The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AG, 2021-11-09 04:36:18

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4.3 ผลการประเมนิ รายวิชา

ลาดบั ที่ รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า กลมุ่ ลงทะเบียน เขา้ ประเมิน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลย่ี
1 AG 153 301 ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
1 35 35 4.46 4.20 4.17 4.20 4.49 4.34 4.26 4.03 4.31 4.23 4.27
ทรพั ยากรทาง
การเกษตรเบือ้ งต้น

5. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ ากีฏวทิ ยา

5.1 รายวชิ าท่ีจดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทศั น์ใหม่ จานวน 2 รายวิชา ได้แก่
5.1.1 AG 107 201 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแมลงและพชื อาหาร
5.1.2 AG 107 892 สมั มนาทางกีฏวทิ ยา 2

5.2 ตวั อยา่ งรายวชิ าการจดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่
รายวิชา : AG 107 892 สัมมนาทางกีฏวทิ ยา 2
แผนการรบั นักศึกษา : จานวน 10 คน
ปกี ารศึกษาทเ่ี ปิดสอน/ ปีการศกึ ษาทีส่ ภาอนมุ ตั ิ : 2560
อธบิ ายรายละเอียดลักษณะดาเนนิ การ : ปรบั เปลยี่ นรูปแบบการเรยี นการสอน จาก Traditional classroom
มาเป็น Flipped classroom จากท่ีครูมีบทบาทอย่างมากในช้ันเรียน (Teacher center) เปลี่ยนมาเป็น
นักศึกษาแทน (Student center) ในการเรียนแบบนี้นักศึกษาจะนาการบ้าน/ช้ินงาน/ปัญหา PBL/โจทย์วิจัย
RBL มาสอนในห้องเรียน โดยแต่ละคาบมีการเรียนการสอน ดังน้ี 1. คาบท่ี 1 เป็นการชี้แจงวิธีการเรียนการ
สอนแบบใหม่ และเร่ิมดาเนินการสอนด้วยการใช้สื่อวีดีโอ จะมีการหยุดพักเพ่ือถกประเด็น ให้ตรงตาม
วัตถปุ ระสงคข์ องหวั ขอ้ เรียนวนั น้ี ก่อนจบในคาบนมี้ ีงานมอบหมายเปน็ การอ่านบทความวิจยั
อธบิ ายรายละเอียดศาสตร์ ท่ใี ช้ร่วมกัน : ในการเรียนการสอนน้ีมีการผสมผสานระหว่าง Flipped classroom
รว่ มกับ Research based learning และ Problem based learning เขา้ ด้วยกนั
5.3 ผลการประเมนิ รายวิชา

ลาดับที่ รหสั วิชา ช่อื วชิ า กล่มุ ลงทะเบยี น เขา้ ประเมิน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลีย่
1 AG 107 892
สมั มนาทางกฏี 13 2 5.00 5.00 5.00 4.50 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.95
วิทยา 2

ภาพ OKR1-15 การจัดการเรียนการ
สอนโดยเน้นการปฏิบัติจริง และนาผลมา
สะท้อนในชั้นเรียน โดยอาจารย์ทาหน้าที่
ในการให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะ
แบบ Flipped class room

40

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-16 การจดั การเรียนการสอนโดยแบบกระบวนทัศน์ใหม่ ทเี่ น้นการใช้โปรแกรมการเรียนท่ี
เพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มความสุกในการเรยี นแบบออนไลน์

41

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

6. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าโรคพืชวิทยา

6.1 รายวชิ าที่จดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่ จานวน 2 รายวชิ า ไดแ้ ก่
6.1.1 AG 117 101 การเกิดโรคพชื และระบาดวทิ ยา
6.1.2 AG 117 891 สมั มนาทางวิทยาโรคพชื 1

6.2 ตวั อย่างรายวิชาการจัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่
รายวิชา : AG 117 101 การเกดิ โรคพืชและระบาดวทิ ยา
แผนการรับนกั ศึกษา : จานวน 10 คน
ปกี ารศึกษาท่เี ปิดสอน/ ปกี ารศกึ ษาทส่ี ภาอนุมัติ : 2560
อธบิ ายรายละเอยี ดลกั ษณะดาเนินการ :

1. ปรับเปลี่ยนพันธะกจิ และเป้าหมาย เปน็ อาจารย์ทาให้นักศกึ ษาสามารถค้นควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง
(Flipped classroom)
2. ปรับเปลี่ยนบทบาทของอาจารย์ (coaching)
3. ปรบั เปลีย่ นเกณฑ์การประเมินผล
อธบิ ายรายละเอยี ดศาสตร์ ทใี่ ชร้ ่วมกัน :
มอบหมายใหน้ กั ศกึ ษาเรยี นร้ดู ้วยตนเองโดยใหศ้ กึ ษาจากเอกสารคาสอนท่อี าจารย์ส่งไฟล์ให้ในหัวข้อ Defenses
of plants against pathogens จากนั้นเมื่อนักศึกษาเข้าชั้นเรียนจะมีการถามตอบนักศึกษาในหัวข้อท่ีได้ให้ไป
ศึกษาด้วยตนเอง มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าหาเอกสารวิชาการ (paper) ในหัวข้อ Defenses of
plants against pathogens ซึ่งเป็นหัวข้อที่จัดการเรียนการสอนแบบ Flipped classroom และหัวข้อ
Physiological responses in disease plants และ Genetics of plant disease จากน้ันให้นักศึกษา
นาเสนอหนา้ ชนั้ เรียนในรูปแบบ power point โดยมอี าจารย์เข้ารับฟัง และให้คาแนะนาหากนักศึกษาเข้าใจไม่
ถูกต้อง และให้นักศึกษาทาความเข้าใจและการแก้ไขให้ถูกต้อง ส่งเป็นรายงาน อาจารย์ประจาวิชาได้ชี้แจง
เกณฑ์การประเมินผลให้นักศึกษาทราบ ได้แก่ มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญใน
สาขาวิชาโรคพชื วทิ ยา และสามารถนามาประยุกตใ์ นการศกึ ษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
แบ่งเป็นระดับคะแนน 1-5 คือ 1 ความถูกต้องของเน้ือหาวิชาการต่ากว่า 20% และ 5 คือ ความถูกต้องของ
เนื้อหาวชิ าการมากกวา่ 85% เป็นต้น
6.3 ผลการประเมนิ รายวิชา

ลาดบั ที่ รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า กลุ่ม ลงทะเบยี น เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลี่ย

1 AG 117 101 การเกดิ โรคพืช 1 2 2 4.00 4.00 4.00 4.50 3.50 4.50 3.50 3.50 4.00 4.00 3.95
และระบาดวทิ ยา

42

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

7. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาปฐพีศาสตรแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม

7.1 รายวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ จานวน 3 รายวชิ า ได้แก่
7.1.1 AG 127 711 ความอดุ มสมบรู ณ์ของดินข้นั สงู
7.1.2 AG 127 714 ดนิ ปัญหาและการจัดการเชิงบรู ณาการ
7.1.3 AG 127 763 การประเมินความเสย่ี งทางนเิ วศวทิ ยาและการฟน้ื ฟูพน้ื ทปี่ นเปือ้ น

7.2 ตัวอย่างรายวชิ าการจดั การเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่
รายวชิ า : AG 127 714 ดินปัญหาและการจัดการเชิงบรู ณาการ
แผนการรับนกั ศกึ ษา : จานวน 50 คน
ปกี ารศกึ ษาทเี่ ปดิ สอน/ ปกี ารศึกษาทส่ี ภาอนมุ ัติ : 2560
อธิบายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : ปรับเปล่ียนการสอนในรายวิชาโดยให้อาจารย์เป็นโค้ชช่วยให้
นักศึกษาสามารถดาเนินการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ทาให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาใน
แต่ละบรบิ ทท่เี ก่ียวข้องกบั รายวิชาได้
อธิบายรายละเอียดศาสตร์ ท่ีใช้ร่วมกัน : ในการเรียนการสอนน้ีมีการผสมผสานระหว่าง Flipped
classroom ร่วมกับ Research based learning และ Problem based learning เขา้ ด้วยกัน
7.3 ผลการประเมินรายวชิ า

ลาดับที่ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า กลุ่ม ลงทะเบียน เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลีย่

1 AG 127 714 ดินปญั หาและการ 1 3 3 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67 4.67
จดั การเชิงบูรณา
การ

8. หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพืชสวน

8.1 รายวิชาทจ่ี ัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทศั นใ์ หม่ จานวน 5 รายวิชา ได้แก่
8.1.1 AG 137 401 สรีรวทิ ยาสงิ่ แวดล้อมขัน้ สงู ของการผลติ พืชสวน
8.1.2 AG 137 501 การปรับปรุงพนั ธ์ุพชื สวน
8.1.3 AG 137 891 สมั มนาทางพชื สวน 1
8.1.4 AG 137 892 สมั มนาทางพชื สวน 2
8.1.5 AG 137 894 ปญั หาพเิ ศษทางพืชสวน

8.2 ตัวอย่างรายวิชาการจดั การเรยี นการสอนแบบกระบวนทศั นใ์ หม่
รายวิชา : AG 137 894 ปญั หาพเิ ศษทางพืชสวน
แผนการรบั นักศกึ ษา : จานวน 10 คน
ปีการศึกษาทเ่ี ปิดสอน/ ปีการศกึ ษาทสี่ ภาอนมุ ตั ิ : 2560

43

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

อธิบายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : รายวิชาปัญหาพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา มุ่งเน้นให้นักศึกษาเกิด
ทักษะในด้านการทาวิจัย คิดและดาเนินการอย่างนักวิจัย-นักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ (think like’s professional
scientific researcher) ฝึกมือก่อนการดาเนินงานวิจัยตามหัวข้อวิทยานิพนธ์จริง ผ่านกระบวนการและขั้นตอน
ตา่ งๆ ท้งั การตรวจเอกสาร การหาโจทยว์ จิ ัย การออกแบบและวางแผนการทดลอง การพัฒนาเค้าโครงการวิจัย
ฯ การดาเนินงานวิจัยดาเนินงานวิจัย วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ร่วมกับศาสตร์ทางสถิติ และสรุปผลการ
ทดลอง เขียนรายงานผลการทดลอง และนาเสนอตอ่ ทีป่ ระชุมในระดับสาขา
อธบิ ายรายละเอียดศาสตร์ ทใี่ ช้รว่ มกัน : เป็นการใช้องค์ความรู้ทางการผลิตพืช ตั้งแต่ความรู้ทางชีววิทยา เคมี
คณิตศาสตร์ สถิติ และองค์ความรู้ทางพืชสวน เพ่ือดาเนินการวิจัยเบื้องต้น ตั้งแต่กระบวนการหาโจทย์ การ
วางแผนงาน การดาเนนิ งานวิจยั การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการทดลอง รวมทั้งการเขียนและนาเสนอต่อ
ทป่ี ระชุมในระดับสาขาวิชาท้งั เพ่ือนนกั ศกึ ษา และอาจารย์
8.3 ผลการประเมนิ รายวชิ า

ลาดับที่ รหัสวชิ า ช่อื วชิ า กลุ่ม ลงทะเบยี น เขา้ ประเมิน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลย่ี
4.50
1 AG 137 894 ปญั หาพิเศษ 1 3 2 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50
ทางพชื สวน

ภาพ OKR1-17 การจัดการเรยี นการสอนโดย
แบบกระบวนทศั นใ์ หม่ ทีเ่ นน้ การปฏบิ ัติจริง

ภาพ OKR1-18 การจดั การเรียนการสอนโดยแบบกระบวนทศั นใ์ หม่ ท่เี นน้ การศกึ ษาดว้ ยตนเอง โดยการคน้ ควา้ เนือ้ หาท่เี กย่ี วขอ้ ง และนาเสนอ
หนา้ ช้นั เรยี น โดยอาจารย์ทาหน้าท่ใี นการใหข้ อ้ เสนอแนะ และสรุปประเดน็ ปัญหาท่ีสาคญั

44

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

9. หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพชื ไร่

9.1 รายวิชาท่จี ัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ จานวน 4 รายวิชา ไดแ้ ก่
9.1.1 AG 147 001 วิธวี ิจัยทางด้านพชื ศาสตร์
9.1.2 AG 147 304 การปรับปรุงพันธุพ์ ืชเพือ่ ความตา้ นทานตอ่ สภาพความเครียดท่มี าจากส่ิงมชี ีวติ และ
ไมม่ ีชวี ิต
9.1.3 AG 147 402 การประยกุ ต์ใช้สรรี วิทยาในการผลิตพืช
9.1.4 AG 149 992 สมั มนาทางพืชไร่ 4

9.2 ตัวอยา่ งรายวิชาการจัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทศั น์ใหม่
รายวชิ า : AG 147 304 การปรับปรุงพนั ธุพ์ ชื เพื่อความต้านทานตอ่ สภาพความเครียดทม่ี าจากส่งิ มีชวี ติ และไม่มี
ชีวติ
แผนการรับนักศึกษา : จานวน 20 คน
ปีการศึกษาที่เปิดสอน/ ปีการศึกษาท่สี ภาอนุมตั ิ : 2560
อธบิ ายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ :

1. ปรับเปล่ยี นพนั ธะกิจและเปา้ หมาย เป็นอาจารยท์ าให้นักศึกษาสามารถคน้ คว้าหาความรดู้ ้วย
ตนเอง (Flipped classroom)
2. ปรับเปลีย่ นบทบาทของอาจารย์ (coaching)
3. ปรับเปลีย่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล
อธิบายรายละเอยี ดศาสตร์ ท่ใี ชร้ ่วมกัน :
1. มอบหมายให้นักศึกษาอ่านบทความวิชาการที่กาหนดให้ จานวน 3 เรื่อง โดยแบ่งกลุ่มการทางาน
นักศึกษาต้องวิเคราะห์ จาแนก เปรียบเทียบความแตกต่างของประเภทงานวิจัยจากบทความ แล้วนาผล
การดาเนินงาน มานาเสนอในช้ันเรียน และร่วมกันอภิปรายอีกคร้ังในชั้นเรียน และใช้เกณฑ์ การประเมิน
ดงั ตวั อย่างในตาราง (scoring rubrics)
2. ในการเรียนการสอนไดใ้ ห้นกั ศึกษาได้ค้นหาความหมายและความสาคญั ของการวจิ ยั จาก VDO ที่

ให้ศึกษา และนามาอภิปรายรว่ มกนั ในช้นั เรียน
3. ในการเรียนการสอน ให้นักศกึ ษาต้งั โจทย์การวจิ ัย/คาถามวจิ ัย จากวดิ โี อ ทใี่ ห้ศกึ ษา และนามา

อภปิ รายรว่ มกันในชน้ั เรยี น
4.มอบหมายให้นกั ศกึ ษา ออกแบบการวจิ ัย ในหัวขอ้ ที่สนใจในการทาวทิ ยานิพนธ์ อาจารยท์ าหน้าท่ี

ให้คาแนะนาในการฝกึ ปฏิบตั ิ จากนัน้ นาผลการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารมานาเสนอหน้าชน้ั เรียน พร้อมทง้ั
อภปิ รายรว่ มกัน
5. ในช่ัวโมงแรกอาจารย์ประจาวิชาได้ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลให้นักศึกษาทราบ ได้แก่ สามารถ
สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือ
แนวความคิดใหม่ๆ โดยบรูณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์ จะแบ่งเป็นระดับคะแนน 1-5 1
คือ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา มีความถูกต้องต่ากว่า 20%
และ 5 คือ สังเคราะหแ์ ละประเมินผลงานวจิ ัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา มีความถูกต้องมากกว่า
85%

45

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

9.3 ผลการประเมนิ รายวชิ า

ลาดับที่ รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า กลุม่ ลงทะเบียน เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 คา่ เฉล่ยี

1 AG 147 304 การปรับปรงุ พันธ์ุพชื เพอ่ื 1 7 7 4.71 4.71 4.71 4.86 5.00 4.86 4.71 4.71 4.86 4.71 4.79

ความตา้ นทานตอ่ สภาพ

ความเครียดทีม่ าจาก

สิ่งมีชีวิตและไม่มชี วี ติ

ภาพ OKR1-19 การจดั การเรยี นการสอนโดยแบบกระบวนทศั นใ์ หม่ ที่เน้นผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ตามรายวชิ า และหลกั สูตร

ภาพ OKR1-20 การจัดการเรียนการสอนโดยแบบกระบวนทศั น์ใหม่ ท่เี น้นการออกแบบการสอนโดยเน้นให้นกั ศกึ ษาทางาน
กล่มุ และนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น

46

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR1-21 การจดั การเรียนการสอนโดยแบบกระบวนทศั นใ์ หม่ ที่เน้น การเป็นผปู้ ระกอบการ และจดั การเรียนการสอนแบบ
Flipped class room

10.หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสง่ เสริมและพฒั นาการเกษตร
10.1 รายวิชาท่จี ดั การเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่ จานวน 3 รายวชิ า ไดแ้ ก่

10.1.1 AG 167 001 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางการสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตร
10.1.2 AG 167 201 การศกึ ษาชุมชนเพ่ือการพัฒนาการเกษตร
10.1.3 AG 167 894 หวั ขอ้ เร่อื งปจั จุบันทางการส่งเสรมิ และพฒั นาการเกษตร
10.2 ตวั อย่างรายวชิ าการจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทศั นใ์ หม่
รายวิชา : AG 167 001 ระเบียบวิธีการวิจัยทางการส่งเสรมิ และพฒั นาการเกษตร
แผนการรับนกั ศกึ ษา : จานวน 18 คน
ปีการศึกษาที่เปดิ สอน/ ปกี ารศึกษาท่ีสภาอนุมตั ิ : 2561
อธบิ ายรายละเอยี ดลกั ษณะดาเนนิ การ :
1. ปรบั เปลย่ี นพันธะกิจและเป้าหมาย เปน็ อาจารยท์ าใหน้ กั ศกึ ษาสามารถค้นควา้ หาความรู้ด้วยตนเอง
(Flipped classroom)
2. ปรบั เปลย่ี นบทบาทของอาจารย์ (coaching)
3. ปรบั เปลย่ี นเกณฑ์การประเมินผล
อธบิ ายรายละเอยี ดศาสตร์ ทใ่ี ชร้ ว่ มกนั :
1. มอบหมายให้นักศึกษาอ่านบทความวิชาการที่กาหนดให้ จานวน 3 เร่ือง โดยแบ่งกลุม่ การทางาน นกั ศึกษา
ตอ้ งวเิ คราะห์ จาแนก เปรียบเทียบความแตกต่างของประเภทงานวิจัยจากบทความ แล้วนาผลการดาเนนิ งาน
มานาเสนอในช้ันเรียน และรว่ มกันอภิปรายอีกคร้ังในชั้นเรยี น

47

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. ในการเรียนการสอนได้ให้นักศึกษาได้ค้นหาความหมายและความสาคัญของการวิจัย จาก VDO ท่ีให้ศึกษา
และนามาอภปิ รายรว่ มกันในช้ันเรียน
3. ในการเรียนการสอน ให้นักศึกษาตั้งโจทย์การวิจัย/คาถามวิจัย จากวิดีโอ ที่ให้ศึกษา และนามาอภิปราย
ร่วมกันในชัน้ เรยี น
4. มอบหมายให้นักศึกษา ออกแบบการวิจัย ในหัวข้อที่สนใจในการทาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ทาหน้าที่ให้
คาแนะนาในการฝึกปฏบิ ตั ิ จากนนั้ นาผลการฝกึ ปฏิบัตกิ ารมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน พรอ้ มทั้งอภปิ รายร่วมกนั
5. ในช่วั โมงแรกอาจารย์ประจาวิชาได้ช้ีแจงเกณฑ์การประเมินผลให้นักศึกษาทราบ ได้แก่ สามารถสังเคราะห์
และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆ โดยบ
รณู าการเขา้ กบั ความรู้เดมิ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ จะแบ่งเป็นระดับคะแนน 1-5 1 คือ สังเคราะห์และประเมินผล
งานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา มีความถูกต้องต่ากว่า 20% และ 5 คือ สังเคราะห์และ
ประเมนิ ผลงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการในสาขาวิชา มีความถูกต้องมากกวา่ 85%

10.3 ผลการประเมินรายวิชา

ลาดับท่ี รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า กลุ่ม ลงทะเบียน เข้าประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 คา่ เฉลี่ย

1 AG 167 001 ระเบยี บวธิ วี ิจัย 1 6 4 4.75 4.75 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.95

ทางการสง่ เสริมและ

พฒั นาการเกษตร

11. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสตั วศาสตร์

11.1 รายวิชาทีจ่ ัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ จานวน 4 รายวิชา ได้แก่
11.1.1 AG 177 702 การวางแผนและพฒั นาดา้ นการผลิตปศุสตั ว์อยา่ งยั่งยืน
11.1.2 AG 177 739 สรีรวทิ ยาสตั วข์ ้ันสงู
11.1.3 AG 177 743 เทคโนโลยีชีวภาพทางดา้ นอาหารสัตว์
11.1.4 AG 177 754 เทคโนโลยชี ีวภาพในการปรบั ปรุงพนั ธส์ุ ัตว์

11.2 ตวั อยา่ งรายวิชาการจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่
รายวิชา : AG 177 743 เทคโนโลยชี ีวภาพทางดา้ นอาหารสัตว์
แผนการรบั นักศกึ ษา : จานวน 15 คน
ปีการศกึ ษาท่ีเปิดสอน/ ปีการศกึ ษาทีส่ ภาอนมุ ตั ิ : 2561
อธิบายรายละเอียดลกั ษณะดาเนินการ : มีการ จัดการเรยี นการสอนตามกระบวนทัศนใ์ หม่ (New Paradigm
curriculum) ซึ่งผา่ นกระบวนการทวนสอบในระดบั คณะแล้ว
อธิบายรายละเอยี ดศาสตร์ ท่ใี ชร้ ว่ มกัน :
1. มอบหมายให้นกั ศึกษาอา่ นบทความวชิ าการท่ีกาหนดให้ จานวน 3 เรอ่ื ง โดยแบง่ กลมุ่ การทางาน นักศึกษา
ตอ้ งวเิ คราะห์ จาแนก เปรียบเทียบความแตกตา่ งของประเภทงานวิจยั จากบทความ แลว้ นาผลการดาเนินงาน มา
นาเสนอในชัน้ เรียน และร่วมกนั อภปิ รายอีกครั้งในช้ันเรยี น
2.ในการเรยี นการสอนได้ใหน้ กั ศกึ ษาไดค้ ้นหาความหมายและความสาคัญของการวิจัย จาก VDO ท่ใี ห้ศกึ ษา
และนามาอภปิ รายร่วมกนั ในชั้นเรียน

48

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3.ในการเรียนการสอน ให้นักศึกษาตั้งโจทย์การวิจัย/คาถามวิจัย จากวิดีโอ ท่ีให้ศึกษา และนามาอภิปราย
ร่วมกนั ในชน้ั เรียน
4.มอบหมายให้นักศึกษา ออกแบบการวิจัย ในหัวข้อท่ีสนใจในการทาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ทาหน้าที่ให้
คาแนะนาในการฝึกปฏิบัติ จากนนั้ นาผลการฝึกปฏบิ ตั กิ ารมานาเสนอหน้าชั้นเรยี น พร้อมท้ังอภปิ รายรว่ มกัน
5.ในชั่วโมงแรกอาจารย์ประจาวิชาได้ช้ีแจงเกณฑ์การประเมินผลให้นักศึกษาทราบ ได้แก่ สามารถสังเคราะห์
และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆ โดยบ
รูณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์ จะแบ่งเป็นระดับคะแนน 1-5 โดย 1 คือ สังเคราะห์และ
ประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา มีความถูกต้องต่ากว่า 20% และ 5 คือ สังเคราะห์
และประเมินผลงานวจิ ยั และผลงานทางวิชาการในสาขาวชิ า มคี วามถกู ต้องมากกว่า 85%

11.3 ผลการประเมนิ รายวชิ า

ลาดับที่ รหัสวิชา ช่อื วิชา กลมุ่ ลงทะเบียน เขา้ ประเมนิ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลี่ย

1 AG 177 743 เทคโนโลยีชีวภาพ 1 4 3 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00
ทางด้านอาหารสตั ว์

12. หลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าสตั วศาสตร์

12.1 รายวิชาท่ีจัดการเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศนใ์ หม่ จานวน 5 รายวชิ า ได้แก่
12.1.1 AG 177 702 การวางแผนและพัฒนาดา้ นการผลติ ปศุสตั วอ์ ย่างยั่งยืน
12.1.2 AG 177 739 สรีรวทิ ยาสตั ว์ขั้นสูง
12.1.3 AG 177 743 เทคโนโลยีชีวภาพทางดา้ นอาหารสตั ว์
12.1.4 AG 177 754 เทคโนโลยชี วี ภาพในการปรับปรุงพันธุส์ ตั ว์
12.1.5 AG 179 991 สัมมนาทางสัตวศาสตร์ 3

12.2 ตวั อยา่ งรายวิชาการจดั การเรยี นการสอนแบบกระบวนทัศน์ใหม่
รายวิชา : AG 177 743 เทคโนโลยีชวี ภาพทางด้านอาหารสัตว์
แผนการรับนกั ศึกษา : จานวน 15 คน
ปีการศกึ ษาท่ีเปิดสอน/ ปกี ารศึกษาที่สภาอนมุ ตั ิ : 2561
อธบิ ายรายละเอียดลักษณะดาเนินการ : มีการ จัดการเรียนการสอนตามกระบวนทัศนใ์ หม่ (New
Paradigm curriculum) ซง่ึ ผ่านกระบวนการทวนสอบในระดับคณะแลว้
อธบิ ายรายละเอยี ดศาสตร์ ท่ีใช้ร่วมกนั :
1. มอบหมายให้นักศึกษาอ่านบทความวิชาการที่กาหนดให้ จานวน 3 เรื่อง โดยแบ่งกลุ่มการทางาน
นกั ศึกษาต้องวิเคราะห์ จาแนก เปรียบเทียบความแตกต่างของประเภทงานวิจัยจากบทความ แล้วนาผลการ
ดาเนนิ งาน มานาเสนอในชนั้ เรียน และร่วมกนั อภิปรายอีกคร้ังในชัน้ เรียน
2.ในการเรยี นการสอนได้ให้นักศึกษาได้ค้นหาความหมายและความสาคัญของการวิจัย จาก VDO ที่ให้ศึกษา
และนามาอภปิ รายรว่ มกนั ในชัน้ เรียน

49

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3.ในการเรียนการสอน ให้นักศึกษาตั้งโจทย์การวิจัย/คาถามวิจัย จากวิดีโอ ที่ให้ศึกษา และนามาอภิปราย
ร่วมกันในชนั้ เรยี น
4.มอบหมายให้นักศึกษา ออกแบบการวิจัย ในหัวข้อที่สนใจในการทาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ทาหน้าที่ให้
คาแนะนาในการฝกึ ปฏบิ ัติ จากนน้ั นาผลการฝึกปฏบิ ตั กิ ารมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น พร้อมทง้ั อภปิ รายร่วมกนั
5.ในชัว่ โมงแรกอาจารยป์ ระจาวชิ าไดช้ แี้ จงเกณฑ์การประเมินผลให้นกั ศึกษาทราบ ได้แก่ สามารถสังเคราะห์
และประเมนิ ผลงานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรอื แนวความคิดใหม่ๆ โดยบ
รูณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์ จะแบ่งเป็นระดับคะแนน 1-5 1 คือ สังเคราะห์และ
ประเมินผลงานวิจยั และผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา มีความถูกต้องต่ากว่า 20% และ 5 คือ สังเคราะห์
และประเมนิ ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวชิ า มคี วามถูกตอ้ งมากกว่า 85%

12.3 ผลการประเมินรายวชิ า

ลาดบั ที่ รหสั วชิ า ชือ่ วิชา กลุ่ม ลงทะเบยี น เข้าประเมิน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 เฉลีย่

1 AG 177 743 เทคโนโลยีชีวภาพ 1 4 3 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00
ทางดา้ นอาหารสัตว์

50

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

OKR5 จานวนโครงการวิจยั ในรูปแบบแผนบูรณาการงานวิจัย
(Research program)

ความหมาย

โครงการวจิ ยั หมายถึง โครงการวจิ ยั ท่ีไดร้ บั ทุนทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

การบูรณาการงานวิจัย หมายถึง การวิจัยในศาสตร์ต่างๆที่มากกว่า 1 ศาสตร์ขึ้นไปซ่ึงการผสม
กลมกลนื ของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจัดสรร ทรัพยากร การปฏิบัติการ ผลลัพธ์ และ
การวิเคราะห์ เพ่ือสนับสนุนเป้าประสงค์ที่สาคัญของสถาบัน (organization-wide goal) การบูร
ณาการงานวิจัยท่ีมีประสิทธิผลเป็นมากกว่าความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (Alignment)
ซ่ึงการดาเนินการของแต่ละองค์ประกอบภายในระบบการจัดการ รวมท้ังผลการดาเนินการมี
ความเช่ือมโยงกันเป็นหนึ่งเดยี วอย่างสมบูรณ์

research program หมายถึง โครงการวิจัยท่ีได้รับทุนท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มี
ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร ง า น วิ จั ย อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ น แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ข้ า ม ศ า ส ต ร์
(cross-disciplinary) และความร่วมมือจากนักวิจัยหลากหลายคณะวิชา (multi-faculty
collaboration) ตัวอย่าง research program ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เช่น การใช้ประโยชน์
จากความหลากหลายไฟโตเคมคิ อล และพษิ วทิ ยาจากสตั ว์,การใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนลุ่มน้าเลย, การพัฒนานวัตกรรมและระบบติดตาม
การฟื้นฟูผู้ป่วยภาวะกลืนลาบาก ซ่ึงถือได้ว่า Research Programs ทั้งสามด้านซึ่งประกอบไป
ด้วยดา้ นวิทยาศาสตร์ ดา้ นสังคมวฒั นธรรม และดา้ นการแพทย์ เปน็ ต้น

คาอธิบาย

การสร้างนวตั กรรมเพือ่ ใช้ประโยชน์ทช่ี ัดเจน/
มุง่ แก้ปัญหาของพื้นท่ีหรอื ประเทศ

โครงการวจิ ยั ขนาดใหญท่ ่ีมีการบูรณาการ
ผลลพั ธ์จากโครงการยอ่ ยๆ ทตี่ ้องได้รบั อนมุ ตั ิ
ทุนแล้ว
เพอ่ื มงุ่ เป้าการสร้างนวัตกรรมเพ่ือใช้ประโยชน์
ท่ีชัดเจน มีการวางแผนการดาเนินงานอย่าง
ต่อเนื่องและวางเส้นทางผลลัพธ์/ ผลกระทบท่ี
ท้าทาย (challenging outcome/impact
pathways)

51

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารให้คะแนน

พิจารณาจากโครงการวิจยั ขนาดใหญท่ ีม่ ีการบูรณาการผลลพั ธจ์ ากโครงการยอ่ ยๆ
ทตี่ อ้ งไดร้ ับอนุมตั ทิ ุนแลว้ และเร่มิ ดาเนนิ โครงการบางสว่ น

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีวิสัยทัศน์คือ เป็นคณะฯ ท่ีมีความเป็นเลิศทางวิชาการ
เกษตร และเปน็ ทีพ่ ่ึงของอีสานและสงั คม ซึ่งคณะฯมสี มรรถนะในการวิจัยเกย่ี วกบั การพัฒนาพันธ์ุพืช พันธ์ุ
สตั ว์ และเก่ียวกับการผลิต การจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีไม่
เหมาะสม เชน่ ความแล้ง ความรอ้ น สภาพดินเคม็ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

คณะฯ มีระบบและแรงจูงใจให้นักวิจัยรวมกลุ่มเป็นทีมวิจัย (Research program) เพ่ือให้บริการ
ด้านวิจัยท่ีผลิตองค์ความรู้และนวัตกรรมเพ่ือตอบโจทย์ปัญหาเชิงพ้ืนที่และช่วยสังคม รวมทั้งเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันดา้ นเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรมของประเทศ กล่าวคอื

1 สนบั สนนุ และอานวยความสะดวกใหน้ ักวิจัยในคณะฯ ให้สามารถทางานร่วมกันแบบ
บูรณาการข้ามศาสตร์และสาขาวิชา สร้างผลงานวิจัย ผลิตนวัตกรรม โดยจัดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เก่ยี วกับประสบการณ์การวจิ ัยและแผนบรู ณาการวจิ ยั โดยวิทยากร
นกั วจิ ยั อาวุโส

2 เปิดโอกาสใน้นักวิจัยหลากหลายสาขาวิชาได้พบปะกับนักวิจัยในคณะฯ เช่นการ
ประชาสัมพันธ์การบริการของโครงการจัดต้ังหน่วยวิจัย พัฒนา และบริการผลิต
แอนติบอดี ของคณะเทคนคิ การแพทย์

3 การพัฒนานักวิจัยหน้าใหม่ให้มีทักษะในการเตรียมข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือเสนอ
ขอแหล่งทนุ ภายในและภายนอก

4 โครงการนักวิจัยพบภาคเอกชน เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยได้หารือความ
รว่ มมอื การวจิ ยั กับภาคเอกชน
24

52

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ในปีงบประมาณ 2564 คณะฯ

ไดต้ งั้ เปา้ หมายโครงการวิจยั ในรปู แบบแผนบูรณาการงานวิจยั ไวจ้ านวน 5
โครงการ และนกั วจิ ัยในคณะฯ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จานวน 65 โครงการ

(โครงการใหม่จานวน 35 โครงการ และโครงการตอ่ เน่ืองจานวน 30 โครงการ)

ซึ่งเป็นโครงการวิจยั ท้ังในระดับ basic research และด้าน applied research ทค่ี รอบคลุมทาง

ด้านการปรบั ปรงุ พันธ์พุ ชื ดา้ นการปรบั ปรงุ พันธส์ุ ัตว์
เชน่ ไก่ และโคนม เป็นต้น
เช่น การปรับปรุงพันธ์ุข้าว
ข้าวโพด อ้อย ถ่ัวลิสง ถั่วพู ดา้ นการผลติ สตั ว์
แก่นตะวัน มันสาปะหลัง พริก เช่น เทคโนโลยีการผลิตไก่ โค
มะเขือเทศ กัญชาและกัญชง เนอื้ และโคนม เป็นตน้
เป็นตน้

ด้านการผลติ พชื

เช่น การจดั การผลิตอ้อย การ
อารกั ขาพืชด้วยชวี วธิ ี เป็นตน้

ดา้ นการจดั การและใชป้ ระโยชน์ ดา้ นการใชป้ ระโยชนจ์ ากแมลง
จากทรพั ยากรธรรมชาติ
เช่น โปรตีนจากจ้ิงหรีด และ
เช่น การจัดการทรัพยากรน้า แมลงกาจัดขยะ เป็นตน้
เพ่ือการเกษตร และการจัดการ
ดนิ เป็นตน้

ดา้ นประมง การวจิ ัยด้านการส่งเสรมิ การเกษตร
และเศษฐศาสตร์การเกษตรในพืน้ ที่
เช่น ปลาสวยงามในธรรมชาติ เป้าเหมาย
สู่การผลิตเชิงพาณิชย์ในพื้นท่ี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สาหรับโครงการใหมใ่ นปีงบประมาณ 2564 นั้น มีจานวนเงินทุนสนบั สนนุ รวมเทา่ กบั 153,141,140 บาท
53

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR5-1 การวิจยั เพ่อื ผลิตจง้ิ หรดี เป็นแหล่งโปรตนี ทางเลือก ภาพ OKR5-2 การวิจยั ด้านการผลติ กัญชงและกญั ชาเพอื่ การแพทย์

ภาพ OKR5-3 การวิจยั ดา้ นการปรบั ปรงุ พันธ์ไุ กพ่ ้นื เมือง ภาพ OKR5-4 การวจิ ัยด้านการผลิตไก่พืน้ เมอื ง

ภาพ OKR5-5 การวิจยั ด้านการผลติ โคเนือ้ ภาพ OKR5-6 การวจิ ัยด้านการผลิตโคเน้ือเพ่อื การคา้

54

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR5-7 การวจิ ัยด้านโคนม ภาพ OKR5-8 การเสนองานวจิ ยั ดา้ นการใช้อนิ ทรียวตั ถุเพือ่ ปรับปรงุ ดนิ

ภาพ OKR5-9 การวจิ ัยดา้ นการปรับปรุงพันธม์ุ นั สาปะหลัง ภาพ OKR5-10 การวจิ ยั ด้านการปรับปรุงพนั ธข์ุ า้ ว

ภาพ OKR5-11 การวจิ ัยด้านการปรบั ปรงุ พนั ธขุ์ า้ วโพด

55

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

OKR11 จานวนชมุ ชนท่ไี ดร้ บั การบรกิ ารจาก มหาวทิ ยาลัยอย่าง
บูรณาการของสาขาวชิ าต่างๆ

ความหมาย

ชมุ ชน หมายถงึ ชมุ ชนท่ีไดร้ บั บรกิ ารวชิ าการจากมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นอย่างชัดเจน ภายใต้พื้นท่ี
เชิงยุทธศาสตร์ของส่วนงาน/ สานักบริการวิชาการ/ศูนย์/สถาบันวิจัย โดยมีการบูรณาการการ
ให้บริการจากองค์ความรู้หรือนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพ่ือมุ่งการขับเคล่ือนการ
พัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม คุณภาพชีวติ และการอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม

การบรกิ าร หมายถงึ การให้ความชว่ ยเหลอื หรือการดาเนินการเพ่ือประโยชน์ของผู้อ่ืนการบริการ
ท่ดี ผี รู้ บั บรกิ ารจะได้รับความ ประทบั ใจและเกิดความช่ืนชมองค์กร อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ท่ี
ดีแก่องค์กรเบื้องหลงั ความสาเร็จของทกุ งาน

การบูรณาการ หมายถงึ การประสานกลมกลนื กันของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจัดสรร
ทรัพยากร ขีดความสามารถและอัตรากาลังของบุคลากร การปฏิบัติการ ผลลัพธ์และการ
วิเคราะห์เพ่ือสนับสนุนเป้าประสงค์ที่สาคัญขององค์กร (สานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ,
2562)

คาอธิบาย

ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บู ร ณ า ก า ร ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท่ี มุ่ ง เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น เ ชิ ง พ้ื น ท่ี
(area/community based development) ในลักษณะทีมบริการวิชาการและทางานต่อเนื่องเพื่อให้
เกิดการขบั เคลอ่ื นการสร้างความเข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชน ท้องถ่นิ จนเกดิ ผลลัพธ์/ผลกระทบ (Impact) อย่าง
แท้จริง แสดงถึงการขยายผลการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยมากข้ึน มี
การรวมกลุ่มนกั วิจยั และการทางานร่วมกนั ในลักษณะการบูรณาการขา้ มศาสตรม์ ากขึน้

เป็นการบูรณาของสาขาวิชาต่างๆ ในคณะหรือเป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างคณะ จากการ
ใหบ้ รกิ ารจากองค์ความรู้ หรือนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพ่ือมุ่งการขับเคลื่อนการพัฒนาด้าน
เศรษฐกิจ สงั คม คณุ ภาพชวี ติ และการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม

ไมน่ ับรวมโครงการบริการวชิ าการที่ดาเนินการโดยเจ้าของโครงการเพียงผเู้ ดยี ว

การบูรณาการข้ามศาสตร์สามารถดาเนินการได้โดยการรวมศาสตร์ต่างๆ ภายในของคณะหรือการ
ดาเนินการร่วมกับหนว่ ยงานอ่ืน ภายนอกคณะเพ่ือเข้าไปสนับสนุนให้ชุมชนมีความเขม้ แข็งในดา้ นต่างๆ

พิจารณาโครงการบริการวิชาการที่มีการดาเนินงานในลักษณะของการบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อลงไป

แก้ปญั หาใหก้ บั สังคม และชุมชนและเกิดผลกระทบด้านบวก ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ช่วยเหลือตัวเองได้

อย่างยั่งยืน 56

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารให้คะแนน

พิจารณาโครงการบริการวิชาการท่ีมีการดาเนินงานในลักษณะของการบูรณาการข้าม
ศาสตร์เพ่ือลงไปแก้ปัญหาให้กับสังคมและชุมชน และเกิดผลกระทบด้านบวก ทาให้
ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ ช่วยเหลอื ตวั เองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน

คณะเกษตรศาสตร์ ดาเนนิ กิจกรรมการให้บรกิ ารวชิ าการของมหาวิทยาลยั ตอ่ ชุมชน ผ่าน 2 โครงการหลัก
ได้แก่ 1. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาทางการเกษตรย่ังยืนโดยชุมชนมีส่วนร่วมและการสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชนในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 2. โครงการ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมราย
ตาบลแบบบูรณาการ (มหาวทิ ยาลยั สูต่ าบล) คณะเกษตรศาสตร์ รายละเอยี ดดงั น้ี

1. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทางการเกษตรยั่งยืนโดยชุมชนมีส่วน
รว่ มและการสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนในพืน้ ท่ีภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ: 16 ตาบล

โครงการน้ี ดาเนินการเป็นชุดโครงการใหญ่ ประกอบดว้ ย 7 โครงการย่อย ดาเนินการใน 16 พื้นท่ี โดยได้
รวบรวมพ้นื ทบ่ี ริการวิชาการของคณะฯ ที่ไดล้ งไปทางานร่วมกบั ชุมชนในการแก้ปญั หา ภายใต้ทุนสนับสนุนจาก
แหลง่ ตา่ งๆ ได้แก่ โครงการแก้ไขปญั หาความยากจนตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น /

โครงการบรกิ ารมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น/ โครงการ ภาพ OKR11-1 พื้นทเ่ี ปา้ หมายโครงการ จานวน 16 ตาบล
บริการวิชาการคณะเกษตรศาสตร์ /สานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ /
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากร
น้าแบบบูรณาการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พร้อมทั้งได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน
เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาลตาบล
กรมปศุสัตว์ และกรมส่งเสริมการเกษตร กรม
พฒั นาทด่ี ิน นอกจากน้ัยยังมีกล่มุ นกั วจิ ยั จาก

มหาวทิ ยาลัยในต่างประเทศ ท่ีมีความเช่ียวชาญแตกต่าง Ehime University, Hokkaido University, Tottori
University, Tokyo University of Agriculture, Cantho University จากประเทศเวียดนาม

วัตถุประสงค์ของโครงการ 2) เพื่อร่วมกับชุมชน/ชาวบ้าน/ 3) เพอื่ พฒั นาทกั ษะในการเป็น
เกษตรกร นานวัตกรรมความรู้ นกั วจิ ยั ของเกษตรกรที่เข้าร่วม
1) เพื่อร่วมกับชุมชน/ชาวบ้าน/ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี จ า ก โ ค ร ง ก า ร ผ่ า น ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง
เกษตรกร นานวัตกรรมความรู้ สถาบันการศึกษามาใช้ในการ ปฏิบัติการแบบมสี ว่ นร่วม
แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี จ า ก ส ร้ า ง ค ว า ม มั่ ง ค ง ท า ง ด้ า น
สถาบันการศึกษามาใช้ในการ เศรษฐกิจใหก้ ับชุมชน
แก้ปัญหาสาคัญของชุมชนด้วย
ตวั ชุมชนเอง 57

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การวิจัยครัง้ นแ้ี บง่ ออกเปน็ 7 โครงการยอ่ ย ได้แก่

1. การยกระดับรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรโดยการประยุกต์ใช้ระบบน้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
เพื่อเพม่ิ ทางเลอื กในการผลิตพชื เพ่ือการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืนในพื้นที่ ต.เขาพระนอน อ.ยางตลาด
จ.กาฬสินธ์ุ

ภาพ OKR11-2 โครงการยอ่ ยท่ี 1

2. การพัฒนาระบบการปลูกไม้ผลและการจัดการแปลงไม้ผลเชิงนิเวศน์แบบมีส่วนร่วมเพื่อเพ่ิม
มลู ค่าและสรา้ งอตั ลักษณ์เฉพาะพนื้ ที่ ต.บ้านดง อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ต.ท่ากระเสรมิ
อ.น้าพอง จ.ขอนแกน่ และ ต.โคกสง่า อ.พล จ.ขอนแกน่

ภาพ OKR11-3 โครงการย่อยท่ี 2

3. การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตกลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงหมูหลุมโดยใช้นวัตกรรมและพัฒนานวัตกรรม
เพ่ือพัฒนาส่เู กษตรอนิ ทรีย์แบบยั่งยืนในพน้ื ท่ี ต. เฉนยี ง อ.เมอื ง จ.สุรนิ ทร์ และ ต.ทมอ อ.ปราสาท
จ.สรุ นิ ทร์

ภาพOKR11-4 โครงการยอ่ ยท่ี 3

58

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4. การนาเทคโนโลยี Smart Farms มาพัฒนาคุณภาพ และปริมาณผลผลิตทางการเกษตรในพื้นท่ี
ต.ป่าปอ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแกน่ และ ต.หนองแวง อ.พระยืน จ.ขอนแกน่

ภาพ OKR11-5 โครงการย่อยที่ 4

5. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมการผลิตและเพ่ิมมูลค่าพืชผักโดยชุมชนมีส่วนร่วมในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือ ในพพน้ื ที่ ต. โคกสงู อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ต. หนองแซง อ.บ้านแฮด
จ.ขอนแกน่ ต.โพธ์ิสัย อ.ศรสี มเด็จ จ.ร้อยเอ็ด และ ต.สระแกว้ อ.เปือยนอ้ ย จ.ขอนแกน่

ภาพ OKR11-6 โครงการย่อยที่ 5

6. การวิจัยและสร้างนวัตกรรม การเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรท้องถ่ิน การฟ้ืนฟูและการใช้ประโยชน์พ้ืน
ทดี่ ินเค็มโดยชุมชนมีสว่ นร่วม ในพ้นื ที่ ต.ทรายมลู อ.นา้ พอง จ.ขอนแกน่ ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่
จ.ขอนแกน่ และ ต.เมืองเพีย อ.บา้ นไผ่ จ.ขอนแกน่

ภาพ OKR11-7 โครงการยอ่ ยที่ 6

59

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

7. การพฒั นาอาชพี บนฐานทรพั ยากรในท้องถ่ินแก่ประชาชนผู้สูงอายุ ในพ้ืนที่ ต.กุดเค้า อ.มัญจาคีรี
จ.ขอนแกน่

ภาพ OKR11-8 โครงการย่อยท่ี 7

วธิ ีการวจิ ยั ดังนี้

1) การสารวจชุมชนและเก็บขอ้ มลู พื้นฐานการเกษตร 4) สร้างพน้ื ท่เี รียนรู้

2) วางเปา้ หมายรว่ มกัน ทาการวิเคราะห์ บรหิ ารพ้นื ที่ 5) การใหค้ วามรแู้ ละจัดกิจกรรม
และโจทยว์ จิ ัยท่ีจัดเจนตามแตล่ ะบรบิ ทของชมุ ชน 6) วเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสถติ ิ
7) สรุปผลการศึกษาวิจัยร่วมกับคนในชุมชน
3) การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมจาก
มหาวิทยาลัย

ภาพ OKR11-9 วธิ 6กี 0ารดาเนินโครงการ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดาเนินงานตลอดโครงการ ซ่ึงได้ดาเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลา 1 ปี ใน 16 ตาบล

พบว่า สามารถยกระดับรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรโดยการประยุกต์ใช้ระบบน้าจากพลังงานแสงอาทิตย์

เพื่อเพ่ิมทางเลือกในการผลิตพืชเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในพ้ืนท่ี ต.เขาพระนอน อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธ์ุ

ได้ โดยการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และผักบนแปลงอิฐบล็อก ซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบการปลูกพืชทางเลือกใหม่ที่

สร้างรายไดใ้ ห้กับเกษตรกรได้ ด้านการพัฒนาระบบการปลกู ไม้ผลและการจดั การแปลงไม้ผลเชิงนิเวศน์แบบ

มีส่วนร่วมเพ่ือเพ่ิมมูลค่าและสร้างอัตลักษณ์เฉพาะพ้ืนท่ี ต.บ้านดง อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น พบว่ามี

เกษตรกรสนใจร่วมทดสอบเทคโนโลยี จานวน 12 ราย จานวนพื้นท่ีรวม 12 ไร่ โดยเป็นการปลูกมะม่วงโชค

อนันต์ สลับแถวร่วมกับกล้วยน้าว้า โดยการขั้นตอนการดาเนินงานท่ีสาคัญ คือ การสร้างแรงจูงใจในการ

ปรบั เปลี่ยนพืชปลูกโดยใช้การศกึ ษาดูงานของเกษตรกรท่ีประสบความสาเร็จ และโครงการจัดหาพันธ์ุไม้ผล

ท้งั สองชนดิ ให้แก่เกษตร ซึ่งเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการมีความพึงใจในระดับมาก-มากที่สุด ต.ท่ากระเสริม

อ.น้าพอง จ.ขอนแก่น พบว่า มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจานวน 12 คน มีพื้นท่ีการผลิตไม้ผล โดยเฉพาะ

ฝร่ังและมะม่วง ประมาณ 600 ไร่ จากการดาเนินการเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีต้นทุนการผลิตลดลง

เนอื่ งจากเกษตรกรมกี ารลดปริมาณของป๋ยุ เคมี และปุย๋ นา้ หมกั ชีวภาพ โดยรวมเกษตรกรมีความพึงพอใจต่อ

โครงการระดับมาก และมคี วามต้องการใหม้ ีการทางานวิจัยต่อเนื่องในพ้ืนที่โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาเพล้ีย

แป้ง และเพล้ีย หอย การแปรรูป และการจัดตั้งกลุ่มเพ่ือจาหน่าย และการดาเนินโครงการในพ้ืนที่ ต.โคก

สง่า อ.พล จ.ขอนแกน่ พบวา่ มีเกษตรกรทรี่ ่วมโครงการ 9 คน มีพื้นที่ปลูกไมผ้ ลรวม 13.3 ไร่ ซ่ึงได้วิจัยเรื่อง

การพัฒนาคณุ ภาพของมะม่วงแกว้ ขมน้ิ เป็นหลกั และหลังส้ินสุดโครงการเกษตรกรมีระดับความพึงพอใจต่อ

โครงการระดับมากท่สี ดุ

การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตกลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงหมูหลุมโดยใช้นวัตกรรมและพัฒนานวัตกรรม

เพ่ือพัฒนาสู่เกษตรอินทรีย์แบบย่ังยืนในพื้นท่ี ต. เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์ และ ต.ทมอ อ.ปราสาท จ.

สุรินทร์ พบว่าการนาพันธุกรรมสุกรพันธุ์ดีส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เล้ียงหมูหลุมในรูปแบบน้าเช้ือและสุกรมี

ชีวิต ส่งผลให้เกษตรกรพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตดีข้ึน และมีการใช้จุลินทรีย์ท้องถ่ินของเกษตรกรมีการ

นามาใช้เพื่อสนับสนุนระบบการเล้ียงแบบสุกรขุน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเตรียมอาหารหมัก การเตรียมวัสดุ

รองพ้ืน การลดการใช้ยาปฏิชีวนะ การลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและของเสีย มูลหมูหลุมท่ีได้มีการนาไปใช้

ในระบบการเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะการผลิตข้าวอินทรีย์ทาให้เป็นผลผลิตอินทรีย์ การถ่ายทอดความรู้ท่ี

เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม และการจัดการเพ่ือให้ได้รับการรับรองมาตรฐานหมูหลุม ส่งผลให้

เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงและจัดการหมูหลุมได้ดีย่ิงข้ึน นาไปสู่การพัฒนาการผลิตหมูหลุม

ให้มปี ระสิทธิภาพ ยัง่ ยนื และไดร้ บั การยอมรบั ในวงกว้างในอนาคต

การนาเทคโนโลยี Smart Farms มาพัฒนาคุณภาพ และปริมาณผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่

ทาให้มีการผลิตผักอย่างมีคุณภาพ ผลผลิตเพิ่ม รายได้เพ่ิมข้ึน มีการผลิตมะม่วงที่ได้คุณภาพ ราคาดี

สามารถสง่ ออกต่างประเทศได้ และเกดิ วสิ าหกิจชุมชน ต.ป่าปอ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น และ ต.หนองแวง อ.

พระยนื จ.ขอนแก่น และด้านการวจิ ัยและสร้างนวัตกรรมการผลิตและเพ่ิมมูลค่าพืชผักโดยชุมชนมีส่วนร่วม

ในพืน้ ท่ภี าคตะวันออกเฉียงเหนือ ในพพน้ื ที่ ต. โคกสูง อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ต. หนองแซง อ.บ้านแฮด จ.

ขอนแก่น ต.โพธิ์สัย อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด และ ต.สระแก้ว อ.เปือยน้อย จ.ขอนแก่น พบว่า เกษตรกรมี

ความรู้เพิ่มข้ึนในการพัฒนาศักยภาพการผลิตพืชผัก สามารถสร้างพ้ืนท่ีการเรียนรู้ในกับเกษตรกร พัฒนา

แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร เพ่ิมมุมมอง ปรับเปลี่ยนแนวคิด และสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง

ตอ่ ไปได้ 61

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การวิจัยและสร้างนวัตกรรม การเพิ่มมูลค่าทรัพยากรท้องถ่ิน การฟ้ืนฟูและการใช้ประโยชน์พื้นที่ดิน
เค็มโดยชุมชนมีส่วนร่วม พบว่า เกิดการผลิตข้าวและผักอินทรีย์ท่ีมีปริมาณธาตุอาหารสูงจากน้าแร่ในชุมชน
และมกี ารกาหนดเส้นทางและแหลง่ ท่องเที่ยวในชมุ ชน ต.ทรายมูล อ.น้าพอง จ.ขอนแก่น มีการฟ้ืนฟูและการใช้
ประโยชน์พ้ืนท่ีดินเค็มใน ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น โดยการขุดบ่อน้าบาดาลเพื่อแก้ปัญหาเป็นจานวน
6 จุด ติดต้ังระบบการจัดการดินและน้าในชุมชน โดยโซลาร์เซล เพ่ือแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในการทา
การเกษตร และปลูกพืชทนเค็มท่ีมีมูลค่าสูง การนาเทคโนโลยีไส้เดือนดินไปใช้ผลิตปุ๋ยและน้าหมักมูลไส้เดือน
จากมูลกระบือในชุมชนต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น สามารถให้ปุ๋ยท่ีมีปริมาณาตุอาหารสูง นาไประยุกต์
ใช้ในกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักปลอดภัยและผักอินทรีย์ได้ดี และมีการกาหนดเส้นทางและแหล่งท่องเท่ียวใน
ชุมชน นอกจากนี้คนในชุมชนท้ัง 3 ตาบล ยังเกิดการรวมกลุ่มปลูกพืชอินทรีย์ และได้รับมาตราฐาน GAP อีก
ด้วย ด้านการพัฒนาอาชีพบนฐานทรัพยากรในท้องถ่ินแก่ประชาชนผู้สูงอายุ ในพ้ืนท่ี ต.กุดเค้า อ.มัญจาคีรี จ.
ขอนแก่น โดยมีการสร้างอาชีพให้ผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มอาชีพช่ือ “กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์บ้านบัว” ที่มี
คณะกรรมการ 11 คน และนวัตกร 19 คน ที่มอบทั้งรายได้และความภาคภูมิใจในตนเอง อันเนื่องจาก
ความสามารถในการพงึ่ พาตนเอง

ดังน้ันการดาเนินโครงการการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างย่ังยืนโดย
ชุมชนมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งนี้จึงเป็นการนา
นวัตกรรมความรู้และเทคโนโลยีจากสถาบันการศึกษามาใช้ในการแก้ปัญหาสาคัญของชุมชน สร้างความมั่งคง
ทางดา้ นเศรษฐกิจใหก้ บั ชมุ ชน และสามารถพฒั นาทักษะในการเปน็ นักวจิ ยั ของเกษตรกรทเี่ ข้าร่วมโครงการผ่าน
การวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมีสว่ นร่วมได้

ภาพ OKR11-10 สรปุ ผลโครงการ

62

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. โครงการ ยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบรู ณาการ
(มหาวทิ ยาลยั สตู่ าบล) : 17 ตาบล

ตามท่ีเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทาให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ ประชาชนว่างงานและบัณฑิตจบใหม่ไม่สามารถหางานทาได้ รวมถึงนักศึกษาท่ีได้รับผลกระทบอย่าง
รุนแรง ประชาชนที่ว่างงานย้ายกลับถ่ินฐานจานวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมา นโยบายการฟื้นฟู
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จงึ ม่งุ เน้นที่การฟนื้ ฟเู ศรษฐกิจในระดับชุมชน ทั้งการสร้างงาน การพัฒนาอาชีพ
ในชุมชน เพื่อใหช้ ุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ท่ีกากับดูแล มหาวิทยาลัยของรัฐกว่า 80 แห่ง
กระจายอยู่ตามภูมภิ าคตา่ งๆของประเทศ สามารถทีจ่ ะทาหน้าท่เี ป็น System Integrator ในระดับตาบลได้ โดย
ที่มหาวิทยาลัยในพ้ืนท่ีสามารถใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีมีอยู่ ทางานประสานและร่วมงานกับ
จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานอ่ืนๆ เพ่ือให้การทางานบูรณาการยกระดับเศรษฐกิจและ
สงั คมรายตาบลท่ีสามารถนาไปสกู่ ารลดความยากจนอย่างมีเปา้ หมายชดั เจน (Targeted Poverty Alleviation)

วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2) เพือ่ ให้เกดิ การจ้างงานประชาชนทั่วไป บณั ฑิตจบใหม่
และนักศึกษา ใหม้ งี านทาและฟน้ื ฟเู ศรษฐกิจชุมชน
1) เพ่ือยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบ
บูรณาการ โดยมีมหาวิทยาลัยในพน้ื ท่เี ปน็ System
Integrator

3) เพื่อให้เกิดการพัฒนาตามปัญหาและความ 4) เพื่อให้เกิดการจัดทาข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน
ต้องการของชุมชน ได้แก่ การพัฒนาสัมมาชีพและ (Community Big Data) เพ่ือเป็นข้อมูลในการ
สร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพ วิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาความ
อ่ืนๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy ยากจนแบบมีเป้าหมายชัดเจน
(การยกระดับการท่องเท่ียว) การนาองค์ความรู้ไป
ช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้าน
ต่างๆ) และการส่งเสริมด้านส่ิงแวดล้อม/Circular
Economy (การเพ่ิมรายได้หมนุ เวียนใหแ้ ก่ชมุ ชน)

63

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วัตถุประสงคข์ องโครงการ

ลาดับท่ี จงั หวัด อาเภอ ตาบล
ชนบท
1 ขอนแกน่ ชนบท กุดเพยี ขอม
ชนบท บา้ นแทน่
2 ขอนแก่น ชนบท ปอแดง
ชนบท วังแสง
3 ขอนแกน่ ชมุ แพ ศรบี ุญเรือง
ชมุ แพ โนนหนั
4 ขอนแกน่ ชมุ แพ ขวั เรียง
บา้ นไผ่ หนองไผ่
5 ขอนแกน่ บ้านฝาง เมอื งเพีย
บ้านฝาง โคกงาม
6 ขอนแกน่ บา้ นฝาง โนนฆอ้ ง
บ้านฝาง บ้านฝาง
7 ขอนแก่น บ้านฝาง ปา่ หวายน่ัง
ศรสี มเด็จ หนองบวั
8 ขอนแก่น ภสู งิ ห์ โพธสิ์ ยั
พล หว้ ยติ๊กชู
9 ขอนแกน่ โคกสง่า

10 ขอนแก่น

11 ขอนแก่น

12 ขอนแกน่

13 ขอนแก่น

14 ขอนแก่น

15 ร้อยเอ็ด

16 ศรีสะเกษ

17 ขอนแกน่

ภาพ OKR11-11 การประชุมแนะนาโครงการฯ ตอ่ นายอาเภอและผ้นู าชมุ ชนในพน้ื ทด่ี าเนนิ การของคณะฯ

64

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กจิ กรรมดาเนนิ การ
แบ่งเป็น 4 ด้านไดแ้ ก่

1. การพฒั นาสัมมาชพี
2. การนาความรไู้ ปชว่ ยบรกิ ารชุมชน
3. การสรา้ งและพฒั นา Creative Economy
4. การสง่ เสริมดา้ นสิง่ แวดล้อม และ Circular Economy

โดยกิจกรรมที่คณะเกษตรศาสตร์ดาเนินการมีความแตกต่างและหลากหลายในแต่ละตาบล ขึ้นอยู่กับบริบท
ความตอ้ งการและปญั หาของแต่ละตาบล โดยสามารถสรปุ ประเด็น ดงั นี้

ภาพ OKR11-12 สรปุ ภาพรวมประเดน็ กจิ กรรมคณะเกษตรศาสตร์ดาเนนิ ใน 17 ตาบล

65

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวอย่างกจิ กรรม จากทง้ั 17 ตาบล

1. ตาบลกดุ เพยี ขอม อาเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน่

2. ตาบลบา้ นแทน่ อาเภอชนบท จังหวัดขอนแกน่

66

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3. ตาบลปอแดง อาเภอชนบท จงั หวดั ขอนแก่น

4. ตาบลกดุ วงั แสง อาเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน่

67

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

5. ตาบลศรีบุญเรอื ง อาเภอชนบท จังหวดั ขอนแกน่

6. ตาบลโนนหนั อาเภอชุมแพง จังหวดั ขอนแกน่

68

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

7. ตาบลขัวเรียง อาเภอชมุ แพ จงั หวดั ขอนแกน่

8. ตาบลหนองไผ่ อาเภอชุมแพ จงั หวัดขอนแกน่

69

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

9. ตาบลเมอื งเพีย อาเภอบา้ นไผ่ จังหวดั ขอนแก่น

10. ตาบลโคกงาม อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแกน่

70

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

11. ตาบลบา้ นฝาง อาเภอบา้ นฝาง จังหวดั ขอนแกน่

12. ตาบลโนนฆ้อง อาเภอบ้านฝาง จงั หวดั ขอนแกน่

71

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

13. ตาบลป่าหวายนัง่ อาเภอบ้านฝาง จงั หวดั ขอนแก่น

14. ตาบลหนองบวั อาเภอบา้ นฝาง จังหวดั ขอนแกน่

72

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

15. ตาบลโคกสง่า อาเภอพล จังหวดั ขอนแกน่

16. ตาบลโพธิ์สยั อาเภอศรีสมเด็จ จงั หวดั ขอนแก่น

73

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

17. ตาบลหว้ ยต๊ึกชู อาเภอภูสิงห์ จังหวดั ศรีสะเกษ

74

รายชื่อ การพัฒนาสมั มาชพี นาองค์ความรู้ไปช่วยบรกิ ารชุมชน
ตาบล

เพาะเห็ด
ประมง
การเพาะเล้ียง
จ้ิงห ีรด
โค-กระบือ
แปร ูรปผลผลิต
ทางการเกษตร
สมุนไพร
พ้ืนบ้าน
อาหารปลอดภัย
สุขภาพ/covid-

19
ตลาดออนไล ์น

กุดเพียขอม    

บ้านแท่น   

ปอแดง   

วังแสง     
 
ศรบี ุญเรือง  
 
โนนหนั  
 
ขัวเรยี ง 
 
หนองไผ่ 
 
75 เมืองเพยี 56 
45 17 12
โคกงาม

โนนฆ้อง  

บา้ นฝาง 

ป่าหวายนง่ั 

หนองบัว  

โคกสงา่ 

โพธสิ์ ยั     

หว้ ยต๊กึ ชู 

รวม 4 5 2 10 7

11

34 20 1 1 14 5 1 4 7 2 5 2                     การพฒั นา การสรา้ งและพฒั นา Creative Economy
ผู้ประกอบการ
   การสรา้ งเสริมดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม/
Smart farm circular economy
  
พฒั นา
 ผลติ ภัณฑ์
ทท่ออ้งงเทถย่ีนิ ว

วัฒนธรรม
ทอ้ งถิ่น

การจดั การ
ปัญหาแหลง่ นา้

ป๋ยุ หมัก

ขยะ

ปลกู ต้นไม้

วัสดุใชส้ อยใน
ครัวเรอื น

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

OKR12 จานวนผลงานทเ่ี กดิ จากการให้บรกิ ารวิชาการของ
มหาวิทยาลยั ในรปู แบบการสรา้ งคณุ ค่ารว่ ม (CSV)

ความหมาย

การสร้างคุณคา่ รว่ ม (Creating Shared Value: CSV) หมายถึง เป็นแนวทางการดาเนินธุรกิจ
ท่ีให้ความสาคัญกับสร้างคุณค่า ทางเศรษฐกิจ (Economic Value) ให้กับกิจการและสังคมไป
พรอ้ มกนั เพือ่ ความสาเรจ็ ในระยะยาว บทบาทของธรุ กิจตอ่ สงั คมใน บริบทของ CSV น้ันต้ังอยู่บน
ฐานคิดแบบระยะยาว (Long-term Thinking) เน้นการสร้างประโยชน์แก่ผู้ถือหุ้นและสังคมให้
เกิดเป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งเป็นการร่วมกันคิดร่วมกันแก่ปัญหาร่วมกันระหว่างชุมชน คณะ/
หนว่ ยงาน

การได้รับประโยชนร์ ว่ มกนั หมายถงึ มหาวิทยาลัยได้องค์ความรู้และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย
ท่สี ามารถต่อยอดเชงิ พาณิชย์ ชุมชนชุมขนทีไ่ ด้รับบรกิ ารวชิ าการในรูปการผลักดันการสร้างอาชีพ
การส่งเสริมธุรกิจ/วิสาหกิจ หรือเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและ สังคมภายในชุมชน ภาครัฐและ
เอกชนภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนและยังเป็น
การเพิ่มมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ให้กบั ธุรกิจทงั้ ของตนเองและของชมุ ชน

ชมุ ขนทีไ่ ด้รับบรกิ ารวิชาการในรปู การผลกั ดันการสร้างอาชพี การส่งเสริมธุรกิจ/วิสาหกิจ หรือ
เสริมสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม ภายในชุมชน โดยความร่วมมือจากภาคเอกชน
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น และชุมชน โดยมีการร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการและการ เลือกใช้องค์
ความรู้หรือนวัตกรรมท่ีตอบสนองต่อความต้องการและเป็นการพัฒนาชุมชนและพ้ืนที่โดยสร้าง
คุณค่ารว่ มและการ ได้รบั ประโยชน์อย่างเป็นธรรมทั้งสามฝ่าย

คาอธิบาย

ตัวอยา่ ง CSV เชน่ กจิ กรรมบริการชุมชนภายใต้โครงการ KKU CSV มหาวิทยาลัยขอนแก่นร่วมสร้าง
คุณค่าสู่สังคม เพื่อนาบริการต่างๆไปให้กับชุมชน อาทิ บริการตรวจสุขภาพ โดยงานเวชกรรมสังคม
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ด้วยการ บริการตรวจวัดความดัน บริการตรวจวัดไขมันใต้
ผิวหนัง ประเมินความเสย่ี งในการเกิดโรค บริการตรวจน้าตาลในเลือด ให้ความรู้และป้องกันโรคหลอดเลือด
ในสมอง และชะลอโรคไตเรอ้ื รัง ใหค้ าปรกึ ษาสขุ ภาพเฉพาะราย, บรกิ ารตรวจสขุ ภาพสตั ว์เล้ียง

โดยโรงพยาบาลสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ด้วยการฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัข
บ้า กาจัด หมัด เห็บ ให้สุนัข และแมว นอกจากน้ียังมีการจาหน่ายสินค้าชุมชนผักปลอดสารพิษ โดย
เครือขา่ ยชมุ ชน สถาบนั วจิ ัยยุทธศาสตร์และประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, การ
แสดงดนตรีเครือข่ายจิตอาสา นักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ และกลุ่มนักศึกษาดาวเดือน
มหาวิทยาลัยขอนแกน่

76

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารให้คะแนน

พจิ ารณาจากผลงานทเี่ กิดจากการใหบ้ ริการวิชาการของมหาวิทยาลัยในรูปแบบการสร้าง
คุณค่าร่วม (CSV) รวมทั้งเกิดประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยและผู้ดาเนินโครงการบริการ
วชิ าการในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ ผลงานวิจยั ผลงานตพี มิ พ์ ผลงาน บริการวิชาการที่นาไปใช้
ย่นื ขอตาแหนง่ ทางวิชาการ

คณะเกษตรศาสตร์ ดาเนินกิจกรรมการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยในรูปแบบ CSV ผ่าน 2
โครงการหลกั ได้แก่ 1. การวิจัยและพัฒนาด้านข้าวเพื่อการใช้ประโยชน์จากแหล่งพันธุกรรม การผลิตพันธ์ุข้าว
ปลูกอีสาน การแปรรูป เพ่ือเพิ่มมูลค่า การพัฒนาเขตกรรมและวิถีชุมชน และ 2. โครงการพัฒนาพ้ืนที่แบบ
บรู ณาการทางด้านการเกษตรอาเภออบุ ลรัตน์ จังหวดั ขอนแกน่ รายละเอียดดังนี้

1. การวจิ ยั และพฒั นาด้านข้าวเพอ่ื การใช้ประโยชน์จากแหลง่ พันธกุ รรม การผลิตพันธ์ุ
ข้าวปลูก อสี าน การแปรรปู เพอื่ เพม่ิ มลู คา่ การพัฒนาเขตกรรมและวถิ ชี มุ ชน : 3
ตาบล

โครงการน้ี ดาเนินการเปน็ ชดุ โครงการใหญ่ ประกอบด้วย 17 โครงการย่อย ร่วมกับหลากหลายคณะใน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยี และคณะเภสัชศาสตร์ สนับสนุนโดยกองทุน
ส่งเสรมิ ววน.และหนว่ ย บพท. โดยคณะเกษตรศาสตร์รับผดิ ชอบดาเนินการใน 3 พน้ื ท่ี ผา่ น 3 โครงการยอ่ ย ไดแ้ ก่

1) การพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน การผลติ และใช้ประโยชน์จากขา้ วพนั ธเุ์ มลด็ ฝา้ ย

ข้าวไร่พ้ืนเมืองพันธุ์เมล็ดฝ้ายเป็นข้าวพ้ืนเมืองที่โครงการอนุรักษ์ ภาพ OKR12-1 การประชมุ ร่วมกบั เกษตรกร
และใช้ประโยชนจ์ ากเชอ้ื พนั ธุกรรมข้าวพ้ืนเมือง รวบรวมจากจังหวัดพัทลุง เพ่อื ชแี้ จงโครงการ
และจากการทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตพบว่า มีความสามารถปรับตัว
ได้ดีกับสภาพการปลูกบนท่ีดอนของ จังหวัดขอนแก่น โดยข้าวพันธ์ุเมล็ด ภาพ OKR12-2 ตวั อยา่ งแปลงปลูกข้าวของ
ฝ้ายเป็นข้าวเจ้าเมล็ดสีดา มีสารแอนโธไซยานิน เป็นองค์ประกอบในเมล็ด เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ
สูง ซ่ึงสารนี้มีประโยชน์ในแง่สรรพคุณทางยามากมาย จึงได้ส่งเสริมการ
เพาะปลกู ข้าวพันธ์ุเมล็ดฝ้ายในพ้ืนทช่ี มุ ชนนวตั กรรม 2 ชุมชน คือ 1.ชุมชน
หนองแซง ต.หนองแซง อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น และ 2.ชุมชนหนองห้าง
ต.หนองห้าง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธ์ุ โดยได้ติดต่อ ผู้นากลุ่ม หรือ
นวัตกรชุมชน เพ่ือประชาสัมพันธ์โครงการ ซ่ึงมีจานวนเกษตรกรท่ีเข้าร่วม
โครงการ ท้ังหมด 52 ราย จากชุมชนหนองแซง 25 ราย และชุมชนหนอง
ห้าง 27 ราย จากน้ันได้จัดการประชุมเกษตรกร เพื่อชี้แจงความสาคัญของ
โครงการ วางแผนการปลกู และร่วมอภปิ รายความเปน็ ไปไดข้ องการนาข้าว
ไรพ่ นั ธเ์ุ มลด็ ฝ้ายไปปลูกในระบบการปลกู ขา้ วของแตล่ ะท้องที่

77

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

จากนน้ั ไดใ้ ห้เกษตรกรปลกู ข้าวเมล็ดฝ้าย โดยได้ให้เกษตรกรเลือก วิธีการปลูก ภาพ OKR12-3 การเกบ็ ข้าวพนั ธป์ุ นของเกษตร
และช่วงเวลาปลูก ตามความเหมาะสมของพ้ืนที่และเกษตรกรแต่ละราย
หลังจากปลูกข้าว ได้ลงพ้ืนท่ีติดตามการเพาะปลูก ประเมิน และให้คาแนะนา ภาพ OKR12-4 ให้คาแนะนาการควบคุณ
แก่เกษตรกรอย่างใกล้ชิด พบว่า การปลูกและการเจริญเติบโตในชุมชนหนอง คณุ ภาพการผลิตข้าวโดยเฉพาะการคัดพนั ธปุ์ น
แซง ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ดี เหมาะสมกับดินในสภาพไร่ และระบบการปลูก
ด้วยวิธีการหยอดเมล็ด ในส่วนของชุมชนหนองห้าง เน่ืองจากสภาพพ้ืนที่ ภาพ OKR12-5 สขี องเมล็ดขา้ วเปลอื ก พนั ธุ์
ส่วนมาก เป็นพื้นที่นาลุ่ม เกษตรกรเลือกใช้วิธีการปักดาในการปลูก แต่ เมลด็ ฝ้ายทแ่ี ตกตา่ งกัน เม่ือปลูกในฤดูนาปี
อย่างไรก็ตามแม้ว่าข้าวพันธ์ุเมล็ดฝ้ายเป็นข้าวไร่ แต่จากการติดการเพาะปลูก และปลกู ในฤดนู าปรัง
พบว่า สามารถเจริญเติบโตได้ดี และปรับตัวได้ในสภาพนา ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญ
ในการเพิ่มพ้ืนท่ีการปลูกข้าวพันธ์ุเมล็ดฝ้ายได้ แต่อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากฝน
ท้ิงช่วงทาให้เกิดสภาวะแล้งในระยะแรกของการเจริญเติบโต และระยะดอก
บาน จึงทาให้ได้ผลผลิตจากชุมชนหนองแซง เพียง 1 ตัน และ ชุมชนหนอง
ห้าง 1.9 ตนั และสามารถคัดเลือกเกษตรกรท่ีมีความสามารถในการผลิตเมล็ด
พันธุ์ ได้จานวน 7 ราย โดยผลผลิตท้ังหมดได้รับซื้อจากเกษตรกรเพื่อใช้
สาหรับเป็นวัตถุดบิ ให้กลมุ่ งานวจิ ยั อื่นๆตามวตั ถปุ ระสงค์ และดาเนินการนาไป
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑอ์ าหารเพอื่ สุขภาพ เพ่ือทาให้ห่วงโซ่อุปทานของข้าวพันธุ์
เมล็ดฝ้ายสมบูรณ์ ส่วนงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์
น้านมข้าว โดยใช้ข้าวเมล็ดฝ้ายเป็นวัตถุดิบหลัก แล้วทดสอบกับผู้บริโภคใน
ด้านรสชาติความหวาน และคุณสมบัติทางกายภาพ ได้ปรับสูตรผสมตามค่า
คะแนนความชอบ จนกระทั่งได้น้านมข้าวท่ีมีคุณค่าต่อสุขภาพ เน่ืองจากมี ค่า
ต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี ABTS และวิธี DPPH เท่ากับ 385.69 และ 292.56
mg trolox /100 ml ตามลาดับ มีค่า Total Phenolic 204.72 mg gallic
/100ml และ Anthocyanin 2.51 mg/100ml ซ่ึงนับเป็นเครื่องดื่มท่ีดีต่อ
สขุ ภาพ

78

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2) โครงการผกู ปิ่นโตขา้ ว: การพฒั นารูปแบบการจาหน่ายขา้ วเพือ่ สขุ ภาพของเกษตรกรรายย่อย

โครงการผูกป่ินโตข้าว: การพัฒนารูปแบบการจาหน่ายข้าวเพื่อสุขภาพของเกษตรกรรายย่อย มี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน
และการหาช่องทางการตลาดใหม่สาหรับการจาหน่ายข้าวอินทรีย์ พ้ืนที่ดาเนินโครงการวิจัย ได้แก่ หมู่บ้าน
หนองแวงกลาง ตาบลโคกสง่า อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจานวน 33 คน

1. สะท้อนความคิดร่วมกัน
2. วางแผนร่วมกัน

3. ปฏิบตั ริ ว่ มกนั
ประเมนิ ผล
ดาเนินโครงการโดยใช้กระบวนการวจิ ยั เชงิ

ปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นรว่ ม 4.
5 ขนั้ ตอน

5. แลกเปลย่ี นเรียนรู้

โดยผลการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนจากการดาเนินโครงการ

1. เกิดกล่มุ เกษตรกรผู้ปลูกขา้ วอินทรีย์ “หอมนุ่มตุ้มโฮม” ทร่ี วมตัวกันข้นึ เพอื่ ต้องการพฒั นาศกั ยภาพ
การผลติ ข้าวอินทรยี แ์ ละขายรว่ มกนั ในชอ่ งทางการตลาดใหม่ ซง่ึ มีสมาชกิ ท้งั หมด 25 คน

2. กลุ่มเกษตรกรมรี ายไดจ้ ากการขายขา้ วจากช่องทางการตลาดใหม่ เท่ากบั 19,715 บาท โดยรายได้
เฉลย่ี ท่เี กษตรกรได้รบั เทา่ กบั 844.24 บาท

3. การปรับเปลี่ยนแนวคดิ ของเกษตรกร โดยเกษตรกรเห็นมลู คา่ ของข้าวอนิ ทรีย์มากข้ึน และ ต้องการที่จะ
อยู่ในระบบการปลูกข้าวอินทรีย์ต่อไป แต่ในส่วนของการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการผลิต ยังไม่สามารถ
ประเมินได้ เน่ืองจากต้องรอรอบการผลิตใหม่ อย่างไรก็ตาม เกษตรกรได้มีการวางแผน กาหนดสัดส่วน
การผลิตข้าวในพื้นทีค่ รัวเรือนของตนเองสาหรบั การผลิตข้าวอินทรยี ์

79

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-6 บรรยากาศการประชมุ วางแผนการดาเนนิ งานโครงการ

ภาพ OKR12-7 โปสเตอรป์ ระชาสมั พันธ์ ผลติ ภัณฑข์ า้ ว กลุม่ หอมนมุ่ ตมุ้ โฮมโฮม” และ QR code

80

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-8 Facebook Page ท่ีใชใ้ นการประชาสมั พันธก์ ลุ่มเกษตรกร “หอมนมุ่ ตุ้มโฮม” และ QR code

3) การพฒั นาเทคโนโลยีการผลติ และชอ่ งทางการตลาดนา้ เชอื่ มจากข้าวอนิ ทรียเ์ ชงิ พานิชย์ในระดับชุมชน

โครงการวิจัยนี้มีเป้าหมายเพ่ือยกระดับรายได้ของ ภาพ OKR12-9 เข้าพบนายกองค์การบริหารสว่ นตาบล
ชุมชนเกษตรกรรมท่ีมีการผลิตข้าวเป็นหลัก มีแผนดาเนินการ โคกสงา่ และทีมผูบ้ ริหาร เพ่ือแนะนาและชี้แจง
วจิ ัย 3 ปี ปีนเี้ ป็นปีท่ี 1 ดาเนนิ งานวิจัยแบบสหสาขาวิชา ทางาน
วิจัยโดยมีนักวิจัยจากศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่การผลิต
และการตลาด มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
นา้ เชอ่ื มจากขา้ วและผลติ ภณั ฑจ์ ากกากเหลือทงิ้ การผลติ น้าเชื่อม
ข้าว และพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการของกลุ่มเป้าหมาย
ดาเนินการวิจัยร่วมกับกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวลืมแล้งเมืองพล
ตาบลโคกสงา่ อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น

งานวิจยั มงุ่ เน้นการปรบั ใชก้ ารทางานวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม
(Participatory Action Research) ผ่านขนั้ ตอนดังน้ี

1. การประชมุ กลุ่มเพอ่ื วิเคราะห์ SWOT ความ 2. การประชุมกลุ่มเพื่อศกึ ษากระบวนการผลติ
ต้องการ และเปา้ หมายเพือ่ กาหนดกิจกรรม นา้ เชอื่ มเดมิ ของกลุ่ม เพ่อื ระบุปญั หาและโอกาส
รว่ มกับเกษตรกร ในการพัฒนา

3. การวจิ ยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ นาปัญหา และ 4. การอบรมเพื่อพัฒนาทกั ษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการ
ศกั ยภาพของกล่มุ มาพัฒนาต่อยอด

5. การสารวจแบบสอบถามพฤติกรรมผบู้ รโิ ภค 6. การถา่ ยทอดเทคโนโลยขี น้ั ตอนการผลิตน้าเชอื่ ม
นา้ เช่ือมและ pain point ของผู้บริโภคในอาเภอ
เมอื ง และอาเภอพล

7. การสะท้อนผลร่วมกบั เกษตรกร 81

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-10 ตวั อย่างการทดลองการหมกั ขา้ ว

ผลการวิจัยพบว่า การผลิตน้าเช่ือมข้าวเป็นการต่อยอดภูมิปัญญาจากการผลิตข้าวหมากของกลุ่ม โดย
เป็นกิจกรรมท่ีอยู่ระหว่างพัฒนา กลุ่มมีจุดแข็งคือ ผลิตข้าวเหนียวอินทรีย์หลายชนิด มีสมาชิกกลุ่มที่มีทักษะ
หลากหลาย และมเี ครอื ข่ายทางการตลาด จดุ ออ่ นของกล่มุ คือ ขาดเทคโนโลยีการผลิตน้าเช่ือมที่มีประสิทธิภาพ
ขาดทักษะการบริหารจัดการทางการตลาด การผลิตน้าเชื่อมข้าวเดิม มีปัญหาการควบคุมอุณหภูมิการบ่มและ
เคี่ยว และการเลอื กชนดิ ลกู แปง้ ทย่ี ังไม่เหมาะต่อการเปล่ียนแป้งเป็นน้าตาล ทาให้มีกล่ินแอลกอฮอล์ในน้าเชื่อม
จากการนาตัวอยา่ งมาวิเคราะหใ์ นห้องปฏบิ ตั ิการ พบวา่ กากหลงั การหมักสามารถสรา้ งกรดได้ ซึ่งสามารถนามา
เป็นผลิตเป็นวัตถุกันเสียโดยใช้แบคทีเรียได้ นักวิจัยได้นาข้าวและเชื้อแป้งของกลุ่มเกษตรกร นามาวิจัยใน
หอ้ งปฏิบตั กิ าร แลว้ พบว่า สามารถพัฒนากระบวนการผลิตน้าเชือ่ มขา้ ว ซ่ึงเฉพาะเจาะจงกับลูกแป้ง (จุลินทรีย์)
และพันธุ์ข้าวกข6 (ทั้งข้าวขาวและข้าวกล้อง) ข้าวเหนียวแดง และข้าวเหนียวดา ท้ังข้าวเต็มเมล็ดและข้าวหัก
สามารถลดระยะเวลาการหมักในการผลิตแบบเดมิ ของกลุ่มเกษตรกรจาก 7-10 วัน เป็นระยะเวลาสั้นท่ีสุดเพียง
1-2 วนั หรอื นานสุด 4-5 วัน ขึ้นอยู่กับชนิดข้าวและลูกแป้งที่ใช้ และพบว่าควรมีระยะเวลาในการเค่ียวน้าหมัก
ข้าวเหนยี วเพ่อื ผลิตน้าเชอ่ื มขา้ วตง้ั แต่ 60 นาทขี น้ึ ไป นอกจากนี้ นกั วิจัยยังสามารถพัฒนากระบวนการสกัดสาร
กันเสีย (Food preservative) จากธรรมชาติท่ีช่วยลดการเกิดกลิ่นหืนในอาหาร มีฤทธ์ิต้านออกซิเดชันซึ่งเป็น
ประโยชนใ์ นเชงิ สุขภาพจากกากข้าวเหนยี วดาทีเ่ หลือจากการผลิตน้าเชอื่ มขา้ ว

การสะทอ้ นผลระหวา่ งดาเนินกิจกรรม และหลังส้ินสุดการดาเนินกิจกรรมระหว่างนักวิจัยและเกษตรกร
ที่เข้าร่วมโครงการพบว่า กิจกรรมท่ีกาหนดข้ึน สามารถกระตุ้นให้เกษตรกรเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ
อุปสรรคในการผลิตน้าเช่ือมข้าว พัฒนาทักษะในการหาความต้องการของผู้บริโภค ทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะหแ์ ละตดั สินใจในบริบทของเกษตรกรได้ และได้ก่อให้เกิดการริเริ่ม (innovate) การผลิตสินค้าใหม่ที่ต่อ
ยอดจากการผลติ น้าเชือ่ มขา้ วผสมผสานกับวัตถุดิบผลไม้ในทอ้ งถิ่น เกษตรกรยังมที กั ษะในการทดลองปฏิบัติ หา
ความรู้ใหม่ จากแหล่งความรู้ที่เป็นส่ือออนไลน์ต่างๆ การประสานเครือข่ายท่ีมีอยู่เพื่อค้นหาตลาดสาหรับ
ผลิตภัณฑ์ และมีเป้าหมายในการดาเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาเป็นสินค้า OTOP ซึ่งจาเป็นต้องมีการส่งเสริมและ
พัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื งในการดาเนนิ การวิจยั ในปีต่อไป

สาหรับนักวิจัย ได้เรียนรู้ว่า การดาเนินโครงการวิจัยลักษณะนี้ จาเป็นที่ต้องทางานข้ามศาสตร์ โดย
ประสานนักวิจัยทร่ี ้จู ริงในเรื่องนัน้ ๆ และมีความม่งุ มน่ั ทุม่ เทในการทางานวิจยั รว่ มกบั ชุมชน นอกจากน้ี ยังพบว่า
กระบวนการงานพฒั นาชมุ ชนจากเศรษฐกจิ ฐานรากร่วมกับเกษตรกรรายย่อยท่ีนาเทคโนโลยีข้นั สูงมาใช้ต้องต้อง
ลดทอนความซบั ซอ้ นของเทคโนโลยีใหง้ ่ายต่อการนาไปใช้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีต้องออกแบบในรูปแบบ การ
อบรมเชงิ ปฏิบัติการ และมกี ารตดิ ตามผลและสะท้อนกลบั อย่างใกล้ชดิ

82

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-11 ขนั้ ตอนการทาน้าเชอ่ื มขา้ วท่ีไดจ้ ากนกั วจิ ยั เพือ่ แนะนาใหเ้ กษตรกร

83

รายงานผลการดาเนนิ งานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. โครงการเพม่ิ ผลผลิตข้าวและเมลด็ พันธุข์ ้าวคุณภาพ ภายใต้ โครงการพฒั นา
พืน้ ทแ่ี บบบรู ณาการทางดา้ นการเกษตรอาเภออุบลรตั น์ จังหวัดขอนแกน่ : 1 ตาบล

การปลูกขา้ วของเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาพ OKR12-12 การอบรมเตรียมความพรอ้ มเพอื่ ขอรบั รอง
ในปัจจบุ นั เปน็ การทานาหว่านข้าวแห้ง เพ่ือเป็นประหยัด มาตรฐานการปฏบิ ัติทด่ี ที างการเกษตรสาหรบั การผลิตเมล็ดพนั ธุ์
แรงงาน แต่การปลูกด้วยวิธีน้ี มีข้อเสียคือ สิ้นเปลือง ขา้ ว (Good Agricultural Practice: GAP Seed)
เมล็ดพันธ์ุ ต้นข้าวหนาแน่นทาให้มีความยากลาบากใน
กาจัดวัชพืช จึงต้องใช้สารเคมีในการควบคุมวัชพืช และ
แมลงศัตรูขา้ ว สง่ ผลกระทบต่อผู้ปลูกและสภาพแวดล้อม
นอกจากน้ียังมีการปนของเมล็ดและเมล็ดพันธ์ุอย่างมาก
ทาให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพต่า การแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สามารถทาได้โดยการเลือกใชเ้ มลด็ พันธ์ขุ า้ ว

คุณภาพสูง มีการปลูก การจัดการท่ีดีและถูกต้อง ซึ่งทางมูลนิธิปิดทองฯ ร่วมกับ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ บริษัท ข้าว ซี.พี. (ข้าวตราฉัตร) ได้เข้ามาส่งเสริมและพัฒนา แนะนาความรู้ทาง
วิชาการท่ีถูกต้องเก่ียวกับการเพาะปลูก การเตรียมเมล็ดพันธ์ุ การควบคุมคุณภาพข้าวและการผลิตเมล็ดพันธ์ุ
การใช้เครื่องจักรกลเกษตร การใช้ปุ๋ยส่ังตัด และการรับซื้อผลผลิต ซึ่งได้จัดประชุมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
และ ลงพ้ืนที่ติดตามการดาเนินงานตรวจประเมินคุณภาพ และ ตรวจพันธ์ุปนในแปลงข้าวอย่างต่อเน่ือง การ
ดาเนินงานของในฤดูกาลเพาะปลูก ปี 2563 บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้ังเป้าหมายไว้ คือ มีผลผลิตข้าวท่ีมีคุณภาพ
ทง้ั เพือ่ การบริโภค การผลติ เมลด็ พันธ์ุ การพัฒนากลมุ่ เกษตรกร และการเพิ่มผลผลติ ขา้ วต่อพื้นที่ โดยมี

เกษตรกรเข้ารว่ มโครงการ มีพนื้ ทีเ่ พาะปลกู ข้าวเพือ่ การบริโภค
จานวน 93 ราย รวม 646 ไร่

โดยโครงการฯได้ดาเนินการเตรียมความพร้อมให้กับเกษตรกรเพ่ือขอรับการรับรอง มาตรฐาน
การปฏิบัติที่ดีทางการเกษตรสาหรับการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าว (Good Agricultural Practice:
GAP Seed) โดยการบรรยาย และการฝึกปฏิบตั ิ มเี กษตรกรเขา้ รว่ มท้ังหมด 42 ราย

สาหรบั การผลติ เมลด็ พันธม์ุ เี กษตรกรท่ีมีศักยภาพในการผลติ เมล็ดพันธุ์ จานวน 9 ราย มีพน้ื ทเ่ี พาะปลกู
ข้าว รวม 23 ไร่ ไดผ้ ลผลติ เมล็ดพันธุท์ ี่ผา่ นการปรับปรุงสภาพเมล็ดพนั ธแุ์ ละตรวจสอบคณุ ภาพแล้ว จานวน
รวม 11 ตนั แบ่งออกเป็น พนั ธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 จานวน 1.9 ตัน พันธุ์ ธญั สริ ิน 2.5 ตนั และ พันธ์ุ กข 6 (ตน้
เตี้ย) 5.6 ตนั ทางโครงการไดร้ ับซอ้ื เมลด็ พันธ์ขุ ้าว ปรมิ าณ 1.2, 1.2 และ 4.5 ตนั ตามลาดับ คดิ เป็นมูลค่า รวม
149,375 บาท นอกจากน้ี ยงั ได้นาเมล็ดพนั ธ์ุขา้ วทเี่ หลือไปจาหน่ายให้กบั พ่อคา้ คนกลาง มีปรมิ าณรวม 4.9 ตนั
คิดเป็นมลู ค่า รวม 123,125 บาท นอกจากน้ี ทางกลุ่มผู้ผลิตเมลด็ พันธไ์ุ ดเ้ ก็บเงินจากการขายผลผลติ เพอื่ ใชเ้ ป็น
กองทนุ ของกลมุ่ อัตรา กิโลกรมั ละ 3 บาท คิดเปน็ จานวนเงินรวม 35,775 บาท ซง่ึ ได้ดาเนินส่งมอบให้กับ
โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

84

รายงานผลการดาเนินงานของหวั หน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-13 การตรวจประเมนิ แปลงผลิตเมลด็ พันธุ์ และใหค้ าแนะนาเกษตรกรในการคัดพันธ์ปุ น
ภาพ OKR12-14 ขนย้ายเมลด็ พันธ์ุขา้ ว จาก โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ ไปปรบั ปรงุ สภาพเมล็ดพนั ธ์ุ

85

รายงานผลการดาเนินงานของหัวหน้าสว่ นงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภาพ OKR12-15 การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์โุ ดยเคร่ืองคัดแยกแบบตะแกรงและแรงลม

ภาพ OKR12-16 สง่ มอบเมล็ดพันธุข์ ้าวท่ีได้รบั การปรบั ปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ และ บรรจกุ ระสอบใหม่

ภาพ OKR12-17 พอ่ ค้าคนกลางมารบั ซื้อผลผลติ ข้าวท่เี หลอื จากการรบั ซอ้ื ในโครงการ

86

รายงานผลการดาเนนิ งานของหัวหน้าส่วนงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

OKR22

จานวนอาคารและสถานที่ท่ีได้รับการปรบั ปรุงแต่ละปตี ามกฎหมายทกี่ าหนด

(ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 7 กลยุทธ์ ที่ 3 ตามแผนยุทธศาสตร์การบริหาร
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ. 2563 – 2566)

ความหมาย

อาคารสถานท่ี หมายถึง อาคารสถานท่ีในมหาวิทยาลยั ขอนแก่น

คาอธบิ าย

จานวนอาคารสถานทีท่ ไ่ี ดร้ ับการปรับปรุงแต่ละปตี ามกฎหมายที่กาหนดปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เพื่อให้ส่วนงานดาเนินการตรวจสอบอาคารสถานที่ภายในความดูแลของส่วนงานให้มีการใช้งานเต็ม
ประสทิ ธิภาพ มีความปลอดภยั สาหรับบุคลากร และสวยงามสาหรับผมู้ าเยอื น

ผลการดาเนินงาน

คณะเกษตรศาสตร์ เป็นคณะวชิ าท่มี สี ว่ นฟาร์มในมหาวิทยาลัย โดยถือครองพ้ืนท่ีกว่า 1,200 ไร่ ดังน้ัน
ในการดาเนินงานตาม OKR22 จงึ เป็นการพัฒนาท้งั อาคารสถานท่ี และพ้ืนท่ีฟาร์ม เพื่อรองรับการเรียนการสอน
การวิจัย และบริการวิชาการ โดยในปีงบประมาณ 2564 คณะเกษตรศาสตร์ใช้งบประมาณจากเงินรายได้
งบประมาณการวจิ ยั จากแหลง่ ต่าง ๆ รวมท้งั งบประมาณจากหลักสูตรนวัตกรรมเกษตร เพื่อปรับปรุง และสร้าง
ฐานการเรียนรูต้ า่ ง ๆ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

87

1. ปรับปรุงอุทยานเทคโนโลยเี กษตร

เพื่อให้อุทยานเทคโนโลยีการเกษตรเป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนเป็นพื้นท่ีจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตรใน
รอบปีทผ่ี า่ นมา กิจกรรมท่สี าคัญได้แก่ กจิ กรรมดา้ นการผลติ หญา้ อาหารสตั ว์ และการผลติ ไม้ดอกประเภทตา่ งๆ

ซ่งึ นอกเหนือจากนกั ศกึ ษาได้เรยี นรดู้ า้ นนวัตกรรมการผลิตแล้วยังได้เรียนรู้ด้านการบริหารจัดการ โดยจัดให้
มีการเปดิ แปลงให้สาธารณชนให้เข้าเย่ยี มชมในลกั ษณะการท่องเที่ยว รวมทงั้ การผลิตเพ่อื การจาหนา่ ยอีกด้วย

1.1 ทุ่งหญ้าอาหารสตั ว์

1.2 แปลงดอกคตั เตอร์

88


Click to View FlipBook Version