๕๓
ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
3. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธิบายการ - วัฏจกั รน้ำ เปน็ การหมุนเวียนของน้ำทีม่ ีแบบรปู ซ้ำเดิม และ
หมนุ เวียน ของนำ้ ในวัฏจักรน้ำ ต่อเน่ืองระหว่างนำ้ ในบรรยากาศ นำ้ ผิวดนิ และนำ้ ใต้ดิน โดย
พฤติกรรมการดำรงชวี ิตของพืชและสตั วส์ ่งผลต่อวัฏจกั รน้ำ
4. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิด - ไอนำ้ ในอากาศจะควบแน่นเปน็ ละอองน้ำเล็ก ๆ โดยมลี ะออง
เมฆ หมอก นำ้ คา้ ง และนำ้ คา้ ง ลอย เชน่ เกลือ ฝ่นุ ละออง เกสรดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง
แข็ง จากแบบจำลอง เม่ือละอองนำ้ จำนวนมากเกาะกล่มุ รวมกันลอยอยสู่ ูงจากพื้นดิน
มาก เรยี กวา่ เมฆ แต่ละอองน้ำที่เกาะกลมุ่ รวมกันอยู่ใกล้
พนื้ ดนิ เรียกวา่ หมอก ส่วนไอนำ้ ที่ควบแนน่ เปน็ ละอองน้ำเกาะ
อยูบ่ นพื้นผิววตั ถใุ กลพ้ น้ื ดนิ เรยี กว่า นำ้ ค้าง ถ้ำอุณหภมู ิ ใกล้
พน้ื ดินต่ำกวา่ จดุ เยือกแข็ง นำ้ คา้ งกจ็ ะกลายเปน็ นำ้ ค้างแขง็
5. เปรียบเทยี บกระบวนการเกดิ - ฝน หิมะ ลกู เห็บ เป็นหยาดน้ำฟ้าซ่งึ เป็นน้ำทม่ี ีสถานะตา่ ง ๆ
ฝน หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลที่ ทตี่ กจากฟ้าถึงพน้ื ดิน ฝน เกดิ จากละอองน้ำในเมฆทีร่ วมตัวกนั
รวบรวมได้ จนอากาศไมส่ ามารถ
๕๔
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาทีพ่ บในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป.5 1. ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการ การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข
แกป้ ัญหาการอธบิ าย การทำงาน ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปญั หา
การคาดการณ์ ผลลพั ธ์ จาก การอธิบายการทำงาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์
ปญั หาอย่างง่าย
สถานะเริ่มตน้ ของการทำงานที่แตกต่างกนั จะให้
ผลลัพธ์ทแ่ี ตกตา่ งกนั
ตวั อย่างปญั หา เช่น เกม Sudoku โปรแกรมทำนาย
ตวั เลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิตตามค่าข้อมูลเข้า
การจดั ลำดับการทำงานบา้ นในชว่ งวันหยุด จดั วางของ
ในครัว
2.ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มี การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียนเป็น
การใช้ เหตผุ ลเชิงตรรกะอย่างง่าย ขอ้ ความหรือผังงาน
ตรวจหา ข้อผดิ พลาดและแก้ไข การออกแบบและเขียนโปรแกรมทีม่ กี ารตรวจสอบ
เง่อื นไขท่ีครอบคลมุ ทุกกรณีเพื่อให้ไดผ้ ลลพั ธท์ ี่ถกู ต้อง
ตรงตามความตอ้ งการ
หากมขี ้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง
เม่อื พบจุดทท่ี ำใหผ้ ลลพั ธ์ไมถ่ กู ตอ้ งให้ทำ การแก้ไจนกว่า
จะไดผ้ ลลพั ธท์ ี่ถูกต้อง
การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อ่ืน
จะชว่ ยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปญั หาไดด้ ยี ่ิงขึ้น
ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่ เลขคี่
โปรแกรมรับขอ้ มูลนำ้ หนกั หรือ ส่วนสูง แลว้ แสดงผล
ความสมสว่ นของร่างกาย โปรแกรมสัง่ ใหต้ วั ละครทำตาม
เงอ่ื นไขท่กี ำหนด
ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
๕๕
ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
3.ใชอ้ ินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมลู การคน้ หาข้อมลู ในอินเทอรเ์ น็ต และการพจิ ารณาผล
ติดต่อส่ือสารและ ทำงานรว่ มกนั
ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมลู การคน้ หา
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อเี มล บลอ็ ก
โปรแกรมสนทนา
การเขียนจดหมาย (บรู ณาการกบั วิชาภาษาไทย)
การใชอ้ นิ เทอร์เน็ตในการตดิ ต่อส่อื สารและทำงานร่วมกนั
เชน่ ใช้นัดหมายในการประชุมกลุ่ม ประชาสมั พนั ธ์
กจิ กรรมในห้องเรยี น การแลกเปล่ียน ความรู้ ความ
คิดเห็นในการเรียน ภายใต้การดแู ลของครูการประเมนิ
ความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มลู เช่น เปรียบเทยี บ ความสอดคล้อง
สมบูรณ์ของข้อมูลจากหลายแหล่ง แหลง่ ตน้ ตอของข้อมูล
ผเู้ ขยี น วันท่ีเผยแพร่ข้อมูล
ขอ้ มูลที่ดตี ้องมรี ายละเอยี ดครบทกุ ดา้ น เช่น ขอ้ ดีและ
ข้อเสยี ประโยชนแ์ ละโทษ
4. รวบรวม ประเมนิ นำเสนอ การรวบรวมข้อมลู ประมวลผล สรา้ งทางเลือก
ข้อมูลและ สารสนเทศ ตาม ประเมินผล จะทำให้ไดส้ ารสนเทศเพ่ือใช้ในการ
วตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื แกป้ ัญหาหรือการตดั สนิ ใจได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
บรกิ ารบนอนิ เทอร์เน็ตที่
หลากหลายเพื่อแกป้ ัญหาใน การใชซ้ อฟตแ์ วร์หรอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ต
ชีวติ ประจำวัน ท่ีหลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก
ประเมินผล นำเสนอ จะชว่ ยให้การแก้ปัญหาทำไดอ้ ย่าง
รวดเร็ว ถกู ต้อง และแมน่ ยำ
ตวั อย่างปญั หา เช่น ถ่ายภาพ และสำรวจแผนท่ี
ในทอ้ งถน่ิ เพ่ือนำเสนอแนวทางในการจดั การพน้ื ที่วา่ ง
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ทำแบบสำรวจความคิดเห็นออนไลน์
และวเิ คราะห์ขอ้ มูล นำเสนอขอ้ มูลโดยการใช้ blog หรือ
web page
5. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง อันตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรมทาง
ปลอดภยั มีมารยาทเขา้ ใจสทิ ธิและ อินเทอรเ์ น็ต
หน้าที่ของตน เคารพในสิทธขิ อง มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอนิ เทอร์เน็ต
ผอู้ น่ื แจง้ ผ้เู กย่ี วข้องเม่ือพบข้อมลู (บูรณาการกบั วชิ าที่เกีย่ วข้อง)
หรือบคุ คลท่ีไม่เหมาะสม
๕๖
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ระดบั ชนั้ ป.6
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารผ่านเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมท้งั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. ระบสุ ารอาหารและบอก • สารอาหารที่อยใู่ นอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่
ประโยชนข์ องสารอาหารแต่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั เกลอื แร่ วิตามิน และน้ำ
ละประเภทจากอาหารท่ี • สารอาหารแตล่ ะประเภทมีประโยชน์ต่อร่างกายแตกตา่ ง
ตนเองรบั ประทาน กัน โดยคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมันเปน็ สารอาหารท่ี
ให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนเกลือแร่ วติ ามิน และนำ้ เปน็
สารอาหารท่ีไม่ให้พลงั งานแก่รา่ งกาย
แตช่ ่วยใหร้ ่างกายทำงานได้เป็นปกติ
2. บอกแนวทางในการเลอื ก • อาหารแต่ละชนิดประกอบดว้ ยสารอาหารทแ่ี ตกตา่ งกนั
รบั ประทานอาหารให้ได้ อาหารบางอย่างประกอบดว้ ยสารอาหารประเภทเดยี ว
สารอาหารครบถ้วน ใน อาหารบางอย่างประกอบดว้ ยสารอาหารมากกวา่ หนง่ึ
สัดสว่ นท่ีเหมาะสมกับเพศ ประเภท
และวัย รวมท้ังความปลอดภยั • การรับประทานอาหาร เพอ่ื ใหร้ า่ งกายเจรญิ เติบโต มีการ
ตอ่ สขุ ภาพ เปลย่ี นแปลงของรา่ งกายตามเพศและวยั และมสี ขุ ภาพดี
จำเปน็ ต้องรบั ประทานใหไ้ ด้พลังงานเพยี งพอกบั ความ
3. ตระหนกั ถึงความสำคัญของ ตอ้ งการของร่างกายและใหไ้ ด้สารอาหารครบถ้วน ใน
สัดส่วนทเี่ หมาะสมกับเพศและวยั รวมท้งั ต้องคำนึงถงึ ชนดิ
สารอาหาร โดยการเลอื ก
รบั ประทานอาหารท่ีมี และปรมิ าณของวัตถเุ จือปนในอาหารเพ่ือความปลอดภยั
สารอาหารครบถว้ นในสัดสว่ น ตอ่ สขุ ภาพ
ท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั
รวมทง้ั ปลอดภัยต่อสุขภาพ
4. สรา้ งแบบจำลองระบบย่อย • ระบบยอ่ ยอาหารประกอบด้วยอวยั วะต่างๆ ไดแ้ ก่ ปาก
อาหาร และ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไสเ้ ลก็ ลำไส้ใหญ่ ทวาร
บรรยายหนา้ ที่ของอวยั วะใน หนัก ตับ และตบั ออ่ น ซึ่งทำหน้าท่ีรว่ มกันในการย่อยและ
ระบบย่อย ดูดซึมสารอาหาร
อาหาร รวมทั้งอธบิ ายการยอ่ ย
๕๗
ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อาหาร - ปากมฟี ันช่วยบดเคีย้ วอาหารใหม้ ีขนาดเลก็ ลงและมีลิ้น
และการดูดซึมสารอาหาร ช่วยคลกุ เคล้าอาหารกับน้ำลาย ในนำ้ ลายมีเอนไซมย์ ่อย
แป้งใหเ้ ปน็ นำ้ ตาล
- หลอดอาหารทำหนา้ ที่ลำเลียงอาหารจากปากไปยงั
กระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหารมีการย่อยโปรตีน
โดยกรดและเอนไซมท์ ่สี รา้ งจากกระเพาะอาหาร
- ลำไส้เล็กมีเอนไซม์ที่สร้างจากผนังลำไส้เลก็ เองและจาก
ตบั อ่อนท่ชี ว่ ยยอ่ ยโปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมนั โดย
โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั ทผ่ี า่ นการย่อยจนเปน็
สารอาหารขนาดเล็กพอที่จะดูดซึมได้ รวมถึงนำ้ เกลือแร่
และวิตามิน จะถูกดดู ซึมทผ่ี นังลำไสเ้ ล็กเข้าสู่กระแสเลือด
เพ่อื ลำเลียงไปยงั ส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ซ่ึงโปรตีน
คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน จะถกู นำไปใช้เป็นแหล่งพลังงาน
สำหรบั ใชใ้ นกจิ กรรมต่างๆ ส่วนนำ้ เกลือแร่ และ
วิตามนิ จะชว่ ยให้ร่างกายทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ
- ตับสร้างนำ้ ดีแลว้ สง่ มายงั ลำไส้เลก็ ชว่ ยให้ไขมันแตกตัว
- ลำไส้ใหญ่ทำหนา้ ทีด่ ดู น้ำและเกลือแร่ เปน็ บรเิ วณท่ีมี
อาหารทยี่ ่อยไมไ่ ด้
หรือย่อยไมห่ มดเปน็ กากอาหาร ซง่ึ จะถูกกำจดั ออกทาง
ทวารหนกั
5. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของ อวยั วะต่างๆ ในระบบยอ่ ยอาหารมีความสำคญั จงึ ควร
ระบบย่อยอาหาร โดยการ ปฏบิ ตั ติ น ดูแลรกั ษา
บอกแนวทางในการดแู ลรักษา อวยั วะให้ทำงานเป็นปกติ
อวัยวะในระบบยอ่ ยอาหารให้
ทำงานเป็นปกติ
๕๘
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป. 6 1. อธิบายและเปรยี บเทยี บการ • สารผสมประกอบด้วยสารตัง้ แต่ 2 ชนดิ ขน้ึ ไปผสมกนั เช่น
แยกสารผสมโดยการหยบิ ออก น้ำมนั ผสมน้ำ ขา้ วสารปนกรวดทราย วิธกี ารทีเ่ หมาะสมใน
การร่อน การใชแ้ ม่เหลก็ ดึงดดู การแยกสารผสมขนึ้ อยู่กับลักษณะและสมบัติของสารที่
การรนิ ออก การกรอง และ ผสมกัน ถา้ องค์ประกอบของสารผสมเป็นของแขง็ กับ
การตกตะกอน โดยใช้ ของแขง็ ท่ีมขี นาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน อาจใชว้ ิธีการ
หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ รวมทงั้ หยิบออกหรือการรอ่ นผา่ นวสั ดทุ ี่มีรู ถา้ มีสารใดสารหนง่ึ
ระบุวิธแี กป้ ัญหาใน เป็นสารแม่เหลก็ อาจใช้วิธกี ารใช้แม่เหลก็ ดึงดดู ถ้า
ชวี ิตประจำวันเก่ยี วกับการ องค์ประกอบเป็นของแข็งทไ่ี ม่ละลายในของเหลว อาจใช้
แยกสาร วธิ ีการรินออก การกรอง หรอื การตกตะกอน ซงึ่ วธิ ีการแยก
สารสามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะการเคล่ือนท่ี
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.6 1. อธบิ ายการเกดิ และผลของ • วตั ถุ 2 ชนิดท่ีผา่ นการขดั ถูแลว้ เม่ือนำเข้าใกลก้ นั อาจ
แรงไฟฟา้ ซึ่งเกิดจากวตั ถุที่ ดึงดูดหรือผลกั กัน แรงที่เกดิ ข้ึนนีเ้ ปน็ แรงไฟฟา้ ซึ่งเป็นแรง
ผ่านการขดั ถู โดยใชห้ ลกั ฐาน ไม่สัมผสั เกิดขึน้ ระหว่างวตั ถุท่ีมปี ระจุไฟฟ้า ซึง่ ประจไุ ฟฟา้
เชิงประจักษ์ มี 2 ชนดิ คือ ประจไุ ฟฟา้ บวกและประจไุ ฟฟ้าลบ วตั ถุทม่ี ี
ประจุไฟฟ้าชนดิ เดยี วกนั ผลักกนั ชนิดตรงขา้ มกันดงึ ดูดกัน
๕๙
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป.6 1. ระบุส่วนประกอบและ • วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายประกอบด้วย แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้า
บรรยายหน้าทข่ี องแต่ละ สายไฟฟา้ และเคร่อื งใช้ไฟฟา้ หรอื อปุ กรณไ์ ฟฟา้
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า เช่น ถา่ ยไฟฉาย หรอื แบตเตอร่ี ทำ
อย่างงา่ ยจากหลกั ฐานเชงิ หน้าท่ีใหพ้ ลงั งานไฟฟ้า สายไฟฟ้า เป็นตวั นำไฟฟ้า ทำ
ประจักษ์ หน้าทเ่ี ช่อื มต่อระหว่างแหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ และ
2. เขยี นแผนภาพและต่อ เครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าดว้ ยกัน เคร่ืองใช้ไฟฟ้ามีหนา้ ทเี่ ปล่ยี น
วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย พลังงานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอ่ืน
3. ออกแบบการทดลองและ • เม่อื นำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาตอ่ เรยี งกัน โดยให้ข้ัวบวก
ทดลองด้วยวิธีท่เี หมาะสมใน ของเซลล์ไฟฟา้ เซลล์หน่ึงต่อกับขว้ั ลบของอีกเซลลห์ นงึ่ เป็น
การอธบิ ายวิธกี ารและผล การตอ่ แบบอนุกรม ทำให้มพี ลงั งานไฟฟ้าเหมาะสมกบั
ของการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบ เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ซ่ึงการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถ
อนุกรม นำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั เชน่ การต่อเซลลไ์ ฟฟ้า
4. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของ ในไฟฉาย
ความรขู้ องการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า
แบบอนกุ รมโดยบอก
ประโยชนแ์ ละการ
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
5. ออกแบบการทดลองและ • การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมเม่อื ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใด
ทดลองดว้ ยวิธีท่เี หมาะสมใน ดวงหนง่ึ ออกทำใหห้ ลอดไฟฟ้าทเ่ี หลอื ดับทั้งหมด สว่ นการ
การอธบิ ายการต่อหลอด ตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวง
ไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบ หนง่ึ ออก หลอดไฟฟา้ ทเี่ หลือกย็ งั สวา่ งได้ การต่อหลอด
ขนาน ไฟฟา้ แตล่ ะแบบสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ เช่น การตอ่
6. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของ หลอดไฟฟ้าหลายดวงในบา้ นจึงต้องต่อหลอดไฟฟ้าแบบ
ความรูข้ องการต่อหลอด ขนาน เพื่อเลือกใช้หลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่งได้ตาม
ไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบ ต้องการ
ขนาน โดยบอกประโยชน์
ข้อจำกดั และการประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
๖๐
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
7. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัว • เมอ่ื นำวตั ถุทึบแสงมากัน้ แสงจะเกดิ เงาบนฉากรบั แสงที่อยู่
จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ดา้ นหลังวัตถุ โดยเงามรี ปู ร่างคล้ายวตั ถทุ ี่ทำใหเ้ กดิ เงา เงา
มัวเปน็ บริเวณทม่ี แี สงบางส่วนตกลงบนฉาก สว่ นเงามืดเป็น
8. เขียนแผนภาพรังสขี องแสง บริเวณทไี่ ม่มีแสงตกลงบนฉากเลย
แสดงการเกิดเงามืดเงามวั
๖๑
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซีดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุริยะที่สง่ ผลตอ่ สิ่งมชี วี ติ และการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ
ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.6 1. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธบิ ายการ • เมือ่ โลกและดวงจนั ทร์ โคจรมาอยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกนั
เกดิ และเปรียบเทยี บ กบั ดวงอาทิตยใ์ นระยะทางท่เี หมาะสม ทำใหด้ วงจนั ทร์บัง
ปรากฏการณส์ ุริยุปราคาและ ดวงอาทิตย์ เงาของดวงจนั ทร์ทอดมายังโลก ผู้สงั เกตที่อยู่
จันทรปุ ราคา บริเวณเงาจะมองเห็นดวงอาทิตย์มดื ไป เกิดปรากฏการณ์
สุริยปุ ราคา ซงึ่ มีทั้งสุรยิ ุปราคาเต็มดวง สุรยิ ปุ ราคาบางส่วน
และสรุ ยิ ุปราคาวงแหวน
• หากดวงจันทรแ์ ละโลกโคจรมาอยใู่ นแนวเสน้ ตรงเดยี วกัน
กับดวงอาทติ ย์ แล้วดวงจนั ทร์เคลอื่ นทผี่ ่านเงาของโลก จะ
มองเหน็ ดวงจันทร์มดื ไป เกิดปรากฏการณจ์ ันทรปุ ราคา ซง่ึ
มีท้ังจนั ทรปุ ราคาเต็มดวง และจนั ทรปุ ราคาบางสว่ น
2. อ ธ ิ บ า ย พ ั ฒ น า ก า ร ข อ ง • เทคโนโลยีอวกาศเริ่มจากความต้องการของมนุษย์ในการ
เ ท ค โ น โ ล ย ี อ ว ก า ศ แ ล ะ สำรวจวัตถทุ ้องฟา้ โดยใช้ตาเปล่า กล้องโทรทรรศน์ และได้
ยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยี พัฒนาไปสู่การขนส่งเพื่อสำรวจอวกาศด้วยจรวดและยาน
อวกาศมาใช้ประโยชน์ใน ขนส่งอวกาศและยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีการ
ชีวิตประจำวัน จากข้อมูลท่ี นำเทคโนโลยีอวกาศบางประเภทมาประยุกต์ใช้ใน
รวบรวมได้ ชีวิตประจำวัน เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร การ
พยากรณ์อากาศ หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การ
ใช้อุปกรณ์วัดชีพจรและการเต้นของหัวใจ หมวกนิรภัย ชุด
กีฬา
๖๒
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบ และความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก
และบนผวิ โลกธรณีพบิ ตั ภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลก
รวมทง้ั ผลตอ่ ส่งิ มีชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม
ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ป.6 1. เปรยี บเทยี บกระบวนการ • หนิ เปน็ วัสดุแข็งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย แร่
เกิดหนิ อัคนี หนิ ตะกอน และ ต้ังแต่หนึ่งชนิดขึน้ ไป สามารถจำแนกหนิ ตามกระบวนการ
หนิ แปร และอธิบายวฏั จกั ร เกดิ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ หนิ อัคนี หนิ ตะกอน และหนิ
หนิ จากแบบจำลอง แปร
• หนิ อัคนีเกิดจากการเยน็ ตัวของแมกมา เนื้อหินมลี ักษณะ
เปน็ ผลึก ทัง้ ผลกึ ขนาดใหญ่และขนาดเลก็ บางชนิดอาจเป็น
เน้ือแกว้ หรือมรี ูพรุน
• หินตะกอน เกดิ จากการทบั ถมของตะกอนเม่อื ถกู แรงกดทับ
และมีสารเชอื่ มประสานจงึ เกิดเป็นหนิ เน้อื หินกลุม่ นส้ี ่วน
ใหญ่มลี ักษณะเป็นเมด็ ตะกอน
มีทั้งเน้ือหยาบและเนื้อละเอยี ด บางชนิดเป็นเนอ้ื ผลกึ ที่ยึด
เกาะกนั เกดิ จากการตกผลึกหรอื ตกตะกอนจากนำ้
โดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้นๆ จงึ เรยี กอีก
ชือ่ ว่า หินชน้ั
• หินแปร เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ ซงึ่ อาจเป็นหิน
อคั นี หินตะกอน หรอื หินแปร โดยการกระทำของความ
ร้อน ความดนั และปฏิกิริยาเคมี เน้อื หนิ ของหนิ แปรบาง
ชนิดผลึกของแร่เรยี งตัวขนานกันเป็นแถบ บางชนดิ แซะ
ออกเป็นแผน่ ได้ บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่มีความแข็งมาก
• หินในธรรมชาติทั้ง 3 ประเภท มีการเปลยี่ นแปลงจาก
ประเภทหน่ึงไปเปน็ อีกประเภทหนง่ึ หรือประเภทเดมิ ได้
โดยมีแบบรูปการเปล่ียนแปลงคงท่ีและต่อเน่ืองเปน็ วัฏจักร
2. บรรยายและยกตัวอยา่ งการ • หินและแรแ่ ตล่ ะชนิดมลี ักษณะและสมบัตแิ ตกตา่ งกนั
ใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ มนุษย์ใช้ประโยชนจ์ ากแร่ในชีวติ ประจำวันในลกั ษณะตา่ งๆ
ในชีวิตประจำวนั จากข้อมูลท่ี เช่น นำแรม่ าทำเครื่องสำอาง ยาสฟี นั เคร่ืองประดบั
รวบรวมได้ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ และนำหินมาใชใ้ นงานก่อสร้าง
ต่างๆ เปน็ ตน้
3. สร้างแบบจำลองที่อธิบาย • ซากดกึ ดำบรรพ์เกดิ จากการทับถมหรอื การประทบั รอยของ
การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์และ สิง่ มชี วี ิตในอดีต จนเกดิ เปน็ โครงสรา้ งของซากหรือร่องรอย
คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มใน ของสง่ิ มชี วี ิตทปี่ รากฏอยู่ในหิน ในประเทศไทยพบ ซากดกึ
อดีตของซากดึกดำบรรพ์
๖๓
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. เปรยี บเทยี บการเกิดลมบก ดำบรรพท์ ่ีหลากหลาย เช่น พืช ปะการัง หอย ปลา เต่า
ลมทะเล และมรสุม รวมท้ัง ไดโนเสาร์ และรอยตีนสัตว์
อธบิ ายผลท่มี ีต่อสงิ่ มีชวี ติ • ซากดึกดำบรรพ์สามารถใชเ้ ป็นหลักฐานหน่ึงท่ชี ว่ ยอธบิ าย
และสิ่งแวดล้อมจาก สภาพแวดลอ้ มของพน้ื ที่ในอดีตขณะเกิดส่ิงมชี ีวิตนัน้ เชน่
แบบจำลอง หากพบซากดึกดำบรรพ์ของหอยน้ำจดื สภาพแวดลอ้ ม
บรเิ วณนนั้ อาจเคยเปน็ แหล่งน้ำจดื มาก่อน และหากพบซาก
5. อธิบายผลของมรสมุ ต่อการ ดกึ ดำบรรพ์ของพชื สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณนน้ั อาจเคยเปน็
เกิดฤดูของประเทศไทยจาก ปา่ มาก่อน นอกจากนซ้ี ากดึกดำบรรพย์ งั สามารถใชร้ ะบุ
ข้อมูลทีร่ วบรวมได้ อายุของหนิ และเปน็ ข้อมูลในการศกึ ษาวิวัฒนาการของ
ส่งิ มีชีวติ
6. บรรยายลกั ษณะและ
ผลกระทบของน้ำท่วม การ • ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดจากพ้นื ดินและพน้ื น้ำ ร้อน
กัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม และเย็นไม่เทา่ กนั ทำให้อุณหภูมอิ ากาศเหนอื พ้ืนดนิ และพ้ืน
แผ่นดินไหว สึนามิ น้ำแตกต่างกนั จงึ เกิดการเคลอ่ื นทข่ี องอากาศจากบริเวณท่ี
มอี ุณหภมู ิต่ำไปยังบรเิ วณที่มีอณุ หภูมิสงู
• ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจำถิน่ ท่ีพบบรเิ วณชายฝ่ัง
โดยลมบกเกิดในเวลากลางคนื ทำใหม้ ีลมพดั จากชายฝง่ั
ไปสทู่ ะเล ส่วนลมทะเลเกิดในเวลากลางวัน ทำใหม้ ลี มพัด
จากทะเลเข้าสชู่ ายฝง่ั
• มรสุมเปน็ ลมประจำฤดเู กิดบริเวณเขตรอ้ นของโลก ซ่ึงเป็น
บรเิ วณกว้างระดับภูมภิ าคประเทศไทยไดร้ ับผลจากมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในชว่ งประมาณกลางเดือนตุลาคม
จนถงึ เดือนกุมภาพนั ธท์ ำใหเ้ กิดฤดหู นาว และไดร้ บั ผลจาก
มรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ในชว่ งประมาณกลางเดือน
พฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคมทำให้เกิดฤดูฝน ส่วน
ช่วงประมาณกลางเดอื นกมุ ภาพันธ์จนถงึ กลางเดอื น
พฤษภาคมเปน็ ช่วงเปล่ยี นมรสุมและประเทศ
ไทยอยู่ใกลเ้ ส้นศูนยส์ ตู ร แสงอาทิตยเ์ กือบต้งั ตรงและต้ัง
ตรงประเทศไทยในเวลาเที่ยงวนั ทำใหไ้ ด้รับความร้อนจาก
ดวงอาทติ ย์อยา่ งเต็มที่ อากาศจงึ รอ้ นอบอ้าวทำใหเ้ กิดฤดู
รอ้ น
• นำ้ ท่วม การกดั เซาะชายฝงั่ ดินถล่ม แผน่ ดินไหวและสึนามิ
มีผลกระทบต่อชีวติ และสิ่งแวดลอ้ มแตกต่างกัน
๖๔
ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
7. ตระหนักถึงผลกระทบของ • มนษุ ยค์ วรเรียนรู้วธิ ีปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั เช่น ติดตาม
ภยั ธรรมชาติและธรณีพบิ ัติ ข่าวสารอยา่ งสมำ่ เสมอ เตรียม
ภยั โดยนำเสนอแนวทางใน ถงุ ยงั ชพี ให้พรอ้ มใชต้ ลอดเวลา และปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งของ
การเฝ้าระวังและปฏิบตั ิตน ผปู้ กครองและเจา้ หน้าทีอ่ ย่างเครง่ ครดั เม่ือเกิดภัยธรรมชาติ
ให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ และธรณพี บิ ัติภยั
และ
ธรณพี ิบัตภิ ัยท่อี าจเกดิ ใน
ทอ้ งถิ่น
8. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธบิ าย • ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกดิ จากแก๊สเรือนกระจกในชั้น
การเกิดปรากฏการณ์เรอื น บรรยากาศของโลกกักเก็บความรอ้ นแลว้ คายความรอ้ น
กระจก และผลของ บางส่วนกลบั สูผ่ ิวโลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภมู ิ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจกต่อ เหมาะสมต่อ
ส่ิงมีชวี ิต การดำรงชวี ิต
9. ตระหนกั ถึงผลกระทบของ • หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกรุนแรงมากข้ึนจะมผี ลต่อการ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก มนุษย์จงึ ควรร่วมกันลด
โดยนำเสนอแนวทางการ กิจกรรมท่ีกอ่ ให้เกิดแก๊สเรือนกระจก
ปฏิบตั ติ นเพื่อลดกิจกรรมท่ี
ก่อให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก
๖๕
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.6 1. ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธิบาย การแก้ปญั หาอย่างเป็นขนั้ ตอนจะชว่ ยให้ แก้ปัญหา
และ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่ ได้
พบใน ชวี ิตประจำวัน อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑห์ รอื
เง่ือนไขทค่ี รอบคลมุ ทกุ กรณีมาใช้พจิ ารณาในการ
แก้ปัญหาสถานะเรม่ิ ต้นของการทำงานท่ีแตกตา่ งกนั
จะใหผ้ ลลพั ธท์ ี่แตกตา่ งกนั
แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเง่ือนไข
การพจิ ารณากระบวนการทำงานที่มกี ารทำงาน
แบบวนซ้ำหรือเงื่อนไขเปน็ วธิ ีการทจี่ ะชว่ ยให้
การออกแบบวิธีการแกป้ ญั หาเปน็ ไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ตวั อยา่ งปัญหา เชน่ การคน้ หาเลขหนา้ ที่ ต้องการให้
เร็ว
ที่สุด การทายเลข 1-1,000,000 โดยตอบให้ถูก
ภายใน
20 คำถาม การคำนวณ เวลาในการเดินทาง
โดยคำนึงถึง
ระยะทาง เวลา จุดหยุดพกั
2.ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่าง การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขยี นเปน็
ง่าย ขอ้ ความหรอื ผังงาน
เพือ่ แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวัน การออกแบบและการเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัว
ตรวจหา
แปร
ขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและ
การวนซำ้ การตรวจสอบเง่ือนไข
แกไ้ ข หากมขี ้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบการทำงานทลี ะคำสัง่
เมื่อพบจุดที่ทำให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องให้ทำการแก้ไข
จนกวา่ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ี่ถกู ต้อง
การฝึกตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรมของผูอ้ น่ื
จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดี
ยิง่ ข้ึน
๖๖
ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
3.ใช้อินเทอรเ์ นต็ ในการค้นหาข้อมลู ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหา
อยา่ ง
คา่
ประสิทธภิ าพ
ค.ร.น. เกมฝกึ พิมพ์
4.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงาน ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch,
ร่วมกนั อยา่ งปลอดภัย เข้าใจสิทธิ
และหนา้ ทีข่ องตน logo
เคารพในสิทธิของผู้อน่ื แจ้ง การคน้ หาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการคน้ หาข้อมลู
ผเู้ กย่ี วข้อง
ท่ไี ด้
เม่ือพบข้อมูลหรอื บุคคลท่ีไม่
เหมาะสม ตรงตามความตอ้ งการในเวลาทร่ี วดเร็ว จาก
แหล่งขอ้ มูล ท่นี ่าเชื่อถือหลายแหล่ง และข้อมูลมี
ความสอดคล้องกัน
การใช้เทคนิคการคน้ หาขั้นสูง เช่น การใช้ตวั
ดำเนนิ การ
การระบรุ ูปแบบของข้อมูลหรือชนดิ ของไฟล์
การจดั ลำดับผลลัพธจ์ ากการค้นหาของโปรแกรม
ค้นหา
การเรียบเรียง สรปุ สาระสำคัญ (บูรณาการกับวชิ า
ภาษาไทย)
อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทาง
อนิ เทอรเ์ น็ต แนวทางในการป้องกัน
วธิ กี ำหนดรหสั ผ่าน
การกำหนดสิทธกิ์ ารใชง้ าน (สิทธิ์ในการเข้าถงึ )
แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมัลแวร์
อนั ตรายจากการติดต้ังซอฟต์แวร์ทอี่ ยู่บน
อนิ เทอรเ์ น็ต
บทที่ ๒
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชี้วัด
๖๘
ตารางออกแบบจดุ ประสงค์การเรียนรู้
วชิ า วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ง 14201 กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานฯ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
จำนวนเวลา 40 ชั่วโมง/ปกี ารศึกษา จำนวน 1 หน่วยกิต
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
ท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัด/
ผลการเรียนรู้
1 คลกิ คลิก คลิก ว 4.2 ป.1/4 1. รู้จักการใชเ้ มาส์ 1. รจู้ ักกับอุปกรณ์ Mouse
2 เท่ยี วบ้านคณุ ย่า 2. รู้จักวิธดี แู ลรักษาเมาส์ 2. รจู้ ักการจับเมาส์ทถ่ี ูกตอ้ ง
3. รู้จักการคลิกเมาส์
ว 4.2 ป.4/1 1. การใช้อลั กอริทึม 4. รู้จกั การดบั เบลิ้ คลิกเมาส์
แก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั 5. รู้จกั การคลกิ ขวา
2. การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ 1. รู้จักความหมายของอลั
กอรทิ ึ่ม
2. ยกตัวอย่างอัลกอริท่ึมท่ี
ใชแ้ ก้ปญั หาใน
ชีวติ ประจำวนั
3.ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการ
แกป้ ัญหา
3 โปรแกรมแสนสนุก ว 4.2 ป.4/2 1. แนะนำเครือ่ งมอื Scratch 1. รจู้ ักโปรแกรม Scratch
2. การเขียนโปรแกรม 2. รจู้ กั การเขยี นโปรแกรม
เบื้องต้น เบื้องตน้
4 หนทางหม่นื ล้ี เรม่ิ ต้นท่ี ว 4.2 ป.4/2 1. ออกแบบและเขยี น 1. เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย
ธงเขียว โปรแกรมมอยา่ งง่าย 2. ตรวจหาข้อผดิ พลาดโดย
2. ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจาก ตรวจสอบการทำงานทลี ะ
โปรแกรม
คำสัง่
๖๙
ท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้
5 บั้งไฟบุปชาติ ตัวชี้วดั /
ผลการเรยี นรู้ 1. ทำนายผลลพั ธจ์ าก
ขน้ั ตอนการแก้ปัญหา
ว 4.2 ป.4/1 1 การทำนายผลลัพธ์จาก 2. ตรวจหาข้อผิดพลาดและ
,2 ขั้นตอนการแก้ปญั หา แก้ไขโปรแกรม
2 การตรวจหาข้อผดิ พลาด
จากโปรแกรม
6 ลอยฟา้ ตะลุยสวน ว 4.2 ป.4/4 การรวบรวมข้อมูลและการ 1. รวบรวมขอ้ มูลและ
ประมวลผลอยา่ งง่าย ประมวลผลขอ้ มูล
7 ชารต์ ชารต์ ชารต์ ว 4.2 ป.4/4 1. การนำเสนอข้อมูล 1. บอกรูปแบบของข้อมูลได้
นอ้ งเคยเห็นชารต์ หรือ 2. การใชซ้ อฟต์แวรน์ ำเสนอ 2. เลอื กชนิดแผนภมู ใิ ห้
เปล่า ข้อมูล เหมาะสมกบั ข้อมลู
3. การใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย 3.ใช้ซอฟต์แวร์ในการ
นำเสนอข้อมลู
8 แสบตอ้ งเสิร์ช ว 4.2 ป.4/1 1. การใชค้ ำคน้ 1. คน้ หาข้อมลู ทาง
,2 2. การประเมนิ ความ อินเทอรเ์ น็ต
นา่ เชื่อถือของข้อมูล 2. ประเมินความนา่ เชื่อถอื
ของขอ้ มูล
3.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภัย
9 อยา่ ไวใ้ จทาง อย่า ว 4.2 ป.4/3 การประเมินความนา่ เชื่อถือ 1. ประเมินความเน่าเช่อื ถอื
วางใจขา่ ว ,5 และการอ้างอิงแหล่งขอ้มลู ของขอ้ มลู
2. อา้ งองิ แหล่งท่ีมาของ
ขอ้ มูล
มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ๗๐
ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ผลการเรียนรู้
1. วเิ คราะหป์ ญั หาและสร้าง
10 บางแสนแสนสนุก ว 4.2 ป.4/4 การวิเคราะห์และสรา้ ง ทางเลือกในการแก้ปญั หา
ทางเลือก 2. ประมวลผลขอ้ มลู เพ่ือใช้
ในการแก้ปญั หา
๗๑
การวเิ คราะหห์ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สกู่ ารจดั ทำแนวการจดั การเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หนว่ ยที่ 1 เร่อื ง บัง้ ไฟบปุ ชาติ
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นข้นั ตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม
ตัวช้ีวัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ สาระการ กิจกรรม /
คุณลกั ษณะ แกนกลาง เรยี นรู้ กระบวนการ
ท้องถิ่น
ว 4.2 ป.1/4 สมรรถนะสำคญั การใชง้ านอปุ กรณ์
1. ความสามารถในการ เทคโนโลยเี บ้อื งตน้ เชน่
สอื่ สาร การใชเ้ มาส์
2. ความสามารถในการคดิ คียบ์ อรด์ จอสัมผสั
3. ความสามารถในการ การเปดิ -ปิด อปุ กรณ์
แกป้ ัญหา เทคโนโลยี
4. ความสามารถในการใช้ การใช้งานซอฟต์แวร์ - การถามตอบ
- การสืบค้นหา
ทกั ษะชีวิต เบือ้ งต้น เช่น การเข้า ความรู้
- การศกึ ษา
5. ความสามารถในการใช้ และออกจาก
เทคโนโลยี โปรแกรม การสร้าง
คุณลกั ษณะอันพงึ ไฟล์ การจัดเกบ็ การ - คน้ ควา้ ดว้ ย
ประสงค์ เรียกใชไ้ ฟล์ ตนเอง
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ทำได้ในโปรแกรม - การเรียนแบบ
๒. ซ่ือสัตย์สจุ ริต เช่น โปรแกรมประมวล Active
๓. มวี นิ ยั คำ โปรแกรม กราฟิก Learning
๔. ใฝ่เรียนรู้ โปรแกรมนำเสนอ
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง การสร้างและจดั เกบ็
๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ไฟล์อยา่ งเป็นระบบจะ
๗. รกั ความเป็นไทย ทำใหเ้ รียกใช้ คน้ หา
๘. มีจิตสาธารณะ
ขอ้ มูลได้ง่ายและรวดเรว็
๗๒
การวเิ คราะห์หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่กู ารจดั ทำแนวการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (รายวชิ า วิทยาการคำนวณ)
รหัส ว 14101 หน่วยท่ี 2 เรื่อง ลอยฟ้าตะลยุ สวน
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอนและเป็น
ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา
ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม
ตวั ชวี้ ดั สมรรถนะ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการ กจิ กรรม /
คุณลักษณะ เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถ่นิ
ว 4.2 ป.4/1 ,2 สมรรถนะสำคัญ • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็น - การอธบิ าย
1. ความสามารถในการ ก า ร น ำ ก ฎ เ ก ณ ฑ ์ ห รื อ - การสาธิต
สือ่ สาร เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณี - - การถามตอบ
2. ความสามารถในการคดิ มาใช้พิจารณาในการ - การสบื ค้นหา
3. ความสามารถในการ แก้ปัญหา การอธิบายการ ความรู้
แกป้ ญั หา ทำงาน หรือการคาดการณ์ - การเรยี นรู้แบบ
4. ความสามารถในการใช้ ผลลัพธ์ ร่วมมือ
ทักษะชีวิต - การศกึ ษา
5. ความสามารถในการใช้ • สถานะเริ่มต้นของการ คน้ คว้าดว้ ย
เทคโนโลยี ทำงานที่แตกต่างกันจะให้ ตนเอง
ผลลพั ธท์ ีแ่ ตกต่างกนั - การเรียนแบบ
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ Active
• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม
ประสงค์ Learning
OX, โ ป ร แ ก ร ม ท ี ่ ม ี ก า ร
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ คำนวณ, โปรแกรมที่มีตัว
๒. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ
ละครหลายตัว และมีการ
๓. มวี นิ ัย
สั่งงานที่แตกต่าง หรือมีการ
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
สื่อสารระหว่างกัน, การ
๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง
เดินทางไปโรงเรียนโดย
๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน วธิ ีการต่าง ๆ
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๗๓
การวเิ คราะห์หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สูก่ ารจัดทำแนวการจดั การเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหัส ว 14101 หนว่ ยที่ 3 เรื่อง โปรแกรมแสนสนุก
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นข้ันตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมีจริยธรรม
ตัวช้วี ัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการ กิจกรรม /
คุณลกั ษณะ เรยี นรู้ กระบวนการ
ท้องถิน่
ว 4.2 ป.4/2 สมรรถนะสำคัญ • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น - การอธิบาย
1. ความสามารถในการ การออกแบบโดยใช้ storyboard หรือ - การสาธติ
สอ่ื สาร การออกแบบอัลกอรทิ ึม - การถามตอบ
2. ความสามารถในการคดิ • การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับ - การสบื คน้ หา
3. ความสามารถในการ ของคำส่งั ให้คอมพวิ เตอรท์ ำงาน ความรู้
แกป้ ัญหา เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ตาม ความต้องการ - การเรียนรูแ้ บบ
4. ความสามารถในการใช้ หากมขี ้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบ การ รว่ มมอื
ทกั ษะชวี ิต ทำงานทลี ะคำส่งั เมื่อพบจดุ ท่ีทำใหผ้ ล - การศกึ ษา
5. ความสามารถในการใช้ ลพั ธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทำการแก้ไขจนกว่า คน้ คว้าดว้ ย
เทคโนโลยี จะไดผ้ ลลพั ธ์ที่ถกู ต้อง ตนเอง
• ตัวอย่างโปรแกรมที่มเี รื่องราว เชน่ - การเรยี นแบบ
คณุ ลักษณะอันพึง Active
ประสงค์ นิทานทีม่ ี การตอบโต้กับผ้ใู ช้ การ์ตนู
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สน้ั เล่ากิจวัตรประจำวัน Learning
๒. ซื่อสัตย์สจุ ริต ภาพเคล่อื นไหว
๓. มวี นิ ยั • การฝกึ ตรวจหาข้อผดิ พลาดจาก
๔. ใฝเ่ รยี นรู้ โปรแกรมของผอู้ ่นื จะชว่ ยพฒั นาทักษะ
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง การหาสาเหตุของปญั หาได้ดีย่ิงข้นึ
๖. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน • ซอฟตแ์ วรท์ ี่ใชใ้ นการเขียนโปรแกรม
๗. รกั ความเป็นไทย เชน่ Scratch, logo
๘. มจี ติ สาธารณะ
๗๔
การวเิ คราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สกู่ ารจดั ทำแนวการจดั การเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวชิ า วิทยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หนว่ ยท่ี 4 เรอ่ื ง หนทางหม่นื ล้ี เรม่ิ ต้นท่ีธงเขียว
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนและเป็น
ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม
ตวั ชวี้ ดั สมรรถนะ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการ กจิ กรรม /
คุณลกั ษณะ เรยี นรู้ กระบวนการ
ท้องถ่ิน
ว 4.2 ป.4/2 สมรรถนะสำคัญ • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น - การอธบิ าย
- การสาธิต
1. ความสามารถในการ การออกแบบโดยใช้ storyboard หรอื
ส่ือสาร การออกแบบอลั กอรทิ ึม - การถามตอบ
- การสบื ค้นหา
2. ความสามารถในการคดิ • การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดับ ความรู้
- การเรยี นรู้แบบ
3. ความสามารถในการ ของคำส่ัง ให้คอมพวิ เตอร์ทำงาน เพอื่ ให้ ร่วมมือ
- การศกึ ษา
แกป้ ญั หา ไดผ้ ลลพั ธต์ าม ความต้องการ หากมี ค้นคว้าดว้ ย
ตนเอง
4. ความสามารถในการใช้ ขอ้ ผดิ พลาดใหต้ รวจสอบ การทำงานที - การเรยี นแบบ
Active
ทกั ษะชวี ิต ละคำส่งั เมื่อพบจุดทีท่ ำใหผ้ ลลัพธ์ ไม่
Learning
5. ความสามารถในการใช้ ถกู ต้อง ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะได้
เทคโนโลยี ผลลพั ธ์ท่ถี ูกต้อง
คุณลกั ษณะอันพึง • ตวั อย่างโปรแกรมทมี่ เี รื่องราว เชน่
ประสงค์ นิทานที่มี การตอบโต้กับผู้ใช้ การ์ตูนสนั้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ เล่ากจิ วัตรประจำวัน ภาพเคลื่อนไหว
๒. ซื่อสตั ย์สุจริต
๓. มีวินัย • การฝกึ ตรวจหาข้อผดิ พลาดจาก
๔. ใฝ่เรยี นรู้ โปรแกรมของผอู้ ืน่ จะชว่ ยพฒั นาทกั ษะ
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง การหาสาเหตุของปัญหาได้ดยี ิ่งขนึ้
๖. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
• ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
เชน่ Scratch, logo
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๗๕
การวิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สกู่ ารจัดทำแนวการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หนว่ ยท่ี 4 เรื่อง หนทางหมนื่ ล้ี เรม่ิ ต้นที่ธงเขียว
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชวี ิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนและเปน็
ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตวั ช้ีวัด สมรรถนะ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการ กจิ กรรม /
คณุ ลกั ษณะ เรยี นรู้ กระบวนการ
ทอ้ งถน่ิ
ว 4.2 ป.4/2 สมรรถนะสำคญั • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เชน่ - การอธิบาย
- การสาธติ
1. ความสามารถในการ การออกแบบโดยใช้ storyboard หรือ
ส่ือสาร การออกแบบอลั กอริทึม - การถามตอบ
- การสบื คน้ หา
2. ความสามารถในการคดิ • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดบั ความรู้
- การเรียนรู้
3. ความสามารถในการ ของคำส่ัง ให้คอมพวิ เตอรท์ ำงาน แบบ
รว่ มมอื
แก้ปัญหา เพ่อื ให้ไดผ้ ลลพั ธต์ าม ความต้องการ - การศกึ ษา
ค้นควา้ ด้วย
4. ความสามารถในการใช้ หากมขี ้อผดิ พลาดใหต้ รวจสอบ การ ตนเอง
- การเรยี นแบบ
ทักษะชีวติ ทำงานทีละคำส่งั เมื่อพบจุดท่ีทำใหผ้ ล Active
5. ความสามารถในการใช้ ลพั ธ์ ไม่ถูกต้อง ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่า Learning
เทคโนโลยี จะไดผ้ ลลัพธท์ ่ีถูกต้อง
คณุ ลกั ษณะอนั พึง • ตัวอย่างโปรแกรมทมี่ เี รื่องราว เช่น
ประสงค์ นทิ านทม่ี ี การตอบโต้กับผูใ้ ช้ การต์ นู
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ สัน้ เล่ากจิ วัตรประจำวัน
๒. ซื่อสตั ย์สุจรติ ภาพเคล่อื นไหว
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้ • การฝึกตรวจหาข้อผดิ พลาดจาก
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง โปรแกรมของผูอ้ ่นื จะช่วยพัฒนาทักษะ
๖. มุง่ ม่นั ในการทำงาน การหาสาเหตุของปญั หาได้ดียิ่งข้นึ
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ • ซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ในการเขียนโปรแกรม
เชน่ Scratch, logo
๗๖
การวิเคราะหห์ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สูก่ ารจดั ทำแนวการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหัส ว 14101 หนว่ ยที่ 5 เร่อื ง บ้ังไฟบุปชาติ
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชวี ิตจริงอยา่ งเปน็ ข้ันตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตัวช้ีวดั สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ สาระการ กิจกรรม /
คณุ ลกั ษณะ แกนกลาง เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถ่นิ
ว 4.2 ป.4/1 ,2 สมรรถนะสำคญั • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ - การอธิบาย
1. ความสามารถในการ เป็นการนำกฎเกณฑ์ - การสาธติ
สอ่ื สาร หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุม - การถามตอบ
2. ความสามารถในการคิด ทุกกรณีมาใชพ้ ิจารณาใน - การสบื คน้ หา
3. ความสามารถในการ ก า ร แ ก ้ ป ั ญ ห า ก า ร ความรู้
แก้ปญั หา อธิบายการทำงาน หรือ - การเรียนรแู้ บบ
4. ความสามารถในการใช้ การคาดการณ์ผลลพั ธ์ รว่ มมอื
- การศกึ ษา
ทักษะชวี ิต • สถานะเริ่มต้นของการ คน้ คว้าดว้ ย
5. ความสามารถในการใช้ ทำงานที่แตกต่างกันจะ
เทคโนโลยี ใหผ้ ลลัพธท์ แ่ี ตกต่างกัน ตนเอง
• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม - การเรียนแบบ
คุณลกั ษณะอนั พึง Active
ประสงค์ OX, โปรแกรมที่มีการ
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ คำนวณ, โปรแกรมท่มี ตี ัว Learning
๒. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ละครหลายตวั และมกี าร
๓. มวี ินยั สั่งงานที่แตกต่าง หรือมี
๔. ใฝเ่ รียนรู้ การสื่อสารระหว่างกัน,
๕. อย่อู ยา่ งพอเพียง การเดินทางไปโรงเรียน
๖. ม่งุ ม่ันในการทำงาน โดยวิธกี ารต่าง ๆ
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
๗๗
การวิเคราะหห์ ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สกู่ ารจดั ทำแนวการจดั การเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ)
รหัส ว 14101 หน่วยที่ 6 เร่อื ง ลอยฟา้ ตะลยุ สวน
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหา
ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ รูเ้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตวั ชว้ี ัด สมรรถนะ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการ กิจกรรม /
คณุ ลกั ษณะ เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถ่นิ
ว 4.2 ป.4/4 สมรรถนะสำคัญ •การรวบรวมขอ้ มลู ทำไดโ้ ดยกำหนดหัวขอ้ ท่ี - การอธิบาย
- การสาธิต
1. ความสามารถในการ ตอ้ งการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบนั ทึก - การถามตอบ
- การสบื คน้ หา
ส่ือสาร • การประมวลผลอย่างงา่ ย เช่น เปรียบเทยี บ ความรู้
2. ความสามารถในการคิด จดั กลุม่ เรียงลำดับ การหาผลรวม - การเรยี นรู้แบบ
รว่ มมอื
3. ความสามารถในการ • วเิ คราะห์ผลและสร้างทางเลือกทเ่ี ป็นไปได้ - การศึกษา
แกป้ ัญหา ประเมนิ ทางเลอื ก (เปรยี บเทียบ ตดั สนิ ) คน้ ควา้ ด้วย
4. ความสามารถในการใช้ ตนเอง
ทกั ษะชีวิต • การนำเสนอขอ้ มลู ทำไดห้ ลายลกั ษณะตาม - การเรียนแบบ
5. ความสามารถในการใช้ ความเหมาะสม เช่น การบอกเล่า Active
เทคโนโลยี เอกสารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรม
นำเสนอ Learning
คณุ ลกั ษณะอันพงึ • การใชซ้ อฟต์แวร์เพือ่ แกป้ ญั หาใน
ประสงค์ ชวี ิตประจำวัน เชน่ การสำรวจเมนูอาหาร
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ กลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบสอบถาม
๒. ซ่ือสตั ย์สจุ ริต และเก็บข้อมลู ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
๓. มวี นิ ัย เพอื่ ประมวลผลขอ้ มูล รวบรวมข้อมลู
๔. ใฝเ่ รียนรู้ เกยี่ วกบั คุณค่าทางโภชนาการและสร้าง
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง รายการอาหารสำหรับ 5 วนั ใชซ้ อฟต์แวร์
๖. มุง่ ม่นั ในการทำงาน นำเสนอผลการสำรวจ รายการอาหารที่เป็น
๗. รักความเป็นไทย ทางเลือก และข้อมูลด้านโภชนาการ
๘. มีจติ สาธารณะ
๗๘
การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สู่การจัดทำแนวการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (รายวิชา วิทยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หนว่ ยท่ี 7 เรอ่ื ง ชารต์ ชารต์ ชาร์ต น้องเคยเหน็ ชาร์ตหรอื เปล่า
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเป็นขนั้ ตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หา
ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม
ตัวชี้วัด สมรรถนะ สาระการเรยี นรู้ สาระการ กจิ กรรม /
คณุ ลกั ษณะ แกนกลาง เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถน่ิ
ว 4.2 ป.4/4 สมรรถนะสำคัญ •การรวบรวมข้อมลู ทำ - การอธบิ าย
- การสาธติ
1. ความสามารถในการ ไดโ้ ดยกำหนดหวั ข้อท่ี - การถามตอบ
- การสบื ค้นหา
สอ่ื สาร ตอ้ งการ เตรยี ม ความรู้
- การเรียนรแู้ บบ
2. ความสามารถในการคดิ อุปกรณ์ในการจด ร่วมมือ
- การศึกษา
3. ความสามารถในการ บันทกึ ค้นควา้ ด้วย
ตนเอง
แกป้ ัญหา • การประมวลผลอย่าง - การเรียนแบบ
Active
4. ความสามารถในการใช้ งา่ ย เช่น เปรียบเทยี บ
Learning
ทักษะชวี ิต จดั กลมุ่ เรียงลำดบั
5. ความสามารถในการใช้ การหาผลรวม
เทคโนโลยี
• วเิ คราะห์ผลและสร้าง
คณุ ลักษณะอนั พงึ ทางเลือกทเี่ ป็นไปได้
ประสงค์ ประเมินทางเลือก
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ (เปรยี บเทียบ ตัดสนิ )
๒. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต • การนำเสนอข้อมูลทำ
๓. มวี ินยั ได้หลายลกั ษณะตาม
๔. ใฝ่เรยี นรู้ ความเหมาะสม เช่น
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง การบอกเล่า
๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน เอกสารรายงาน
๗. รักความเปน็ ไทย โปสเตอร์ โปรแกรม
๘. มีจติ สาธารณะ นำเสนอ
• การใชซ้ อฟตแ์ วรเ์ พอื่
แกป้ ญั หาใน
ชวี ติ ประจำวนั เช่น
๗๙
การสำรวจเมนูอาหาร
กลางวันโดยใช้
ซอฟตแ์ วร์สร้าง
แบบสอบถามและเก็บ
ข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์
ตารางทำงานเพื่อ
ประมวลผลขอ้ มลู
รวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับ
คณุ คา่ ทางโภชนาการ
และสร้างรายการ
อาหารสำหรบั 5 วนั
ใช้ซอฟต์แวรน์ ำเสนอ
ผลการสำรวจ รายการ
อาหารทเ่ี ป็นทางเลอื ก
และข้อมูลด้าน
โภชนาการ
๘๐
การวเิ คราะห์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สกู่ ารจดั ทำแนวการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหัส ว 14101 หนว่ ยท่ี 8 เรือ่ ง แสบตอ้ งเสิร์ช
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ิตจริงอยา่ งเปน็ ขั้นตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา
ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตัวช้วี ัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ สาระการ กจิ กรรม /
คุณลักษณะ แกนกลาง เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถ่ิน
ว 4.2 ป.4/1 ,2 สมรรถนะสำคัญ การใชง้ านอุปกรณ์ - การอธบิ าย
- การสาธติ
1. ความสามารถในการ เทคโนโลยเี บือ้ งต้น เชน่ - การถามตอบ
- การสืบคน้ หา
สอื่ สาร การใชเ้ มาส์ ความรู้
- การเรียนรแู้ บบ
2. ความสามารถในการคดิ คยี บ์ อรด์ จอสัมผัส รว่ มมอื
- การศกึ ษา
3. ความสามารถในการ การเปิด-ปิด อุปกรณ์ คน้ คว้าดว้ ย
ตนเอง
แก้ปญั หา เทคโนโลยี - การเรยี นแบบ
Active
4. ความสามารถในการใช้ การใชง้ านซอฟต์แวร์
Learning
ทักษะชีวิต เบ้ืองต้น เชน่ การเข้า
5. ความสามารถในการใช้ และออกจาก
เทคโนโลยี โปรแกรม การสรา้ ง
คุณลกั ษณะอนั พงึ ไฟล์ การจดั เกบ็ การ
ประสงค์ เรียกใช้ไฟล์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ทำไดใ้ นโปรแกรม
๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต เช่น โปรแกรมประมวล
๓. มวี นิ ยั คำ โปรแกรม กราฟิก
๔. ใฝ่เรียนรู้ โปรแกรมนำเสนอ
๕. อยอู่ ย่างพอเพียง การสรา้ งและจัดเกบ็
๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ไฟล์อย่างเป็นระบบจะ
๗. รกั ความเป็นไทย ทำใหเ้ รยี กใช้ ค้นหา
๘. มจี ติ สาธารณะ ข้อมลู ไดง้ ่ายและรวดเรว็
๘๑
การวิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สูก่ ารจดั ทำแนวการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หน่วยท่ี 9 เรือ่ ง อย่าไวใ้ จทาง อยา่ วางใจขา่ ว
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นข้ันตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา
ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม
ตวั ช้วี ัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ สาระการ กิจกรรม /
คุณลักษณะ แกนกลาง เรียนรู้ท้องถ่นิ กระบวนการ
ว 4.2 ป.4/3 ,5 สมรรถนะสำคัญ • การใชค้ ำค้นทต่ี รง - การอธิบาย
1. ความสามารถใน ประเด็น กระชบั จะทำให้ - การสาธิต
การสอื่ สาร ได้ผลลพั ธ์ท่รี วดเร็วและ - การถามตอบ
2. ความสามารถใน ตรงตามความตอ้ งการ - การสบื ค้นหา
การคดิ • การประเมนิ ความ ความรู้
3. ความสามารถใน น่าเชอ่ื ถอื ของข้อมลู เชน่ - การเรียนรูแ้ บบ
การแก้ปัญหา พิจารณาประเภทของ ร่วมมอื
4. ความสามารถใน เว็บไซต์ (หนว่ ยงาน - การศกึ ษา
การใช้ทักษะชีวิต ราชการ สำนักข่าว ค้นควา้ ดว้ ย
5. ความสามารถใน องค์กร) ผู้เขียน วนั ท่ี ตนเอง
การใชเ้ ทคโนโลยี เผยแพรข่ ้อมูล การอา้ งองิ - การเรยี นแบบ
คุณลกั ษณะอันพึง • เมอื่ ได้ขอ้ มูลทต่ี ้องการ Active
ประสงค์ จากเว็บไซตต์ ่าง ๆ จะต้อง Learning
๑. รักชาติ ศาสน์ นำเน้ือหามาพิจารณา
กษัตรยิ ์ เปรียบเทยี บ แล้วเลือก
๒. ซื่อสัตยส์ จุ รติ ข้อมูล ท่ีมีความสอดคล้อง
๓. มีวนิ ยั และสมั พนั ธ์กัน
๔. ใฝเ่ รียนรู้ • การทำรายงานหรือการ
๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง นำเสนอข้อมูลจะต้อง นำ
๖. มงุ่ ม่ันในการ ขอ้ มูลมาเรียบเรยี ง สรุป
ทำงาน เป็นภาษาของตนเอง ที่
๗. รกั ความเป็นไทย เหมาะสมกบั
๘. มจี ติ สาธารณะ กล่มุ เปา้ หมายและวธิ ีการ
นำเสนอ (บรู ณาการกบั
วิชาภาษาไทย)
๘๒
การวเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สู่การจดั ทำแนวการจดั การเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
รหสั ว 14101 หน่วยท่ี 10 เรอ่ื ง บางแสนแสนสนุก
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขน้ั ตอนและเป็น
ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตัวช้วี ัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ สาระการ กิจกรรม /
คุณลกั ษณะ แกนกลาง เรียนรู้ กระบวนการ
ท้องถิน่
ว 4.2 ป.4/4 สมรรถนะสำคญั •การรวบรวมขอ้ มูล ทำ - การอธบิ าย
- การสาธติ
1. ความสามารถในการ ไดโ้ ดยกำหนดหวั ข้อท่ี - การถามตอบ
- การสืบคน้ หา
ส่อื สาร ต้องการ เตรียม ความรู้
- การเรียนรแู้ บบ
2. ความสามารถในการคดิ อปุ กรณ์ในการจด ร่วมมอื
- การศึกษา
3. ความสามารถในการ บันทึก คน้ คว้าดว้ ย
ตนเอง
แก้ปัญหา • การประมวลผลอย่าง - การเรยี นแบบ
Active
4. ความสามารถในการใช้ งา่ ย เช่น เปรียบเทียบ
Learning
ทกั ษะชวี ิต จัดกลมุ่ เรยี งลำดบั
5. ความสามารถในการใช้ การหาผลรวม
เทคโนโลยี
• วเิ คราะหผ์ ลและสร้าง
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ทางเลือกทเี่ ปน็ ไปได้
ประสงค์ ประเมนิ ทางเลือก
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ (เปรียบเทียบ ตดั สิน)
๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต • การนำเสนอขอ้ มลู ทำ
๓. มวี ินัย ไดห้ ลายลักษณะตาม
๔. ใฝ่เรียนรู้ ความเหมาะสม เชน่
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง การบอกเล่า
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน เอกสารรายงาน
๗. รักความเป็นไทย โปสเตอร์ โปรแกรม
๘. มีจติ สาธารณะ นำเสนอ
• การใช้ซอฟตแ์ วรเ์ พ่อื
แก้ปญั หาใน
ชีวิตประจำวนั เชน่
๘๓
การสำรวจเมนูอาหาร
กลางวันโดยใช้
ซอฟตแ์ วร์สร้าง
แบบสอบถามและเก็บ
ข้อมูล ใช้ซอฟต์แวร์
ตารางทำงานเพื่อ
ประมวลผลขอ้ มลู
รวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับ
คณุ คา่ ทางโภชนาการ
และสร้างรายการ
อาหารสำหรบั 5 วนั
ใช้ซอฟต์แวรน์ ำเสนอ
ผลการสำรวจ รายการ
อาหารทเ่ี ป็นทางเลอื ก
และข้อมูลด้าน
โภชนาการ
๘๔
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ว 14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 กล่มุ สาระวชิ าวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 80 ช่ัวโมง / ปี
............................................................................................................................. ................................
ศกึ ษา วเิ คราะห์ หนา้ ทขี่ องราก ลำต้น ใบ และดอกของพชื ดอก ส่วนประกอบของพืชดอก ความ
แตกต่างของลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็น กลมุ่ พืช กล่มุ สัตว์ และกลุ่มทไ่ี ม่ใช่พืชและสัตว์ จำแนกพืชออกเป็น
พชื ดอกและพชื ไม่มดี อก จำแนกสัตว์ออกเปน็ สตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั และสตั วไ์ มม่ ีกระดูกสันหลงั ลักษณะเฉพาะ
ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั ในกลมุ่ ปลา กลุ่มสตั วส์ ะเทินน้ำสะเทินบก กลมุ่ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน กลุ่มนก และกล่มุ สัตว์
เลย้ี งลูกดว้ ยนม ตัวอย่างของสัตว์ในแต่ละกลมุ่ สมบตั ิทางกายภาพของวัสดจุ ากการทดลองและระบกุ ารนำ
สมบัตขิ องวัสดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั โดยผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลย่ี นความคิดกับผอู้ น่ื โดย
การอภปิ รายเก่ยี วกบั สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งดา้ นความแขง็ สภาพความยืดหยนุ่ การนำความร้อน
การนำไฟฟ้า ของวสั ดุ สมบตั ิของสสารทง้ั 3 สถานะ การสังเกต มวล การตอ้ งการที่อยู่ รูปรา่ งและปรมิ าตรของ
สสาร เคร่อื งมอื ที่ใช้วัดมวล และปรมิ าตรของสสาร ท้งั 3 สถานะ ผลของแรงโนม้ ถ่วงที่มตี อ่ วัตถุ การใช้เครอ่ื ง
ชัง่ สปรงิ ในการวดั นำ้ หนักของวตั ถุ มวลของวัตถุท่ีมีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ วัตถุทเ่ี ปน็
ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสง และวตั ถทุ บึ แสง ลักษณะการมองเหน็ ผ่านวตั ถุ แบบรูปเสน้ ทางการขน้ึ และ
ตกของดวงจันทร์ แบบจำลองอธิบายแบบรูปการเปลย่ี นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ และพยากรณร์ ปู รา่ ง
ปรากฏของดวงจันทร์ แบบจำลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุริยะ และเปรยี บเทียบคาบ การโคจรของดาว
เคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจำลอง
ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง
ง่าย ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรอื สอื่ และตรวจหาข้อผดิ พลาดและแกไ้ ขใช้
อนิ เทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวรท์ ่ีหลากหลาย เพ่อื
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวนั ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสิทธิ
ของผู้อืน่
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมลู
การเปรยี บเทียบข้อมลู จากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภปิ รายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ
สามารถส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์
มีจรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม
๘๕
รหสั ตัวชี้วดั ป.1/4
ว 4.2 ป.4/1
ว 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 2.2 ป.4/1
ว 2.3 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3
ว 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ว 4.2
รวม 22 ตัวชี้วดั
๘๖
โครงสรา้ งรายวชิ า
วิชา วิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ง 14201 กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานฯ
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
จำนวนเวลา 40 ชั่วโมง/ปีการศึกษา จำนวน 1 หน่วยกิต
ลำดับ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ เรียนร้/ู ตัวชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
ว 4.2 ป.1/4 1. รู้จักการใชเ้ มาส์
1 คลกิ คลิก คลิก ว 4.2 ป.4/1 2. รู้จกั วธิ ีดแู ลรกั ษาเมาส์ 4 10
1. การใชอ้ ัลกอริทึมแกป้ ัญหาใน 2 5
2 เทีย่ วบ้านคุณยา่ ว 4.2 ป.4/2 ชวี ติ ประจำวนั
ว 4.2 ป.4/2 2. การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ 4 5
3 โปรแกรมแสนสนกุ 1. แนะนำเครือ่ งมอื Scratch 4 10
ว 4.2 ป.4/1 2. การเขียนโปรแกรมเบ้ืองต้น
4 หนทางหม่ืนล้ี เริม่ ตน้ ที่ ,2 1. ออกแบบและเขียนโปรแกรมมอย่าง 4 10
ธงเขยี ว งา่ ย
ว 4.2 ป.4/4 2. ตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรม 4 10
5 บัง้ ไฟบุปชาติ ว 4.2 ป.4/4 1 การทำนายผลลพั ธ์จากข้ันตอนการ 4 5
แกป้ ัญหา
6 ลอยฟา้ ตะลยุ สวน ว 4.2 ป.4/1 2 การตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรม 4 5
7 ชาร์ต ชาร์ต ชาร์ต น้อง ,2 การรวบรวมขอ้ มลู และการประมวลผล
อย่างง่าย 4 5
เคยเห็นชารต์ หรอื เปลา่ ว 4.2 ป.4/3 1. การนำเสนอขอ้ มูล 4 5
,5 2. การใช้ซอฟต์แวร์นำเสนอข้อมูล 2 30
8 แสบต้องเสริ ช์ 3. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง 40 100
ปลอดภัย
9 อย่าไว้ใจทาง อย่า 1. การใช้คำคน้
วางใจขา่ ว 2. การประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของ
ข้อมลู
10 บางแสนแสนสนุก การประเมนิ ความน่าเชื่อถือ และการ
อา้ งองิ แหล่งขอม้ ลู
ว 4.2 ป.4/4 การวิเคราะห์และสรา้ งทางเลือก
สอบปลายภาค
รวม
๘๗
วิชา วิทยาการคำนวณ แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานฯ
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 หนว่ ยกิต
รหัสวชิ า ง 14201
จำนวนเวลา 40 ช่ัวโมง/ปีการศึกษา
ที่ เร่อื ง เวลา/ สาระที่ มาตรฐาน คะแนน เกณฑ์
ชั่วโมง เต็ม การผา่ น
1 เมาส์คอื อะไร ใครร้บู ้าง 53
2 คลิกซา้ ยใชบ้ ่อย 1 2 ว 4.2 ป.1/4 53
3 ดบั เบล้ิ คลกิ พชิ ติ ใจตวั เอง 53
4 คลิกขวา ไม่บ่อยแตส่ ำคญั 1 2 ว 4.2 ป.1/4 53
5 เทยี่ วบา้ นคุณยา่ 53
6 โปรแกรมแสนสนุก 1 2 ว 4.2 ป.1/4 53
7 โปรแกรมแสนสนุก (2) --
8 หนทางหมน่ื ล้ี เริม่ ต้นที่ธงเขยี ว 1 2 ว 4.2 ป.1/4 53
9 หนทางหมน่ื ล้ี เร่ิมตน้ ทธี่ งเขยี ว(2) --
10 บง้ั ไฟบุปชาติ 2 2 ว 4.2 ป.4/1 53
11 บั้งไฟบุปชาติ (2) --
12 ลอยฟา้ ตะลุยสวน 2 2 ว 4.2 ป.4/2 53
2 2 ว 4.2 ป.4/2 --
13 ลอยฟ้าตะลุยสวน (2) 10 5
2 2 ว 4.2 ป.4/2
14 ชาร์ต ชาร์ต ชารต์ น้องเคยเหน็ ชารต์ --
หรือเปล่า 2 2 ว 4.2 ป.4/2
53
15 ชาร์ต ชาร์ต ชารต์ น้องเคยเห็นชารต์ 2 2 ว 4.2 ป.4/1 ,2 --
2 2 ว 4.2 ป.4/1 ,2 53
หรือเปลา่ (2) 2 2 ว 4.2 ป.4/4 --
53
16 แสบต้องเสิรช์ 2 2 ว 4.2 ป.4/4 --
30 15
17 แสบตอ้ งเสิรช์ (2) 2 2 ว 4.2 ป.4/4 100 50
18 อยา่ ไว้ใจทาง อย่าวางใจขา่ ว 2 2 ว 4.2 ป.4/4
19 อยา่ ไว้ใจทาง อยา่ วางใจขา่ ว (2) 2 2 ว 4.2 ป.4/1 ,2
20 บางแสนแสนสนุก 2 2 ว 4.2 ป.4/1 ,2
21 บางแสนแสนสนกุ (2) 2 2 ว 4.2 ป.4/3 ,5
สอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปกี ารศกึ ษา 2 2 ว 4.2 ป.4/3 ,5
รวม
2 2 ว 4.2 ป.4/4
2 2 ว 4.2 ป.4/4
1- -
40 - -