The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาการงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kangnonghan, 2022-09-24 13:26:46

หลักสูตรรายวิชาการงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หลักสูตรรายวิชาการงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หกห



คำนำ
เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตรโรงเรียนบ้าน
หนองบ่อ (พอลพิทยาประชานุสรณ์) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 ซึ่งสอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 และฉบับบปรับปรุง 2561 เป็นแนวทางในการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอน
การจัดทำหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รายวิชา วิทยาการคำนวณ) รหัสรายวิชา
ง 14201 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มน้ี เพื่อใช้วิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด ออกแบบหน่วยการ
เรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา จุดประสงค์ แผนการจัดการเรียนรู้ รวมทั้ง ใบงาน สื่อการจัดการเรียนการสอน
เกณฑ์การวัดและประเมินผล เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และหลักสูตรการศึกษาท้องถิ่น ให้
การเรยี นการสอนเป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ต่ี ัง้ ไว้
ขา้ พเจ้าหวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่า หลักสตู รรายวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จะเป็นแนวทางในการดำเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดผล
สมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสงู สดุ และใหเ้ ป็นผเู้ รียนท่มี คี ุณธรรม จรยิ ธรรมสืบไป

วศิ วะ ห้าวหาญ
ผจู้ ดั ทำ

สารบญั ข

เร่อื ง หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข

บทที่ 1 การวเิ คราะหห์ ลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ช้ีวดั 3
วสิ ัยทศั น์ 3
หลักสตู ร 3
จดุ หมาย 4
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5
คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ 7
คุณภาพของผู้เรยี น 9
สาระ มาตรฐานการเรยี นร้รู ายวิชาวิทยาการคำนวณ 10
สาระแกนกลางรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ 16
การวิเคราะห์หลกั สตู รแกนกลาง
68
บทท่ี 2 การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ 84
ตารางออกแบบจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 86
คำอธิบายรายวชิ า 87
เค้าโครงรายวชิ า
รายการแผนการจดั การเรียนการสอน 88

บทที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้
แผนการจดั การเรยี นการสอน

บทที่ ๑

การวิเคราะหห์ ลกั สูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ดั



วสิ ัยทศั น์หลักสูตรสถานศึกษา

หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นหนองบ่อ(พอลพิทยาประชานสุ รณ์)พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) เปน็ หลกั สตู รทม่ี ุง่ พัฒนา
ผ้เู รียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรสู้ มู่ าตรฐานสากลและเปน็ มนษุ ย์ท่ีมีความสมดุลท้ังรา่ งกาย ความรู้คู่
คณุ ธรรม มคี วามเปน็ ผนู้ ำของสังคมมจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใชห้ ลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมุข มีความรู้
และทกั ษะพ้ืนฐานสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยรี วมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาในการประกอบ
อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั บนพ้นื ฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละ
พฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

เป้าประสงคห์ ลกั สูตร (Corporate Objective)

๑. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการ
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต เป็นผู้นำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
และการสื่อสารอย่างหลากหลาย ผู้เรยี นมีศกั ยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)

๒. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ (Quality System
Management) เพอ่ื รองรับการกระจายอำนาจอย่างทว่ั ถึง

๓. เพื่อให้บุคลากรทกุ คนมีทกั ษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีท่ี
ทันสมัยยกระดบั การจดั การเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (Worle Class standard)

๔. เพื่อให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลสงู สุด

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ในการพัฒนาผูเ้ รยี นตามหลกั สูตรโรงเรียนบา้ นหนองบ่อ(พอลพิทยาประชานสุ รณ)์ พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) มุ่งเน้นพัฒนา
ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ดงั นี้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองบ่อ(พอลพิทยาประชานุสรณ์) พุทธศักราช
๒๕๖๑ มุ่งใหผ้ ้เู รียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั นี้



๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเองและสงั คม การเลอื กรับหรอื ไม่รบั ขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หาและมกี าตดั สินใจทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่เี กิดข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ่สี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อนื่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม



คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์

หลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นหนองบ่อ(พอลพิทยาประชานสุ รณ)์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ี
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและ
พลโลก ดังน้ี

๑. รักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๖. มงุ่ มั่นในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๙. มคี วามกตัญญู
๑๐. มีความรบั ผดิ ชอบ



กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สาระท่ี ๒
วิทยาศาสตร์กายภาพ
- มาตรฐาน ว ๒.๑-ว ๒.๓

สาระท่ี ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ี ๓
วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
- มาตรฐาน ว ๑.๑-ว ๑.๓ - มาตรฐาน ว ๓.๑-ว ๓.๒

สาระท่ี ๔
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว ๔.๑-ว ๔.๒

วิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม ⚫ สาระชวี วทิ ยา ⚫ สาระเคมี ⚫ สาระฟสิ ิกส์

⚫ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ



เป้าหมายของการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ
ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและ
ทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด
นั่นคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เมื่ออยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออก
จากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแล้ว

การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรใ์ นสถานศกึ ษามีเปา้ หมายสำคัญดังนี้

1. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีท่ีเป็นพ้นื ฐานในวทิ ยาศาสตร์

2. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจขอบเขต ธรรมชาตแิ ละข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์

3. เพอื่ ใหม้ ีทักษะท่สี ำคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคดิ ค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. เพ่ือพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและการจดั การทกั ษะใน
การสือ่ สาร และความสามารถในการตัดสินใจ

5. เพือ่ ให้ตระหนักถึงความสมั พันธร์ ะหว่างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์และสภาพแวดล้อมใน
เชงิ ทีม่ อี ิทธพิ ลและผลกระทบซงึ่ กนั และกัน

6. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม
และการดำรงชวี ิต

7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

เรยี นรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรม์ งุ่ หวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีเน้นการ เช่ือมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏบิ ตั จิ รงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั โดยกำหนดสาระสำคญั ดังน้ี

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในส่ิงแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชวี ติ การดำรงชีวติ
ของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ
ส่งิ มีชีวิต



✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี
พลังงาน และคลน่ื

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

✧ เทคโนโลยี

● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคม และสงิ่ แวดล้อม

● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการ
แกป้ ญั หาท่ีพบในชีวติ จรงิ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และ
ความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงมีชวี ิตกับสิ่งมชี ีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน
สัมพันธก์ นั รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ
วิวัฒนาการของส่งิ มีชีวติ รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

๑๐

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะ การเคล่ือนท่ี
แบบต่าง ๆ ของวตั ถรุ วมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เกย่ี วข้องกบั เสียง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทั้ง นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว

ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทง้ั ผลตอ่ สิ่งมชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
สิง่ แวดลอ้ ม

๑๑

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเปน็
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม

๑๒

ทำไมตอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ ร ี ย น รู้ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี เ ป ็ น ก ล ุ ่ ม ส า ร ะ ท ี ่ ช ่ ว ย พ ั ฒ น า ใ ห ้ ผ ู ้ เ ร ี ย น
มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนำ
ความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทำงาน อย่างมีความคิด
สร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชพี รักการทำงาน และมีเจตคติ
ท่ดี ีตอ่ การทำงาน สามารถดำรงชวี ติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง และมีความสขุ

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้
ความสามารถ มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ โดยมสี าระสำคญั ดังนี้

• การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน
การช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการ
ปฏิบัติจริงจนเกิดความม่ันใจและภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถความถนัด และความ
สนใจของตนเอง

• การออกแบบและเทคโนโลยี เปน็ สาระเกย่ี วกบั การพัฒนาความสามารถของมนุษย์อย่าง
สร้างสรรค์ โดยนำความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของเครื่องใช้ วิธีการ หรือเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพในการดำรงชวี ิต

• เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือ การสร้างงาน
คณุ คา่ และผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

• การอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับทักษะที่จำเป็นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม
จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางใน
การประกอบอาชีพ

๑๓

คณุ ภาพผเู้ รยี น

จบชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

❖ เข้าใจลักษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใช้ทำวัตถุ และการเปลี่ยนแปลง
ของวัสดุรอบตวั

❖ เข้าใจการดงึ การผลกั แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลย่ี นแปลง การเคล่ือนท่ีของวัตถุ
พลังงานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเห็น

❖ เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณข์ ้ึนและตกของ ดวง

อาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์

ลักษณะและความสำคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออยา่ งงา่ ย รวบรวมข้อมูล บันทกึ และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบด้วยการ
เขียนหรอื วาดภาพ และสอ่ื สารส่งิ ทเี่ รยี นรดู้ ว้ ยการเลา่ เรอ่ื ง หรือดว้ ยการแสดงทา่ ทางเพื่อใหผ้ ้อู น่ื เขา้ ใจ

❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเบื้องตน้ รักษาขอ้ มูลส่วนตวั

❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่
กำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ผูอ้ ่นื

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์
จนงานลุลว่ งเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่ อยา่ งมีความสุข

❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศึกษา
หาความรเู้ พิ่มเตมิ ทำโครงงานหรอื ชิ้นงานตามทีก่ ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ

จบชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖

❖ เข้าใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมท้งั ความสัมพันธข์ องส่ิงมีชีวิตใน
แหล่งท่อี ยู่ การทำหน้าท่ีของสว่ นต่าง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์

❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร
การละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสารอย่าง
ง่าย

๑๔

❖ เขา้ ใจลกั ษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟา้ และผลของแรงต่างๆ ผล
ท่เี กิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการทม่ี ตี ่อวัตถุ วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ปรากฏการณ์เบื้องต้นของเสียง
และแสง

❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์

องคป์ ระกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกตา่ งของดาวเคราะห์และ ดาว

ฤกษ์ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของ

เทคโนโลยอี วกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำ
ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลม
ทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจก

❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการทำงานรว่ มกนั เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของ
ตน เคารพสิทธิของผอู้ นื่

❖ ต้ังคำถามหรอื กำหนดปัญหาเก่ยี วกับส่ิงทจี่ ะเรียนรู้ตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทัง้
เชิงปริมาณและคณุ ภาพ

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รปู แบบทเี่ หมาะสม เพ่ือสอ่ื สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตผุ ลและหลักฐานอา้ งอิง

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คิดเห็นผูอ้ ืน่

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมายอยา่ งมงุ่ มัน่ รอบคอบ ประหยัด ซอ่ื สัตย์
จนงานลุลว่ งเป็นผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกับผูอ้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์

❖ ตระหนักในคณุ คา่ ของความรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรแู้ ละกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรใ์ นการดำรงชีวิต แสดงความชน่ื ชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธใิ นผลงานของผคู้ ดิ ค้นและศกึ ษาหา
ความร้เู พิ่มเติม ทำโครงงานหรือชิน้ งานตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ มอย่างรู้คุณค่า

๑๕

จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

❖ เข้าใจลกั ษณะและองค์ประกอบท่ีสำคัญของเซลลส์ ่ิงมชี วี ติ ความสมั พันธข์ องการทำงานของระบบ
ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีน
หรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ
สิง่ มชี วี ติ ดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสมั พันธ์ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการ
ถ่ายทอดพลังงานในส่ิงมีชีวติ

❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ
เปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
สมบตั ทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวัสดปุ ระเภทพอลิเมอร์ เซรามกิ ส์ และวสั ดุผสม

❖ เข้าใจการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง
แรงที่ปรากฏในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎ
การอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้ า การต่อ
วงจรไฟฟา้ ในบ้าน พลงั งานไฟฟา้ และหลกั การเบ้ืองตน้ ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์

❖ เข้าใจสมบตั ขิ องคล่นื และลักษณะของคล่ืนแบบต่าง ๆ แสง การสะทอ้ น การหักเหของแสงและ
ทศั นปู กรณ์

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
การเกิดข้างขนึ้ ขา้ งแรม การขน้ึ และตกของดวงจนั ทร์ การเกดิ น้ำขนึ้ นำ้ ลง ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ และ
ความก้าวหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายุฟา้ คะนอง พายหุ มนุ เขตร้อน การพยากรณอ์ ากาศ สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ
โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์
ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน
กระบวนการเกดิ ดิน แหลง่ นำ้ ผิวดิน แหล่งน้ำใตด้ ิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณี
พบิ ตั ภิ ัย

❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยกี ับศาสตร์อนื่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ
และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ
อาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ปลอดภยั รวมทั้งคำนงึ ถงึ ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา

❖ นำขอ้ มูลปฐมภูมิเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมนิ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศได้ตาม
วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อ
ชว่ ยในการแกป้ ญั หา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอยา่ งร้เู ทา่ ทนั และรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

๑๖

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการ
กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สามารถนำไปสู่การสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสมในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปรมิ าณและคุณภาพท่ีไดผ้ ลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย

❖ วิเคราะหแ์ ละประเมินความสอดคล้องของข้อมลู ทไ่ี ด้จากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน
โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรปุ และสื่อสารความคิด ความรู้
จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่ าง
เหมาะสม

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิด
สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง
เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเห็นผู้อ่นื
และยอมรบั การเปลี่ยนแปลงความรูท้ ค่ี น้ พบ เม่ือมีข้อมลู และประจักษพ์ ยานใหมเ่ พิ่มข้ึนหรือโตแ้ ย้งจากเดมิ

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยก
ย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทาง
วิทยาศาสตร์ต่อส่ิงแวดล้อมและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความร้เู พ่ิมเติม ทำโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตาม
ความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศ และ
ความหลากหลายทางชวี ภาพ

จบช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖

❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันใน
ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการทีท่ ำให้เกิดความหลากหลายของ
สงิ่ มชี ีวติ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ สงิ่ มชี วี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม

❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน
ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และการแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม

❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคญั ที่เป็นสว่ นประกอบในโครงสรา้ งอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ
การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคและสมบัตติ า่ ง ๆ ของสารที่มคี วามสมั พันธ์

๑๗

กับแรงยดึ เหนี่ยว พนั ธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลเิ มอร์ การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ปัจจยั ทีม่ ีผลต่ออตั ราการ
เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี และการเขียนสมการเคมี

❖ เขา้ ใจปริมาณทเี่ กีย่ วกบั การเคลือ่ นท่ี ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเรง่ ผลของความเร่ง
ที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ
กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนิวเคลียส

❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลงั งาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปน็
พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน
ปรากฏการณ์ท่เี ก่ียวขอ้ งกับเสียง สีกับการมองเหน็ สี คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าและประโยชนข์ องคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า

❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีท่ี
สัมพนั ธ์กบั การเกิดลกั ษณะธรณสี ัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สนึ ามิ ผลกระทบ
แนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั

❖ เขา้ ใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ทม่ี ตี ่อการหมุนเวียน
ของอากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละตจิ ูด และผลทีม่ ตี อ่ ภมู อิ ากาศ ความสัมพนั ธข์ องการหมุนเวียน
ของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของ
มนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สำคัญ
จากแผนทีอ่ ากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ

❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานท่ี
สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก
กระบวนการเกดิ และการสร้างพลงั งาน ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความสอ่ งสวา่ งของดาวฤกษ์ และความสมั พนั ธ์ระหว่าง
ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต
บริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชวี ติ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มี
ต่อโลก รวมทัง้ การสำรวจอวกาศและการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

๑๘

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสติปัญญา (Intellectual) ที่นักวิทยาศาสตร์และผูท้ ีน่ ำ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 13 ทักษะ ทักษะที่ 1-8 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพื้นฐาน และทักษะที่ 9-13 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงหรือขั้นผสมหรือขั้นบูรณาการ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท้ัง 13 ทกั ษะ มีดงั นี้

๑. การสงั เกต (Observing) หมายถงึ การใชป้ ระสาทสัมผสั อยา่ งใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่
ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ เพื่อค้นห้าข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่งน้ัน
โดยไม่ใส่ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ
และข้อมูลท่ีเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทีส่ ังเกตเหน็ ได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์นั้น ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิด
ทักษะนี้ประกอบด้วยการชี้บ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการกะประมาณและการบรรยายการ
เปลีย่ นแปลงของสิ่งทสี่ ังเกตได้

๒. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้ คือ การ
อธบิ ายหรือสรปุ โดยเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลโดยใชค้ วามรูห้ รือประสบการณเ์ ดิมมาชว่ ย

๓. การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลำดับวัตถุหรือสิ่งที่มีอยู่ใน
ปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ และเกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่าง
หนึ่งก็ได้ ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะนี้แล้ว ได้แก่ การแบ่งพวกของสิ่งต่าง ๆ จากเกณฑ์ที่ผู้อื่นกำหนดให้ได้
นอกจากนั้นสามารถเรียงลำดับสิ่งของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกับบอกได้ว่าผู้อื่นแบ่งพวกของสิ่งของนั้นโดยใช้
อะไรเปน็ เกณฑ์

๔. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและการใช้เครื่องมือนั้นทำการวัดหาปริมาณของ
ส่ิงตา่ ง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขท่ีแน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับส่ิงทว่ี ัด แสดงวธิ ีใช้เคร่ืองมืออย่างถูกต้อง พร้อมทั้งบอก
เหตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องมือ รวมทั้งระบุหน่วยของตัวเลขท่ีได้จากการวัดได้

๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุและการนำตัวเลขที่แสดงจำนวนท่ี
นับได้มาคิดคำนวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรือการหาค่าเฉลีย่ ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ี ได้แก่
การนบั จำนวนส่ิงของได้ถูกต้อง เชน่ ใชต้ วั เลขแทนจำนวนการนับได้ ตดั สนิ ได้ว่าวัตถุ ในแต่ละกลุ่มมีจำนวนเท่ากัน
หรือแตกต่างกัน เป็นต้น การคำนวณ เช่น บอกวิธีคำนวณ คิดคำนวณ และแสดงวิธีคำนวณได้อย่างถูกต้อง และ
ประการสดุ ท้ายคือ การหาคา่ เฉลี่ย เช่น การบอกและแสดงวธิ กี ารหาค่าเฉลยี่ ได้ถูกต้อง

๖. การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกับเวลา(Using Space/Time Relationships)

สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองที่อยู่ ซึ่งมีรูปร่างลักษะเช่นเดียวกับวัตถุนั้นโดยทั่วไป
แลว้ สเปสของวตั ถจุ ะมี ๓ มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง

๑๙

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสมั พันธร์ ะหว่าง 3 มิติ กบั 2 มิติ ความสมั พันธ์
ระหว่างตำแหน่งที่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหาความสัมพันธ์
ระหว่างสเปสกับสเปส ได้แก่ การชี้บ่งรูป 2 มิติ และ 3 มิติได้ สามารถวาดภาพ 2 มิติ จากวัตถุหรือจากภาพ 3
มติ ิ ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลา
หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลาความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหา
ความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกับเวลา ไดแ้ ก่ การบอกตำแหน่งและทิศทางของวัตถุโดยใชต้ วั เองหรือวัตถุอ่ืนเป็นเกณฑ์
บอกความสัมพันธร์ ะหว่างการเปลย่ี นตำแหน่ง เปลยี่ นขนาด หรอื ปริมาณของวัตถกุ ับเวลาได้

๗. การสื่อความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จาการสังเกต การวัด การ
ทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทำเสียใหมโ่ ดยการหาความถี่ เรยี งลำดับ จดั แยกประเภท หรอื คำนวณหาค่า
ใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เป็นต้น ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทกั ษะนี้แล้ว คือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่
ในรูปใหม่ที่เข้าใจดีขึ้น โดยจะต้องรู้จักเลือกรูปแบบที่ใช้ในการเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม บอกเหตุผลในการ
เสนอข้อมูลในการเลือกแบบแสนอข้อมูลนั้น การเสนอข้อมูลอาจกระทำได้หลายแบบดังที่กล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะ
การเสนอข้อมูลในรูปของตาราง การบรรจุข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางปกติจะใส่ค่าของตัวแปรอิสระไว้ทางซ้ายมือ
ของตาราง และคา่ ของตัวแปรตามไว้ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของตัวแปรอสิ ระไว้ให้เรยี งลำดับจากค่าน้อย
ไปหาคา่ มาก หรือจากคา่ มากไปหาค่าน้อย ๘. การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้า
ก่อนการทดลอง โดยอาศัยปรากฏการณ์ที่เกิดซ้ำ หลักการ กฎ หรือ ทฤษฏีที่มีอยู่แล้วในเรื่องนั้นมาช่วยสรุป เช่น
การพยากรณ์ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตารางหรือกราฟ ซึ่งทำได้สองแบบ คือ การพยากรณ์ภายใน
ขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ กับการพยากรณ์นอกขอบของข้อมูลที่มีอยู่ เช่น การพยากรณ์ผลของข้อมูลเชิงปริมาณ
เป็นต้น

๙. การชี้บ่งและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง การชี้บ่งตัวแปร
ต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรทต่ี ้องควบคุมให้คงท่ีในสมมุติฐาน หนงึ่ ๆ

ตัวแปรต้น หมายถึง สิ่งที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลต่าง ๆ หรือสิ่งที่เราต้องการทดลองดูว่าเป็นสาเหตุท่ี
ก่อใหเ้ กดิ ผลเช่นนั้นจริงหรือไม่

ตวั แปรตาม หมายถงึ สง่ิ ทีเ่ ป็นผลเนือ่ งมาจากตัวแปรตน้ เมือ่ ตวั แปรตน้ หรือสิ่งท่ีเป็นสาเหตุเปลย่ี นไป ตัว
แปรตามหรอื ส่ิงท่ีเปน็ ผลจะแปรตามไปดว้ ย

ตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ หมายถึง สิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่จะทำให้ผลการทดลอง
คลาดเคลือ่ น ถา้ หากว่าไม่มีการควบคุมให้เหมือนกัน

๑๐. การตั้งสมมุติฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถึง การคิดหาคำตอบล่วงหน้าก่อนทำการ
ทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คำตอบที่คิดล่วงหน้านี้ ยังไม่ทราบ

๒๐

หรือยังไม่เป็นทางการ กฎหรือทฤษฏีมาก่อน สมมุติฐาน คือคำตอบที่คิดไว้ล่วงหน้ามีกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอก
ความสมั พันธ์ระหวา่ งตวั แปรต้นกับตัวแปรตามสมมตุ ิฐานท่ีต้ังข้นึ อาจถูกหรือผิดก็ได้ซ่ึงทราบได้ภายหลังการทดลอง
หาคำตอบเพ่ือสนบั สนุนสมมุตฐิ านหรือคัดค้านสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ ส่ิงที่ควรคำนึงถึงในการต้ังสมมตุ ิฐาน คือ การบอก
ช่ือตวั แปรตน้ ซง่ึ อาจมีผลต่อตัวแปรตามและในการต้ังสมมุติฐานต้องทราบตวั แปรจากปัญหาและสภาพแวดล้อมของ
ตัวแปรนั้น สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นสามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการทดลอง ซึ่งต้องทราบว่าตัวแปรไหนเป็นตัว
แปรตน้ ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงท่ี

๑๑. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally) หมายถึง การ
กำหนดความหมายและขอบเขตของค่าต่าง ๆ ที่อยู่ในสมมุติฐานที่ต้องการทดลองและบอกวิธีวัดตัวแปรที่เกี่ยวกับ
การทดลองน้ัน

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถงึ กระบวนการปฏิบัติการเพ่ือหาคำตอบจากสมมตุ ิฐานท่ีตั้งไว้
ในการทดลองจะประกอบไปด้วยกจิ กรรม ๓ ขนั้ คือ

๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจริง

๑๒.๒ ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจริงและให้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและ

เหมาะสม

๑๒.๓ การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็น
ผลจากการสังเกต การวัด และอ่ืน ๆ ไดอ้ ย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง การบนั ทึกผลการทดลอง อาจอยู่ในรูปตาราง
หรือการเขียนกราฟ ซงึ่ โดยท่ัวไปจะแสดงค่าของตัวแปรตน้ หรือตัวแปรอิสระบนแกนนอนและค่าของตวั แปรบนแกน
ตั้ง โดยเฉพาะในแต่ละแกนต้องใช้สเกลที่เหมาะสม พร้อมทั้งแสดงให้เห็นถึงตำแหน่งของค่าของตัวแปรทั้งสองบน
กราฟดว้ ย

ในการทดลองแต่ละคร้ังจำเป็นอาศัยการวิเคราะห์ตัวแปรต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง คอื สามารถที่จะบอกชนิดของ
ตัวแปรในการทดลองว่า ตัวแปรนั้นเป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม หรือตัวแปรที่ต้องควบคุม ในการทดลองหนึ่ง ๆ
ต้องมีตัวแปรตัวหนึ่งเท่านั้นที่มีผลต่อการทดลอง และเพื่อให้แน่ใจว่าผลที่ได้เกิดจากตัวแปรนั้นจริง ๆ จำเป็นต้อง
ควบคมุ ตวั แปรอืน่ ไม่ให้มีผลต่อการทดลอง ซ่ึงเรยี กตวั แปรนี้ว่าตัวแปรทีต่ ้องควบคุมให้คงที่

๑๓.การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conlusion) การ
ตีความหมายข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูล ใน
บางครั้งอาจต้องใช้ทักษะอื่นๆ ด้วย เช่น การสังเกต การคำนวณ เป็นต้น และการลงข้อสรุป หมายถึง การสรุป
ความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอกความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิด
อะไรขึ้นกับตัวแปรตามขณะที่ตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงหรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรก่อนที่กราฟเส้นโค้งจะเปลี่ยนทิศทางและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรหลังจากที่กราฟเส้น
โคง้ เปลีย่ นทศิ ทางแล้ว

๒๑

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชัน้ ป.1

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสิ่งมีชีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แกไ้ ขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มรวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.1 1. ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ • บริเวณต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้ สวนหย่อม
บริเวณต่าง ๆ จากข้อมูลที่รวบรวม แหลง่ น้ำ อาจพบพืชและสัตวห์ ลายชนิดอาศยั อยู่
ได้
• บริเวณที่แตกต่างกันอาจพบพืชและสัตว์แตกต่างกัน เพราะ
2. บ อ ก ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม ท่ี
สภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณจะมี ความเหมาะสมต่อการ
เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของ ดำรงชีวิตของพชื และสัตว์ ท่ีอาศยั อย่ใู นแต่ละบริเวณ เช่น สระ
สัตว์ในบริเวณทีอ่ าศยั อยู่
น้ำ มีน้ำเปน็ ท่ีอยู่ อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เป็นที่หลบภยั

และมี แหล่งอาหารของหอยและปลา บริเวณต้นมะม่วงมี ต้น

มะมว่ งเปน็ แหลง่ ท่อี ยู่ และมีอาหารสำหรับกระรอกและมด

• ถ้าสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่มีการ

เปล่ยี นแปลง จะมผี ลตอ่ การดำรงชีวติ ของพชื และสัตว์

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารผ่านเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทัง้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 1. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอก • มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้
หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เหมาะสมในการดำรงชีวติ เชน่ ตามีหนา้ ท่ี ไวม้ องดู โดยมีหนังตา
มนษุ ย์ สัตว์ และพชื รวมทง้ั บรรยาย และขนตาเพือ่ ปอ้ งกนั อนั ตรายให้กบั ตา หูมหี นา้ ที่รบั ฟงั เสียง โดย
การทำหนา้ ทร่ี ว่ มกัน ของสว่ นต่าง ๆ มีใบหูและรูหู เพื่อเป็นทางผ่านของเสียง ปากมีหน้าที่พูด กิน
ของร่างกายมนุษย์ในก ารทำ อาหาร มีช่องปาและมีริมฝีปากบนล่าง แขนและมือมีหน้าที่ยก
กจิ กรรมต่าง ๆ จากข้อมลู ทร่ี วบรวม หยิบ จับ มีท่อนแขนและนิ้วมือที่ขยับได้ สมอง มีหน้าที่ควบคุม
ได้ การทำงานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เป็นก้อนอยู่ในกะโหลก
ศีรษะ โดยสว่ น ต่าง ๆ ของร่างกายจะทำหนา้ ทร่ี ว่ มกนั ในการทำ
กิจกรรม ในชวี ติ ประจำวนั

๒๒

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

• สัตว์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่

แตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสม ในการดำรงชีวิต เช่น ปลามีครีบ

เป็นแผน่ ส่วนกบ เต่า แมว มขี า 4 ขาและมเี ท้า สำหรบั ใชใ้ นการ

เคลอ่ื นที่

• พืชมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้

เหมาะสมในการดำรงชีวิตโดยทั่วไป รากมีลักษณะเรียวยาว และ

แตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทำหน้าที่ดูดน้ำ ลำต้นมีลักษณะเป็น

ทรงกระบอกตงั้ ตรงและมีก่ิงก้าน ทำหน้าที่ชูก่งิ กา้ น ใบ และดอก

ใบมีลักษณะเป็นแผ่นแบน ทำหน้าที่สร้างอาหาร นอกจากนี้พืช

หลายชนดิ อาจมีดอกท่มี สี ี รูปรา่ งต่าง ๆ ทำหนา้ ทส่ี ืบพันธุ์ รวมท้งั

มีผลทมี่ เี ปลอื ก มเี น้ือห่อหุ้มเมลด็ และมเี มลด็ ซึง่ สามารถงอกเป็น

ต้นใหมไ่ ด้

2. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของสว่ นตา่ ง • มนุษย์ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแล การดำรงชวี ติ มนุษย์จงึ ควรใช้สว่ นตา่ ง ๆของร่างกายอยา่ งถกู ต้อง
สว่ นต่างๆ อยา่ งถกู ต้อง ใหป้ ลอดภัย ปลอดภัย และรักษา ความสะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ตามอง
และรักษา ความสะอาดอยู่เสมอ
ตัวหนังสือในที่ ๆ มีแสงสว่างเพียงพอ ดูแลตาให้ปลอดภัยจาก

อนั ตราย และรักษาความสะอาดตาอย่เู สมอ

๒๓

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับ

โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะ
ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.1 1. อธิบายสมบตั ทิ ี่สงั เกตได้ของวัสดทุ ี่ใช้ • วสั ดทุ ่ใี ช้ทำวัตถุทีเ่ ปน็ ของเลน่ ของใช้ มีหลายชนิด เชน่ ผ้า แก้ว
ทำวตั ถซุ ึง่ ทำจากวัสดุชนดิ เดียว หรือ พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วัสดุแต่ละชนิดมี
หลายชนิดประกอบกันโดยใช้ สมบัติที่สังเกตได้ต่าง ๆ เช่น สี นุ่ม แข็ง ขรุขระ เรียบ ใส ขุ่น
หลักฐานเชิงประจักษ์
ยืดหดได้ บดิ งอได้

• สมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุแต่ชนิดอาจเหมือนกัน ซึ่งสามารถ
2. ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุ นำมาใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัดกลุ่มวัสดุได้ วัสดุบางอยา่ งสามารถ
ตามสมบตั ทิ ่สี ังเกตได้
นำมาประกอบกันเพอ่ื ทำเป็นวตั ถุตา่ ง ๆ เช่น ผา้ และกระดมุ ใช้

ทำเส้ือ ไมแ้ ละโลหะ ใชท้ ำกระทะ

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.1 1. บรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง • เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุที่ทำให้เกิดเสียงเป็น
การเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐาน แหล่งกำเนิดเสียงซึ่งมีทั้งแหล่งกำเนิดเสียงตามธรรมชาติและ
เชิงประจกั ษ์
แหล่งกำเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น เสียงเคลื่อนที่ออกจาก

แหลง่ กำเนิดเสียงทุกทิศทาง

๒๔

สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะกระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะท่สี ง่ ผลตอ่ สงิ่ มีชวี ิต และการ
ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 1. ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลา • บนทอ้ งฟา้ มีดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ และดาว ซึ่งในเวลากลางวัน
กลางวัน และกลางคืนจากข้อมูลท่ี จะมองเห็นดวงอาทิตย์และอาจมองเหน็ ดวงจนั ทร์บางเวลาใน
รวบรวมได้
บางวนั แตไ่ ม่สามารถมองเห็นดาว
2. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วน • ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่เนื่องจากแสงอาทิตย์
ใหญ่ ในเวลากลางวันจากหลักฐาน สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนในเวลากลางคืนจะมองเห็น
เชงิ ประจักษ์
ดาวและมองเห็นดวงจันทร์ เกอื บทุกคืน

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพบิ ัตภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก
รวมทงั้ ผลต่อสงิ่ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.1 1. อธิบายลักษณะภายนอกของหิน • หนิ ทอี่ ยใู่ นธรรมชำติมลี กั ษณะภายนอกเฉพาตัว ท่สี ังเกตได้ เช่น
จากลกั ษณะเฉพาะตัวทีส่ งั เกตได้ สี ลวดลาย นำ้ หนัก ความแข็ง และเน้ือหิน

๒๕

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ติ จริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.1 1. แก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดยใช้การลอง  การแกป้ ัญหาให้ประสบความสำเรจ็ ทำได้โดยใช้

ผดิ ขัน้ ตอน การแกป้ ัญหา

ลองถูก การเปรียบเทียบ  ปญั หาอยา่ งง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่าง

ของภาพ การจัดหนงั สือใส่กระเป๋า

2.แสดงลำดับข้ันตอนการทำงานหรือ  การแสดงขน้ั ตอนการแกป้ ัญหา ทำไดโ้ ดยการเขียนบอก

การแก้ปัญหาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ เล่า วาดภาพ หรือใชส้ ญั ลกั ษณ์

สัญลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ  ปญั หาอย่างง่าย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกตา่ ง

ของภาพ การจดั หนังสือใส่กระเป๋า

3.เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้  การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดบั ของคำสั่งให้
ซอฟตแ์ วร์ หรอื สือ่ คอมพวิ เตอร์ทำงาน

4.ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ  ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมสง่ั ใหต้ วั ละคร
เรยี กใช้ ข้อมลู ตามวตั ถปุ ระสงค์ ย้ายตำแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลีย่ นรูปร่าง

 ซอฟตแ์ วรห์ รอื สอื่ ท่ใี ชใ้ นการเขียนโปรแกรม เชน่
ใชบ้ ัตรคำสงั่ แสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org

 การใชง้ านอปุ กรณเ์ ทคโนโลยเี บือ้ งตน้ เช่น การใช้
เมาส์

คียบ์ อรด์ จอสัมผสั การเปดิ -ปิด อุปกรณ์เทคโนโลยี
 การใชง้ านซอฟต์แวร์เบ้ืองต้น เช่น การเขา้ และออก
จาก โปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจดั เกบ็ การเรยี กใช้
ไฟล์

ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคำ
โปรแกรม กราฟิก โปรแกรมนำเสนอ
 การสรา้ งและจัดเก็บไฟล์อยา่ งเปน็ ระบบจะทำให้
เรียกใช้ คน้ หาขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว

๒๖

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

5.ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง  การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เช่น ร้จู ัก
ปลอดภัย ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง
ในการใช้คอมพิวเตอร์ รว่ มกัน ข้อมูลส่วนตวั อนั ตรายจากการเผยแพรข่ ้อมลู สว่ นตวั
ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบือ้ งตน้ ใชง้ าน และไม่บอกข้อมลู สว่ นตวั กับบุคคลอ่นื ยกเว้น

อย่างเหมาะสม ผูป้ กครอง หรือครู แจง้ ผเู้ กีย่ วข้องเมือ่ ต้องการ

ความช่วยเหลือ เกี่ยวกบั การใช้งาน
 ขอ้ ปฏิบตั ิในการใชง้ านและการดแู ลรักษาอปุ กรณ์ เชน่

ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทำความสะอาด ใช้อุปกรณ์
อย่างถูกวธิ ี
 การใช้งานอยา่ งเหมาะสม เชน่ จดั ท่านั่งให้ถูกต้อง

การพักสายตาเม่ือใช้อุปกรณเ์ ปน็ เวลานาน ระมัดระวัง

อุบตั เิ หตุจากการใชง้ าน

๒๗

ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ช้ัน ป.2

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสงิ่ มชี วี ิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสิ่งมีชวี ิต การลำเลยี งสารเขา้ และออก

จากเซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ่ี
ทำงานสัมพนั ธ์กนั ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทำงาน
สัมพนั ธก์ นั รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. ระบวุ ่าพืชต้องการแสงและน้ำ เพ่ือการ  พชื ตอ้ งการนำ้ แสง เพื่อการเจรญิ เติบโต

เจริญเติบโต

โดยใชข้ ้อมลู จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

2. ตระหนกั ถึงความจำเป็นที่พชื ต้อง

ได้รบั น้ำและแสง เพ่ือการเจริญเติบโต

โดยดแู ลพืชใหไ้ ดร้ ับสง่ิ ดงั กลา่ วอยา่ ง

เหมาะสม

3. สร้างแบบจำลองทบ่ี รรยายวัฏจักร  พชื ดอกเม่อื เจรญิ เติบโตและมีดอก ดอกจะมีการ

ชวี ติ ของพืชดอก สืบพันธุเ์ ปล่ยี นแปลงไปเปน็ ผล ภายในผลมีเมลด็

เมื่อเมล็ดงอก ต้นอ่อนที่อยู่ภายในเมลด็ จะ

เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่จะ

เจรญิ เตบิ โตออกดอกเพอ่ื สบื พนั ธุม์ ผี ลตอ่ ไปได้อกี

หมนุ เวยี นตอ่ เน่ืองเป็นวฏั จักรชวี ิตของพืชดอก

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สาร
พันธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรมที่มีผลต่อสง่ิ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ
และววิ ัฒนาการของสิ่งมีชวี ิต รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.2 1. เปรียบเทียบลักษณะของ  สง่ิ ท่อี ยรู่ อบตัวเรามีทง้ั ทเี่ ป็นสิ่งมชี วี ติ และส่งิ ไม่มีชีวติ ส่งิ มีชีวติ

ส่ิงมชี วี ติ และส่ิงไม่มีชีวติ จาก ต้องการอาหาร มีการหายใจ เจรญิ เตบิ โต ขบั ถา่ ย เคล่ือนไหว

ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ ตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ และสืบพันธุไ์ ด้ลูกท่ีมลี ักษณะคลา้ ยคลึงกบั

พ่อแม่ สว่ นสง่ิ ไมม่ ีชีวติ จะไม่มีลกั ษณะดงั กล่าว

๒๘

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัติของสสาร

กบั โครงสรา้ งและแรง
ยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ
สารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. เปรยี บเทียบสมบตั กิ ารดดู ซับ  วัสดแุ ต่ละชนดิ มสี มบตั ิการดูดซบั นำ้ แตกตา่ งกนั จึงนำไปทำ

น้ำของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิง วตั ถเุ พื่อใชป้ ระโยชน์ได้แตกต่างกนั เชน่ ใชผ้ ้าท่ดี ดู ซบั นำ้ ได้

ประจักษ์ และระบุการนำ มากทำผา้ เช็ดตวั ใช้พลาสติกซ่ึงไม่ดูดซบั นำ้ ทำร่ม

สมบตั กิ ารดูดซับน้ำของวัสดุ

ไปประยุกต์ใช้ในการทำวตั ถุใน

ชีวิตประจำวนั

2. อธิบายสมบตั ทิ ่สี ังเกตไดข้ อง  วสั ดุบางอยา่ งสามารถนำมาผสมกัน ซงึ่ ทำให้ได้สมบัติท่ี

วัสดทุ เ่ี กิดจากการนำวัสดมุ า เหมาะสม เพ่อื นำไปใชป้ ระโยชน์ตามต้องการ เชน่ แปง้ ผสม

ผสมกนั โดยใช้หลกั ฐานเชิง นำ้ ตาลและกะทิ ใช้ทำขนมไทย ปนู ปลาสเตอรผ์ สมเย่อื

ประจกั ษ์ กระดาษ ใชท้ ำกระปกุ ออมสิน ปนู ผสมหนิ ทราย และน้ำ ใช้

ทำคอนกรีต

3. เปรยี บเทียบสมบตั ิที่สังเกตได้ของ  การนำวัสดุมาทำเป็นวตั ถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์

วสั ดุ ขนึ้ อยกู่ ับสมบัติของวสั ดุ วัสดทุ ใี่ ชแ้ ล้วอาจนำกลับมาใชใ้ หม่

เพ่ือนำมาทำเป็นวัตถุในการใช้ ได้ เช่น กระดาษใช้แลว้ อาจนำมาทำเปน็ จรวดกระดาษ

งานตามวัตถุประสงค์ และ ดอกไม้ประดษิ ฐ์ ถุงใส่ของ

อธบิ ายการนำวสั ดทุ ่ีใชแ้ ลว้

กลบั มาใชใ้ หม่ โดยใชห้ ลักฐาน

เชิงประจกั ษ์

4. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำ

วสั ดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดย

การนำวัสดุที่ใช้แลว้ กลับมาใช้ใหม่

๒๙

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคล่นื
ปรากฏการณ์ท่เี ก่ียวข้องกับเสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้
ประโยชน์

ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.2 1. บรรยายแนวการเคลือ่ นที่ของ  แสงเคลือ่ นท่จี ากแหล่งกำเนดิ แสงทกุ ทศิ ทางเป็นแนวตรง

แสงจากแหล่งกำเนิดแสง และ เมอื่ มีแสงจากวตั ถุมาเข้าตาจะทำให้มองเหน็ วัตถนุ ้ัน การ

อธิบายการมองเห็นวตั ถุ จาก มองเหน็ วตั ถุทีเ่ ป็นแหลง่ กำเนิดแสง แสงจากวัตถุนนั้ จะเขา้ สู่

หลักฐานเชิงประจักษ์ ตาโดยตรง สว่ นการมองเห็นวัตถุท่ีไม่ใช่แหลง่ กำเนดิ แสง

2. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ ต้องมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงไปกระทบวัตถุแล้วสะท้อน

ของการมองเหน็ โดย เขา้ ตา ถา้ มแี สงท่สี วา่ งมาก ๆ เขา้ สตู่ าอาจเกิดอันตรายต่อ

เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั ตาได้ จึงต้องหลกี เลย่ี งการมองหรือใช้แผน่ กรองแสงท่ีมี

อนั ตราย จากการมองวตั ถทุ ่ี คุณภาพเมอ่ื จำเป็น และต้องจัดความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกับ

อยใู่ นบริเวณที่มแี สงสวา่ งไม่ การทำกจิ กรรมต่าง ๆ เช่น การอา่ นหนงั สอื การดู

เหมาะสม จอโทรทัศน์ การใชโ้ ทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่แี ละแท็บเลต็

๓๐

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง

ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบัตภิ ยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศ และ
ภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. ระบุส่วนประกอบของดนิ  ดินประกอบด้วยเศษหนิ ซากพืช ซากสตั ว์ผสมอยู่ในเน้ือ

และจำแนกชนดิ ของดนิ โดย ดนิ มีอากาศและน้ำแทรกอยู่ตามชอ่ งวา่ งในเน้ือดิน ดนิ

ใช้ลกั ษณะเน้ือดินและการจบั จำแนกเปน็ ดินร่วน ดนิ เหนียว และดนิ ทราย ตามลักษณะ

ตัวเปน็ เกณฑ์ เน้อื ดินและการจบั ตวั ของดิน ซึง่ มผี ลต่อการอุ้มนำ้ ที่

แตกต่างกนั

2. อธิบายการใช้ประโยชนจ์ าก  ดนิ แต่ละชนดิ นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดแ้ ตกต่างกันตามลักษณะ

ดนิ จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ และสมบตั ขิ องดนิ

๓๑

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวติ จริงอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ

ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. แสดงลำดบั ขั้นตอนการทำงาน  การแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหา ทำได้โดยการเขียนบอก

หรือ เล่า วาดภาพ หรอื ใช้สัญลกั ษณ์

การแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใช้  ปัญหาอย่างง่าย เชน่ เกมตัวต่อ 6-12 ชิ้น การแต่งตัว
ภาพ สญั ลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ มาโรงเรียน

2.เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้  ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ตัวละคร

ซอฟต์แวร์ หรอื สื่อ และ ทำงานตามทต่ี ้องการ และตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาด

ตรวจหาข้อผิดพลาดของ โปรแกรม ปรบั แก้ไขให้ได้ผลลัพธ์ตามทีก่ ำหนด

 การตรวจหาข้อผิดพลาด ทำได้โดยตรวจสอบคำสั่งท่ี

แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่

ต้องการ

ให้ตรวจสอบการทำงานทีละคำสงั่

 ซอฟตแ์ วรห์ รอื สื่อที่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่

ใชบ้ ัตรคำส่ังแสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org

3.ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด  การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้อื งตน้ เชน่ การเขา้ และออก

หมวดหมู่ คน้ หา จัดเกบ็ เรยี กใช้ จากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเกบ็ การเรยี กใช้

ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ไฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทำไดใ้ นโปรแกรม เชน่

โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรม

นำเสนอ

 การสร้าง คดั ลอก ย้าย ลบ เปลย่ี นช่อื จดั หมวดหมไู่ ฟล์

และโฟลเดอร์อยา่ งเปน็ ระบบจะทำใหเ้ รยี กใช้ คน้ หา

ขอ้ มลู ไดง้ า่ ยและรวดเรว็

4.ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง  การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่

ปลอดภยั ปฏิบตั ิตาม รจู้ กั ข้อมูลสว่ นตวั อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมลู

ข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ สว่ นตัว และไม่บอกข้อมลู ส่วนตวั กับบุคคลอ่ืนยกเว้น

ร่วมกันดแู ลรักษาอปุ กรณ์ ผูป้ กครอง หรอื ครู แจง้ ผู้เก่ยี วข้องเม่อื ต้องการความ

เบื้องต้นใช้งาน อย่างเหมาะสม ช่วยเหลอื เกย่ี วกับการใช้งาน

 ข้อปฏิบัตใิ นการใช้งานและการดแู ลรกั ษาอุปกรณ์ เชน่

ไมข่ ีดเขยี นบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใชอ้ ปุ กรณ์

อยา่ งถูกวิธี

 การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดทำน่ังใหถ้ ูกตอ้ ง

การพักสายตาเม่ือใชอ้ ปุ กรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวัง

อบุ ัตเิ หตุจากการใชง้ าน

๓๒

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ระดบั ชน้ั ป.3

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสิง่ มชี วี ิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสิง่ มีชีวติ การลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์

ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ขี องระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ย์ที่ทำงานสัมพันธ์

กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน

รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.3 1. บรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต  มนุษย์และสัตว์ต้องการอาหาร น้ำ และอากาศ เพื่อการ

และการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ ดำรงชวี ติ และการเจริญเตบิ โต

โดยใช้ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้  อาหารช่วยให้ร่างกายแข็งแรงและเจริญเติบโต น้ำช่วยให้

2. ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้ำ ร่างกายทำงานได้อยา่ งปกติ อากาศใชใ้ นการหายใจ

และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตว์

ให้ไดร้ บั สงิ่ เหล่านอ้ี ย่างเหมาะสม

3. สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิต  สัตว์เมื่อเป็นตัวเต็มวัยจะสืบพันธุ์มีลูก เมื่อลูกเจริญเติบโต

ของสัตว์ และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของ เป็นตัวเต็มวัยก็สบื พันธุ์มีลูกต่อไปได้อีก หมุนเวียนต่อเนือ่ ง

สัตวบ์ างชนดิ เป็นวัฏจักรชีวิตของสัตว์ ซึ่งสัตว์แต่ละชนิด เช่น ผีเสื้อ กบ

4. ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่ทำ ไก่ มนุษย์ จะมีวัฏจกั รชีวิตท่เี ฉพาะและแตกตา่ งกนั

ใหว้ ัฏจักรชวี ติ ของสัตวเ์ ปลี่ยนแปลง

๓๓

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง

สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.3 1. อธิบายว่าวัตถุประกอบขึ้นจากช้ิน • วัตถุอาจทำจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่งแต่ละชิ้นมีลักษณะ

ส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกัน เหมือนกันมาประกอบเข้าด้วยกัน เมื่อแยกชิ้นส่วนย่อย ๆ

ได้และประกอบกันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ แต่ละชิ้นของวตั ถุออกจากกนั สามารถนำชนิ้ สว่ นเหล่านั้น

โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มาประกอบเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ เช่น กำแพงบ้านมีก้อนอิฐ

หลาย ๆ กอ้ นประกอบเขา้ ดว้ ยกัน และสามารถนำก้อนอิฐ

จากกำแพงบ้านมาประกอบเป็นพ้ืนทางเดินได้

2. อธิบายการเปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อทำ  เมื่อให้ความร้อนหรอื ทำให้วัสดุร้อนขึ้น และเมื่อลดความ

ให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง โดยใช้ ร้อนหรือทำให้วัสดุเย็นลง วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้

หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เช่น สีเปลี่ยน รปู ร่างเปลยี่ น

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะการเคล่ือนที่

แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.3 1. ร ะ บ ุ ผ ล ข อ ง แ ร ง ท ี ่ ม ี ต ่ อ ก า ร  การดึงหรอื การผลกั เปน็ การออกแรงกระทำต่อวัตถุ แรงมี

เปลย่ี นแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจาก ผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงอาจทำให้วัตถุเกิดการ

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เคลอ่ื นท่โี ดยเปล่ียนตำแหนง่ จากท่ีหนึ่งไปยงั อกี ท่ีหนึง่

 การเปลย่ี นแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ไดแ้ ก่ วตั ถุที่อยู่น่ิง

เปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่ วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เปลี่ยนเป็น

เคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลงหรือหยุดนิ่ง หรือเปลี่ยนทิศ

ทางการเคลื่อนที่

ป.3 2. เปรยี บเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผัส  การดึงหรือการผลักเป็นการออกแรงที่เกิดจากวัตถุหน่ึง

และแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อการ กระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง โดยวัตถุทั้งสองอาจสัมผัสหรือไม่

เคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้หลักฐานเชิง สัมผัสกัน เช่น การออกแรงโดยใช้มือดึงหรือการผลักโต๊ะ

ประจกั ษ์ ให้เคลื่อนที่เป็นการออกแรงที่วัตถุต้องสัมผัสกัน แรงนี้จึง

เป็นแรงสัมผัส ส่วนการที่แม่เหล็กดึงดูดหรือผลักระหว่าง

แมเ่ หลก็ เป็นแรงทเี่ กิดขน้ึ โดยแม่เหล็กไมจ่ ำเป็นต้องสัมผัส

กัน แรงแมเ่ หล็กนี้จึงเป็นแรงไมส่ มั ผสั

3. จำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับ  แม่เหล็กสามารถดงึ ดูดสารแมเ่ หล็กได้

แม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิง  แรงแม่เหล็กเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างแม่เหล็กกับสาร
ประจักษ์
แม่เหล็ก หรือแม่เหล็กกับแม่เหล็ก แม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือ

4. ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่เกิดข้ึน ขั้วเหนือและขั้วใต้ ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน

ระหว่างขั้วแม่เหล็ก เมื่อนำมาเข้าใกล้ ตา่ งชนิดกันจะดงึ ดดู กนั

กนั จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

๓๔

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี

เกย่ี วข้องกับเสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.3 1. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง • พลังงานเป็นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถในการ

พลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงาน ทำงาน พลังงานมีหลายแบบ เช่น พลังงานกล พลังงาน

หนึง่ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานความร้อน

โดยพลังงานสามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่งไปเป็นอีก

พลงั งานหนึง่ ได้ เช่น การถูมอื จนรสู้ ึกร้อนเป็นการเปล่ียน

พลังงานกลเป็นพลังงานความร้อน แผงเซลล์สุริยะ

เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือ

เครือ่ งใช้ไฟฟ้าเปลย่ี นพลังงานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอ่ืน

2. บรรยายการทำงานของเครื่อง  ไฟฟ้าผลติ จากเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า ซึ่งใชพ้ ลงั งานจากแหล่ง

กำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่ง พลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น พลังงานจากลม

พลังงานในการผลิตไฟฟ้าจาก พลงั งานจากน้ำ พลงั งานจากแกส๊ ธรรมชาติ

ข้อมูลทร่ี วบรวมได้

3. ตระหนักในประโยชน์และโทษ  พลังงานไฟฟ้ามคี วามสำคญั ต่อชวี ิตประจำวัน การใชไ้ ฟฟ้า

ข อ ง ไ ฟ ฟ ้ า โ ด ย น ำ เ ส น อ นอกจากต้องใช้อย่างถูกวิธี ประหยัด และคุ้มค่าแล้ว ยัง

วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด ตอ้ งคำนึงถงึ ความปลอดภยั ดว้ ย

และปลอดภยั

๓๕

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.3 1. อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึน  คนบนโลกมองเห็นดวงอาทติ ยป์ รากฏข้ึนทางด้านหนึ่งและ

และตกของดวงอาทิตย์ โดยใช้ ตกทางอกี ดา้ นหนง่ึ ทกุ วันหมนุ เวยี นเป็นแบบรปู ซำ้ ๆ

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์  โลกกลมและหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์

2. อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์ ทำให้บริเวณของโลกได้รับแสงอาทิตย์ไม่พร้อมกัน โลก

การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การ ด้านที่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์จะเป็นเวลากลางวัน ส่วน

เกิดกลางวันกลางคืน และการ ด้านตรงข้ามที่ไม่ได้รับแสงจะเป็นกลางคืน นอกจากนี้ คน

กำหนดทศิ โดยใช้แบบจำลอง บนโลกจะมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นทางด้านหนึ่ง ซึ่ง

3. ตระหนักถึงความสำคัญของ กำหนดให้เป็นทิศตะวันออก และมองเห็นดวงอาทิตย์ตก

ดวงอาทิตย์ โดยบรรยาย ทางอีกด้านหนึ่ง ซึ่งกำหนดให้เป็นทิศตะวันตกและเมื่อให้

ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อ ด้านขวามืออยู่ทางทิศตะวันออก ด้านซ้ายมืออยู่ทางทิศ

ส่ิงมชี ีวติ ตะวันตก ด้านหน้าจะเป็นทิศเหนือ และด้านหลังจะเป็น

ทิศใต้

 ในเวลากลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสงและพลังงาน

ความร้อนจากดวงอาทติ ย์ ทำใหส้ ิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทัง้ ผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.3 1. ระบุส่วนประกอบของอากาศ  อากาศโดยทั่วไปไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ประกอบด้วยแก๊ส

บรรยายคว ามสำคั ญ ข อ ง ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สอื่น ๆ

อากาศ และผลกระทบของ รวมทั้งไอน้ำ และฝุ่นละออง อากาศมีความสำคัญต่อ

มลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต หากส่วนประกอบของอากาศไม่เหมาะสม

จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ เนื่องจากมแี ก๊สบางชนดิ หรือฝนุ่ ละอองในปริมาณมาก อาจ

2. ตระหนักถึงความสำคัญของ เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ จัดเป็นมลพิษทาง

อากาศ โ ดยนำเสนอแนว อากาศ
ทางการปฏิบัติตนในการลด  แนวทางการปฏิบตั ิตนเพื่อลดการปล่อยมลพิษทางอากาศ

การเกดิ มลพิษทางอากาศ เช่น ใช้พาหนะร่วมกันหรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ลดมลพิษ

ทางอากาศ

3. อ ธ ิ บ า ย ก า ร เ ก ิ ด ล ม จ า ก  ลม คือ อากาศเคลื่อนที่ เกิดจากความแตกต่างกันของ

หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อุณหภูมิอากาศบริเวณที่อยู่ใกล้กัน โดยอากาศบริเวณที่มี

๓๖

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

อุณหภมู สิ ูงจะลอยตัวสงู ขึน้ และอากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิ

ต่ำกว่าจะเคลอื่ นเข้าไปแทนท่ี
4. บรรยายประโยชน์และโทษ  ลมสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนในการผลิต

ของลม จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ไฟฟา้ และนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของ

มนุษย์ หากลมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงอาจทำให้เกิด
อนั ตรายและความเสยี หายต่อชวี ิตและทรัพยส์ ินได้

๓๗

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบ

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม

ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.3 1. แสดงอัลกอริทึมในการทำงานหรือ  อลั กอริทึมเปน็ ข้นั ตอนที่ใช้ในการแกป้ ญั หา
การแก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้ภาพ  การแสดงอัลกอริทึม ทำไดโ้ ดยการเขยี นบอกเล่า
สญั ลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ
วาดภาพ หรือใชส้ ัญลักษณ์
2.เขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้  ตวั อยา่ งปญั หา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม
ซอฟต์แวร์หรอื ส่อื และตรวจหา
ขอ้ ผดิ พลาดของ โปรแกรม Tetris

3.ใช้อินเทอร์เนต็ คน้ หาความรู้ เกม OX การเดนิ ไปโรงอาหาร การทำความสะอาด

หอ้ งเรียน

 การเขียนโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดับของคำส่งั ให้

คอมพิวเตอร์ทำงาน
 ตัวอย่างโปรแกรม เชน่ เขยี นโปรแกรมทีส่ ่ังให้ตัว

ละคร ทำงานซ้ำไมส่ ิน้ สุด
 การตรวจหาขอ้ ผิดพลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบคำสง่ั ท่ี
แจง้ ขอ้ ผดิ พลาด หรอื หากผลลัพธ์ไมเ่ ป็นไปตามท่ี

ตอ้ งการให้ ตรวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง
 ซอฟต์แวร์หรือสื่อทใี่ ชใ้ นการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้

บัตร คำส่ังแสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org

 อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ชว่ ยใหก้ าร

ตดิ ตอ่

สอ่ื สารทำไดส้ ะดวกและรวดเร็ว และเปน็
แหลง่ ข้อมลู ความร้ทู ชี่ ่วยในการเรยี นและการ

ดำเนนิ ชวี ติ
 เวบ็ เบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสารบน

เวบ็ เพจ
 การสบื ค้นข้อมลู บนอนิ เทอร์เน็ต ทำได้โดยใช้

เว็บไซต์ สำหรบั สืบคน้ และตอ้ งกำหนดคำคน้ ที่
เหมาะสมจึงจะได้ ข้อมูลตามที่ต้องการ
 ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วธิ ีพับกระดาษเป็น

รปู ต่าง ๆ ขอ้ มลู ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย (อาจเป็น

ความรู้ ในวิชาอืน่ ๆ หรือเรอ่ื งที่เปน็ ประเด็นทส่ี นใจใน

ชว่ งเวลาน้นั )
 การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ อยา่ งปลอดภัยควรอยู่ในการดูแล
ของ ครู หรือผ้ปู กครอง

๓๘

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

4.รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอ  การรวบรวมข้อมูล ทำได้โดยกำหนดหวั ข้อทีต่ ้องการ
ข้อมูล
เตรยี มอปุ กรณใ์ นการจดบนั ทึก
โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ตามวตั ถปุ ระสงค์  การประมวลผลอย่างงา่ ย เช่น เปรยี บเทียบ จัดกลุม่

5.ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง เรียงลำดับ
ปลอดภัย ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลงในการ  การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลายลกั ษณะตามความ
ใช้อนิ เทอร์เนต็ เหมาะสม เช่น การบอกเล่า การทำเอกสาร

รายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ
 การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เชน่ ใช้

ซอฟตแ์ วร์นำเสนอ หรือซอฟต์แวร์กราฟกิ สร้าง

แผนภมู ิ รปู ภาพ ใช้ซอฟต์แวรป์ ระมวลคำทำปา้ ย
ประกาศหรือ เอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ตาราง

ทำงานในการ ประมวลผลข้อมลู

 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น

ปกป้อง ขอ้ มูลส่วนตวั
 ขอความชว่ ยเหลอื จากครหู รอื ผปู้ กครอง เม่ือเกิด

ปญั หา จากการใชง้ าน เม่ือพบข้อมลู หรอื บคุ คลที่ทำให้
ไม่สบายใจ

 การปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอร์เนต็ จะทำ

ให้
ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อืน่ เชน่ ไม่ใช้คำ

หยาบ ลอ้ เลียน ดา่ ทอ ทำให้ผอู้ น่ื เสยี หายหรือเสียใจ
 ข้อดีและข้อเสียในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร

๓๙

ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ช้ัน ป.4

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารผ่านเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสมั พันธ์ของโครงสร้าง และหน้าทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสมั พันธ์กัน รวมท้ัง
นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.4 1. บรรยายหน้าที่ของราก ลำตน้ • สว่ นต่าง ๆ ของพชื ดอกทำหน้าท่ีแตกต่างกนั

ใบ และดอกของพืชดอกโดย รากทำหนา้ ท่ีดดู นำ้ และแรธ่ าตขุ ึ้นไปยังลำต้น
ใช้ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ ลำต้นทำหนา้ ท่ีลำเลยี งนำ้ ต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื

ใบทำหน้าที่สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างขึ้นคือน้ำตาลซึ่ง
จะเปลี่ยนเป็นแป้งดอกทำหน้าที่สืบพันธุ์ ประกอบด้วย
ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร
เพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนของ
ดอก ทำหนา้ ที่แตกต่างกนั

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สาร
พนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธกุ รรมทมี่ ผี ลตอ่ สิง่ มีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ
และววิ ัฒนาการของสิง่ มชี ีวิต รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.4 1. จำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความ • สง่ิ มชี วี ติ มีหลายชนดิ สามารถจัดกล่มุ ไดโ้ ดยใช้ความเหมือน

เหมือนและความแตกต่างของ และความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ เช่น กลุ่มพืชสร้าง

ลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็น อาหารเองได้ และเคลื่อนที่ด้วยตนเองไม่ได้ กลุ่มสัตว์กิน

กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ สิ่งมีชีวิตอืน่ เป็นอาหารและเคลื่อนทีไ่ ด้ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและ

ไมใ่ ช่พืชและสตั ว์ สตั ว์ เชน่ เหด็ รา จลุ นิ ทรีย์

2. จำแนกพืชออกเป็นพืชดอก • การจำแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ในการ
และพืชไม่มีดอกโดยใช้การมี จำแนก ไดเ้ ป็นพชื ดอกและพืชไมม่ ีดอก
ดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่
รวบรวมได้

๔๐

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

3. จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี • การจำแนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์
กระดกู สนั หลังและสัตว์ไม่ ในการจำแนก ได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี
มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กระดกู สันหลัง
กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดย
ใชข้ ้อมลู ท่ีรวบรวมได้

4. บรรยายลักษณะเฉพาะท่ี • สตั ว์มีกระดกู สันหลงั มหี ลายกลุ่ม ได้แก่ กลมุ่ ปลา กลุ่มสัตว์
สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสัน สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และ
หลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะ
สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์ เฉพาะที่สงั เกตได้
เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่ม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และ
ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละ
กลมุ่

๔๑

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบตั ิของสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะ
ของสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.4 1. เปรียบเทียบสมบัต ิ ท า ง • วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน วัสดุที่มี
กายภาพด้านความแข็ง สภาพ ความแข็งจะทนต่อแรงขูดขีด วัสดุที่มีสภาพยืดหยุ่นจะ
ยดื หยุ่น การนำความร้อน และ เปลยี่ นแปลงรูปร่างเม่ือมีแรงมากระทำ และกลับสภาพเดิม
การนำไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้ ได้ วัสดุที่นำความร้อนจะร้อนได้เร็วเมื่อได้รับความร้อน
หลักฐานเชิงประจักษ์จากการ และวัสดุทนี่ ำไฟฟา้ ได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ดังน้ัน
ทดลองและระบุการนำสมบัติ จึงอาจนำสมบัติ ต่าง ๆ มาพิจารณาเพื่อใช้ในกระบวนการ
เรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น ออกแบบชิน้ งานเพ่อื ใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั
การนำความร้อน และการนำ
ไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ผ่าน
กระบวนการออกแบบช้ินงาน

2. แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อ่ืน
โ ด ย ก า ร อ ภ ิ ป ร า ย เ ก ี ่ ย ว กั บ
สมบัติทางกายภาพของวัสดุ
อย่างมเี หตุผลจากการทดลอง

3. เปรียบเทียบสมบัติของสสาร • วัสดเุ ป็นสสารเพราะมีมวลและตอ้ งการที่อยู่ สสารมสี ถานะ

ทั้ง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้ เป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ของแข็งมีปริมาตรและ

จากการสังเกต มวล การ รูปร่างคงที่ ของเหลวมีปริมาตรคงที่ แต่มีรูปร่างเปลี่ยนไป

ต้องการที่อยู่ รูปร่างและ ตามภาชนะเฉพาะส่วนที่บรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมี

ปรมิ าตรของสสาร ปรมิ าตรและรูปร่างเปลีย่ นไปตามภาชนะทบ่ี รรจุ

4. ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และ
ปริมาตรของสสารทั้ง 3
สถานะ

๔๒

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลือ่ นทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.4 1. ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อ • แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทำต่อวัตถุ มี

วัตถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ทิศทางเข้าสู่ศนู ยก์ ลางโลก และเป็นแรงไม่สมั ผัส แรงดึงดูด

2. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัด ที่โลกกระทำกับวัตถุหนึ่ง ๆ ทำให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลก และ
น้ำหนักของวตั ถุ ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก วัดน้ำหนักของวัตถุได้จากเครื่องชั่ง
สปรงิ น้ำหนักของวตั ถุขนึ้ กบั มวลของวัตถุ โดยวัตถุท่ีมีมวล

มากจะมนี ำ้ หนกั มาก วัตถุทีม่ ีมวลนอ้ ยจะมนี ำ้ หนักน้อย

3. บรรยายมวลของวัตถุท่ีมีผลต่อ • มวล คือ ปริมาณเนื้อของสารทั้งหมดที่ประกอบกันเป็น

การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ วัตถุ ซึ่งมีผลต่อความยากง่ายในการเปลี่ยนแปลงการ

ของวัตถุจากหลักฐานเชิง เคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุที่มีมวลมากจะเปลี่ยนแปลงการ

ประจกั ษ์ เคลื่อนที่ได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย ดังนั้น มวลของวัตถุ

นอกจากจะหมายถึงเนื้อทั้งหมดของวัตถุนั้นแล้วยัง

หมายถึงการต้านการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุน้ัน

ดว้ ย

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธ์
ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณ์ท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.4 1. จำแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส • เมื่อมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมากั้นจะทำให้

ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบ การมองเห็นสิ่งนั้น ๆ ชัดเจนต่างกัน จึงจำแนกวัตถุที่มา

แสง โดยใช้ลักษณะการมองเห็น กั้นออกเป็นตัวกลางโปร่งใส ซึ่งทำให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ

สิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็นเกณฑ์ ได้ชัดเจน ตัวกลางโปร่งแสงทำให้มองเห็น สิ่งต่าง ๆ ได้

จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ไมช่ ัดเจน และวัตถุทบึ แสงทำใหม้ องไม่เห็นสิง่ ตา่ ง ๆ น้ัน

๔๓

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้งั ปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสรุ ิยะทส่ี ง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และการ
ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.4 1. อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึน • ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์โคจรรอบโลก

และตกของดวงจันทร์ โดยใช้ พร้อมกับหมุนรอบตัวเอง ขณะที่โลกก็หมุนรอบตัวเองด้วย

หลักฐานเชิงประจักษ์ เช่นกัน การหมุนรอบตัวเองของโลกจากทิศตะวันตกไปทิศ

ตะวนั ออกในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากข้วั โลกเหนือ

ทำให้มองเห็นดวงจันทร์ปรากฏขึ้นทางด้านทิศตะวันออกและ

ตกทางด้านทิศตะวันตกหมุนเวยี นเป็นแบบรปู ซ้ำ ๆ

2. สร้างแบบจำลองที่อธิบายแบบ • ดวงจันทร์เป็นวัตถุที่เป็นทรงกลม แต่รูปร่างของดวงจันทร์ท่ี

รูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง มองเห็นหรือรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์บนท้องฟ้าแตกต่าง

ป ร า ก ฏ ข อ ง กันไปในแต่ละวัน โดยในแต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่าง

ดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่าง ปรากฏเป็นเสี้ยวที่มีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเต็มดวง

ปรากฏของดวงจันทร์ จากนั้นรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะแหว่งและมีขนาด

ลดลงอย่างต่อเนื่องจนมองไม่เห็นดวงจันทร์ จากนั้นรูปร่าง

ปรากฏของดวงจันทร์จะเป็นเสี้ยวใหญ่ขึ้นจนเต็มดวงอีกครั้ง

การเปลีย่ นแปลงเชน่ นีเ้ ป็นแบบรปู ซำ้ กันทกุ เดือน

3. ส ร ้ า ง แ บ บ จ ำ ล อ ง แ ส ด ง • ระบบสุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและมี

องค์ประกอบของระบบสุริยะ บริวารประกอบด้วย ดาวเคราะห์แปดดวงและบริวาร ซึ่งดาว

และอธิบายเปรียบเทียบคาบการ เคราะห์แต่ละดวงมีขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์

โคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จาก แตกต่างกัน และยังประกอบด้วยดาวเคราะห์แคระ ดาว

แบบจำลอง เคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ โคจรอยู่รอบ

ดวงอาทิตย์ วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ เมื่อเข้ามาในชั้นบรรยากาศ

เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้เกิดเป็นดาวตกหรือผีพุ่ง

ไต้และอกุ กาบาต

๔๔

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาทพี่ บในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็นข้นั ตอนและเป็น

ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการ
แกป้ ญั หาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมีจริยธรรม

ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.4 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ • การใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรอื เงื่อนไขท่ี

แก้ปัญหา การอธิบายการ ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การ

ทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ อธบิ ายการทำงาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์

จากปญั หาอยา่ งงา่ ย • สถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ท่ี

แตกต่างกนั

• ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม OX, โปรแกรมที่มีการคำนวณ,

โปรแกรมที่มีตัวละครหลายตัว และมีการสั่งงานที่แตกต่าง

หรือมีการสื่อสารระหว่างกัน, การเดินทางไปโรงเรียนโดย

วธิ กี ารต่าง ๆ

2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรม • การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การออกแบบโดยใช้

อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ storyboard หรือการออกแบบอัลกอรทิ ึม

ห ร ื อ ส ื ่ อ แ ล ะ ต ร ว จ ห า • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสั่ง ให้

ข้อผดิ พลาดและแกไ้ ข คอมพิวเตอร์ทำงาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ความต้องการ

หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบ การทำงานทีละคำสั่ง เมื่อ

พบจุดที่ทำให้ผลลัพธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทำการแก้ไขจนกว่าจะ

ได้ผลลัพธท์ ่ีถกู ต้อง

• ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเรื่องราว เช่น นิทานที่มี การตอบโต้

กับผู้ใช้ การ์ตนู สั้น เล่ากิจวตั รประจำวนั ภาพเคลอ่ื นไหว

• การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วย

พฒั นาทักษะการหาสาเหตขุ องปัญหาไดด้ ีย่ิงข้ึน

• ซอฟตแ์ วร์ทใี่ ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ Scratch, logo

๔๕

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ • การใช้คำค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่

และประเมินความน่าเชื่อถือ รวดเรว็ และตรงตามความตอ้ งการ

ของข้อมลู • การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณา

ประเภทของเว็บไซต์ (หนว่ ยงานราชการ สำนกั ข่าว องค์กร)

ผูเ้ ขยี น วนั ทีเ่ ผยแพร่ขอ้ มลู การอ้างองิ

• เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนำเนื้อหา

มาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูล ที่มีความ

สอดคล้องและสัมพนั ธ์กนั

• การทำรายงานหรือการนำเสนอข้อมูลจะต้อง นำข้อมูลมา

เรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของตนเอง ที่เหมาะสมกับ

กลุ่มเป้าหมายและวิธีการนำเสนอ (บูรณาการกับวิชา

ภาษาไทย)

4. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ •การรวบรวมข้อมลู ทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ตอ้ งการ เตรียม
ข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ อปุ กรณใ์ นการจดบันทกึ
ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อ • การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม
แกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวัน
เรยี งลำดบั การหาผลรวม

• วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ประเมิน

ทางเลอื ก (เปรยี บเทียบ ตดั สนิ )

• การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม

เช่น การบอกเล่า เอกสารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรม

นำเสนอ

•การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เช่น การ

สำรวจเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์สร้าง

แบบสอบถามและเก็บข้อมูล ใช้ซอฟตแ์ วร์ตารางทำงานเพ่ือ

ประมวลผลข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าทาง

โภชนาการและสร้างรายการอาหารสำหรับ 5 วัน ใช้

ซอฟต์แวร์นำเสนอผลการสำรวจ รายการอาหารที่เป็น

ทางเลอื ก และขอ้ มูลด้านโภชนาการ

5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ หน้าท่ีของตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อ่ืน เช่น ไมส่ ร้างข้อความ
หน้าที่ของตน เคารพในสิทธิ เท็จและส่งให้ผู้อื่น ไม่สร้างความเดือดร้อนต่อผู้อื่นโดยการ
ของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อ ส่งสแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูลส่วนตัวของ
ผอู้ ่ืน ส่งคำเชญิ เล่นเกม ไม่เข้าถึงข้อมลู สว่ นตวั หรือการบ้าน

๔๖

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

พบข้อมูล หรือบุคคลที่ไม่ ของบุคคลอน่ื โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ไม่ใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์/

เหมาะสม ช่ือบัญชขี องผู้อืน่

• การส่ือสารอย่างมีมารยาทและรกู้ าลเทศะ

• การปกป้องข้อมลู สว่ นตัว เชน่ การออกจากระบบเมอ่ื เลิกใช้

งาน ไม่บอกรหสั ผา่ น ไม่บอกเลขประจำตวั ประชาชน

๔๗

ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ ป.5

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบทีม่ ี

ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

การแกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดลอ้ มรวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 1. บรรยายโครงสร้างและ - สิง่ มชี ีวติ ทัง้ พืชและสตั ว์มโี ครงสร้างและลกั ษณะ ท่ี

ลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่ เหมาะสมในแตล่ ะแหลง่ ท่ีอยู่ ซงึ่ เป็นผลมาจาก การปรับตัว

เหมาะสมกบั การดำรงชีวิตซึ่ง ของสิ่งมชี ีวติ เพ่อื ใหด้ ำรงชีวิตและอย่รู อดได้ในแตล่ ะแหล่ง

เป็นผลมาจากการปรับตัวของ ทีอ่ ยู่ เช่น ผกั ตบชวามีช่องอากาศในก้านใบ ช่วยใหล้ อยน้ำ

สิ่งมชี ีวติ ในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ได้ ตน้ โกงกางที่ขนึ้ อยู่ใน ป่าชายเลนมรี ากค้ำจนุ ทำใหล้ ำต้น

ไม่ลม้ ปลามีครีบชว่ ยในการเคลื่อนทใ่ี นน้ำ

2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่าง - ในแหลง่ ทอี่ ยู่หนึง่ ๆ สงิ่ มีชีวิตจะมคี วามสมั พันธ์ ซง่ึ กนั

สงิ่ มีชีวิตกับสง่ิ มีชีวติ และ และกันและสมั พันธ์กบั สิ่งไมม่ ีชวี ิต เพื่อประโยชนต์ ่อการ

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชวี ติ ดำรงชีวิต เชน่ ความสมั พันธ์กนั ดา้ นการกินกนั เปน็ อาหาร

กบั เปน็ แหลง่ ทอี่ ยู่อาศยั หลบภยั และเลยี้ งดูลกู ออ่ น ใช้อากาศ

3. เขยี นโซอ่ าหารและระบุ ในการหายใจ

บทบาทหนา้ ท่ีของส่งิ มชี ีวิตท่ี - สง่ิ มีชีวติ มกี ารกินกันเป็นอาหารโดยกินต่อกนั เปน็ ทอด ๆ

เป็นผู้ผลิตและผ้บู รโิ ภคในโซ่ ในรูปแบบของโซอ่ าหารทำให้สามารถระบุบทบาทหน้าท่ี
อาหาร ของสิง่ มีชีวติ เปน็ ผผู้ ลติ และผูบ้ รโิ ภค

4. ตระหนกั ในคุณคา่ ของ

สิ่งแวดลอ้ มทม่ี ีตอ่ การ

ดำรงชวี ิตของสงิ่ มีชวี ิต โดยมี

สว่ นร่วม ในการดูแลรกั ษา

สงิ่ แวดลอ้ ม

๔๘

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธกุ รรม

การเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมท่ีมผี ลตอ่ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและ

วิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ิตรวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.5 1. อธิบายลกั ษณะทาง - สิ่งมชี ีวิตทง้ั พชื สัตว์ และมนุษย์ เมอ่ื โตเตม็ ท่ีจะมีการสบื พันธเุ์ พอ่ื

พันธุกรรมท่ีมกี าร เพม่ิ จำนวนและดำรงพนั ธ์ุ โดยลกู ทเี่ กิดมาจะได้รบั การถา่ ยทอด

ถา่ ยทอดจากพ่อแมส่ ลู่ กู ลักษณะทางพนั ธกุ รรมจากพ่อแม่ทำให้มลี ักษณะทางพันธุกรรมที่

ของพืช สัตว์ และมนษุ ย์ เฉพาะแตกต่างจากส่ิงมีชวี ติ ชนิดอ่ืน

2. แสดงความอยากรู้ - พชื มกี ารถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม เชน่ ลกั ษณะของใบ สี
อยากเห็นโดยการถาม ดอก

คำถามเกยี่ วกบั ลกั ษณะ - สตั วม์ ีการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม เชน่ สีขน ลกั ษณะของ
ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั ของ ขน ลกั ษณะของหู
- มนุษย์มีการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม เช่น เชิงผมท่ีหน้าผาก
ตนเองกับพ่อแม่

ลกั ยิ้ม ลักษณะหนังตำ การห่อลนิ้ ลกั ษณะของตงิ่ หู

๔๙

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง

สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 1.อธบิ ายการเปลี่ยนสถานะ - การเปลย่ี นสถานะของสสารเป็นการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ

ของสสาร เม่ือทำให้สสารร้อน เมือ่ เพมิ่ ความรอ้ นให้กับสสารถึงระดบั หน่ึงจะทำให้สสารท่เี ปน็

ขน้ึ หรือเยน็ ลง โดยใชห้ ลักฐาน ของแขง็ เปลีย่ นสถานะเปน็ ของเหลว เรียกวา่ การหลอมเหลว และ

เชงิ ประจักษ์ เม่ือเพิ่ม ความร้อนต่อไปจนถึงอกี ระดบั หน่งึ ของเหลวจะ

เปลยี่ นเปน็ แกส๊ เรียกวา่ การกลายเป็นไอ แต่เม่ือลดความร้อนลง

ถงึ ระดบั หนง่ึ แกส๊ จะเปลยี่ นสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การ

ควบแนน่ และถ้าลดความรอ้ นตอ่ ไปอีกจนถงึ ระดับหนึง่ ของเหลว

จะเปลีย่ นสถานะเปน็ ของแข็ง เรียกว่า การแขง็ ตัว สสารบางชนิด

สามารถเปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็นแกส๊ โดยไม่ผา่ นการเป็น

ของเหลว เรียกวา่ การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนดิ สามารถเปล่ียน

สถานะเปน็ ของแข็งโดยไมผ่ ่าน การเปน็ ของเหลว เรียกว่า กา

ระเหิดกลบั

ป.5 2.อธิบายการละลายของสารใน - เมื่อใสส่ ารลงในนำ้ แล้วสารนั้นรวมเปน็ เนื้อเดียวกันกบั นำ้ ท่ัวทกุ

นำ้ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ส่วน แสดงวา่ สารเกดิ การละลาย เรียกสารผสมท่ไี ด้ว่าสารละลาย

3.วเิ คราะหก์ ารเปล่ียนแปลง - เมือ่ ผสมสาร 2 ชนิดขนึ้ ไปแล้วมสี ารใหมเ่ กิดขนึ้ ซ่ึงมีสมบัติจาก

ของ เม่ือเกดิ การเปลี่ยนแปลง สารเดิม หรือเม่ือสารชนิดเดยี ว เกิดการเปล่ยี นแปลงแล้วมีสารใหม่

ทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชงิ เกดิ ขึน้ การเปล่ยี นแปลงนเ้ี รียกว่า การเปล่ยี นแปลงทางเคมี ซ่งึ

ประจักษ์ สังเกตไดจ้ ากมสี ี หรอื กลน่ิ ต่างจากสารเดิม หรือ มีฟองแกส๊ หรอื มี

ตะกอนเกดิ ข้ึน หรือมกี ารเพม่ิ ข้นึ หรือลดลงของอณุ หภมู ิ

4.วเิ คราะหแ์ ละระบุการ เม่ือสารเกิดการเปล่ียนแปลงแลว้ สารามารถเปลย่ี นกลบั เป็น

เปลี่ยนแปลงท่ผี ันกลับได้และ สารเดมิ ได้ เป็นการปลี่ยนแปลงทผ่ี ันกลับได้ เชน่ การหลอมเหลว

การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลบั ไม่ได้ การกลายเปน็ ไอ การละลาย แตส่ ารบางอยา่ งเกดิ การเปล่ยี นแปลง

แลว้ ไมส่ ามารถเปล่ียนกลับเป็นสารเดมิ ได้ เปน็ การเปล่ียนแปลงที่

ผนั กลับไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ


Click to View FlipBook Version