The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AG, 2021-11-09 04:36:18

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สารบัญ

ปฏทิ นิ การดาเนนิ งานตามขอ้ ตกลงการปฏบิ ตั ิงานสคู่ วามเป็นเลิศ (OKRs) และแผนปฏิบตั กิ าร หน้า
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะเกษตรศาสตร์ 1

บทสรุปผบู้ รหิ าร 2
4
บทนา
21
ผลการดาเนินงานตามข้อตกลงการปฏบิ ัติงานส่คู วามเป็นเลิศ (OKRs)
51
- OKR1 จานวนหลกั สูตรท่มี ีการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามกระบวนทัศน์ใหม่ 56
(New Paradigm curriculum)
76
- OKR5 จานวนโครงการวจิ ัยในรปู แบบแผนบรู ณาการงานวิจัย (Research program)
87
- OKR11 จานวนชุมชนท่ีไดร้ ับการบรกิ ารจาก มหาวิทยาลัยอยา่ งบูรณาการของสาขาวชิ า 99
ต่างๆ
104
- OKR12 จานวนผลงานทีเ่ กิดจากการใหบ้ ริการวิชาการของมหาวทิ ยาลัยในรปู แบบการ 109
สรา้ งคณุ ค่ารว่ ม (CSV)
112
- OKR22 จานวนอาคารและสถานที่ที่ได้รบั การปรบั ปรุงแตล่ ะปตี ามกฎหมายท่กี าหนด

- OKR29 จานวนสาขาวิชาของมข. ไดร้ บั การจัดอนั ดับโดยการจัดอันดับของ THE หรือ QS
World University Ranking หรอื Academic Ranking อน่ื ๆ

- OKR33 โครงการฟาร์มอจั ฉริยะ (Smart Farm)

- OKR37 รอ้ ยละของบทความวจิ ัยทไ่ี ดร้ บั การตพี ิมพใ์ นระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล
Scopus/ISI ทีอ่ ยใู่ น Quartile 1

ผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ปฏทิ ินการดาเนินงานตามข้อตกลงการปฏบิ ตั งิ านสคู่ วามเป็นเลิศ (OKRs)
และแผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 คณะเกษตรศาสตร์

13 มิถนุ ายน 2563 การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการจัดทาแผนปฏิบตั กิ าร และงบประมาณ
9 ตุลาคม 2563 ประจาปี 2564 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
23 ธันวาคม 2563
18 มกราคม 2564 การถ่ายทอดแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ระดบั สาขาวชิ า/หนว่ ยงาน

การอบรมการใชโ้ ปรแกรม Project Follow Up เพ่ือตดิ ตามการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่
สาขาวิชา/หนว่ ยงาน

การถ่ายทอดตัวชี้วดั ข้อตกลงการปฏิบตั ิงานส่คู วามเป็นเลศิ (OKRs)
คณะเกษตรศาสตร์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับสาขาวชิ า

15 กุมภาพนั ธ์ 2564 การพิจารณาตัวชีว้ ดั ขอ้ ตกลงการปฏบิ ตั งิ านสู่ความเป็นเลศิ (OKRs)
คณะเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั สาขาวชิ า

16 เมษายน 2564 สาขาวิชาสง่ รายงานผลการดาเนนิ งานตามข้อตกลงการปฏิบัติงานสคู่ วามเป็น
เลศิ (OKRs) และรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 6 เดือน

12 กรกฎาคม 2564 สาขาวชิ าส่งรายงานผลการดาเนนิ งานตามข้อตกลงการปฏบิ ตั ิงานสคู่ วามเป็น
เลศิ (OKRs) และรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 9 เดอื น

15 กรกฎาคม 2564 การนาเสนอผลการดาเนินงานตามขอ้ ตกลงการปฏบิ ัตงิ านสู่ความเปน็ เลศิ
30 กนั ยายน 2564 (OKRs) คณะเกษตรศาสตร์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สาขาวชิ าสง่ รายงานผลการดาเนินงานตามข้อตกลงการปฏิบัติงานส่คู วาม
เป็นเลิศ (OKRs) และรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 12 เดอื น

7 ตุลาคม 2564 สง่ รายงานผลการดาเนินงานตามข้อตกลงการปฏบิ ัตงิ านสคู่ วามเปน็ เลิศ
(OKRs) และแผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 12
เดือนแก่มหาวทิ ยาลัยผ่าน Google Drive

1

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

บทสรปุ ผูบ้ ริหาร

ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 มาตรา 23 ให้สภามหาวิทยาลัยมีหน้าที่ติดตาม
และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของอธิการบดแี ละหวั หนา้ ส่วนงาน และมาตรา 46 ให้สภามหาวิทยาลัยจัดให้
มีการประเมินผลการปฏิบัติหน้าท่ีของอธิการบดี และหัวหน้าส่วนงาน การประเมินผลการปฏิบัติหน้าท่ีตาม
วรรคหนึ่ง และวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ีกาหนดในข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัย โดยมีเกณฑก์ ารประเมนิ ตามข้อบงั คับ ดงั น้ี

องค์ประกอบที่ 1

ผลลพั ธส์ าคญั (OKRs) รอ้ ยละ 40-60

องค์ประกอบท่ี 2

แผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ร้อยละ 15-35

องค์ประกอบที่ 3

ความพงึ พอใจภาวะผนู้ าองค์กร รอ้ ยละ 15-35

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ จัดทาขน้ึ โดยยดึ ตามรายละเอียดผลการดาเนินงานตามผลลัพธ์สาคัญ (OKRs)
และแผนปฏิบัติงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้

ผลการดาเนนิ งานตามผลลัพธส์ าคัญ (OKRs) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คณะฯ พิจารณาเลอื กตัวช้ีวัดผลลัพธ์ที่สาคัญ (OKRs) โดยมหาวิทยาลัยกาหนดให้เลือกทั้งหมด 6 ตัว
แบ่งเปน็ ตัวชว้ี ัดที่มหาวิทยาลัยกาหนดให้ดาเนินการ (Top down) 2 ตัว และพิจารณาคัดเลือกตัวชี้วัดจาก
แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่สอดคล้องกับด้านประชาคม (People: P) ด้านระบบนิเวศของ
มหาวิทยาลัย (Ecological: E) และด้านจิตวิญญาณความเป็นมหาวิทยาลัย (Spiritual: S) รวม 4 ตัวชี้วัด
และระบุคา่ เปา้ หมายในแต่ละตัวชีว้ ดั ทีค่ ณะสามารถดาเนินการได้ ดังน้ี

2

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน

ตัวชวี้ ดั OKRs ของคณะ ของคณะ

งบประมาณ 2564 งบประมาณ 2564

1. ดา้ นประชาคม (People : P)

*OKR1 จานวนหลักสตู รทม่ี ีการจดั กระบวนการเรียนรูต้ าม 3 12

กระบวนทศั น์ใหม่

*OKR5 จานวนโครงการวจิ ัยในรูปแบบแผนบูรณาการงานวจิ ัย 5 65

(research program)

OKR11 จานวนชมุ ชนทีไ่ ด้รบั การบริการจาก มข. อย่างบรู ณา 6 38

การของสาขาวิชาต่างๆ

OKR12 จานวนผลงานที่เกดิ จากการใหบ้ รกิ ารวชิ าการของ 1 2

มหาวทิ ยาลยั ในรูปแบบการสร้างคุณคา่ รว่ ม (CSV)

2. ด้านระบบนเิ วศ (Ecological : E)

OKR22 จานวนอาคารสถานทีท่ ีไ่ ดร้ ับการปรบั ปรุงแตล่ ะปี 4 7

OKR29 จานวนสาขาวิชาของมข. ไดร้ บั การจดั อันดบั โดยการจัด 1 1

อนั ดับของ THE หรือ QS Ranking หรือ Academic Ranking

อน่ื ๆ

3. ดา้ นจิตวญิ ญาณ (Spiritual : S)

OKR33 โครงการฟารม์ อัจฉรยิ ะ (Smart Farm) 14

OKR37 ร้อยละของบทความวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับการตีพิมพใ์ นระดับ 25 42.11

นานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus/ISI ที่อยู่ใน Quartile 1

*ตวั ช้ีวัดที่มหาวิทยาลยั กาหนดให้ดาเนนิ การ

ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตงิ าน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ จานวน ดาเนินการทีบ่ รรลุเปา้ หมาย คิดเป็นรอ้ ยละ

1. Smart Education 16 14 98.77
2. High Quality Research 65 97.22
3. Value Creation and Academic Service 11 9 100
4. High Quality Administration 65 93.33
39 33 97.91
รวม

หมายเหตุ: คา่ ร้อยละคิดตามการคานวณของมหาวทิ ยาลัย

3

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

บทนา

ประวัติความเปน็ มา

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดต้ังเม่ือวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2509 ตามประกาศสานัก
นายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 และมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2508 โดยมติ
ของคณะกรรมการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือปี พ.ศ. 2505 ให้จัดตั้งสถาบันการศึกษาช้ันสูงในด้าน
การเกษตรขึ้น เพ่ือสนองความต้องการอันเร่งด่วนในการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสอดคล้องกับ
นโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) ทมี่ ุ่งเน้นการพัฒนาการเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยเพ่ือการพัฒนาการเกษตรเป็นหลัก เพราะการเกษตรเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจของชาติ
โดยเฉพาะการพัฒนาภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่งึ เปน็ ภูมิภาคท่ีมีขนาดใหญ่ มีความแห้งแล้งและประชาชน
ยากจน โดยเริ่มรบั นกั ศกึ ษารนุ่ แรกในปี พ.ศ. 2507 โดยมีปณิธานเพอ่ื เปน็ สถาบันการศึกษาที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้
เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางวิชาการด้านการเกษตรท่ีเป็นเลิศ ให้บริการด้านวิจัยที่ผลิตองค์ความรู้และ
นวัตกรรมเพ่ือตอบโจทย์ปัญหาของประเทศด้วย สาหรับการให้บริการท้ังด้านวิจัยและบริการวิชาการเป็น
ภารกิจสาคัญให้การช่วยสังคมในการแก้ไขปัญหาให้แก่สังคม รวมถึงการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
ดา้ นเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรมของประเทศ

วิสัยทศั น์

คณะเกษตรศาสตร์ที่มคี วามเป็นเลิศทางวิชาการเกษตร และเป็นทพี่ ึง่ ของอีสานและสังคม

เป้าหมาย

เปน็ คณะเกษตรศาสตรช์ น้ั นา 1 ใน 3 ของประเทศ

พันธกิจ 02

01 การวจิ ยั

การจดั การศึกษา

03 04

การบรกิ ารวชิ าการ การบรกิ ารหนว่ ยธุรกจิ เกษตร

4

ค่านิยม รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

S MA R T A G

S Social Devotion อุทศิ เพ่ือชมุ ชน
M Management by Fact จัดการบนขอ้ มลู จรงิ

A Adaptability & Global Perspective ว่ิงสู่สากล
R Respect & Openness บนความเปดิ กว้าง
T Technology and Innovation สร้างเทคโนโลยีและนวตั กรรม

A Agility ปรบั เปลี่ยนวอ่ งไว
G Goals Driven with Grit and Growth Mindset

ไปสเู่ ป้าหมาย ด้วยใจทม่ี ุ่งมั่น

สมรรถนะหลัก

CC1 การพฒั นาพนั ธ์ุพชื พันธุ์สตั ว์
CC2 การผลิต การจดั การและใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตภิ ายใตส้ ภาพแวดลอ้ มท่ไี ม่เหมาะสม เช่น
ความแล้ง ความร้อน สภาพดินเค็มในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

5

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

โครงสรา้ งการบริหารและโครงสร้างองค์กร

คณบดี คณะกรรมการประจาคณะ

(1 คณบด,ี 4 รองคณบด,ี 2 ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ, 2 หวั หนา้ สาขาวชิ า, 1 ผู้อานวยการกองบรหิ าร, 1 เลขานกุ าร)

กองบริหารงานคณะ งานบรหิ ารและสือ่ สารองคก์ ร หนว่ ยสาร หน่วยการเจา้ หนา้ ท่แี ละพฒั นา หนว่ ยสอ่ื สาร หน่วย
(6 งาน) บรรณ ทรัพยากรบุคคล องคก์ ร ยานพาหนะ

รองคณบดีฝ่ายบริหาร งานการเงินและบญั ชี หนว่ ยการเงนิ หน่วยบัญชี

งานพัสดแุ ละโครงสร้างพืน้ ฐาน หนว่ ยพัสดุ หน่วยพฒั นากายภาพและโครงสรา้ งพื้นฐาน

รองคณบดฝี ่ายการศึกษา หน่วยปริญญาตรีศกึ ษา หน่วยบณั ฑิตศกึ ษา หน่วยสหกิจศกึ ษา หนว่ ยพฒั นานกั ศึกษาและศิษย์เก่าสมั พนั ธ์

รองคณบดฝี ่ายแผนยุทศาสตร์ หนว่ ยวิเคราะหน์ โยบายและแผน หน่วยโสตและสารสนเทศ หน่วยประกันคุณภาพการศกึ ษา
และพฒั นาคณุ ภาพ

รองคณบดีฝ่ายวิจัย งานบริการวิชาการ วจิ ยั หนว่ ยบริการงานวจิ ยั หน่วยวเิ ทศ หน่วยวารสาร หน่วยอทุ ยานฯ และ
นวัตกรรม และการ และวเิ ทศสัมพันธ์ และถ่ายทอดเทคโนโลยี สัมพันธ์ แกน่ เกษตร ยทุ ธศาสตร์ชุมชน

ตา่ งประเทศ

ผ้ชู ว่ ยคณบดี ฝา่ ยสหกจิ ศกึ ษาและ ฝ่ายพฒั นานักศึกษา ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ ฝา่ ยกจิ การพิเศษ
หนว่ ยงานทจี่ ดั ตงั้ ข้ึนตาม การตา่ งประเทศ และศิษย์เก่าสัมพันธ์
ภารกจิ เฉพาะกิจ หรอื
ตามยุทธศาสตร์ หรือ หมวดการเกษตร ศนู ย์ศกึ ษาค้นควา้ วจิ ัย องคก์ รในกากบั อุทยานการ สถานีทดลอง ศูนยร์ ับรอง
และหอ้ งปฏบิ ัติการกลาง เรียนรทู้ าง และฝกึ อบรม มาตรฐานสินค้า
การพึ่งพาตนเอง การเกษตร เกษตรกรรม เกษตร

หมวดสตั วศาสตร์ หมวดพชื ไร่ หมวดพืชสวน หมวดดนิ และปุ๋ย หมวดประมง หมวดแมลง

สาขาวิชาสัตวศาสตร์ สาขาวชิ าพชื ไร่ สาขาวชิ าพชื สวน สาขาวิชาปฐพศี าสตรแ์ ละ
สง่ิ แวดลอ้ ม
การบรหิ ารวิชาการ
(ไมม่ ีสถานะเปน็ หน่วยงาน

หรือหนว่ ยงานยอ่ ย)

สาขาวิชากฏี วทิ ยาและ สาขาวิชาประมง สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ สาขาวชิ าสง่ การสง่ เสริมและ
โรคพชื วทิ ยา การเกษตร พฒั นาการเกษตร
6

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2564-2567
ประกอบด้วย 4 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 8 วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ดังนี้

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ (SO)

1. Smart Education 1) ผลิตบัณฑติ ท่ีมคี ณุ ภาพ และทกั ษะตรงกบั ตลาดทั้งใน
ระดบั ชาติและนานาชาติ

2) การจดั การศึกษาแบบ Life Long Learning

2. High Quality Research 1) ผลิตผลงานวิจยั และนวัตกรรมท่มี ีคณุ ภาพไดร้ ับการ
ยอมรบั ในระดับชาติและนานาชาติ และสามารถ

นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

3. Value Creation and Academic 1) เป็นศูนยก์ ลางการฝึกอบรมและสรา้ งคณุ ค่าร่วมด้าน

Service การเกษตรในระดับชาตแิ ละนานาชาติ

2) พัฒนาและสง่ เสริมชมุ ชนต้นแบบทางการเกษตร

4.High Quality Administration 1) ปรบั เปลีย่ นการบรหิ ารจัดการองคก์ รทีม่ สี มรรถนะสูง
และพง่ึ พาตนเองได้

2) ยกระดบั ความผูกพันของบคุ ลากรเพอื่ เพิม่ ผลติ ภาพ

ขององคก์ ร

3) พฒั นาการบริหารจดั การทงั้ ระบบบน Digital

Platform

7

แผนกลยทุ ธค์ ณะเกษตรศาสตร์

กลยทุ ธ/์ วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์ ตวั ชี้วดั SO ตวั ช้วี ัดแผนป

(ความเช่อื มโยงกับ แผนปฏบิ ัตกิ ารระยะสนั้ / ระยาวที่

SC, SA, SOp,CC) สาคญั

และผรู้ ับผิดชอบ

1. Smart Education ตวั ช้ีวัด SO

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ (SO) 1) ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บัณฑติ

1) ผลติ บณั ฑิตทีม่ ีคณุ ภาพ และทกั ษะ 2) รอ้ ยละของบณั ฑติ ทไี่ ดง้ านทาภายใน 1 ปี

ตรงกบั ตลาดทั้งในระดับชาตแิ ละ แผนปฏิบตั กิ ารระยะสน้ั

นานาชาติ (SC1,SA1,SA3,SA4) 1) แผนพัฒนาศกั ยภาพนักศกึ ษาให้ 1) จานวนนกั ศกึ ษาท

ผู้รบั ผดิ ชอบ: AA มที ักษะศตวรรษที่ 21 เช่น ระดบั ชาต/ิ นานาชาต

8 โครงการส่งเสริมทักษะการเปน็

ผู้ประกอบการ โครงการสง่ เสรมิ

ทักษะการพัฒนาภาษาอังกฤษ เช่น

สหกิจศกึ ษาตา่ งประเทศ

แผนปฏิบตั กิ ารระยะยาว

1) แผนพัฒนาหลกั สูตรตาม 1) ร้อยละของหลักสตู

กระบวนทศั นใ์ หม่ เช่น โครงการ กระบวนการเรยี นกา

พฒั นากระบวนการเรียนการสอน กระบวนทศั น์ใหม่

ตามกระบวนทัศน์ใหม่ โครงการ

พฒั นาอาจารยผ์ สู้ อนให้เป็นไปตาม

มาตรฐานผสู้ อนมอื อาชีพ

ปฏบิ ัติการ ค่าคาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

4.00 4.20 4.30 4.40 4.50
85 85 90 90 95

ท่ีได้รับรางวัล 50/15 50/15 55/20 55/20 60/25 แผนพัฒนาบุคลากรให้มี

ติ (ตร/ี บณั ฑติ ) ความรู้ ความเข้าใจ และ

ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ทั ก ษ ะ

ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 ใ ห้ แ ก่

นกั ศกึ ษา

ตรที่มีการจดั 25 50 75 75 100 1) แผนพฒั นาอาจารย์

ารสอนตาม ผูส้ อนเพือ่ จดั การเรียนการ

สอนตามกระบวนทัศนใ์ หม่

2) แผนพัฒนาอาจารย์

ผสู้ อนใหเ้ ป็นไปตาม

มาตรฐานผู้สอนมืออาชพี

กลยุทธ/์ วตั ถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตวั ชีว้ ัด SO ตวั ชีว้ ัดแผนป
(ความเชื่อมโยงกับ แผนปฏิบตั ิการระยะสั้น/ ระยาวท่ี
SC, SA, SOp,CC)
และผู้รบั ผิดชอบ สาคัญ

9 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ (SO) 2) แผนพัฒนาหลักสตู รเพ่อื รับรอง 1) ร้อยละของหล
2) การจดั การศกึ ษาแบบ Life Long มาตรฐาน AUN-QA เช่น โครงการ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ
Learning พัฒนาหลักสตู รเพ่อื เป็น OBE หลกั สตู รตามเกณฑ์
(SC1,SA1,SA3,SA4,SOp1)
ผรู้ บั ผดิ ชอบ: AA 2) ผลการตรวจประเ
ตรวจประเมินคณุ ภาพ
หลักสตู รตามเกณฑ์ A
ตวั ชีว้ ดั SO
1) ร้อยละของผู้รับบริการหลกั สูตร Non-Degree ที่เพิม่ ข้นึ
2) ความพึงพอใจของผูเ้ ข้าอบรมแบบ Life Long Learning
แผนปฏิบัตกิ ารระยะยาว
1) แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 1) จานวนหลักสูตร แ
ตลอดชีวิต เช่น โครงการพัฒนา Long Learning non
หลักสูตร non degree หรอื micro หรอื ประกาศนียบัตร
credential

ปฏิบัตกิ าร คา่ คาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

ลักสูตรท่ีตรวจ 50 100 แผนพฒั นาอาจารยผ์ สู้ อน
พภายในของ 4 เพื่อรองรับการตรวจ
AUN-QA ประเมินคุณภาพหลกั สูตร
เมินหลักสตู รที่ 4 ตามเกณฑ์ AUN-QA
พภายในของ
AUN-QA

30 50 70 100
g 3.50 4.00 4.00 4.50

แบบ Life 3 5 5 7 9 แผนพฒั นาอาจารยผ์ สู้ อน
n degree เพอ่ื การจดั การศึกษาตลอด
ร ชีวิต

กลยทุ ธ/์ วตั ถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ ตัวชี้วดั SO ตวั ชว้ี ัดแผนป
(ความเชื่อมโยงกับ แผนปฏบิ ตั กิ ารระยะส้นั / ระยาวท่ี
SC, SA, SOp,CC)
และผรู้ บั ผิดชอบ สาคญั

10 2. High Quality Research ตัวชว้ี ดั SO
วตั ถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ (SO) 1) จานวนนวัตกรรมดา้ นเกษตรกรรม/ปี
1) ผลติ ผลงานวิจยั และนวตั กรรมทมี่ ี 2) รอ้ ยละของผลงานวจิ ยั ที่นาไปใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ พฒั นา หร
คุณภาพไดร้ บั การยอมรับใน ใหก้ ับชุมชนและเกษตรกร
ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ และ แผนปฏิบัตกิ ารระยะสัน้
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 1) แผนรองรับผลงานตีพิมพ์ใน 1) ร้อยละผลงานวิจ
(SC2,SC3,SA2,SA3,SA4,SOp2) ระดับนานาชาติ เช่น โครงการ ตีพมิ พ์ ใน Q1 ตอ่ ผล
ผู้รบั ผิดชอบ: RA Publication Clinic โ ค ร ง ก า ร นานาชาติทั้งหมด (S
Journal Club

2) แผนพฒั นาเครอื ขา่ ยความ 1) จานวนโครงการ
รว่ มมอื ด้านการวจิ ยั เชน่ โครงการ ร่วมมือกับภาครัฐแล
สร้างความรว่ มมือและความ
เข้มแข็งการวจิ ัยและวิชาการ
รว่ มกบั มหาวิทยาลัยต่างประเทศ
และโครงการวิจัยผา่ นเอกชน
(Private sector collaboration)

ปฏบิ ัติการ คา่ คาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

130 140 150 160 170
รอื แก้ไขปญั หา 35 40 45 50 55

จัยท่ีได้รับการ 25 30 40 50 60 แผนพฒั นาบคุ ลากรเพอื่

ลงานวิจัยระดบั การตีพิมพใ์ นระดับ

Scopus/ISI/) นานาชาติ (Bridging

Research Experience)

ผา่ นระบบนกั วจิ ยั พเ่ี ล้ียง

(Mentorship)

รวิจัยที่มีความ 50 60 70 80 90 แผนพฒั นาบุคลากรเพ่อื

ละเอกชน พัฒนาข้อเสนอ

โครงการวจิ ยั เพือ่ ขอทนุ

(Reinventing Integrated

Research)

กลยุทธ์/ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวช้วี ัด SO ตัวชวี้ ัดแผนป
(ความเชือ่ มโยงกบั แผนปฏิบัติการระยะสัน้ / ระยาวที่
SC, SA, SOp,CC)
และผ้รู บั ผิดชอบ สาคญั

11 3. Value Creation and แผนปฏิบัติการระยะยาว
Academic Service 1) แ ผ นส่ งเ ส ริม การ วิจัยและ 1) จานวนนวัตกรรม
วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ (SO) นวัตกรรม เช่น โครงการพัฒนา ความร่วมมือจากภ
1) เปน็ ศนู ย์กลางการฝกึ อบรมและ งานวิจัยร่วมกับภาคเอกชนและ อุตสาหกรรม/ปี
สร้างคณุ คา่ ร่วมด้านการเกษตรใน อุตสาหกรรม โครงการขับเคล่ือน
ระดบั ชาติและนานาชาติ การสร้างนวตั กรรม
(SC4,SA1,SA3,SA4,SOp1,SOp3) 2 ) แ ผ น พั ฒ น า ง า นวิ จั ย แ ล ะ 1) จานวนนวัตกรรม
ผรู้ บั ผดิ ชอบ: RA ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน เช่น ยอดเชงิ พาณิชย์
โครงการวิจัยเกษตรสร้างชุมชน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมสู่ชมุ ชน
ตวั ชว้ี ัด SO
1) รายได้จากการบรกิ ารวชิ าการและการสรา้ งคณุ ค่ารว่ มด้า
(บาท)
แผนปฏบิ ัตกิ ารระยะส้นั /ยาว
1) แผน Agro Learning Centre 1) จานวนผเู้ ขา้ ฝกึ อบ
เชน่ โครงการศูนยเ์ รียนรู้เกษตร 2) จานวนผู้เข้าฝึก
นวตั กรรม โครงการพัฒนาศูนย์ นานาชาติ
รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร 3) จานวนผู้ประกอบ

เกดิ จากเข้ารว่ มอบรม

ปฏิบตั กิ าร ค่าคาดการณ์ แผนพัฒนาบุคลากร

2567
2566
2565
2564
2563

มท่ีเกิดขึ้นจาก 10 15 20 25 30 แผนส่งเสริมบคุ ลากรสรา้ ง

าคเอกชนและ นวัตกรรมรว่ มกับภาครัฐ

และเอกชน

ม/สิทธิบัตรทต่ี อ่ 10 20 30 40 50 แผนพัฒนาบคุ ลากรเพ่อื
พฒั นางานวจิ ยั และ
ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ่ชู มุ ชน

านการเกษตร 5,000 6,000 7,000

บรมระดบั ชาติ 100 200 300 400 แผนพัฒนาทกั ษะบคุ ลากร

กอบรมระดับ 20 30 40 50 60 ด้าน Value Creation

เช่น โครงการพฒั นาทักษะ

บการ (SME) ที่ 20 30 40 50 60 ด้านการบรหิ ารจดั การ



กลยุทธ/์ วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วดั SO ตัวช้วี ัดแผนป
(ความเชอ่ื มโยงกับ แผนปฏิบัติการระยะสั้น/ ระยาวที่
SC, SA, SOp,CC)
และผู้รบั ผดิ ชอบ สาคัญ

2) แผนจัดต้ังศูนยม์ าตรฐานสนิ คา้ 4) จานวนผู้เข้ารับก
เกษตร นาไปสู่การเป็นผู้ปร
(Start up)
1) ศนู ยม์ าตรฐานสนิ
การรับรองมาตรฐาน

3) แผนอบรมพฒั นาอาชีพ 1) จานวนโครงการ

12 เกษตรกร จั ด ฝึ ก อ บ ร ม ท่ี ส ร

เกษตรกร

วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ (SO) ตวั ชีว้ ัด SO
2) พฒั นาและสง่ เสรมิ ชมุ ชนต้นแบบ
ทางการเกษตร 1) ร้อยละจานวนครัวเรอื นเกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการฯ มรี
(SC8,SA1,SA3)
ผรู้ บั ผิดชอบ: RA เพิ่มขน้ึ

2) ความพึงพอใจของครวั เรอื นในชมุ ชนตน้ แบบที่เข้ารว่ มโคร

การพฒั นาและส่งเสรมิ ด้านการเกษตร

แผนปฏิบตั ิการระยะส้นั /ยาว

1) แผนพฒั นาและส่งเสรมิ การสรา้ ง 1) จานวนชมุ ชนตน้ แ

ชุมชนตน้ แบบทางการเกษตร พัฒนาด้านการเกษ

เช่น การผลิตเมล็ดพ

ผลติ ภัณฑก์ ารเกษตร

ผลผลิตทางการเกษต

ปฏิบตั กิ าร คา่ คาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

การอบรมและ 10 15 20 25 30 โครงการ การตลาดและ

ระกอบการใหม่ การเงิน

นคา้ เกษตรได้รบั ไดร้ ับ 25 50
นจาก มกอช. การ 25
รบั รอง
ร/หลักสูตรการ 5 10 15 20
ร้ า ง อ า ชี พ ใ ห้

รายไดเ้ ฉล่ยี สุทธิ 10 15 20 25 30
รงการทไ่ี ด้รบั 3.50 4 4 4.5 4.5

แบบท่ีไดร้ ับการ 10 4 5 6 7 แผนพฒั นาทกั ษะบคุ ลากร

ษตรเฉพาะด้าน ด้าน การทางานรว่ มกับ

พันธ์ุ การพัฒนา ชุมชน เช่น โครงการ

ร การเพิม่ มลู ค่า พฒั นาทกั ษะดา้ นการเป็น

ตร วิทยากร

กลยุทธ์/ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตัวชีว้ ดั SO ตัวชว้ี ดั แผนป

(ความเชือ่ มโยงกับ แผนปฏบิ ัติการระยะส้นั / ระยาวที่

SC, SA, SOp,CC) สาคัญ

และผรู้ ับผิดชอบ

2) แผนการสร้างเครือข่ายด้าน 1) จานวนเครือข่าย

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา AIC

ดา้ นการเกษตรสูช่ มุ ชน (AIC) 2) จานวนชมุ ชน/หน

เอกชนท่ีนาเทคโนโ

ด้านการเกษตรไปใชป้

4. High Quality Administration ตัวชวี้ ดั SO

วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ (SO) 1) Productivity per head (แสนบาท)

13 1) ปรับเปล่ียนการบริหารจดั การ แผนปฏบิ ัตกิ ารระยะยาว

องค์กรทมี่ ีสมรรถนะสูงและพึ่งพา 1) แผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การ 1) ร้อยละของรายได

ตนเองได้ (SC5,SC6,SC7) ฟารม์ เชน่ ละปี

ผู้รับผิดชอบ: AdA - โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการ

ผลติ ของฟารม์

- โครงการบาบัดของเสียในฟารม์

- โครงการ Zero waste

- โครงการ Solar Farm

2) แผนการพัฒนาการบรหิ าร 1) ร้อยละของรายได

จัดการทรัพยส์ นิ (เชา่ พนื้ ที่ Agro ละปี

outet)

ปฏิบัตกิ าร ค่าคาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

ยความร่วมมือ 5 5 10 15 20 แผนเพิ่มทักษะดา้ นการ
วเิ คราะห์และจดั การขอ้ มลู
นว่ ยงานภาครัฐ/
โลยีสารสนเทศ 2 4 6 10 ของบคุ ลากร
ประโยชน์

3 3.3 3.6 3.9 4.1

ดท้ ี่เพิ่มขึ้นในแต่ 2 2 2 2 2 1) แผนพฒั นาบคุ ลากร
ดา้ นการตลาด ด้านการเงนิ
ด้านการบรหิ ารจดั การ
ด้านดจิ ทิ ัล
ทกั ษะบคุ ลากร Future
Workforce

ด้ที่เพ่ิมข้นึ ในแต่ 2 2 2 2 2

กลยทุ ธ/์ วตั ถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ ตวั ช้วี ัด SO ตวั ชี้วัดแผนป
(ความเช่ือมโยงกบั แผนปฏบิ ัติการระยะสน้ั / ระยาวที่
SC, SA, SOp,CC)
และผู้รบั ผดิ ชอบ สาคญั

วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ (SO) ตัวชีว้ ัด SO
2) ยกระดับความผูกพนั ของบุคลากร 1) ระดบั ความผกู พนั ของบคุ ลากร
เพอ่ื เพม่ิ ผลิตภาพขององคก์ ร 2) รอ้ ยละของบคุ ลากรท่ลี าออก/โอนย้าย
ผู้รบั ผิดชอบ: AdA
14 แผนปฏบิ ตั ิการระยะสน้ั 1) ความพึงพอใจขอ
วตั ถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ (SO) 1) แผนพัฒนา Smart Faculty ก า ร พั ฒ น า ค ณ ะ
3) พัฒนาการบริหารจดั การทั้งระบบ เช่น โครงการพัฒนาด้านกายภาพ Faculty
บน Digital Platform (SC6) 1) ร้อยละของค่าสา
ผ้รู ับผิดชอบ: PA 2) แผน Green Faculty เชน่ ลดลง
โครงการ Zero waste
แผนปฏบิ ัติการระยะยาว 1) ร้อยละของอาจา
1) แผนเสรมิ สร้างความกา้ วหน้า ทางวิชาการสูงขึน้
ใหแ้ กบ่ ุคลากร 2) ร้อยละของสาย
ตาแหน่งสูงขนึ้
แผนปฏบิ ัติการระยะสัน้ /ยาว
1) แผนพฒั นาและปรบั ปรุงระบบ 1) จานวนระบบงาน
สารสนเทศ เช่น ระบบบญั ชี ระบบ สารสนเทศเพ่ือกา
การเงิน ระบบการพัสดุ ระบบ ตัดสินใจ (สะสม)

ปฏบิ ัตกิ าร ค่าคาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

3.60 3.62 3.65 3.70 3.75

0000 0

องบุคลากรต่อ แผนพัฒนาทักษะบคุ ลากร

ะ เ ป็ น Smart 3.51 3.55 3.57 3.60 3.60 คอื แผนอะไร

าธารณูปโภคที่ 2 4 6 8 10

ารย์ที่มีตาแหน่ง 5 6 7 8 9
ยสนับสนุนท่ีมี 2 3 4 5 6

นที่พัฒนาระบบ 4 5 6 7 8 แผนพัฒนาทักษะบคุ ลากร

า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ดา้ นการใช้เทคโนโลยชี ว่ ย

ในการปฏบิ ตั งิ าน

กลยทุ ธ/์ วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวดั SO ตวั ชี้วัดแผนป
(ความเชอื่ มโยงกับ แผนปฏิบตั ิการระยะส้ัน/ ระยาวที่
SC, SA, SOp,CC)
และผู้รบั ผิดชอบ สาคัญ

บุคลากร ระบบบรหิ ารจดั การฟารม์ 2) ความพึงพอใจขอ
และระบบการจัดการศกึ ษา ก า ร สื บ ค้ น แ ล ะ บ
สารสนเทศ
2) แผนพฒั นากระบวนการทางาน 1) จานวนระบบงาน
สนับสนุนท่ใี ช้ Digital Platform Platform ทเ่ี พิม่ ข้ึน
ทง้ั ระบบ

15

ปฏบิ ตั กิ าร ค่าคาดการณ์ แผนพฒั นาบคุ ลากร

2567
2566
2565
2564
2563

องผู้ใช้บรกิ ารตอ่ 4.00 4.20 4.40 4.60 4.80
บ ริ ก า ร ร ะ บ บ

นที่เป็น Digital 2 4 6 8 10

ประเด็นยทุ ธศาสตร์

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ยังคงมี 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ แต่มีการปรับเปลี่ยนช่ือประเด็น

ยทุ ธศาสตร์ และปรบั ผลลพั ธห์ ลกั ให้สอดคล้องกับสถานการณใ์ นปัจจบุ นั ของคณะ

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 Smart Education by ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 1 Smart Education

Transformation Education

เปา้ ประสงค์ : บณั ฑติ ที่มที กั ษะตรงหรือ ใกล้เคียงกับทต่ี ลาด เป้าประสงค์ : บณั ฑติ ทีม่ ที ักษะตรงหรอื ใกล้เคยี งกับที่

งานต้องการ ตลาดงานต้องการ

กลยทุ ธท์ ่ี 1.1 ออกแบบ พัฒนา หรือ ปรับปรงุ หลักสตู รให้เป็น กลยุทธท์ ี่ 1.1 ออกแบบ พัฒนา หรือ ปรบั ปรงุ หลักสูตรให้

การจัดการศกึ ษาเพือ่ เนน้ ผลลพั ธ์ (Outcome-Based เปน็ การจดั การศกึ ษาเพื่อเน้นผลลพั ธ์ (Outcome-Based

Education, OB) Education, OB)

ผลลพั ธห์ ลกั ร้อยละของหลักสตู รที่มีการจัดกระบวนการ ผลลพั ธ์หลัก บคุ ลากรสายวชิ าการท่ีผา่ นการเตรียมความ

เรียนรตู้ ามกระบวนทศั น์ใหม่ (P) (รอ้ ยละของหลกั สตู รที่เปน็ พร้อมดา้ นผลลพั ธก์ ารเรียนรรู้ ะดบั หลักสตู ร Outcome-

OBE) Based Education (OBE)

ผลลัพธ์หลัก ร้อยละของนกั ศึกษามี OBE transcript ผลลัพธ์หลกั จานวนของบุคลากรสายวิชาการทผี่ า่ นการ

เพิม่ เตมิ จาก academic transcript ใหม(่ ร้อยละของ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นการตรวจประเมินคณุ ภาพหลักสตู ร

หลักสตู รท่เี ปน็ OBE) ตามเกณฑ์ AUN-QA (สะสม)

กลยทุ ธท์ ่ี 1.2 พฒั นา หรือ ปรับปรงุ หลักสตู รให้เป็นการจดั กลยุทธ์ท่ี 1.2 พัฒนา หรอื ปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหเ้ ปน็ การ

การศกึ ษาในลกั ษณะ module จดั การศกึ ษาขา้ มศาสตร์ จดั การศกึ ษาในลักษณะ module จดั การศกึ ษาข้าม

ศาสตร์

ผลลพั ธห์ ลัก จานวนหลกั สูตรทม่ี กี ารจดั ระบบการศึกษาแบบ ผลลัพธ์หลกั จานวนหลักสตู รทมี่ กี ารจัดระบบการศึกษา

บรู ณาการข้ามศาสตร์ (KKU-Aggie KR) แบบบรู ณาการข้ามศาสตร์ (KKU-Aggie KR)

กลยุทธ์ท่ี 1.3 ปรบั กระบวนทศั น์ใหม่ในการจดั การเรยี นการ กลยุทธท์ ี่ 1.3 ปรบั กระบวนทัศน์ใหมใ่ นการจัดการเรยี น

สอน การสอน

ผลลัพธ์หลกั ร้อยละของหลักสตู รทีม่ ีคุณภาพหรือมีศกั ยภาพ ผลลัพธ์หลัก ร้อยละของหลกั สตู รทมี่ คี ณุ ภาพหรือมี

สูงขน้ึ ในการพฒั นาตามเปา้ หมายของประเทศ ศกั ยภาพสูงขึ้นในการพัฒนาตามเป้าหมายของประเทศ

ผลลพั ธห์ ลัก ร้อยละของการได้งานของบัณฑติ ระดับปรญิ ญา ผลลัพธห์ ลัก จานวนรายวิชาท่มี กี ารจดั การเรยี นการสอน

ตรีที่เพมิ่ ขนึ้ แบบกระบวนทศั น์ใหม่ เช่น Experiencial Learning,

Flip class, RBL

ผลลพั ธ์หลกั จานวนหลกั สตู รทม่ี กี ารจดั กระบวนการ

เรยี นรตู้ ามกระบวนทศั น์ใหม่

ผลลพั ธห์ ลกั ร้อยละของหลกั สตู รทรี่ ับนกั ศกึ ษา

บัณฑิตศกึ ษาไดต้ ามเปา้ หมายหรือสูงขึน้

กลยุทธ์ท่ี 1.4 พัฒนากระบวนการการเรยี นการสอน ตาม กลยทุ ธ์ที่ 1.4 พัฒนากระบวนการการเรยี นการสอน ตาม

มาตรฐานตามกรอบ UK Professional Standard Framework มาตรฐานตามกรอบ UK Professional Standard Framework

(UK PSF) (UK PSF)

16

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลลพั ธ์หลัก ร้อยละของอาจารย์ ทีไ่ ด้รับการรับรอง ผลลัพธ์หลกั ร้อยละของอาจารย์ ทไ่ี ดร้ ับการพฒั นา

สมรรถนะดา้ นการเรียนการสอนของ UK PSF หรือระบบการ สมรรถนะด้านการเรยี นการสอนของ UK PSF หรอื ระบบ

รับรองอนื่ ๆท่เี ทียบเคยี ง การรบั รองอืน่ ๆทเี่ ทยี บเคยี ง

กลยุทธ์ท่ี 1.5 โครงการ Effective student recruitment กลยุทธ์ท่ี 1.5 โครงการ Effective student

for graduate study recruitment for graduate study

ผลลัพธห์ ลกั รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษาทไี่ ดร้ ับ ผลลัพธ์หลัก ร้อยละของนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษาที่

การสนับสนุนทม่ี ีคณุ ภาพมากกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน สกอ. ได้รับการสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพมากกวา่ เกณฑ์

มาตรฐาน สกอ.

ผลลพั ธ์หลกั ร้อยละของการได้งานของบณั ฑิตระดบั ปรญิ ญา ผลลัพธห์ ลกั รอ้ ยละของการได้งานของบณั ฑิตระดับ

ตรีที่เพ่ิมขนึ้ ปรญิ ญาตรที ่ีเพมิ่ ข้ึน

เป้าประสงค์ : มรี ะบบการจัดการศึกษาเพอ่ื รองรบั การ เป้าประสงค์ : มรี ะบบการจดั การศึกษาเพอื่ รองรบั การ

เรียนรตู้ ลอดชวี ติ และ ทกั ษะเพอ่ื อนาคต เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และ ทักษะเพ่ืออนาคต

กลยทุ ธท์ ี่ 1.6 จัดการศึกษาเพอื่ ยกระดบั ทักษะบุคลากรวยั กลยุทธ์ที่ 1.6 จดั การศึกษาเพือ่ ยกระดบั ทักษะบคุ ลากรวยั

ทางาน (Reskill/Upskill) หรอื สร้างผ้ปู ระกอบการใหม่ ทางาน (Reskill/Upskill) หรือ สร้างผปู้ ระกอบการใหม่

(New alternative entrepreneur, NAE) (New alternative entrepreneur, NAE)

ผลลพั ธ์หลกั จานวนหลักสตู ร non degree หรอื ผลลัพธ์หลัก จานวนหลกั สตู รทีม่ กี ารจัดระบบการศกึ ษา

ประกาศนยี บตั ร (micro credential) ใหม่ (ร้อยละของ แบบ Module / Non-Degree / Micro credential

หลักสตู รที่เป็น OBE)

กลยทุ ธ์ที่ 1.7 Reinventing ระบบสหกิจศกึ ษาข้ามศาสตร์ กลยุทธท์ ่ี 1.7 Reinventing ระบบสหกจิ ศกึ ษาข้าม

ศาสตร์

ผลลพั ธ์หลกั ร้อยละของนักศึกษาสหกจิ กบั เครือขา่ ย ผลลัพธ์หลกั ความพงึ พอใจของสถานประกอบการต่อ

ผ้ปู ระกอบการรุ่นใหม่ของไทย ของกระทรวงพาณชิ ย์ คณุ ภาพของนักศึกษาสหกจิ

ผลลพั ธห์ ลัก ร้อยละของนักศึกษาสหกิจทไี่ ด้งานทา

หลงั จากฝึกสหกิจศกึ ษาจากสถานประกอบการน้นั ๆ

ผลลพั ธ์หลกั รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทีไ่ ปสหกิจศกึ ษา

ต่างประเทศต่อนกั ศกึ ษา สหกิจท้งั หมด

กลยทุ ธ์ท่ี 1.8 การศึกษาออนไลน์ กลยุทธท์ ่ี 1.8 การศกึ ษาออนไลน์

ผลลัพธห์ ลกั จานวนรายวชิ าใน MOOCs หรอื platform ผลลพั ธ์หลัก จานวนรายวชิ าใน MOOCs หรือ platform

อน่ื ๆ อืน่ ๆ

กลยุทธท์ ่ี 1.9 Smart classroom ปรบั พ้นื ท่ีห้องเรียนใหเ้ ปน็ กลยุทธท์ ี่ 1.9 Smart classroom ปรบั พ้ืนท่หี อ้ งเรียนให้

พนื้ ท่แี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ (Co-working space) เป็นพนื้ ทแี่ ลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (Co-working space)

ผลลัพธ์หลกั จานวน Smart classroom ผลลพั ธห์ ลัก จานวน Smart classroom

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ท่ี 2 Quality Research ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี 2 High Quality Research

เปา้ ประสงค์ : สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ ท่ีสามารถแก้ไขปัญหาที่ เปา้ ประสงค์ : สรา้ งองค์ความรู้ใหม่ ท่สี ามารถแกไ้ ขปญั หา

ซับซอ้ น สร้างประโยชน์แกส่ งั คม สร้างนวตั กรรม ท่ีซบั ซอ้ น สร้างประโยชน์แกส่ งั คม สรา้ งนวัตกรรม

17

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กลยุทธท์ ่ี 2.1 Bridging Researchers’ Experiences: สรา้ ง กลยทุ ธ์ท่ี 2.1 Bridging Researchers’ Experiences:

ความเข็มแขง็ นกั วจิ ยั ใหม่ สรา้ งความเข็มแข็งนักวิจัยใหม่

ผลลัพธ์หลกั รอ้ ยละของอาจารยใ์ หม่ไดร้ บั จดั สรรทุนวจิ ยั ผลลัพธห์ ลกั รอ้ ยละของอาจารยใ์ หมไ่ ดร้ ับจดั สรรทนุ วจิ ัย

กลยุทธท์ ี่ 2.2 บรู ณาการงานวจิ ยั เพื่อสร้างความเขม้ แข็งการ กลยทุ ธ์ท่ี 2.2 บูรณาการงานวจิ ัยเพอื่ สร้างความเขม้ แข็ง

วจิ ยั ของคณะ การวจิ ัยของคณะ

ผลลพั ธ์หลัก จานวนโครงการวจิ ยั ในรูปแบบแผนบูรณาการ ผลลัพธ์หลกั จานวนโครงการวจิ ัยในรปู แบบแผนบรู ณา

งานวิจยั (Research Program) การงานวจิ ัย (Research Program)

ผลลัพธ์หลัก ร้อยละของผลงานวจิ ยั ทีต่ ีพมิ พใ์ นระดบั ผลลัพธห์ ลัก รอ้ ยละของผลงานวจิ ยั ทีต่ ีพมิ พ์ในระดบั

นานาชาติทีเ่ พมิ่ ขน้ึ นานาชาตทิ ีเ่ พมิ่ ขน้ึ

กลยุทธท์ ่ี 2.3 สรา้ งความเขม้ แขง็ การวจิ ยั รว่ มกับ กลยุทธท์ ่ี 2.3 สรา้ งความเขม้ แข็งการวจิ ัยรว่ มกบั

มหาวิทยาลยั ตา่ งประเทศ มหาวทิ ยาลยั ตา่ งประเทศ

ผลลัพธ์หลัก จานวนโครงการวจิ ยั ร่วมกบั มหาวทิ ยาลยั ชนั้ นา ผลลพั ธห์ ลกั จานวนโครงการวจิ ัยร่วมกบั มหาวทิ ยาลัยชน้ั

ในต่างประเทศ นาในตา่ งประเทศ

เปา้ ประสงค์ : เช่อื มโจทยว์ ิจยั จากภาคเอกชน อุตสาหกรรม เป้าประสงค์ : เช่ือมโจทยว์ จิ ยั จากภาคเอกชน

และจากชุมชนุ ความร่วมมอื เพอ่ื ขบั เคล่ือนการสรา้ ง อตุ สาหกรรมและจากชุมชุน ความร่วมมอื เพอื่ ขบั เคลื่อน

นวัตกรรม กระตุ้นการพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสงั คม การสรา้ งนวัตกรรม กระตนุ้ การพฒั นาทางเศรษฐกิจและ

สังคม

กลยทุ ธท์ ี่ 2.4 บรู ณาการงานวิจยั เพ่อื สรา้ งความเขม้ แขง็ การ กลยุทธ์ท่ี 2.4 บูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างความเขม้ แขง็

วจิ ยั ของคณะรว่ มกบั ภาคเอกชน การวิจยั ของคณะรว่ มกบั ภาคเอกชน

ผลลพั ธห์ ลัก จานวนโครงการวจิ ยั ร่วมกบั ภาคเอกชน ผลลัพธ์หลกั จานวนโครงการวจิ ยั ร่วมกบั ภาคเอกชน

กลยุทธท์ ่ี 2.5 เช่ือมโยงงานวจิ ัยสชู่ มุ ชน กลยุทธ์ที่ 2.5 เชอื่ มโยงงานวิจัยสชู่ ุมชน

ผลลพั ธห์ ลกั จานวนชมุ ชนทีไ่ ดร้ บั การบรกิ ารจาก มข. อยา่ ง ผลลัพธห์ ลกั จานวนชมุ ชนท่ไี ดร้ ับการบริการจาก มข.

บรู ณาการของสาขาวชิ าตา่ งๆ อย่างบูรณาการของสาขาวิชาต่าง ๆ

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 Value Creation ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 Value Creation and

Academic Service

เปา้ ประสงค์ : สรา้ งคณุ ค่าทรพั ยากรการเกษตร องค์ความรู้ เปา้ ประสงค์ : สร้างคณุ คา่ ทรัพยากรการเกษตร องค์

แก่ชุมชน และสรา้ งรายไดอ้ ย่างย่ังยนื ความรแู้ ก่ชุมชน และสร้างรายไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน

กลยุทธท์ ่ี 3.1 Smart Farm กลยทุ ธ์ท่ี 3.1 Smart Farm

ผลลัพธ์หลัก จานวนกิจกรรมการเรียนการสอน การทางาน ผลลพั ธห์ ลกั จานวนกิจกรรมการเรยี นการสอน การ

วจิ ยั และการบรกิ ารวิชาการร่วมกนั (โครงการฟารม์ อจั ฉรยิ ะ: ทางานวจิ ยั และการบรกิ ารวชิ าการร่วมกัน (โครงการ

Smart Farm) ฟาร์มอัจฉริยะ: Smart Farm)

กลยุทธท์ ี่ 3.2 One Product One Department กลยทุ ธท์ ่ี 3.2 One Product One Department

ผลลพั ธห์ ลัก ชนิดผลติ ภณั ฑ์ท่เี ชงิ การค้าของสาขาวชิ า ผลลัพธ์หลกั ชนิดผลติ ภณั ฑ์ท่เี ชงิ การคา้ ของคณะ/

สาขาวิชา

กลยทุ ธท์ ่ี 3.3 Community and University Plus กลยุทธ์ที่ 3.3 Community and University Plus

18

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลลัพธ์หลัก จานวนผลงานทีเ่ กดิ จากการให้บรกิ ารวิชาการ ผลลัพธ์หลกั จานวนผลงาน/โครงการท่ีเกิดจากการ

ของคณะในรปู แบบการสรา้ งคณุ คา่ รว่ ม (CSV) ใหบ้ รกิ ารวิชาการของคณะในรปู แบบการสร้างคณุ คา่ ร่วม

(CSV)

กลยทุ ธ์ท่ี 4.3 Agro Learning Centre กลยุทธ์ท่ี 4.3 Agro Learning Centre

ผลลัพธ์หลัก จานวนความร/ู้ นวตั กรรมทางการเกษตรท่ี ผลลพั ธ์หลกั จานวนความร/ู้ นวตั กรรม/โครงการทางการ

สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการประอาชพี /พฒั นาองค์กร เกษตรทส่ี ามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชพี /

พัฒนาองค์กร

กลยุทธ์ท่ี 3.5 Agro Business Model และAgro Farm for กลยทุ ธ์ที่ 3.5 Agro Business Model และAgro Farm

Food for Food

ผลลพั ธ์หลัก จานวนบคุ ลากร KKU ทีเ่ ข้าถึงอาหารปลอดภัย ผลลพั ธห์ ลัก จานวนบคุ ลากร KKU ที่เข้าถึงอาหาร

ปลอดภัย

ผลลัพธห์ ลกั รอ้ ยละของรายไดจ้ ากการบรหิ ารจัดการ ผลลพั ธ์หลัก ชนิดผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ ชงิ การค้าของฟาร์มคณะ

ทรัพย์สินตอ่ รายไดจ้ ากค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา

ผลลัพธห์ ลกั ร้อยละของรายได้ท่เี พ่มิ ขึ้นจากหน่วยวสิ าหกจิ ผลลพั ธ์หลัก ร้อยละของรายไดจ้ ากการบรหิ ารจดั การ

ของมหาวทิ ยาลัย ทรพั ย์สินต่อรายได้จากคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา

ผลลัพธ์หลัก จานวนหน่วยผลิตทม่ี ุ่งสู่การสรา้ งรายได้

กลยุทธ์ที่ 3.6 เกษตรภาคอสี าน (ระดับภาค) กลยทุ ธท์ ี่ 3.6 เกษตรภาคอสี าน (ระดบั ภาค)

ผลลพั ธ์หลกั จานวนผู้เขา้ ชมงาน ผลลัพธห์ ลกั จานวนผู้เขา้ ชมงานเกษตรภาคอสี าน

กลยุทธท์ ี่ 3.7 AgroExpo กลยุทธ์ที่ 3.7 ศนู ย์รบั รองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร

ผลลัพธห์ ลกั จานวนผ้เู ขา้ ชมงาน ผลลัพธห์ ลัก จานวนสนิ คา้ ทผ่ี ่านการรบั รอง (สะสม)

ผลลพั ธ์หลกั จานวนผทู้ ่ผี า่ นการอบรมผตู้ รวจประเมิน

GAP

กลยทุ ธท์ ี่ 3.8 ศนู ยร์ ับรองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร -

ผลลพั ธ์หลัก จานวนสนิ ค้าทผี่ า่ นการรบั รอง

ผลลพั ธ์หลกั จานวนผทู้ ่ผี ่านการอบรมผตู้ รวจประเมนิ GAP

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 High Performance ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 High Quality Administration

Organization (HPO)

เปา้ ประสงค์ : ปรับเปล่ยี นการบริหารจดั การใหเ้ ปน็ องคก์ รที่ เป้าประสงค์ : ปรบั เปล่ียนการบรหิ ารจดั การใหเ้ ป็น

มีสมรรถนะสูง องค์กรทมี่ ีสมรรถนะสงู

กลยทุ ธ์ท่ี 4.1 พฒั นาคุณภาพ และผลติ ภาพกาลงั คน กลยุทธท์ ี่ 4.1 พัฒนาคณุ ภาพ และผลติ ภาพกาลังคน

ผลลัพธห์ ลกั จานวนบคุ ลากรทีไ่ ดร้ ับการพัฒนาและ ผลลพั ธ์หลกั จานวนบคุ ลากรที่ไดร้ ับการพัฒนาและ

ปฏิบตั ิงานไดจ้ ริง (คน) ปฏิบัติงานไดจ้ รงิ (คน)

ผลลพั ธ์หลัก ร้อยละของอาจารยท์ ี่มตี าแหน่งทางวิชาการ ผลลัพธห์ ลกั ร้อยละของอาจารยท์ ม่ี ีตาแหนง่ ทางวชิ าการ

สูงขึน้ สูงขึน้

ผลลพั ธ์หลัก บุคลากรสายสนับสนนุ ท่ีเข้าสู่ตาแหนง่ ตาม ผลลพั ธห์ ลกั บุคลากรสายสนบั สนนุ ทเี่ ข้าสตู่ าแหนง่ ตาม

กรอบอัตรากาลงั ท่อี นมุ ัติ กรอบอตั รากาลังทีอ่ นมุ ตั ิ (คน)

19

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ผลลัพธ์หลัก จานวนสาขาวิชาของ มข. ได้รบั การจดั
กลยุทธ์ที่ 4.2 สรา้ งระบบนิเวศเพอ่ื เอือ้ ตอ่ การทางาน อันดบั โดยการจัดอันดบั ของ THE หรอื QS Ranking หรือ
ผลลัพธ์หลัก จานวนพื้นที่ทีม่ ีการปรับปรงุ สภาพแวดล้อม Academic Ranking อ่ืนๆ
รวมทั้งบรรยากาศเป็นนานาชาติ กลยุทธ์ท่ี 4.2 สร้างระบบนเิ วศเพอื่ เออ้ื ต่อการทางาน
ผลลพั ธ์หลัก จานวนงานสะสมท่ีได้รบั การพฒั นาใหมห่ รอื ผลลัพธ์หลกั จานวนพื้นทีท่ ่ีมกี ารปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ ม
ปรบั ปรงุ (Digital Workflow) โดยรวมระบบและวิธีการรับ รวมทัง้ บรรยากาศการเปน็ นานาชาติ
ฟงั ผู้เรียนและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ระบบการรบั ฟัง ผลลพั ธ์หลัก จานวนงานสะสมทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาใหมห่ รอื
ปรบั ปรุง (Digital Workflow) โดยรวมระบบและวธิ ีการ
รับฟังผ้เู รยี นและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ระบบการรบั ฟัง

ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความไดเ้ ปรียบเชิงกลยทุ ธ์ โอกาสเชิงกลยทุ ธ์
(Strategic Challenge; SC) (Strategic Advantage; SA) (Strategic Opportunity; SOp)
SC.1 การปรบั เปลยี่ นระบบการจดั การศึกษา SA1. คณาจารยม์ คี วามเช่ียวชาญ SOp1. การสร้างหลกั สตู รระยะ
ทเ่ี ออ้ื ให้ผู้เรยี นพร้อมรับการเปล่ยี นแปลงของ ท่ีหลากหลาย ส้นั / ยาว ทตี่ อบสนองความ
อาชีพในอนาคต และเรียนร้ไู ด้ตลอดชีวติ SA2. มีศูนยว์ ิจยั /กลมุ่ วิจัยท่ี ตอ้ งการของสังคมและประเทศ
SC2. การเพม่ิ คณุ ภาพผลงานวิจัยท่ตี ีพิมพ์ใน เขม้ แข็ง SOp2. การกาหนดทศิ ทางการวิจยั
ฐานขอ้ มูลระดบั นานาชาติ และ/หรือการ SA3. มีเครอื ขา่ ยทเ่ี ขม้ แข็งและ ของคณะทีต่ อบสนองต่อนโยบาย
นาไปใช้ประโยชน์ หลากหลายทัง้ ในและต่างประเทศ ของประเทศ การเปลยี่ นแปลงของ
SC3. การเพม่ิ จานวนนวตั กรรมทช่ี ว่ ยแกไ้ ข SA4. การมแี ปลงแหล่งฝึก/ฟารม์ เศรษฐกิจและสังคม เช่น ดา้ น BCG
ปัญหาของชมุ ชนภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ขนาด 1,200 ไร่ อย่ภู ายใน ด้าน Functional Food เกษตร
รวมทงั้ ตอบสนองนโยบายของประเทศด้าน มหาวทิ ยาลยั ที่เอ้อื ต่อการเรยี น และเกษตรแปรรูปมลู คา่ สูง
การเกษตร การสอน การวิจยั และผลติ ภณั ฑ์ SOp3. การตัง้ ศูนยร์ บั รอง
SC4. การบริการวิชาการทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ทางการเกษตร มาตรฐานสินค้าเกษตร
ประสทิ ธผิ ล
SC5. การเพมิ่ รายไดเ้ พอ่ื พง่ึ พาตนเอง
SC.6 การบรหิ ารจดั การที่ทันสมัย และ
คล่องตวั
SC7. การบรหิ ารอตั รากาลงั และขีด
ความสามารถของบคุ ลากรท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ
เพ่อื รองรบั การเปล่ยี นแปลง
SC8. การพฒั นาชมุ ชนดา้ นการเกษตรให้
เขม้ แข็ง เชน่ พฒั นาชุมชนต้นแบบที่ได้รับการ
พัฒนาด้านการเกษตรเฉพาะดา้ น พฒั นา
ผปู้ ระกอบการทงั้ SME และ Start Up

20



รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

OKR1 จานวนหลกั สูตรทม่ี ีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามกระบวนทัศน์ใหม่

(New Paradigm curriculum)

ความหมาย

การจดั กระบวนการเรียนรู้หมายถึง วธิ ีการ/กิจกรรมท่คี รหู รอื ผูเ้ กยี่ วข้องนามาใชเ้ พอื่ ให้ผูเ้ รยี น
เกดิ การเรียนรู้ (วราภรณ์, 2562)

หลักสตู รที่มีการจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามกระบวนทศั นใ์ หม่ (New Paradigm curriculum)
หมายถึง หลักสูตรที่มกี าร จัดการเรียนการสอนตามกระบวนทศั นใ์ หม่ (New Paradigm
curriculum) หมายถงึ หลักสตู รท่ีมีการปรับเปลี่ยนจากหลักสตู รที่เน้นการสอน (Teaching
paradigm) เป็นเนน้ การเรียนรู้ (Learning paradigm) โดยมอี งคป์ ระกอบ 5 ประการดงั น้ี

1. ปรบั เปลี่ยนพนั ธกจิ และเป้าหมาย (mission and purpose) จากอาจารย์เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้สู่
นักศึกษา (Transfer knowledge from faculty to students) เป็นอาจารย์ทาให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า
หาความรู้ด้วยตนเอง (Elicit student discovery and construction of knowledge) ตัวอย่างเช่น การ
จัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ “Flipped class room”

2. ปรับเปล่ียนการสอนและโครงสร้างการเรียนรู้ (Teaching/learning structures) จาก “การ
ได้รับปริญญาเม่ือมีการสะสมหน่วยกิตครบตามหลักสูตร (Degree equals accumulated credit hours)”
เป็น “การได้รับปริญญาเมื่อแสดงได้ว่ามีความรู้ และทักษะตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร (Degree equals
demonstrated knowledge and skills)” ตัวอย่าง เช่น หลักสูตรท่ีอิงสมรรถนะ (Competency based
curriculum) และมีการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้จากสถานการณจ์ ริง (Experiential learning)

3. ปรับเปลย่ี นการสอนและโครงสร้างการเรียนรู้ (Teaching/learning structures) จาก “การจัด
เน้ือหาวิชาตามศาสตร์หรือ สาขาวิชา (Independent disciplines, departments)” เป็น “การจัด
เนอ้ื หาวิชาที่มีการบูรณาการข้ามศาสตรห์ รือสาขาวิชา (Cross disciplinary/departmental collaboration
for interleaving)” ตวั อย่าง เช่น หลกั สูตรทีม่ ีการบูรณาการข้ามศาสตร์ (Integration)

4. ปรับเปล่ียนบทบาทของอาจารย์ (Nature of roles) จาก “อาจารย์ส่งมอบสาระความรู้โดยการ
สอนบรรยาย ปฏิบัติการ และ สัมมนาศึกษา (Faculty deliver content in lectures, lab, and
seminars)” เป็น “อาจารย์ส่งมอบสาระความรู้โดยการ ออกแบบวิธีเรียนและส่ิงแวดล้อมในการเรียนของ
นักศึกษา (Faculty design learning environments and methods)” ตัวอย่าง เช่น หลักสูตรที่อาจารย์
เปล่ียนบทบาทจากผสู้ อนมาเปน็ Coach

5. ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินผล (Criteria for success) จาก “การประเมินผลการเรียนรู้
(Assessment of learning)” เปน็ “การประเมนิ เพื่อการเรยี นรู้ (Assessment for learning)” ตัวอย่าง เช่น
สตู รทีม่ ี Formative assessment และนาไปใชเ้ พื่อการเรยี นร้ขู องนักศกึ ษา

21

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คาอธบิ าย

จานวนหลักสูตรเดมิ หรือหลกั สตู รใหมท่ ีม่ ีการจัดการเรยี นการสอนตามกระบวนทัศนใ์ หม่ทางการศึกษา

เกณฑก์ ารให้คะแนน

1. หลักสูตรใหม่ทกุ หลกั สูตรมีอย่างน้อย 25% ของรายวิชาที่
มีคณุ ลกั ษณะการเรยี นรูต้ ามกระบวนทัศนใ์ หมท่ างการศึกษา

2. หลักสตู รเดมิ ทม่ี ีการปรับปรุงการเรียนรูต้ ามกระบวนทศั นใ์ หม่
อยา่ งน้อย 10% ของจานวนรายวิชาในหลกั สตู ร

22

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดาเนินการตาม OKR1

ตามที่มหาวิทยาขอนแก่นได้กาหนดแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และได้กาหนด
ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ (OKR) ภาคบังคับ ในส่วนฝ่ายการศึกษา นั้น คณะเกษตรศาสตร์ ได้ดาเนินการใน
ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ตัวที่ 1 (OKR1): คือ จานวนหลักสูตรท่ีมีการจัดระบบการศึกษาตามกระบวนทัศน์
ใหม่ (New Paradigm curriculum) โดยคณะเกษตรศาสตร์ได้กาหนดเป้าหมายไว้จานวน 3 หลักสูตร และ
สามารถดาเนินการตามผลลัพธ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้จานวน 12 หลักสูตร ซ่ึงใช้หลักเกณฑ์การ
พิจารณาในข้อ 2 คือ หลักสูตรเดิมที่มีการปรับปรุงการเรียนรู้ตามกระบวนทัศน์ใหม่ อย่างน้อย 10% ของ
จานวนรายวชิ าในหลักสตู รน้นั โดยในทกุ หลักสตู รมีการจดั การเรียนการสอนตามการเรียนรู้กระบวนทศั น์ใหม่
และมีการปรับเปลี่ยนจากหลักสูตรที่เน้นการสอน (Teaching paradigm) เป็นเน้นการเรียนรู้ (Learning
paradigm) ตามความในองค์ประกอบท่ี 1, 4 และ 5 ดงั น้ี

องค์ประกอบท่ี 1

ปรับเปล่ียนพันธกิจและเป้าหมาย (Mission and purpose) ทุกหลักสูตรได้
ดาเนินการจัดการเรียนการสอนจากอาจารย์เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้สู่นักศึกษา เป็น
อาจารย์ทาให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบ “Flipped
class room” โดยให้นักศึกษาเรียนรู้จากประเด็นปัญหา และงานท่ีได้รับมอบหมาย
จากผสู้ อน นักศกึ ษาทาหน้าที่ศกึ ษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทารายงานและนาเสนอหน้า
ช้ันเรียนแบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม โดยอาจารย์ผู้สอนทาหน้าที่ในการแนะนาให้
ข้อเสนอแนะและสรุปผล ตลอดท้ังวิพากษ์ และวิจารณ์ข้อมูลในเชิงวิชาการอย่าง
ถูกตอ้ ง

องคป์ ระกอบท่ี 4

ปรับเปล่ียนบทบาทของอาจารย์ (Nature of roles) โดยอาจารย์ส่งมอบสาระ
ความรู้ โดยการออกแบบวิธีเรียนและส่ิงแวดล้อมในการเรียนของนักศึกษา เช่น
การวางแผนการทดลอง การออกแบบงานวิจัย การกาหนดหัวข้อสัมมนา นักศึกษา
ดาเนินการตามข้อเสนอแนะ ลงมือปฏิบัติ โดยมีอาจารย์ผู้สอนทาหน้าท่ีเป็น โค้ช
(coach) คอยใหค้ าปรกึ ษา ข้อเสนอแนะและแก้ปญั หา

องค์ประกอบท่ี 5

ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินผล (Criteria for success) เป็นการประเมินผลเพ่ือ
การเรียนรู้โดยเนน้ ให้มีผลลพั ธ์การเรียนรตู้ ามวตั ถุประสงคข์ องรายวิชาและหลักสูตร
ในบางหลักสูตร มีการประเมินผลแบบ rubric บางรายวิชา (scoring rubrics) ทา
ให้ผลการประเมินตรงตามทักษะและความสามารถของนักศึกษา ซ่ึงนักศึกษา
สามารถประเมนิ ตนเองเพื่อพัฒนาทักษะในดา้ นตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

23

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

จากผลการดาเนนิ การตาม OKR 01 ในจานวน 12 หลกั สูตร ประกอบด้วย หลักสูตรระดับปริญญาตรี
จานวน 4 หลักสตู ร ระดบั ปรญิ ญาโท จานวน 7 หลกั สตู ร และระดับปริญญาเอก จานวน 1 หลักสูตร โดยมีผล
การดาเนนิ การระดับหลกั สตู ร ดังน้ี

จานวนหลักสูตรและรายวชิ าที่การจัดการเรยี นการสอนตามการเรียนรู้กระบวนทศั น์ใหม่ 10%
ของจานวนรายวชิ าในหลักสูตร (สาหรบั หลักสตู รปรับปรงุ )

หลกั สตู ร จานวนรายวิชาใน รายวิชาที่สอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่
จานวน รอ้ ยละ
หลกั สูตร
8 40
ระดับปรญิ ญาตรี 19 10.90
4 10.00
1. เกษตรศาสตรบณั ฑิต 20 3 10.00
สาขาวิชาเกษตรนวตั กรรม
2 13.33
2. วทิ ยาศาสตรบัณฑิต 174 2 10.53
สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ 3 12.50
5 33.33
3. วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ 40 4 15.38
สาขาวชิ าการประมง 3 13.04
4 11.76
4. วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต 30
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 5 9.62

ระดบั ปริญญาโท

5. วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ 15
สาขาวิชากีฏวทิ ยา

6. วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต 19
สาขาวิชาโรคพชื วิทยา

7. วิทยาศาสตรบณั ฑิต 24
สาขาวิชาปฐพีศาสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม

8. วิทยาศาสตรบัณฑติ 15
สาขาวชิ าพชื สวน

9. วิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาพืชไร่ 26
23
10. วทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการ
34
ส่งเสรมิ และพัฒนาการเกษตร
11. วิทยาศาสตรบณั ฑิต

สาขาวิชาสตั วศาสตร์

ปริญญาเอก

12. ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ 52
สาขาวิชาสัตวศาสตร์

24

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลไกที่สาคัญในการสง่ เสริมใหบ้ รรลผุ ลลัพธต์ ามวัตถุประสงคต์ วั ท่ี 1 (OKR1)

ฝา่ ยการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ได้เรม่ิ ดาเนินการใหค้ วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการจัดการ
เรียนการสอนตามกระบวนทัศน์ใหม่กับอาจารย์ผู้สอนมาต้ังแต่ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2563 และ
ต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ท้ังอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษามีการปรับตัวและเรียนรู้กับการเรียนการสอน
แบบกระบวนทัศน์ใหม่เพ่ิมมากขึ้น โดยได้ดาเนินการด้านกิจกรรมและโครงการที่สนับสนุนให้เกิดการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อให้แต่ละรายวิชาในหลักสูตร ได้
ปรบั เปล่ยี นวิธีการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน รวมทั้งกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ใน
แต่ละบทเรียน ตลอดจนการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา ที่ตรงตามทักษะของผู้เรียน โดยมี
กจิ กรรมหรือโครงการต่างๆ ดงั นี้

1.การพัฒนาผู้สอนแบบมอื อาชพี

การพฒั นาอาจารย์ถือเป็นปจั จยั หนงึ่ ท่สี าคัญในการปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดการเรียน
การสอน ท่ีเปลย่ี นจาก Teaching เป็น Learning ดงั นน้ั ผู้สอน กต็ ้องเปลี่ยนจากผู้สอน
เป็น ผู้ให้คาแนะนา และข้อเสนอแนะแทน และเปล่ียนรูปแบบกิจกรรมการเรียนการ
สอนภายในห้องเรียนที่จะสะท้อนให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คณะ
เกษตรศาสตร์ จึงได้จดั กิจกรรมตา่ งๆ ในการพฒั นาอาจารยผ์ ู้สอนดงั นี้

1.1 โครงการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ Show and Share ภาพ OKR1-1 โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการ
เรียนการสอนตามกระบวนทัศนใ์ หม่
เป็นโครงการท่ีตัวแทนอาจารย์ในแต่ละสาขาท่ีมีเทคนิคการ
สอนในรูปแบบต่างๆ มานาเสนอให้กับคณาจารย์ทั้งคณะฯ
เพื่อให้เกิดแนวคิดและนาวิธีการจัดการเรียนการสอนไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในรายวิชาทีต่ นเองเป็นผู้รับผิดชอบ

นอกจากการปรบั เปลย่ี นกระบวนการจัดเรยี นการสอนแล้ว ใน
การวัดและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ก็ต้องเปล่ียนตามบริบท
ของการจัดการเรียนการสอนท่ีเปลี่ยนไปด้วย ทางคณะฯ จึง
ได้มีโครงการเตรียมความพร้อมการทวนสอบรายวิชา ปี
การศึกษา 2563 ข้ึน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการประเมิน
รายวชิ า ตามผลลัพธต์ ามเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา

25

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

และกลไกของการพัฒนาอาจารย์ผ่านโครงการท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ทางคณะฯ ได้กาหนดแนวทางใน
การพัฒนาอาจารย์ โดยใช้กรอบมาตรฐาน UK-PSF มาเป็นตัวขับเคลื่อนในการพัฒนาอาจารย์ และได้จัดอบรม
การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพ UK-PSF ข้ึน เพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนเกิดความ
เข้าใจในกระบวนการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป โดยเริ่มจากตัวผู้สอนเองก่อนเป็นอันดับแรกที่จะต้องเป็นมือ
อาชพี ในด้านการสอน

ภาพ OKR1-2 การเตรียมความพร้อมการทวนสอบ ภาพ OKR1-3 การอบรมการพัฒนากระบวนการเรยี นการ
รายวิชา เพ่ือเป็นแนวทางประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ สอนตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพ UK-PSF
ระดับรายวชิ า สผู่ ลลัพธก์ ารเรยี นรรู ะดบั หลักสูตร

2. การพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สตู รที่เน้นผลลพั ธ์การเรียนรู้
(Outcome Based Education; OBE)

นอกจาการพัฒนาอาจารย์ กระบวนการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลแล้ว การพัฒนา
หลักสูตรก็เป็นสิ่งท่ีสาคัญ เพ่ือให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์การจัดการเรียนการสอนตามกระบวนทัศน์ใหม่ ที่
จะต้องให้นักศกึ ษาเกิดการเรยี นรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง ทางคณะเกษตรศาสตร์ เล็งความสาคัญในเรื่องนี้ และอยู่ในรอบ
การปรับปรุงหลักสูตรของคณะเกษตรศาสตร์ ทีใช้ในปีการศึกษา 2565 จึงพัฒนาหลักสูตรท่ีเน้นผลผลัพธ์การ
เรียนรู้ หรือที่เรียกว่า Outcome Based Education; OBE ท่ีนักศึกษาหรือผู้เรียนจะต้องได้รับทักษะตามท่ี
กาหนดไว้ใน ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร และการจะได้มาซึ่งหลักสูตรดังกล่าวน้ัน จาเป็นต้องทาให้
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน มีความรู้ความเข้าใจใน การทา
หลักสตู รตามแนว OBE ทางคณะเกษตรศาสตร์ จึงจดั อบรมใหค้ วามรู้ในการพฒั นาหลกั สตู ร การกาหนดผลลัพธ์
การเรยี นร้รู ะดับหลักสตู ร ข้ึนเองภายในคณะ รวมทั้งการส่งอาจารย์เข้าร่วมอบรมในหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
กบั การพฒั นาหลักสูตรตามแนว OBE ทั้งที่จดั โดย ทปอ. หรือ มหาวิทยาลัยอน่ื ๆ ภายในประเทศ ดงั นี้

26

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-4 การอบรมเพื่อพฒั นาหลักสตู รตามแนวทางของ Outcome Based Education (OBE)

27

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-5 การอบรมเพอื่ พัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง ภาพ OKR1-6 การอบรมเพ่ือพฒั นาหลกั สตู รตามแนวทาง
ของ Outcome Based Education (OBE) ของ Outcome Based Education (OBE)

นอกจากการพัฒนาอาจารย์ผู้สอน และการปรับปรุงหลักสูตรแล้วน้ัน เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน โดยคณะเกษตรศาสตร์ได้มีการ
จดั การเรยี นการสอนที่เปลยี่ นแปลงจากระบบห้องเรียน (Onsite) เป็น Online เพื่อให้กระบวนการจัดการสอน
สอดคลอ้ งกบั ผลลัพธก์ ารเรยี นร้ขู องหลักสูตร คณะฯ ได้ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมหรือโครงการ เพ่ือส่งเสริมทักษะ
ทางด้านการเรียนการสอนและพฒั นาอาจารย์ผู้สอนและพัฒนางานทางด้านการเรียนการสอน เพื่อเข้าสู่การจัด
กระบวนการเรียนรู้และตอบสนองตามกระบวนทัศน์ใหม่ ในระบบออนไลน์ โดยมีการจัดกิจกรรมหรือโครงการ

ที่หลากหลาย โดยมกี จิ กรรมพอสรปุ ได้ ดงั นี้

ลาดบั ที่ ชือ่ โครงการ วัน เวลา สถานที่ วิทยากร

1 โครงการฝกึ อบรมเชิง วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2563 ผศ.ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์

ปฏิบัตกิ าร สอนออนไลนผ์ ่าน เวลา 08.30 - 16.30 น. คณะวิทยาศาสตร์

Zoom ให้เด็กโดนใจ ผ่านระบบ Zoom Meeting มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

จานวนผูเ้ ข้าร่วม 51 คน

2 ผลลพั ธก์ ารเรียนรูร้ ะดบั วนั ท่ี 12 มิถุนายน 2563 รศ.ดร.ดรุณี โชติษฐยางกูร

หลักสูตร Outcome-Based เวลา 09.00 – 12.00 น. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์

Education (OBE) ณ หอ้ ง 5101 อาคาร AG05 มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

จานวนผูเ้ ข้ารว่ ม 30 คน

28

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ลาดับที่ ชอ่ื โครงการ วัน เวลา สถานท่ี วทิ ยากร

3 โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัติการ วันท่ี 24 มถิ ุนายน 2563 ผศ.ดร.อติชาต เกตตะพันธ์ุ

หอ้ งเรยี น (ออนไลน์) สนุกได้ด้วย เวลา 08.30 - 16.30 น. คณะวิทยาศาสตร์

การเรียนรู้แบบ "Active ผา่ นระบบ Zoom Meeting มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่

Learning "

จานวนผูเ้ ขา้ ร่วม 50 คน

4 การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ Show & วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2563 รศ.ดร.สุภัทร์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา

Share การจัดการเรยี นการสอน เวลา 08.30 - 14.00 น. ผศ.ดร.สาธิต อดติ โต

แบบกระบวนทัศน์ใหม่ ณ ห้อง 8003 อาคาร AG08 ผศ.ดร.พชั รี สรุ ยิ ะ

จานวนผเู้ ข้าร่วม 25 คน ผศ.ดร.สมสมร แกว้ บริสทุ ธ์ิ

ผศ.ดร.รกั พงษ์ เพชรคา

คณะเกษตรศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

5 เรือ่ ง OBE concept and AUN- วนั ที่ 1 – 2 กนั ยายน 2563 รศ.ดร.เภสัชกรหญิง กัญญดา อนวุ งค์

QA ด้วยระบบออนไลน์ เวลา 08.30 – 16.30 น. ผศ.ดร.อาจรี ศุภสธุ กี ุล

จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม 45 คน ผา่ นระบบ Zoom คณะเภสัชศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ

6 การพฒั นากระบวนการเรียนการ วันที่ 16 พฤศจกิ ายน 2563 รศ.ดร.ดรณุ ี โชติษฐยางกรู

สอน ตามกรอบมาตรฐานวชิ าชีพ เวลา 13.30 – 16.30 น. คณบดคี ณะเกษตรศาสตร์

UKPSF (UK PROFESSIONAL ณ ห้องประชมุ กวี จุตกิ ุล อาคาร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

STANDARD FRAMEWORK) AG08 คณะเกษตรศาสตร์

จานวนผู้เขา้ รว่ ม 27 คน

7 การปรับปรุงหลกั สูตรคณะ วนั ท่ี 14 – 15 มกราคม 2564 รศ.ดร.ดรุณี โชติษฐยางกรู

เกษตรศาสตร์สู่การจดั การเรียน เวลา 08.30-17.30 น. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์

การสอนกระบวนทศั นใ์ หม่ โรงแรมบายาสิตา @kku มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

จานวนผู้เข้ารว่ ม 51 คน

8 การปรับเปลีย่ นเกณฑ์การ วนั ท่ี 17 กุมภาพันธ์ 25664 รศ.ดร.ดรณุ ี โชติษฐยางกรู

ประเมินผล (Criteria for เวลา 09.00 - 13.00 น. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์

success) “การประเมนิ ผลการ ณ ห้องประชมุ 8003 มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

เรียนรู้ (Assessment of

learning)” จากเปน็ “การ

ประเมินเพอ่ื การเรียนรู้

(Assessment for learning)”

จานวนผเู้ ข้าร่วม 37 คน

29

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ลาดับท่ี ชอ่ื โครงการ วัน เวลา สถานที่ วิทยากร

9 การอบรมโปรแกรม Outcome- วันที่ 7 – 8 มิถนุ ายน 2564 ท่ีประชมุ อธิการบดีแหง่ ประเทศ

Based Education (OBE) วนั ที่ 14 – 15 มถิ ุนายน 2564 ไทย ประจาปี 2564 ผ่านระบบ

จานวนผู้เข้ารว่ ม 9 คน วนั ที่ 17 -18 มถิ นุ ายน 2564 Zoom Meeting

ผ่านระบบ Zoom Meeting

10 การเตรยี มความพร้อมการทวน วนั ท่ี 7 มิถนุ ายน 2564 รศ.ดร.ดรณุ ี โชตษิ ฐยางกูร

สอบรายวิชาเพือ่ เขา้ สู่การทวน เวลา 13.00 - 16.00 น. รศ.ดร.ณกรณ์ จงรงั้ กลาง

สอบแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ ปี ผ่านระบบ Zoom Meeting คณะเกษตรศาสตร์

การศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

จานวนผเู้ ขา้ รว่ ม 24 คน

11 การอบรมโปรแกรม AUN – QA วันท่ี 19 – 20 กรกฎาคม 2564 ทป่ี ระชุมอธิการบดแี หง่ ประเทศ

Implemetation and Gap ผา่ นระบบ Zoom Meeting ไทย ประจาปี 2564 ผ่านระบบ

Analysis Zoom Meeting

จานวนผู้เขา้ รว่ ม 4 คน

12 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ วันท่ี 12 กรกฎาคม – 30 สิงหาคม สานักการศกึ ษาและนวตั กรรมการ

การพฒั นาหลักสูตรตามแนวทาง 2564 เวลา 09.00 – 12.00 น. เรยี นรู้

ของ Outcome-Based ผ่านระบบ Zoom Meeting มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

Education (OBE)

จานวนผเู้ ขา้ ร่วม 8 คน

13 การอบรมหลกั สตู ร Outcome- วนั ที่ 18 – 19 สิงหาคม 2564 (ร่นุ 5) ทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดแี หง่ ประเทศ

Based Education (OBE) วันที่ 25 – 26 สงิ หาคม 2564 (รนุ่ 6) ไทย ประจาปี 2564 ผ่านระบบ

จานวนผู้เข้าร่วม 16 คน ผ่านระบบ Zoom Meeting Zoom Meeting

14 อบรมหลักสตู ร AUN – QA วนั ที่ 2 – 3 กนั ยายน 2564 (รุน่ 3) ทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดแี ห่งประเทศ

Implemetation and Gap วนั ที่ 2 – 3 ธนั วาคม 2564 (รนุ่ 5) ไทย ประจาปี 2564 ผ่านระบบ

Analysis Version 4 ผา่ นระบบ Zoom Meeting Zoom Meeting

จานวนผู้เข้าร่วม 8 คน

15 อบรม แนวทางการจัดทา KSA วนั ท่ี 6 กันยายน 2564 รศ.ดร.ดรณุ ี โชติษฐยางกรู

และ Curriclum Mapping ของ เวลา 13.30 - 16.30 น. ผศ.ดร.สมพงศ์ จันทรแ์ กว้

หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2565 ผา่ นระบบ Zoom Meeting อ.ดร.นรนิ ทร์ ชมภพู วง

จานวนผู้เข้าร่วม 32 คน คณะเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

30

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ลาดับที่ ชอ่ื โครงการ วัน เวลา สถานท่ี วทิ ยากร

16 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show วนั ท่ี 27 กนั ยายน 2564 รศ.ดร.ณกรณ์ จงร้งั กลาง
and Share) เรื่อง การจัดการ เวลา 09.00 – 16.30 น. ผศ.ดร.สมพงศ์ จันทรแ์ ก้ว
เรยี นการสอน แบบกระบวนทศั น์ ผา่ นระบบ Zoom Meeting ผศ.ดร.ภาณพุ ล หงษภ์ กั ดี
ใหม่ อ.หยาดร้งุ มะวงคไ์ ว
จานวนผ้เู ขา้ ร่วม 35 คน อ.ดร.นรินทร์ ชมภูพวง
คณะเกษตรศาสตร์
17 โครงการอบรมออนไลน์ เรื่อง วันที่ 15 ตลุ าคม 2564 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
Active learning: Engaging เวลา 09.00 – 16.00 น. จดั โดย สมาคมเครอื ขา่ ยการ
students in online classes ผ่านระบบ Zoom Meeting พัฒนาวชิ าชีพอาจารย์และองคก์ ร
จานวนผูเ้ ขา้ ร่วม 21 คน ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ประเทศไทย
(ควอท)

31

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-7 การอบรมเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามกระบวนทศั นใ์ หม่

ภาพ OKR1-8 การอบรมเพ่ือพฒั นาอาจารยผ์ ู้สอนใหม้ ีการจดั การเรียนการสอนตามกระบวนทศั น์ใหม่

32

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

จากผลการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมในด้านต่างๆ ทาให้ผลลัพธ์ด้านการศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบ
กระบวนทัศน์ใหม่ ในปี 2564 ดาเนนิ การบรรลผุ ลตาม OKR- 01 จานวน 12 หลักสูตร ที่มีรายวิชาท่ีเข้าเกณฑ์
3 องค์ประกอบดงั ทไ่ี ด้กลา่ วมาแลว้ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

1.หลักสตู รเกษตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรนวตั กรรม

1.1 รายวิชาทจี่ ัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทศั น์ใหม่ จานวน 8 รายวชิ า ได้แก่
1.1.1 AG 212 101 ธรุ กจิ การเกษตรเบอื้ งตน้
1.1.2 AG 212 102 การผลติ และการจดั การเชงิ นวตั กรรมของพืช
1.1.3 AG 212 302 การจัดการโลจสิ ติกสแ์ ละหว่ งโซอ่ ุปทาน
1.1.4 AG 211 001 คณติ ศาสตร์และสถิติสาหรับธรุ กิจการเกษตร
1.1.5 AG 211 301 การจัดการธรุ กจิ สมัยใหม่
1.1.6 AG 212 103 การผลิตและการจดั การเชิงนวัตกรรมของสตั ว์เศรษฐกจิ และสตั ว์น้า
1.1.7 AG 212 201 เครือ่ งจกั รกลการเกษตรเบอ้ื งต้น
1.1.8 AG 213 106 การคัดเลอื กพันธ์ุพืชและการผลิตเมล็ดพนั ธุ์

1.2 ตวั อยา่ งรายวชิ าการจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ รายวิชา : AG 212 102 การผลิต
และการจดั การเชิงนวตั กรรมของพชื
แผนการรบั นกั ศกึ ษา : จานวน 40 คน
ปีการศกึ ษาทเี่ ปิดสอน/ ปีการศกึ ษาทสี่ ภาอนมุ ตั ิ : 2561
อธิบายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : เป็นหลักสูตรปฏิบัติการ ที่เน้นการสอนในลักษะการจัดการการ
เรยี นการสอนท่ีบรู ณาการกบั การทางานจริง (Work-integrated Learning: WIL) ท้งั ในมหาวิทยาลัยและใน
ชุมชน
อธิบายรายละเอียดศาสตร์ ที่ใช้ร่วมกัน : มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ “Flipped class room”
โดยให้นกั ศกึ ษาเรียนรู้จากการศึกษาดูงาน และนาขอ้ มูลกลบั มานาเสนอข้อดี ข้อเสีย สิ่งที่ควรปรับปรุง และ
ข้อคิดที่ได้เพื่อนามาใช้ในการเรียน โดยท่ีอาจารย์ผู้สอนทาหน้าท่ีเป็น โค้ช (coach) และมีการปรับเปล่ียน
การสอนจากรูปแบบเน้นการสอน (teaching structure) มาเป็นการสอนแบบเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(learning structure) เพ่ือให้บัณฑิตมีความรู้ และทักษะการปฏิบัติงานด้านเกษตรศาสตร์โดยบูรณาการ
องค์ความรู้รอบด้านสู่การปฏบิ ตั ิ มแี นวคิดในการเป็น ผปู้ ระกอบการ และนกั สรา้ งสรรค์เกษตรนวัตกรรม
1.3 ผลการประเมินรายวชิ า

ลาดับท่ี รหัสวชิ า ช่อื วิชา กลุ่ม ลงทะเบยี น เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 คา่ เฉลย่ี
1 AG 212 102
การผลติ และการจดั การเชิง 1 35 27 4.63 4.74 4.70 4.56 4.59 4.63 4.59 4.44 4.56 4.59 4.60
นวตั กรรมของพชื

33

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-9 การจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ “Flipped class room” โดยใหน้ กั ศกึ ษาเรียนรู้จากการศกึ ษาดูงาน และนาขอ้ มูลกลับมา
นาเสนอข้อดี ขอ้ เสยี ส่งิ ทีค่ วรปรับปรุง และขอ้ คิดที่ไดเ้ พอื่ นามาใชใ้ นการเรยี น โดยทอี่ าจารยผ์ ู้สอนทาหนา้ ทเ่ี ปน็ โคช้ (coach)

ภาพ OKR1-10 การสอนในลกั ษะการจัดการการเรียนการสอนที่บรู ณาการกับการทางานจริง (Work-integrated Learning: WIL) ทงั้ ใน
มหาวทิ ยาลัยและในชุมชน

34

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

2.1 รายวิชาที่จัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทศั น์ใหม่ จานวน 19 รายวชิ า ไดแ้ ก่
2.1.1 AG 001 796 การฝกึ งานทางพชื ศาสตร์ 1
2.1.2 AG 002 203 กีฏวิทยาเบื้องตน้
2.1.3 AG 003 301 สถติ พิ ้ืนฐานเพ่อื การวิจยั ทางการเกษตร
2.1.4 AG 103 005 หลกั การควบคมุ แมลงศตั รู
2.1.5 AG 103 007 แมงมมุ วิทยา
2.1.6 AG 123 332 การสารวจและจาแนกดนิ
2.1.7 AG 123 351 ความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ และโภชนาการพชื
2.1.8 AG 124 417 นิเวศวทิ ยาทรัพยากรดนิ และการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ
2.1.9 AG 134 761 การสมั มนาทางพืชสวน
2.1.10 AG 134 774 ปัญหาพเิ ศษทางพืชสวน
2.1.11 AG 134 775 โครงงานนักศึกษาดา้ นพชื สวน
2.1.12 AG 134 401 สรรี วิทยาทางพชื สวน
2.1.13 AG 144 500 ผ้ปู ระกอบการทางพชื ไร่
2.1.14 AG 144 774 ปญั หาพิเศษทางพชื ไร่
2.1.15 AG 113 504 เทคนคิ ทางดา้ นโรคพชื และจลุ ชวี วิทยาทางการเกษตร
2.1.16 AG 113 797 การฝกึ งานทางวิทยาโรคพืช 2
2.1.17 AG 163 102 การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมการเกษตร
2.1.18 AG 163 404 การจดั การไมซท์ างการเกษตร
2.1.19 AG 174 403 การผลิตโคเนื้อและกระบอื

2.2 ตัวอย่างรายวชิ าการจัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่
รายวิชา : AG 103 007 แมงมุมวิทยา
แผนการรับนักศึกษา : จานวน 30 คน
ปกี ารศกึ ษาที่เปิดสอน/ ปีการศึกษาที่สภาอนมุ ตั ิ : 2560
อธิบายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : ปรับเปลี่ยนพันธกิจและเป้าหมาย (mission and purpose)
ปรับเปล่ียนบทบาทของอาจารย์ (Nature of roles) ปรับเปล่ียนการสอนและโครงสร้างการเรียนรู้
(Teaching/learning structures)
อธิบายรายละเอียดศาสตร์ ที่ใช้ร่วมกัน : ได้ทาการปรับเปล่ียนแนวทางในการสอนในบทเรียนมีการ
จัดการเรียนการสอนในรูปแบบ “Flipped class room” เช่น มอบหมายให้นักศึกษาจัดทากล่องแมลง
โดยภายในกลอ่ งแมลงจะต้องประกอบด้วยแมลงที่สาคัญในด้านต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้เรียนในบทเรียน ทา
การจดั จาแนก ดังนี้ แมลงศตั รพู ืชไร่ แมลงปศุสตั ว์และทางการแพทย์ แมลงศัตรูหลังการเก็บเกี่ยว แมลง
ศัตรูพืชสวน แมลงท่ีเป็นประโยชน์ แมลงอุตสาหกรรม อาจารย์ ให้แนะนาและสอดแทรกความรู้เพ่ือให้
นักศึกษานาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการเรียนต่อยอดในรายวิชาที่เก่ียวข้องทางด้านกีฏวิทยา
ตอ่ ไป เน่อื งจากรายวิชานี้สอน

35

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

นักศกึ ษาจานวนมากจึงไดท้ าการสอนในภาคบรรยายได้ทาการปรับรูปแบบการสอนแบบ Active Learning
คอื กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งท่ีเขาได้กระทาลง
ไปจรงิ เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาเกิดกระบวนการจดจาไดใ้ นรูปแบบความเข้าใจ ไมใ่ ชก่ ารจาทีเ่ กิดจากการท่องจา เช่น
ประยุกตใ์ ช้ Quizizz https://quizizz.com/ มาใช้ในการเรยี นการสอนทาให้สามารถเขา้ ถงึ นกั ศึกษาทุกคน
โดยหลักการคือนักศึกษาจะได้เห็นโจทย์และคาถามรวมทั้งรูปภาพบนจอโทรศัพท์ของนักศึกษาเอง และให้
นักศึกษาทาการตอบคาถามให้ทันตามเวลาท่ีกาหนดในแต่ละข้อ อาจารย์จะสามารถทราบว่านักศึกษาทา
ถูกต้อง หรือทาผิดในเร่ืองใด และสามารถกลับมาเน้นย้าในเร่ืองนั้น ๆ อีกครั้ง และทาให้กระตุ้นการเรียนรู้
จากนักศึกษา จากคะแนนผู้เข้าเล่นสูงสุดจะมาจากผู้ท่ีตอบไวท่ีสุด และถูกต้องท่ีสุด ลดบรรยายการท่ีตรึง
เครยี ดระหวา่ งเรียน และทาใหส้ นุกกบั การเรยี นมากยิ่งขึน้

ผลการประเมนิ รายวิชา

ลาดบั ที่ รหสั วชิ า ช่อื วชิ า กลมุ่ ลงทะเบยี น เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 ค่าเฉล่ีย

1 AG 103 007 แมงมุมวิทยา 1 30 27 4.56 4.48 4.48 4.70 4.56 4.56 4.63 4.63 4.52 4.67 4.58

36

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-11 นักศึกษาได้เรียนในบทเรียน ทาการจัดจาแนก แมลงศัตรูพืชไร่ แมลงปศุสัตว์และทางการแพทย์ แมลงศัตรูหลังการเก็บ
เกีย่ ว แมลงศัตรพู ชื สวน แมลงท่ีเป็นประโยชน์ แมลงอุตสาหกรรม และการนาเสนอหน้าช้ันเรียน โดยอาจารย์คอย ให้แนะนาและสอดแทรก
ความรู้เพือ่ ให้นักศึกษานาความร้แู ละประสบการณ์ โดยเน้นจัดการเรียนการสอนในรปู แบบ “Flipped class room”

ภาพ OKR1-12 นักศกึ ษาไดเ้ รียนรู้จากภาคสนาม และประสบการณ์จริงโดยการลงมือปฏบิ ัติ

37

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-13 การจัดการเรียนการสอน การศึกษาดงู านนอกสถานที่ และการประเมนิ ผลตามผลลัพธข์ องรายวชิ าและหลกั สตู ร

3. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการประมง
3.1 รายวิชาที่จดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทศั นใ์ หม่ จานวน 4 รายวิชา ได้แก่

3.1.1 AG 182 203 การเพาะและอนุบาลสตั ว์น้าจืด
3.1.2 AG 183 204 พนั ธ์ศุ าสตรแ์ ละเทคโนโลยชี ีวภาพสัตว์นา้
3.1.3 AG 184 761 การสมั มนาทางการประมง
3.1.4 AG 184 775 โครงงานนักศกึ ษาดา้ นการประมง
3.2 ตัวอย่างรายวิชาการจัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่
รายวชิ า : AG 182 203 การเพาะและอนุบาลสตั ว์นา้ จืด
แผนการรบั นักศึกษา : จานวน 51 คน
ปีการศึกษาท่เี ปิดสอน/ ปีการศึกษาท่สี ภาอนมุ ัติ : 2560
อธบิ ายรายละเอียดลักษณะดาเนนิ การ :
1. ปรับเปลย่ี นพนั ธะกิจและเป้าหมาย เป็นอาจารยท์ าให้นกั ศกึ ษาสามารถคน้ คว้าหาความรดู้ ้วยตนเอง
(Flipped classroom)
2. ปรบั เปล่ยี นบทบาทของอาจารย์ (coaching)
3. ปรบั เปลย่ี นเกณฑก์ ารประเมินผล
อธบิ ายรายละเอียดศาสตร์ ท่ีใชร้ ว่ มกัน : มกี ารปรับเปล่ียนกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเป็นสัมมนา
ฝึกปฏิบัติ และรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา โดยอาจารย์ทาให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
แล้วนากลับมาเสนอความรู้หน้าห้องเรียน อาจารย์ทาหน้าที่ปรับเปล่ียนเป็น Coaching และปรับเปลี่ยนเกณฑ์
การประเมินผลตามผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของรายวิชาตามกรอบมาตรฐานการศึกษา 5 ด้าน ดงั ตัวอยา่ ง

38

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3.3 ผลการประเมินรายวชิ า

ลาดับที่ รหสั วิชา ชื่อวชิ า กล่มุ ลงทะเบียน เขา้ ประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 คา่ เฉลีย่

1 AG 182 203 การเพาะและ 1 43 35 4.43 4.29 4.40 4.37 4.43 4.26 4.29 3.97 4.40 4.40 4.32
อนบุ าลสัตวน์ า้ จืด

ภาพ OKR1-14 การจดั การเรยี นการสอนโดยการมอบหมายงาน และนาเสนอช้นิ งานหนา้ ชัน้ เรยี น โดยนกั ศกึ ษาเปน็ ผนู้ าเสนอ
สะท้อนกลบั ให้เพอื่ นๆ ฟังและเรยี นรไู้ ปพรอ้ มๆ กนั อาจารยค์ อยให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะ สรุป และการประเมินผลตาม
ผลลพั ธข์ องรายวิชาและหลักสูตร

4. หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเ์ กษตร

4.1 รายวิชาท่จี ดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ จานวน 3 รายวิชา ไดแ้ ก่
4.1.1 AG 153 301 ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ทรพั ยากรทางการเกษตรเบ้ืองต้น
4.1.2 AG 153 404 วธิ ีวิจัยทางเศรษฐศาสตรเ์ กษตร 2
4.1.3 AG 154 775 โครงงานนกั ศกึ ษาดา้ นเศรษฐศาสตร์เกษตร

4.2 ตวั อยา่ งรายวิชาการจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทศั นใ์ หม่
รายวชิ า : AG 153 301 ทฤษฎเี ศรษฐศาสตร์ทรพั ยากรทางการเกษตรเบอื้ งตน้
แผนการรบั นักศึกษา : จานวน 65 คน
ปีการศกึ ษาที่เปิดสอน/ ปกี ารศกึ ษาทสี่ ภาอนมุ ัติ : 2560
อธิบายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : ในการเรียนการสอนได้ให้นักศึกษาได้ค้นหาประเด็นปัญหาหรือ
เนื้อหาทรัพยากร มี VDO ให้ศึกษา แล้วจึงเข้าสู่การอภิปรายเพื่อให้เข้าใจในเนื้อหาของบทเรียนด้านทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากร อาจารย์ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาประเด็นให้เกิดการอภิปรายและนาสู่การเรียนรู้ มีการ
ประเมินแบบ rubric รายบุคคล
อธิบายรายละเอียดศาสตร์ ท่ีใช้ร่วมกัน : ปรับเปล่ียนพันธกิจและเป้าหมาย เป็นอาจารย์ทาให้นักศึกษา
สามารถคน้ คว้าหาความรดู้ ว้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนในรูปแบบ “Flipped class room” ปรับเปล่ียน
บทบาทของอาจารย์ โดยที่อาจารย์ผู้สอนทาหน้าที่เป็น โค้ช (coach) ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การประเมินผลเป็น
การประเมินเพ่ือการเรยี นรู้

39


Click to View FlipBook Version