แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ปีการศึกษา 2565-2567
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์(เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37)
อาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2
คำนำ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) ฉบับนี้โรงเรียนสักงามประชาสรรค์
(เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในระยะ 3 ปี ท้ังน้ี
เป็นความพยายามของสถานศึกษาโดยความร่วมมือของคณะครูและบุคลากรในโรงเรียนซึ่งไดม้ ีการประชุมและ
ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการวิเคราะห์ภาพปัจจุบัน ศึกษาสถานภาพของ
สถานศึกษา มากาหนดทิศทางของสถานศึกษาโดยกาหนดกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงและสอดคล้องตามมาตรฐาน
การศึกษาแห่งชาติมาตรฐานเพ่ือการประเมินคุณภาพภายนอกและมาตรฐานการศึกษาของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติประจาปี โดยมีทิศทางการจัด
การศึกษาตามวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์และกลยุทธท์ ่กี าหนดไวต้ ามบริบทและเปา้ หมายของสถานศกึ ษา
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบับนี้ ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานตลอดจนผู้ปกครองและนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการจัดทาจนสาเร็จลุล่วง
ไปด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ก้าวหน้าและเป็นไปตามที่ได้
กาหนดไวต้ อ่ ไป
(นายบุญจันทร์ นาก้อนทอง)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37)
สารบัญ หนา้
คานา 1
สารบญั 5
สว่ นท่ี 1 บรบิ ท 5
7
ขอ้ มลู พน้ื ฐานสถานศึกษา 8
ขอ้ มูลดา้ นนักเรยี น ข้อมลู ดา้ นผ้บู รหิ าร ครแู ละบุคลากร
จานวนอาคารเรยี น หอ้ งเรียน 16
โครงสร้างการบรหิ าร 18
ผลการดาเนนิ งานทผ่ี า่ นมา 18
ส่วนที่ 2 กฎหมายและนโยบายการศึกษาที่เกีย่ วข้อง 19
ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-25820) 20
ยุทธศาสตร์หลกั การที่สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี 22
จุดเน้นเชงิ นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นโยบายรัฐบาลกระทรวงศึกษาธิการ 26
ยุทธศาสตร์
ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา(พ.ศ. 2562-2565) 42
ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางของโรงเรยี น 42
ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ความคาดหวัง 59
วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์
ค่านิยม ประเด็นนโยบาย ประเดน็ กลยุทธ์ และตัวช้วี ัด 62
สว่ นที่ 4 กรอบกลยุทธก์ ารพัฒนาการจดั การศึกษาและตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ 64
โครงการและงบประมาณ
สว่ นท่ี 5 การกากับ ตดิ ตามประเมินผลและรายงาน
ปฏิทนิ การกากบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตารางดาเนนิ งานจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ภาคผนวก
คาสัง่ คณะทางาน
คาส่ังคณะกรรมการสถานศึกษา
กระบวนการจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 1
ส่วนท่ี 1
ข้อมูลพื้นฐานสถานศกึ ษา
1.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตรอ์ นุสรณ์ 37 ) ตงั้ อย่เู ลขที่ 222/1 หมู่ท่ี 1
ตาบลสกั งาม อาเภอคลองลาน จงั หวดั กาแพงเพชร 62180
สังกัด สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2
โทรศพั ท์ –
E-mail :: [email protected]
Face Book :: โรงเรยี นสักงามประชาสรรคฯ์
ระดบั การศกึ ษาท่ีเปดิ สอน
เปิดสอนตั้งแต่ช้ันอนุบาล 2 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เน้ือที่ 51 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา (นิคม
สหกรณค์ ลองสวนหมาก) เขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร 1 หมบู่ า้ น คอื หม่ทู ี่ 1 ตาบลสักงาม
ประวัติการสรา้ งโรงเรยี น
1 กันยายน 2524 กานันจติ ร บารงุ ผล และชาวบา้ นได้รว่ มกันจัดหาท่ดี ิน จานวน 5 ไร่ 2 งาน
39 ตารางวา เพื่อก่อสร้างเป็นอาคารเรียนช่ัวคราว จานวน 1 หลัง 2 ห้องเรียนไม่มีฝา วันท่ี 7 กันยายน
2524 เปิดเรียนเป็นครั้งแรก (สาขา โรงเรียนบ้านโป่งน้าร้อน ) ต่อมา วันที่ 15 มีนาคม 2526 นิสิต
ชมรมค่ายอาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับชาวบ้านและหน่วยงานทางราชการ จัดสร้าง
อาคารเรียนแบบ ป. 1 ช. 2 จานวน 1 หลัง 4 ห้องเรียน และสร้างส้วม 1 หลัง จานวน 4 ที่นั่ง มี
จานวนนิสิตอาสาสมัคร จานวน 57 คน ชาย 25 คน หญิง 32 คน และนับเป็นปีท่ี 17 ของการ
ออกค่ายของนิสิต ชมรมค่ายอาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ ในการน้ีกลุ่มนิสิตอาสาสมัคร
ชมรมค่ายอาสาพัฒนาได้ทาหนังสือถึงสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร เพ่ือขอเปิดเป็น
เอกเทศ ได้รับอนุญาต เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2526 โดยมีนายวิทย์ สุวรรณภูมิ รักษาการในตาแหน่ง
ครใู หญ่
ปีงบประมาณ 2527 ได้รับงบประมาณจาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สร้างถังน้า
ซเี มนต์ แบบ ฝ.30 พเิ ศษ จานวน 1 ชุด จานวน 50,000 บาท
ปีงบประมาณ 2529 ไดร้ บั งบประมาณ จากสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
สร้างอาคารเรยี น แบบ สปช. 102/26 จานวน 1 หลงั 4 หอ้ งเรยี น จานวน 450,000 บาท
ปีงบประมาณ 2530 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนอเนกประสงค์ แบบ สปช. 202/26
จานวน 1 หลัง กวา้ ง 10 เมตรยาว 12 เมตร จานวน 200,000 บาท สรา้ งสว้ ม แบบสปช. 601/26
จานวน 1 หลัง 4 ท่ีน่ัง จานวน 50,000 บาท สร้างถังซีเมนต์แบบ ฝ. 30 พิเศษ จานวน 1 ชุด จานวน
50,000 บาท
ปีงบประมาณ 2532 ได้รับงบประมาณจาก สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
สร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 105/29 จานวน 1 หลัง 8 ห้องเรียน จานวน 1,015,000 บาท ได้รับ
งบประมาณค่าซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป . 1 ช. ที่นิสิตอาสาสมัครชมรมค่ายอาสาพัฒนา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไดส้ รา้ งไว้ จานวน 200,000 บาท สรา้ งส้วมแบบ สปช. 601/26 จานวน 1
หลัง 4 ท่ีน่ัง จานวน 50,000 บาท สร้างถังน้าซีเมนต์แบบ ฝ. 30 พิเศษ จานวน 2 ชุด จานวน
100,000 บาท สร้างเรือนเพาะชา แบบ พ.1 จานวน 1 หลัง จานวน 50,000 บาท สร้างสนามฟุตบอล
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 2
แบบ สปช. ฟ. 3 พิเศษ จานวน 1 สนาม จานวน 200,000 บาท สร้างสนามวอลเลย่ บ์ อล แบบ
สปช. 1 สนาม จานวน 50,000 บาท สร้างอาคารอเนกประสงค์แบบ สปช. 205/29 จานวน 1 หลัง
กว้าง 14 เมตร ยาว 32 เมตร พนื้ ท่ี 448 ตารางเมตร จานวน 890,000 บาท
ปีงบประมาณ 2533 ได้รับงบประมาณจาก สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
สรา้ งถงั นา้ ซีเมนตแ์ บบ ฝ. 30 พิเศษ จานวน 2 ชดุ 8 ถัง จานวน 120,000 บาท
ปีงบประมาณ 2534 สร้างบ้านพักครู แบบ สปช. 303/28 จานวน 1 หลัง 4 หน่วย จานวน
997,200 บาท
เม่ือวันท่ี 16 มีนาคม 2536 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนิน
ทรงเยี่ยมชาวไทยภูเขาเผ่าเย้าและเผ่าลีซอ ที่อพยพลงมาจากทุ่งใหญ่นเรศวร เมื่อปี 2530 ณ อาคาร
อเนกประสงค์โรงเรียนสักงามประชาสรรค์(เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) ซ่ึงพระองค์ทรงใช้เป็นท่ีประทับทรง
งาน
วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2537 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนิน ทรงเยีย่ มชาวไทยภูเขาเผา่ เย้าและเผ่า
ลีซอ ณ อาคารอเนกประสงค์ โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) เป็นครั้ง
ที่ 2
ปีการศึกษา 2537 ได้เปิดทาการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามโครงการขยายโอกาสทาง
การศกึ ษา เปน็ ปแี รกมนี กั เรยี นสมคั รเข้าเรยี น ในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 31 คน
ปีงบประมาณ 2538 ได้รับงบประมาณจาก สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
สร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 105/29 จานวน 1 หลัง 8 ห้องเรียน จานวน 1,920,000 บาท ซึ่งเป็น
งบประมาณตามโครงการพระราชดาริ และทาการรื้อถอนอาคาร แบบ ป. 1 ช. ท่ีนสิ ติ อาสาสมัครชมรมค่าย
อาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สร้างไว้ออกไป เน่ืองจากผุพัง ไม่สามารถใช้การได้อีกต่อไป และ
สร้างอาคารแบบ สปช. 105/29 แทนท่ี
วันท่ี 30 ธันวาคม 2540 นายวิทย์ สุวรรณภูมิ อาจารย์ใหญ่ ได้รับการปรับปรุงตาแหน่งให้
สูงขึ้น เป็นผู้อานวยการโรงเรียน ระดบั 8
ปีการศึกษา 2542 โรงเรียนได้เข้าโครงการเกษตรแบบครบวงจร ตามแนวทฤษฎีใหม่ ซ่ึงเป็น
โครงการตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9
ปีงบประมาณ 2545 ได้รับงบประมาณก่อสร้างส้วมแบบ สปช.601/26 จานวน 1 หลัง 4 ที่น่ัง
จานวน 90,900 บาท
ปีงบประมาณ 2548 นายเกยี รติศักด์ิ ทันจันทร์ ผอู้ านวยการ ระดบั 8 เป็นผอู้ านวยการโรงเรียน
ปงี บประมาณ 2550 นายนรนิ ทร์ บัวลอย ผู้อานวยการ ระดับ 8 เป็นผูอ้ านวยการโรงเรยี น
ปีงบประมาณ 2553 ได้รับงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการข้ันพื้นฐาน ซ่อมแซมปู
กระเบอื้ งเคลือบเซรามิกซ์อาคารอเนกประสงค์ จานวน 100,000 บาท ถมดินลูกรัง ปรบั เกลย่ี และบดอัด
สนามกฬี า จานวน 100,000 บาท บา้ นพกั ครูรื้อถอนพืน้ ไม้พร้อมตงเปล่ียนเป็นพืน้ สาเร็จคอนกรีตเสริม
เหลก็ ขัดมันเรียบจานวน 100,000 บาท
ปีงบประมาณ 2555 นายวิทย์ สุวรรณภูมิ เป็นผู้อานวยการโรงเรียนสักงามประชาสรรค์
(เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37)
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 3
ปีงบประมาณ 2556 ได้รับงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ซ่อมแซมอาคารเรียน และอาคารประกอบท่ีชารุดทรุดโทรม และท่ีประสบวาตภัย จานวน 1,200,000
บาท
ปีงบประมาณ 2556 ดร.วสันต์ ปานทอง เป็นผู้อานวยการโรงเรียนสักงามประชาสรรค์
(เกษตรศาสตรอ์ นุสรณ์ 37)
ปีงบประมาณ 2558 ได้รับงบประมาณทาสีอาคารเรียน สปช. 105/29 ท้ังสองหลัง จานวน
497,000 บาท และได้รับงบประมาณปูกระเบ้ือง หน้าอาคารเรียน สปช. 105/29 ท้ังสองหลัง จานวน
150,000 บาท
ปีงบประมาณ 2559 ได้รับงบประมาณขยายเขตไฟฟ้า(ไฟฟ้า 3 เฟส) จานวน 1,740,000 บาท
และได้จัดสร้างโรงอาหารแบบสร้างเอง จากการระดมทุน ของคณะครู ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และ ชุมชน
จานวน 415,000 บาท
ปีงบประมาณ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามโครงการพัฒนาแหล่งน้าบาดาลเพื่อ
สนบั สนุนน้าด่มื สะอาด รูปแบบท่ี 2 ซ่งึ สรา้ งโดยกรมทรัพยากรน้าบาดาล กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม
ปีงบประมาณ 2562 ได้รับงบประมาณทาสีและปรับปรุง ซ่อมแซม หอประชุมอาคาร
เอนกประสงค์สักทอง อาคารอนุบาลสักงาม 1 ห้องพลศึกษา และทาถนนคอนกรีต จากงบระดมทุนของ
คณะนิสิตอาสาสมัครชมรมค่ายอาสาพัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้สนับสนุนงบประมาณท้ังสิ้น
212,323 บาท
ปงี บประมาณ 2563 นายบุญจนั ทร์ นาก้อนทอง เปน็ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
ได้รบั งบประมาณทาสีและปรับปรุง ซอ่ มแซม หอ้ งพยาบาล ห้องสหกรณ์ จากงบระดมทุนของคณะ
นสิ ติ อาสาสมัครชมรมค่ายอาสาพฒั นามหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ไดร้ ับการสนบั สนุนปรบั ปรงุ ถนนด้านหน้าโรงอาหาร จากองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสกั งาม
ได้รับงบประมาณปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนและส่ิงก่อสร้าง สปช. 105/29 จานวน 1 หลัง
จานวน 447,800 บาท
ปัจจุบันโรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์37) เปิดทาการเรียนการสอนตง้ั แต่ช้ัน
อนบุ าล 2 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 นายบุญจันทร์ นากอ้ นทอง เป็นผูอ้ านวยการสถานศึกษา
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 4
1.2 ขอ้ มลู จานวนนกั เรยี นหอ้ งเรยี นงบประมาณที่ได้รบั จัดสรร
1) จานวนนกั เรียนในเขตพืน้ ทบ่ี รกิ ารทง้ั หมด 173 คน
2) จานวนนกั เรยี นจาแนกตามระดับชนั้ ทีเ่ ปิดสอน
ชนั้ ทัง้ หมด
อนบุ าล 2 ชาย หญงิ รวม
อนุบาล 3
รวมอนบุ าล 9 9 18
ประถมศึกษาปที ี่ 1
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 6 5 11
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 15 14 29
ประถมศึกษาปีที่ 5
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 3 8 11
รวมประถม
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 13 4 17
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 5 8 13
รวมมัธยม
รวมทั้งหมด 9 11 20
9 6 15
7 8 15
46 45 91
14 5 19
7 10 17
6 11 17
27 26 53
88 86 173
แหล่งที่มา : รายงานข้อมูลพ้ืนฐานทางการศึกษา 256๒ โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์งามประชา
สรรค์ (เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37)
จานวนนักเรยี นห้องเรยี น อนุบาล รวม 3 หอ้ งเรยี น อตั ราเฉลีย่ ครู : นักเรียน เท่ากบั 1 : 17
จานวนนกั เรยี นห้องเรยี น ประถม รวม 6 ห้องเรียน อตั ราเฉลีย่ ครู : นกั เรียน เทา่ กับ 1 : 13
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 5
1.3 จานวนผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาแยกตามวฒุ ทิ างการศกึ ษา
ผู้บรหิ าร จานวน 1 คน ครธู ุรการ 1 คน
ครู จานวน 14 คน
อื่นๆ จานวน 2 คน
ครูอัตราจ้าง 1 คน
1.4 อาคารเรยี นและอาคารประกอบ
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ประกอบไปด้วยอาคารเรยี นและ
อาคาร ประกอบ จานวน 10 หลงั 12 หอ้ ง ดงั นี้
ลาดับ รายการ จานวน
อาคารเรยี น
1. อาคารเรียน 3 หลงั
อาคารประกอบ
2. บา้ นพกั ครู 4 หลงั
3. อาคารอเนกประสงค์ (อาคารอานวยการและหอประชุม) 2 หลัง
4. โรงอาหารแบบสร้างเอง 1 หลัง
หอ้ งเรียน
5. หอ้ งเรียนระดับกอ่ นประถม 2 หอ้ ง
6. ห้องเรียนประถมศึกษา 6 ห้อง
7. ห้องเรยี นมธั ยมศกึ ษา 3 หอ้ ง
8. ห้องวิทยาศาสตร์ 1 หอ้ ง
9. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา 1 หอ้ ง
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 6
ลาดับ รายการ จานวน
ห้องเรียน (ตอ่ )
10. ห้องคอมพิวเตอร์ 1 หอ้ ง
11. หอ้ งสมุด 1 หอ้ ง
1.5 สภาพชุมชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบโรงเรียน (บอกลกั ษณะภมู ิประเทศรอบๆโรงเรียน)
สภาพท่ัวไป หมู่บ้านสักงาม มีระยะห่างจากตัวจังหวัดกาแพงเพชร 33 กิโลเมตร และห่าง
จากเขตพื้นที่การศึกษากาแพงเพชรเขต 2 เท่ากับ 80 กิโลเมตร มีพื้นท่ีทั้งหมด 121,875 ไร่ คิดเป็น
เนื้อท่ี 195 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศเป็นพ้ืนท่ีราบสูง ภูเขาสลับกับท่ีราบเป็นพื้นท่ีอุดมสมบูรณ์ มี
น้าตกเพชรจะขอน้าไหลตลอดปีให้ผู้มาเยือนได้พักผ่อนอย่างสบายบางส่วนของตาบลสักงามได้รับประโยชน์
จากน้าตก มีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอ่ กับ หมู่ที่ 1 ตาบลโป่งนา้ รอ้ น
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ หมทู่ ี่ 4 ตาบลสักงาม
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ หมูท่ ี่ 4 ตาบลโป่งนา้ ร้อน
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับ หมู่ที่ 4 ตาบลสกั งาม
2) ขอ้ มูลผู้ปกครอง
ระดบั การศกึ ษา จบการศึกษาระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
การประกอบอาชีพ อาชีพหลัก คือเกษตรกรรม ทานา ทาไร่ข้าวโพด ไร่มันสาปะหลัง
สวนกล้วยไข่ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ค้าขาย รับจ้าง สวนส้มโอ ส้มเขียวหวาน รายได้เฉลี่ย 25,000 –
36,000 บาท / คน / ปี ศาสนาที่นับถือ สว่ นใหญ่นับถอื ศาสนาพุทธ และ คริสต์
1.7 แหล่งเรยี นร้แู ละการใช้
ลาดบั รายการแหล่งการเรียนรู้ สถติ ิการเขา้ ใช้บริการ
1. หอ้ งสมดุ 175 ครัง้ /ปี
2. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 200 ครงั้ /ปี
3. หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ 500 ครงั้ /ปี
4. หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางภาษา 600 ครงั้ /ปี
5. ซุ้มศาลาจัดกิจกรรม 4 หลงั 100 ครัง้ /ปี
6. ศนู ย์การเรยี นรู้ชมุ ชน(การปักผ้า) 2 ครง้ั /ปี
7. แหลง่ เรียนรปู้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ครง้ั /ปี
8. แก่งเกาะร้อย 1 ครั้ง/ปี
9. ศูนยก์ ารเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร(์ เกาะเสือ) 1 ครงั้ /ปี
10. พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติกาแพงเพชร 1 ครั้ง/ปี
ผบู้ ริหารสถานศึกษา แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 7
ศษิ ยเ์ ก่า , เครือข่ายผูป้ กครอง ผู้ช่วยผู้บริหารสถานศึกษา
คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 1.8 วธิ ีการบริหารจัดการ (ระบบโครงสรา้ งการบรหิ าร)
งานบรหิ ารวชิ าการ งานบรหิ ารงบประมาณ งานบริหารงานบคุ คล งานการบริหารทัว่ ไป แผนภมู กิ ารบริหารจดั การศึกษาโรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์(เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37)
- งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา - งานจดั สรรงบประมาณ - งานวางแผนอตั รากาลังและ - งานธุรการ
- งานพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ กาหนดตาแหนง่ - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั
- งานวัดผล ประเมนิ ผลฯ - งานตรวจสอบ ติดตาม พื้นฐาน
- งานวิจัยเพอื่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา ประเมินผล และรายงานผลการใช้ - งานสรรหาและการบรรจแุ ต่งต้ัง - งานพฒั นาระบบและเครอื ข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ
- งานพฒั นาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีฯ เงนิ และผลการดาเนินงาน - งานประสานและพัฒนาเครือขา่ ยการศกึ ษา
- งานพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ - งานเสรมิ สร้างประสทิ ธภิ าพใน - งานจัดระบบการบริหารและพัฒนาองคก์ ร
- งานนิเทศการศึกษา - งานระดมทรพั ยากรเพ่ือ การปฏิบัติราชการ - งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- งานแนะแนว การศกึ ษา - งานดูแลอาคารสถานที่
การศกึ ษา - งานวินัยและการรักษาวนิ ยั - งานจดั ทาสามะโนผเู้ รยี น
- งานพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายใน - งานบรหิ ารการเงนิ - งานรับนกั เรยี น
สถานศกึ ษา - งานทะเบยี นประวตั ิข้าราชการ - สง่ เสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ นอก
- งานสง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นวชิ าการแก่ชมุ ชน - งานบรหิ ารบัญชี และลูกจ้าง ระบบและตามอธั ยาศยั
- งานสง่ เสรมิ งานกจิ การนักเรยี น
- งานประชาสมั พนั ธง์ านการศกึ ษา
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 8
1.10 รางวลั ที่สถานศึกษาได้รบั ในรอบปกี ารศกึ ษาทผี่ า่ นมา
1.10.1. ผลงานดเี ดน่ รางวลั ความสาเร็จ สถานศกึ ษา/ผบู้ รหิ าร/ครู/นักเรยี น
การประกวด 1 School 1 Innovation โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล
การรบั รองมาตรฐานโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ระดับทอง
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 9
การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA)
รางวลั การพฒั นาคุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ ดว้ ยกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี ใน
สถานศกึ ษา
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 10
ไดร้ บั เคร่อื งหมายเชิดชูเกยี รติ “คุรุสดุดี”
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 11
ประกาศเกยี รติคณุ ผู้มีผลงานดีเดน่ ท่ปี ระสบสาเรจ็ เป็นท่ปี ระจักษ์ เพอ่ื รับรางวัล
ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับเขตพ้นื ที่การศึกษา ประจาปกี ารศึกษา
๒๕๖๓
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 12
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 13
ผลการสรรหาและคัดเลอื กโครงการ “ครูดีในดวงใจ” ครง้ั ท่ี ๑๘ พ.ศ.๒๕๖๔
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 14
ประกาศรายช่อื ผูไ้ ด้รับรางวลั ครดู ีของแผน่ ดนิ ขน้ั พ้นื ฐาน โครงการเครือข่ายครูดี
ของแผ่น เจรญิ รอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ๒๕๖๓
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 15
ครดู ีไมม่ ีอบายมุข ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 16
ส่วนที่ 2
กฎหมายและนโยบายการศึกษาท่เี กีย่ วข้อง
1. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
ในการท่ีจะบรรลุวิสัยทัศน์และทาให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตท่ีพึงประสงค์ จาเป็นจะต้องมี
การ วางแผนและกาหนดยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในระยะยาว และกาหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วน
ให้ ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ภายใต้วิสัยทัศน์
“ประเทศมี ความม่นั คง ม่ังคงั่ ย่งั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ โดยสรุปไดด้ ังน้ี
(1) ยุทธศาสตรด์ ้านความมั่นคง
มีเป้าหมายทั้งในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและช่วยลดและป้องกันภัยคุกคามจาก
ภายนอก รวมทงั้ สรา้ งความเชอื่ ม่นั ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี นและประชาคมโลกทม่ี ีต่อประเทศไทย
(2) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
เพ่อื ใหป้ ระเทศไทยสามารถพฒั นาไปสู่การเป็นประเทศพฒั นาแล้ว ซึ่งจาเป็นตอ้ งยกระดบั ผลิตภาพ
การผลิตและการใช้นวัตกรรมในการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างย่ังยืนท้ังในสาขา
อุตสาหกรรม เกษตรและบริการ การสร้างความม่ันคงและปลอดภัยด้านอาหาร การเพ่ิมขีดความสามารถ
ทาง การค้าและการเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการพัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ทั้งน้ีภายใต้กรอบการ
ปฏิรปู และพัฒนาปจั จยั เชงิ ยทุ ธศาสตร์ทกุ ดา้ น อันได้แกโ่ ครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบโลจิสติกส์วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม การพฒั นาทนุ มนุษย์ และการบรหิ ารจดั การท้งั ในภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
(3) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน
เพ่ือพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐานท่ีแข็งแกร่งของประเทศ มีความพร้อมทางกาย ใจ
สติปัญญา มีความเป็นสากล มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมายมี
คุณธรรม จริยธรรม รคู้ ณุ คา่ ความเปน็ ไทย มีครอบครวั ทีม่ นั่ คง
(4) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสงั คม
เพ่ือเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ท่ัวถึง ลดความเหลื่อมล้าไปสู่สังคมท่ี
เสมอ ภาคและเป็นธรรม
(5) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม
เพื่อเร่งอนุรักษ์ฟื้นฟูและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และมีความมั่นคง รวมท้งั มี
ความสามารถในการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ
ธรรมชาติ และพัฒนาม่งุ สกู่ ารเป็นสังคมสเี ขียว
(6) ยุทธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล กระจายบทบาทภารกิจไปสู่ท้องถ่ินอย่างเหมาะสม มีธรรมาภิบาล สานักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษาไดจ้ ัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ซงึ่ เป็นแผน ระยะยาว 20 ปี เพ่ือเป็นแผน
แม่บทสาหรับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งนาไปใช้เปน็ กรอบแนวทางในการพัฒนา การศกึ ษาในช่วงระยะเวลา
ดังกล่าว โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทาแผนการ ศึกษาแห่งชาติ
และไดก้ าหนดวสิ ัยทัศน์ (Vision) ไว้ดังน้ี
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 17
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”
วัตถุประสงคข์ องแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (Objectives) 4 ประการ คอื
1) เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
2) เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ
บทบัญญตั ิ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ
รว่ มมอื ผนกึ กาลงั มุง่ สูก่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4) เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า
ภายในประเทศ ลดลง และได้วางเป้าหมายไว้ 2 ด้าน คือ เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations)
และเป้าหมายของการ จัดการศกึ ษา (Aspirations)
4.1 เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ
และทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทกั ษะและคณุ ลักษณะต่อไปนี้
3Rs ได้แก่ การ อ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิดเลขเป็น
(Arithmetic)
8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical
Thinking and Problem Solving) ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้าน
ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะ
ด้าน การสือ่ สาร สารสนเทศ และการรู้เทา่ ทนั ส่ือ (Communications, Information and Media Literacy
) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy)
ทักษะ อาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย
คณุ ธรรม จริยธรรม(Compassion)
4.2 เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ด้าน ประกอบด้วย
1) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) เด็ก
ปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ประชากรทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษา
ตอน
ปลาย หรอื เทียบเท่าท่ีมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ประชากรท่ีอยู่ในกาลังแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้
ความสามารถ และสมรรถนะท่ีตอบสนองความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ ประชากรสูง
วัย ได้เรียนรู้ ฝึกฝนเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะเพ่ือการทางานหรือการมีชีวิตหลังวัยทางาน
อยา่ งมี คณุ คา่ และเป็นสขุ
2) ผเู้ รยี นทุกกลุม่ เปา้ หมายไดร้ ับบริการทางการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Equity)
ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งกลุ่มปกติ ผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความบกพร่องด้านต่างๆ ผู้พิการ
ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีภูมิหลังทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกันได้รับโอกาสและการบริการทาง
การศึกษาอย่าง เสมอภาคและเทา่ เทยี ม
3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถและเต็มตาม
ศักยภาพ (Quality)ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อพัฒนา
คุณลักษณะ ทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแต่ละบุคคลใหไ้ ปได้ไกลทสี่ ุดเท่าท่ีศักยภาพและ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 18
ความสามารถ ของแต่ละบุคคลพึงมี ภายใตร้ ะบบเศรษฐกจิ สังคมฐานความรู้ สงั คมแห่งปัญญา และการสรา้ ง
สภาพแวดล้อมท่ี เอ้ือต่อการเรียนรู้ ท่ีประชาชนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีคุณธรรม
จริยธรรมและสามารถดา รงชวี ิตไดอ้ ยา่ งเปน็ สุขตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึงและมี
คุณภาพ และการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศึกษาและ
สถาบันการศึกษาทุกแห่งสามารถบริหารและจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐาน
ระดบั สากล จดั ให้มีระบบการจดั สรรและใช้ทรพั ยากรทางการศึกษาที่ก่อประโยชนส์ ูงสุดในการพฒั นาผู้เรียน
แต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขีดความสามารถของตน และส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมท่ีมี
ศักยภาพและความพร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมทุนและร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายเพ่ือการศึกษา
โดยเฉพาะ สถานประกอบการ สถาบันและองค์กรต่างๆ ในสังคม และผู้เรียนผา่ นมาตรการทางการเงินและ
การคลงั ที่ เหมาะสม
5) ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเป็นพลวัตและบริบทท่ี
เปล่ียนแปลง (Relevancy) ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทันการ
เปลี่ยนแปลง ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกา
ลังคนในประเทศ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน สังคม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี และ ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ที่จะนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปาน
กลางสู่การเป็นประเทศ ท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการศึกษาที่สร้างความม่ันคงในชีวิตของประชาชนสังคมและ
ประเทศชาติ และการสร้างเสริม การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมแผนการศึกษาแห่งชาติได้กาหนด
ยุทธศาสตรใ์ นการพัฒนาการศึกษาภายใต้
2. ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ท่สี อดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การผลติ และพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวตั กรรรม เพ่อื สรา้ งขีดความสามารถ
ในการ แขง่ ขนั ของประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์
ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจดั การศกึ ษาเพือ่ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
๓. จุดเนน้ เชงิ นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
จดุ เน้นเชิงนโยบายโดย ยึดกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 6 ดา้ น เป็นหลกั ในการดาเนินการ ดังน้ี
(1) จุดเนน้ ดา้ นความมนั่ คง แนวทางหลัก
1.1 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
1.2 การบรหิ ารจดั การ
1.3 การยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นที่พิเศษ
1.4 การพฒั นาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดแู ลและป้องกนั ภัยคุกคามในรูปแบบ
ใหม่
(2) จดุ เนน้ ด้านการผลติ พฒั นากาลังคนและสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั แนวทางหลัก
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 19
2.1 การผลิตและพัฒนากาลังคนให้ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน มีสมรรถนะใน
สาขาทต่ี รง ตามความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
2.2 การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ
มลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกจิ
(3) จดุ เน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก
3.1 พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
3.2 การผลิตและพฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
3.3 การส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัย มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิต อยา่ งเหมาะสมเต็มตามศักยภาพ
3.4 การสง่ เสริมและพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ สอื่ ตาราเรียน และสอื่ การเรียนร้ตู า่ งๆ ใหม้ คี ุณภาพ
มาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงแหล่งเรยี นร้ไู ด้โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี
(4) จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางสังคม แนวทางหลกั
4.1 ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต
4.2 การเพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ
4.3 สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือการศกึ ษาและสาหรับคนทุกชว่ งวัย
4.4 การพัฒนาฐานขอ้ มลู ด้านการศกึ ษาทม่ี มี าตรฐาน เชือ่ มโยงและเข้าถงึ ได้
(5) จุดเน้นด้านการเสริมสร้างคุณภาพชวี ิตประชาชนทเี่ ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางหลกั
5.1 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ
ท่เี กีย่ วข้อง กับการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
5.2 ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรม และนา
แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวิต
5.3 พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กบั ส่ิงแวดลอ้ ม
(6) จดุ เนน้ ดา้ นการพฒั นาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลกั
6.1 ปรับปรงุ โครงสร้างและการบรหิ ารจดั การการศึกษา
6.2 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
6.3 สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา
6.4 ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษา
6.5 พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๔. นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้องกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ได้แก่
วิสยั ทศั น์ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานของประเทศไทย มคี ณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพ้ืนฐานของความ
เป็นไทย
พนั ธกจิ
1. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง และมคี ณุ ภาพ
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 20
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรและค่านิยม
หลัก ของคนไทย 12 ประการ
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพ
การศึกษาและบูรณาการการจดั การศึกษา
เป้าประสงค์
1. ผเู้ รยี นระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสมตาม
วยั และมีคุณภาพและทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
2. ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพและเสมอ
ภาค
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมการทางานท่ี
มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธิ์
4. สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ และสถานศกึ ษา มปี ระสิทธิภาพ
และเป็นกลไกขับเคล่ือนการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่คุณภาพระดับ
มาตรฐานสากล
5. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เน้นการทางานแบบบูรณาการ มีเครือข่ายการ
บริหารจัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา กระจายอานาจและ ความ
รับผิดชอบ สู่สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษา
6. พ้ืนที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม
ตาม บริบทของพนื้ ท่ี
7. หน่วยงานทุกระดับ พัฒนาส่ือ เทคโนโลยี และระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัด
การศึกษา อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
8. หน่วยงานทุกระดบั มีงานวิจยั ท่สี ามารถนาผลไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
ยทุ ธศาสตร์
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่อื สร้างขดี ความสามารถใน
การ แข่งขนั
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สง่ เสริมสนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและส่งเสริมการมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
วัตถุประสงค์
วัตถปุ ระสงค์ของการปฏิรปู การศึกษาภายใต้แผนปฏริ ูปประเทศด้านการศกึ ษา ในประเด็นสาคญั คือ
1. ยกระดับคุณภาพการศึกษา
2. ลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา
3. มงุ่ ความเปน็ เลิศและสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 4. ปรับปรงุ ระบบ
การศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 21
หลักการ
1. ประชาชนทุกกลุ่มทุกวยั ได้รบั การศึกษาในระบบตา่ ง ๆ และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ
2. เด็ก เยาวชน ผ้เู รยี น มที ัศนคติทีถ่ ูกตอ้ ง มพี ้นื ฐานชีวติ ที่เขม้ แข็ง (สุขภาพ และอปุ นิสยั )
3. จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับทศิ ทางการพัฒนาประเทศและการเปล่ยี นแปลงของสังคมโลก
จุดเน้นการจัดการศกึ ษา
1. ระดับกอ่ นอนุบาล เนน้ ประสานหน่วยงานอ่นื ในการเตรียมความพร้อมผเู้ รยี นในด้านสุขภาพ
และ โภชนาการ
2. ระดับอนบุ าล เน้นความร่วมมอื รฐั ทอ้ งถ่ิน เอกชน พ่อแมแ่ ละผ้ปู กครอง ในการจัดศึกษาระดับ
อนุบาล โดยมีจดุ เนน้
- พฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี วามพรอ้ มทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม
- จัดประสบการณ์การเรียนรู้ เนน้ การเรยี นปนเลน่ เรียนรูอ้ ยา่ งมีความสุข และสร้างกจิ กรรม
เสริม
3. ระดบั ประถมศกึ ษา/มธั ยมศึกษา ครูและผเู้ รยี นสร้างกระบวนการเรียนรรู้ ่วมกนั และจัดการ
เรียนรู้ แบบองคร์ วม จดั แหลง่ เรียนรูเ้ พอื่ พัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณภาพ โดยมีจุดเนน้
- เรียนภาษาไทย เน้นเพอ่ื การส่ือสาร และใช้เป็นเครอ่ื งมือเพือ่ เรยี นวชิ าอืน่
- เรียนภาษาอังกฤษ เน้นเพ่ือการสอ่ื สาร
- เรยี นรู้ดว้ ยวธิ กี าร Active Learning เน้นพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิด การเรียนรู้จาก
สถานการณ์ จรงิ สถานการณ์จาลอง กิจกรรมการเรียนรูจ้ ากปญั หาและการลงมือปฏิบัติ สามารถเรียนรู้ได้
ทกุ ทท่ี ุกเวลา และเรียนรู้อย่างมีความสขุ
- เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เปน็ เคร่ืองมือการเรียนรู้
- สง่ เสริมการเรียนวทิ ยาศาสตร์เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรม
- จดั การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย ที่เชอ่ื มโยงส่อู าชีพและการมีงานทา
- พัฒนาครตู ามความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา (คูปองคร)ู
- จดั ให้มีโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ
4. ระดับอาชีวศึกษา จัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทาให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และความ
ตอ้ งการ ของสงั คม ท้งั ภาคอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม บริการ และเป็นผู้ประกอบการเอง โดยมจี ุดเนน้
- จดั การศึกษาระบบทวภิ าคี พัฒนาผู้เรยี นให้มีทกั ษะและความเชย่ี วชาญในอาชีพเฉพาะด้าน
เรยี นรู้
จากสถานการณจ์ รงิ และสถานการณ์จาลอง และเรยี นรจู้ ากกิจกรรม
- เรยี นภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร และใช้เพ่ือการประกอบอาชีพ
- เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรยี นรู้
- จัดต้ังศนู ย์ประสานงานการผลติ และพัฒนากาลังคนอาชวี ศึกษาในภมู ภิ าค
5. ระดบั อดุ มศึกษา เน้นการวจิ ยั และคน้ หาแนวทางการพัฒนา การสรา้ งนวัตกรรมเพื่อใหเ้ กิดองค์
ความรู้ใหม่ และมีการเชื่อมโยงองค์ความรู้ที่หลากหลายทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยมจี ุดเน้น
- เรยี นภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สาร และมที กั ษะภาษาในระดับสงู ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการเรียนรู้
เพือ่ สรา้ งองค์ความรู้ และเป็นเคร่ืองมือในการเช่ือมโยงความรู้ท้ังในและต่างประเทศ
- เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมือการเรยี นรู้
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 22
- ผู้เรียนมีศักยภาพและมีองค์ความรู้ท่ีหลากหลายท้ังในและต่างประเทศ สามารถสร้าง
นวตั กรรมเพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ และทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก
การขบั เคลือ่ นนโยบายและจุดเนน้ ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
1. ใชก้ ระบวนการพัฒนาคณุ ธรรม บูรณาการในทุกกระบวนการเรียนรู้
2. สอดแทรกเรอื่ งความโปรง่ ใส ยุตธิ รรม และป้องกันการทจุ ริต ใหม้ ใี นทุกมิติ ทง้ั การเรยี นการสอน
การนเิ ทศ และการบรหิ าร
3. ให้องค์กรหลักนาไปกาหนดนโยบายขององค์กรสู่การพัฒนาท่ียั่งยืน และขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
ของ องค์กร
4. เน้นการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับทุกกลุ่มบุคคล ทุกระดับ ทุกประเภท สู่การลดความ
เหลื่อมลา้ ในการรับการศึกษาทีม่ ีคุณภาพในทุกหน่วยงาน
5. ให้ศึกษาธิการจังหวัด นาเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด จัดทาแผนและขับเคลื่อนสู่
การ ปฏบิ ตั ใิ นการจดั การศึกษาในแตล่ ะจังหวดั ใหเ้ ป็นรปู ธรรม
6. ใช้เทคโนโลยีเชือ่ มโยงข้อมูล (Big Data) สาหรบั เป็นเครือ่ งมือในการเรียนรู้ และเครอ่ื งมอื ในการ
บริหาร
7. ให้หน่วยงานทางการศึกษา จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความเชื่อมโยง ท้ังระดับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน อาชวี ศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา
8. ให้สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็นหน่วยงานประสานงาน ดูแลเด็กท่ีมีความต้องการ
จาเป็น พเิ ศษในทกุ ระดับ เพื่อให้เดก็ พิเศษได้รบั การพฒั นา สามารถเรียนรู้ และพ่งึ พาตนเองได้
9. ให้สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นหน่วยงานหลัก และ
ประสานงานกบั หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ดูแลเดก็ ที่ตกหลน่ จากระบบการศึกษา และการศกึ ษาของผสู้ ูงอายุ
10. ให้ผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และศึกษาธิการภาค มีบทบาทและหนา้ ทต่ี รวจราชการ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผลท้ังในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ
ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ.2562-2565) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2563-2565
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2
วสิ ัยทศั น์
“จัดการศกึ ษาใตร้ ่มพระบารมี เพือ่ เดก็ ไทย เก่ง ดี มีสขุ บนวถิ พี อเพยี ง”
พนั ธกจิ
1. จัดการศึกษาเพ่ือสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
2. พฒั นาศักยภาพผู้เรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้
ทกั ษะวชิ าการ ทักษะชีวติ ทกั ษะวชิ าชพี คณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21
3. พัฒนานักเรียนทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมให้เติบโตอย่างเหมาะสมกับช่วงวัย
โดยให้โรงเรียนมีสุขภาวะที่ดี นักเรียนมีความสุขกับการไปโรงเรียน ปลูกฝังให้นักเรียนเป็นคนดี ปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของศาสนา มีคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ มวี ิถีชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 23
4. ส่งเสรมิ การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เป็นมอื อาชีพ
5. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมลา้ ใหผ้ ูเ้ รียนทกุ คน ซง่ึ หมายรวมถงึ กลุ่มผเู้ รียนที่มี
ความจาเป็นพเิ ศษ กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ได้รบั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งท่วั ถงึ และเท่าเทียม
6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยดึ หลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs) พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณา
การ และสง่ เสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
เป้าหมาย
1. นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเร่ิมและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและ
คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง
และปรบั ตัวตอ่ เป็นพลเมืองและพลโลกทดี่ ี
2. นักเรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นที่
ห่างไกลทุรกันดารได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ พร้อมก้าวสู่สากล ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
3. ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นยาทาง
วิชาการ และมีทักษะการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายตอบสนองผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์
นวตั กรรม และทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี
4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นาทาง
วชิ าการ มีสานึกความรบั ผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบรว่ มมอื
5. สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู้ ร่วมมือกับชุมชน
ภาคเอกชน และผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นท่ีจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน เพื่อการเรียนรู้ในทุก
มติ ิ เปน็ โรงเรียนนวัตกรรม
6. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เป็นสานักงานแห่งนวัตกรรมยุคใหม่
ใช้ข้อมลู สารสนเทศและการวจิ ัยและพัฒนาในการขับเคล่ือนคุณภาพ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล
อย่างเปน็ ระบบ
7. สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ปรับเปลย่ี นวัฒนธรรมการทางาน โดยมอบอานาจการบริหารงานและ
การจัดการศึกษาใหส้ ถานศึกษา บรหิ ารเชงิ บูรณาการมรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศที่มีประสิทธภิ าพ กากบั ติดตาม
ประเมินผล และการรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ ใชว้ ิจัย และนวตั กรรมในการขับเคลือ่ นคุณภาพ
ค่านยิ ม
“ครแู ละบุคลากรมีความรู้ มงุ่ สู่กระบวนการ ทางานแบบมืออาชพี ”
KPP2
K : Knowledge : ความรู้
P : Process : กระบวนการ
P : Professional : มอื อาชพี
2 : Teacher and Educational Personnel : ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 24
ประเด็นนโยบาย
1. จัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคง
2. พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน
3. พัฒนาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
4. สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่มี ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมลา้ ทางการ
ศกึ ษา
5. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ
ประเดน็ นโยบายที่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความม่ันคง
ประเด็นกลยุทธ์
1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรยี นในเขตพน้ื ทเ่ี ฉพาะ กลุม่ ชาติพันธ์ุ กลุ่มท่ีด้อยโอกาส
และกลุ่มท่อี ยใู่ นพื้นทีห่ ่างไกล ทุรกันดาร ได้รบั การบริการด้านการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานที่มีคุณภาพและเหมาะสม
ตรงตามความต้องการ
ประเด็นนโยบายท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
ประเด็นกลยุทธ์
2.1 ปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตรทกุ ระดับการศึกษา ใหเ้ อ้อื ต่อการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน
เปน็ รายบคุ คล มีทักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21 นาไปสู่การจัดการศึกษาเพือ่ การมงี านทา (Career
Education)
2.2 พัฒนาผู้เรียนทุกคนใหม้ ีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคตทิ ่ีดีต่อบา้ นเมือง มีหลักคิดทถ่ี ูกต้องเป็นพลเมืองดี
ของชาติ และพลเมืองโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และบนพนื้ ฐานความเปน็ ไทย
2.3 พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มคี วามเป็นเลิศด้าน
วิชาการ นาไปสู่การสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขนั
2.4 พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทักษะอาชพี และทกั ษะชีวติ มีสขุ ภาวะทด่ี ีสามารถดารงชีวิตอยใู่ น
สงั คม ได้อย่างมีความสุข
2.5 การจดั การศกึ ษาเพื่อการบรรลเุ ป้าหมายโลกเพ่ือการพฒั นาอย่างยงั่ ยนื (SDGs) เพอื่
สร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.6 พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
2.7 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ านกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษานา Digital
Technology มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ให้แก่ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความ
ถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพอื่ การเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
ประเดน็ นโยบายที่ 3 พัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นกลยทุ ธ์
3.1 สร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั สถาบันทางการศกึ ษาท่ีผลิตครูในการผลิตและพฒั นาครใู หต้ รง
กบั สาขาวชิ า และสอดคลอ้ งกับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21
3.2 พฒั นาผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐาน
วิชาชพี มีศักยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3.3 นา Digital Technology มาใชใ้ นการพัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุก
ประเภททั้งระบบ
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 25
ประเดน็ นโยบายที่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มีมาตรฐาน และลด
ความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา
ประเด็นกลยุทธ์
4.1 รว่ มมอื กบั องค์กรปกครองระดบั ท้องถ่ิน ภาคเอกชน หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง ในการจดั การศกึ ษา
ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของพ้นื ท่ี
4.2 ยกระดบั สถานศึกษาในสังกดั ทุกระดับ และทุกประเภท ให้มีมาตรฐาน ตามบรบิ ท ของพนื้ ท่ี
เพื่อใหพ้ ฒั นาผูเ้ รยี น มีคุณภาพ มมี าตรฐานเสมอกัน
4.3 สร้างความเข้มแข็งในการบรหิ ารจดั การศึกษาสาหรับผู้เรยี นท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ
4.4 จดั สรรงบประมาณสนบั สนุนผเู้ รียน และสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ
4.5 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการพฒั นา
คุณภาพของผูเ้ รียน
ประเด็นนโยบายที่ 5 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการ
ประเดน็ กลยุทธ์
5.1 เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
5.2 สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื และสง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นของสังคมเข้ามามีส่วนร่วม บริหารจดั
การศกึ ษา
5.3 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การบรหิ ารงานของสถานศึกษาให้มีอิสระ นาไปสู่การกระจายอานาจ 4 ด้าน ให้
สถานศกึ ษาเปน็ ศูนย์กลางในการจัดการศกึ ษาตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี
5.4 ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษานา Digital Technology มาใชใ้ นการเพิ่มประสิทธิภาพการ
บรหิ ารอย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพือ่ เชื่อมโยงข้อมลู ด้านตา่ ง ๆ ตงั้ แต่ข้อมลู ผูเ้ รยี น
ขอ้ มูลครู ขอ้ มลู สถานศึกษา ข้อมลู งบประมาณ และข้อมลู อ่ืน ๆ ท่จี าเปน็ มาวเิ คราะห์ เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษา
สามารถจัดการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนดั และสามารถวิเคราะหเ์ ปน็
ขอ้ มลู ในการวางแผนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศตอ่ ไป
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 26
สว่ นท่ี 3
ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
การวเิ คราะห์สถานภาพของโรงเรียน (SWOT)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) ได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
(Environmental Analysis) เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของโรงเรียนสักงาม
ประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) โดยพิจารณาจุดแข็ง-จุดอ่อน จากสภาพแวดล้อมภายใน
และโอกาส-อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก ซ่ึงเป็นปัจจัยหรือเงื่อนไขในระยะเวลาที่ผ่านมา และท่ีจะ
เป็นเง่ือนไขในอนาคต ซึ่งส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการดาเนินงานของโรงเรียนเป็นอย่างมาก จึงจาเป็นอย่าง
ยิ่งท่ีจะต้องนามาพิจารณาในการกาหนดทิศทางและแนวทางการดาเนินงาน โดยหาปัจจัยที่เอื้อต่อการ
ดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ และขจัดปัจจัยที่ไม่เอ้ือต่อการดาเนินงานอันจะนาไปสู่ความล้มเหลวของ
โรงเรียน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมมบี ทบาทสาคญั ยิง่ ในกระบวนการจัดทาแผนกล ได้ดาเนินการดังน้ี
1. เน้นการมีส่วนร่วม โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะทางานซ่ึงประกอบด้วยบุคลากรโรงเรียน และยังได้
เรียนเชิญตัวแทนผู้ปกครองและนักเรยี นมาร่วมจัดทาด้วย
2. การใช้เทคนิค SWOT Analysis วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกโรงเรียน โดย
วเิ คราะห์จากปัจจัยด้านตา่ ง ๆ ตามสภาพแวดล้อม คือ
2.1. สภาพแวดลอ้ มภายใน วิเคราะห์จดุ แข็ง (Strengths) =[S] และจดุ ออ่ น (Weakness)
= [W] จากปัจจยั ต่อไปนี้
• ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบายของโรงเรียน =S1
• ด้านบริการ = S2
• ดา้ นบุคลากร = M1
• ด้านประสิทธิภาพทางการเงิน = M2
• ดา้ นวัสดอุ ปุ กรณ์ = M3
• ด้านการบริหารจัดการ =M4
2.2. สภาพแวดลอ้ มภายนอก วิเคราะหโ์ อกาส (Opportunity) และอปุ สรรค (Threat)
จากปจั จัยต่อไปนี้
• ด้านสงั คมและวฒั นธรรม (Social-Culture) = S
• ด้านเทคโนโลยี (Technological) = T
• ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic) = E
• ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political) = P
3.ขนั้ ตอนการวิเคราะห์ ดาเนินงาน 4 ข้นั ตอนดงั น้ี คอื
3.1. กาหนดและวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก ภายใน เพือ่ ศึกษาลักษณะโอกาส/
อุปสรรค และจดุ อ่อน/จุดแขง็
3.2. ประเมนิ สถานภาพของโรงเรียน นาผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก ภายใน
มาสังเคราะหเ์ พ่ือประเมินสถานภาพของโรงเรียนในปจั จบุ ัน
3.3. ประมาณคา่ จากปจั จยั ภายนอกและปจั จยั ภายในแตล่ ะรายการ
3.4. สรา้ งแผนภมู ิรูปภาพ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 27
3.1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี น (Environmental Analysis)
3.1.1. สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน
(1) ปจั จัยดา้ นโครงสร้างและนโยบาย
1. โครงสรา้ งการบริหารงานของโรงเรยี นมีความ ชดั เจน เอ้ือตอ่ การ
ปฏบิ ัติงาน
2. มกี ารกระจายอานาจแบ่งงานตามความถนดั ทาให้เกิดความคล่องตวั
ในการปฏบิ ตั ิงาน
3. มคี วามสัมพนั ธ์และวัฒนธรรมองค์กรท่ีดี
4. การปฏิบตั ิงานบางเรอื่ งขาดความตอ่ เน่ือง เกดิ จากการเปลยี่ นแปลง
นโยบายของหน่วยเหนอื
5. การดาเนินงานตามนโยบายซึง่ มมี ากทาให้เกิดผลกระทบต่อการเรียน
การสอน
6.โครงสร้างบริหารงานโรงเรยี นไมเ่ ป็นระบบ บุคลากรส่วนใหญไ่ ม่
ตระหนักต่อภาระงานของโรงเรยี น ทาให้บคุ ลากรบางสว่ นรับผิดชอบงานพิเศษมากเกนิ ไป
(2) ปัจจัยด้านผลผลิตและการบริการ
1. โรงเรยี นมคี วามพร้อมในการให้บริการทางการศึกษาแก่ประชากรวยั
เรยี นในพนื้ ท่ีบริการได้ทุกคน
2. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่ สอดคล้องกบั ความ
ต้องการของผู้เรียน
3. นักเรียนได้รับการดูแลจากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนที่เขม้ เข็ง
4. คุณภาพผู้เรยี นด้านคุณธรรมจริยธรรมและ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
สง่ ผลต่อพฤติกรรม ของนักเรียนดา้ นการเรียนและความประพฤติ นกั เรยี นมรี ะดบั
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทีด่ ขี ้ึน
5. การจดั สภาพแวดล้อมทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ สุขภาพอนามัยและความ
ปลอดภัยของผู้เรียน
6. นกั เรยี นบางส่วนมปี ญั หาทางด้านครอบครัวมีผลกระทบต่อนักเรยี น
ในด้านจิตใจและดา้ นการเรียน
7. แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี นไม่เพยี งพอเช่น หอ้ งสมุด
8.ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวิชาหลกั และคะแนน O-NET คะแนน
ผลการทดสอบระดับชาติอยู่ในเกณฑ์คอ่ นข้างต่า
9.นกั เรียนขาดความสนใจในการใช้แหล่งเรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา ขาดคณุ ลักษณะรกั การอ่าน ส่งผลใหไ้ ม่ประสบการณ์ทีห่ ลากหลาย
10.นกั เรยี นขาดระเบยี บวินยั คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม ขาดจิตสานึกใน
การรกั ษาความสะอาดและสมบัตขิ องส่วนรวม ไมป่ ระหยัด ใช้สง่ิ ของไมค่ ุ้มค่า
(3) ปัจจัยดา้ นบคุ ลากร
1. บคุ ลากรมีความเข้มแข็ง ทุ่มเทการทางาน ให้กบั ทุกภารกิจของ
โรงเรยี น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 28
2. ครมู ีความตืน่ ตวั และกระตือรือรน้ ในการพฒั นาตนเองนาความร้ทู ี่
ได้มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน
3. บคุ ลากรมีโอกาสไดร้ ับการพฒั นาตนเอง
4. บุคลากรมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี มที กั ษะการใชส้ ่อื
นวตั กรรม มศี กั ยภาพในการพัฒนาผูเ้ รยี นด้านวชิ าการ
5. บคุ ลากรบางส่วนยังขาดความเชย่ี วชาญในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศใหเ้ กิดประโยชน์
6. ไมม่ นี กั การภารโรงที่ทาหน้าทีใ่ นการดูแล ซอ่ มแซม วัสดุอุปกรณ์ให้
พรอ้ มใช้งานตลอดเวลา
7. การดาเนนิ การงานบางเรือ่ งขาดความตอ่ เนื่อง เกิดจากช่วงการเปลยี่ น
ถา่ ยบุคคลกรภายในโรงเรียน
8. มจี านวนของครูไม่เพยี งพอกบั จานวนนักเรยี น และการบรหิ ารจดั การ
9. ผบู้ รหิ ารขาดการนเิ ทศติดตามการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีตามคาสั่งของบุคลากร
สง่ ผลให้การทางานไม่บรรลวุ ัตถุประสงค์
(4) ปจั จัยดา้ นการเงิน
1. โรงเรียนไดร้ ับความรว่ มมือจากชุมชนในการระดมทรัพยากรชว่ ย
สนบั สนุนพัฒนาการศึกษาและ จัดกจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี
2. การบริหารงบประมาณของโรงเรียน ดาเนินไป ตามแผนปฏิบัตกิ าร
อย่างโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
3. ไดร้ ับงบประมาณสนับสนนุ จากรฐั บาล องค์กรการปกครองส่วน
ท้องถน่ิ และชุมชน
4. งบประมาณท่ีไดร้ ับจัดสรรจากรัฐบาลยงั ไม่ เพยี งพอต่อการบริหาร
จดั การ
5. การเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณตามระเบยี นมีหลายข้ันตอน ทาใหก้ าร
ดาเนินกจิ กรรมตามนโยบาย ตามโครงการล่าชา้
6. การใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณบางสว่ นยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามแผนงาน/โครงการ
(5) ปัจจัยดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์
1. โรงเรยี นใช้อาคารสถานทแ่ี ละวสั ดุอปุ กรณ์ใน การจดั การเรยี นการ
สอนและบริการชมุ ชนอยา่ งคุ้มคา่
2. จัดซอื้ วสั ดุ-อปุ กรณ์ ในการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งเพียงพอ
3. โรงเรียนประสานงานกับหนว่ ยงานต้นสงั กดั จดั หาวัสดุอุปกรณ์
อาคารสถานท่ี นอกเหนือทไ่ี ด้รับจัดสรรตามปกติ
4. มีการปรับปรุงพัฒนาอาคารสถานทอี่ ยา่ งสมา่ เสมอ สง่ ผลต่อบรรยากาศ
การจัดการเรยี นการสอนท่ีดี
5. โรงเรียนมีวสั ดุอปุ กรณช์ ารุด เสื่อมสภาพ
6. โรงเรยี นมีคอมพิวเตอรท์ ใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี น การสอนไมเ่ พียงพอ
7. สภาพโตะ๊ เก้าอี้ บางห้องเรียนเก่าและชารดุ
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 29
8. หอ้ งสมดุ มหี นังสือ ไมห่ ลากหลายไม่เป็นปจั จุบนั และไม่เพียงพอต่อ
การสืบคน้
9. ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศยังไม่สมบูรณแ์ ละเพยี งพอต่อการใช้งาน
ของครู และนาเรยี น
(6) ปจั จัยดา้ นการบรหิ ารจัดการ
1. โรงเรยี นได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ใช้ เป็นเคร่ืองมือในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
2. มกี ารนิเทศ กากับ ตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้ อยา่ งต่อเน่ือง
3. ผูบ้ รหิ ารมคี วามมุ่งม่นั ในการบรหิ ารจดั การ โรงเรียนใหบ้ รรลภุ ารกิจ
4. เปิดโอกาสให้ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการ บรหิ ารจัดการ
5. การจัดเก็บขอ้ มลู สารสนเทศไม่เปน็ ระบบและไม่ เป็นปจั จุบันทาให้
ขาดความคล่องตัวในการ ปฏิบัตงิ าน
6. โรงเรยี นขาดการรายงาน/ประชาสมั พันธ์ เผยแพรผ่ ลงาน
7. ระบบนเิ ทศ กากบั ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา ใน
ระดบั โรงเรยี นยังไมต่ ่อเนื่อง
3.1.2.สภาพแวดล้อมภายนอกของโรงเรียน (STEP)
(1) ปจั จัยดา้ นสังคมและวัฒนธรรม (Social-Culture)
1. คนในชุมชนมรี ายไดเ้ ฉล่ียต่อครัวเรอื นอยู่ในระดับปานกลาง
2. ชุมชนมคี วามเข้มแข็ง ยนิ ดใี ห้การสนบั สนุน ภารกิจของโรงเรยี น
3. คนในชมุ ชนมีภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ที่สามารถ นามาเปน็ จุดเด่นของ
โรงเรียนได้
3. คนในชมุ ชนร่วมกันอนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ซง่ึ สามารถใชเ้ ปน็ แหลง่
เรียนรู้และสรา้ งจิตสานกึ ในด้านตา่ ง ๆ ใหก้ ับนักเรียนได้
4. หนว่ ยงานท้ังภาครัฐและเอกชนใหก้ ารสนบั สนนุ กิจกรรมด้านวิชาการ
ทาใหโ้ รงเรยี นจัดการศึกษาได้อย่างประสิทธิภาพ
5. สถานทต่ี ้ังของโรงเรยี นอยู่ใกลต้ วั อาเภอ มี ผลกระทบต่อจานวน
นกั เรยี นในโรงเรียน
6. การย้ายถน่ิ ของผปู้ กครองทาใหน้ ักเรียนเรยี นไมต่ ่อเน่อื งอยู่เปน็ ประจา
7. มกี ารตดิ การพนนั เปน็ แบบอย่างท่ีไมด่ ตี ่อนักเรียน
8. ผูป้ กครองไม่สามารถใหค้ าปรึกษาปัญหาการเรียนของนักเรียนได้
(2) ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี
1. ชุมชนเขา้ ถงึ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดส้ ะดวก มากขน้ึ ส่งผลดตี อ่ การ
ประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน
2. การติดต่อสื่อสารทาไดง้ ่ายมผี ลต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
3. การพฒั นาทางด้านเทคโนโลยี ทาให้นักเรียนได้เรยี นรู้ และแสวง
หาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง
4. นกั เรยี น ผู้ปกครองและชมุ ชน เขา้ ถงึ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขยองโรงเรียนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 30
5. มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีในทางลบ เชน่ เล่นเกม ดู โทรทศั นม์ ากเกินไป
6. ใช้สญั ญาณอนิ เทอร์เนต็ ไม่ทว่ั ถึงนักเรียน
(3) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
1. คนในชุมชนสว่ นใหญม่ ีอาชพี และท่ีดนิ ทากนิ เปน็ กรรมสทิ ธิข์ อง
ตนเอง
2. ชมุ ชนเปน็ สังคมเมือง สามารถพ่ึงพาตนเองได้
3. ชุมชนพรอ้ มสนบั สนนุ และมสี ว่ นรว่ มระดมทรัพยากรในการพัฒนา
โรงเรยี น
4. เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอยู่ในช่วงชะลอตวั ส่งผลกระทบตอ่
ชุมชนและโรงเรียน
5. ราคาพชื ผลทางการเกษตรตกต่า ทาให้รายได้ ของผูป้ กครองลดลง
6. นกั เรยี นมีค่านิยมดา้ นความฟมุ่ เฟือย ใช้ของแพงสูงเกนิ ตวั ไม่
สอดคล้องกับรายไดข้ องครอบครัว
(4) ปจั จัยดา้ นการเมืองและกฎหมาย
1. มีความรูเ้ ก่ียวกับกฎหมาย และสนใจการเมอื ง
2. นโยบายกระจายอานาจให้ อปท. มีส่วนให้ สถานศกึ ษาได้รบั การ
สนับสนนุ งบประมาณ จาก อปท.
3. การดาเนินการด้านการจดั การทรัพยากรการศกึ ษาสอดคลอ้ งกับ
กฎระเบียบ
4. นโยบายด้านการศึกษามีการเปลยี่ นแปลงบอ่ ย สง่ ผลต่อความต่อเน่ือง
ในการบริหารจัด การศกึ ษา
5. ผปู้ กครองบางสว่ นไม่เข้าใจ นโยบายปฏิรปู การศึกษา ขาดเรือ่ ง
กฎหมายและ พ.ร.บ.การศกึ ษา
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 31
3.2 การวเิ คราะหอ์ งค์กร SWOT Analysis ของโรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์
(เกษตรศาสตรอ์ นุสรณ์ 37)
๑. การวิเคราะห์ปจั จัยภายใน (Internal Environment)
๑.๑ ด้านโครงสรา้ งงานและนโยบาย (S๑)
จุดแข็ง จดุ อ่อน
1. โครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียนมคี วาม 1. การปฏบิ ัติงานบางเร่ืองขาดความตอ่ เน่ือง เกิด
ชัดเจน เออ้ื ต่อการปฏบิ ตั ิงาน จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของหน่วยเหนือ
2. มกี ารกระจายอานาจแบ่งงานตามความถนดั 2. การดาเนินงานตามนโยบายซึง่ มมี ากทาให้เกดิ ผล
ทาใหเ้ กดิ ความคล่องตวั ในการปฏิบตั งิ าน กระทบตอ่ การเรยี นการสอน
3. มคี วามสัมพนั ธแ์ ละวัฒนธรรมองค์กรทด่ี ี 3. โครงสรา้ งบริหารงานโรงเรียนไมเ่ ป็นระบบ
บุคลากรส่วนใหญไ่ มต่ ระหนักตอ่ ภาระงานของ
โรงเรยี น ทาให้บุคลากรบางส่วนรบั ผิดชอบงานพิเศษ
มากเกินไป
๑.๒ ดา้ นการใหบ้ ริการและผลผลติ (S๒) จดุ อ่อน
จดุ แข็ง
1. โรงเรียนมคี วามพรอ้ มในการให้บริการทาง 1. นักเรียนบางสว่ นมปี ัญหาทางดา้ นครอบครวั มี
การศกึ ษาแก่ประชากรวยั เรยี นในพนื้ ทบี่ ริการ ได้ ผลกระทบต่อนักเรยี นในด้านจติ ใจและดา้ นการ
ทกุ คน เรียน
2. โรงเรยี นจัดการเรยี นการสอนและกิจกรรมที่ 2. แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนไม่เพียงพอเชน่
สอดคลอ้ งกับความต้องการของผเู้ รยี น ห้องสมุด
3. นกั เรียนได้รบั การดแู ลจากระบบดแู ล 3. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาหลัก และ
ช่วยเหลือ นักเรยี นทเี่ ขม้ เขง็ คะแนน O-NET คะแนนผลการทดสอบระดับชาตอิ ยู่
4. คณุ ภาพผู้เรยี นดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและ ในเกณฑ์ค่อนขา้ งตา่
คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ส่งผลต่อพฤติกรรม ของ 4. นกั เรยี นขาดความสนใจในการใช้แหลง่ เรียนรู้ท้งั
นักเรยี นดา้ นการเรยี นและความประพฤติ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ขาดคุณลกั ษณะรกั
นกั เรยี นมรี ะดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทด่ี ีขึน้ การอ่าน ส่งผลให้ไม่ประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย
5. การจดั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ 5. นักเรยี นขาดระเบยี บวนิ ัย คณุ ธรรม และ
สขุ ภาพอนามัยและความปลอดภัยของผ้เู รียน จริยธรรม ขาดจิตสานกึ ในการรกั ษาความสะอาด
และสมบตั ขิ องสว่ นรวม ไม่ประหยดั ใช้สง่ิ ของไม่
ค้มุ คา่
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 32
๑.๓ ด้านบคุ ลากร (M๑) จุดออ่ น
จดุ แขง็
1. บุคลากรมคี วามเข้มแข็ง ทุ่มเทการทางาน ให้กับทุก 1. บคุ ลากรบางส่วนยังขาดความเชี่ยวชาญในการใช้
ภารกิจของโรงเรยี น เทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ้ กิดประโยชน์
2. ครมู ีความต่นื ตวั และกระตือรือรน้ ในการพฒั นา 2. ไมม่ ีนักการภารโรงทที่ าหน้าทีใ่ นการดูแล
ตนเองนาความรทู้ ่ีไดม้ าใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ซอ่ มแซม วสั ดอุ ุปกรณใ์ ห้พร้อมใช้งานตลอดเวลา
3. บุคลากรมโี อกาสได้รบั การพัฒนาตนเอง 3. การดาเนนิ การงานบางเรอื่ งขาดความต่อเน่ือง
4. บคุ ลากรมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี เกิดจากชว่ งการเปล่ยี นถ่ายบุคคลกรภายในโรงเรยี น
ทกั ษะการใช้สื่อ นวัตกรรม มีศักยภาพในการพฒั นา 4. มีจานวนของครูไม่เพยี งพอกบั จานวนนักเรยี น
ผูเ้ รยี นดา้ นวชิ าการ และการบรหิ ารจัดการ
๑.๔ ดา้ นการเงนิ (M๒) จุดออ่ น
จดุ แข็ง
1. โรงเรยี นไดร้ บั ความรว่ มมือจากชมุ ชนในการ 1. งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรรจากรัฐบาลยังไม่
ระดมทรัพยากรชว่ ยสนบั สนุนพัฒนาการศกึ ษาและ เพียงพอต่อการบริหารจัดการ
จดั กจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี 2. การเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณตามระเบยี นมหี ลาย
2. การบรหิ ารงบประมาณของโรงเรยี น ดาเนินไป ขั้นตอน ทาให้การดาเนนิ กจิ กรรมตามนโยบายตาม
ตามแผนปฏบิ ัติการ อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โครงการลา่ ช้า
3. ได้รบั งบประมาณสนบั สนุนจากรฐั บาล องค์กร 3. การใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณบางส่วนยงั ไม่เปน็ ไป
การปกครองสว่ นท้องถิ่น และชุมชน ตามแผนงาน/โครงการ
๑.๕ ด้านวสั ดุ/อุปกรณ์ (M๓) จดุ อ่อน
จุดแขง็
1. โรงเรยี นใชอ้ าคารสถานท่ีและวัสดุอุปกรณ์ใน การ 1. โรงเรียนมวี สั ดุอุปกรณ์ชารุด เส่ือมสภาพ
จดั การเรยี นการสอนและบริการชมุ ชน อยา่ งคุม้ คา่ 2. โรงเรียนมคี อมพิวเตอรท์ ่ีใช้ในการจัดการเรียน
2. จัดซือ้ วัสดุ-อุปกรณ์ ในการจดั การเรียนการสอน การสอนไม่เพยี งพอ
อยา่ งเพียงพอ 3. สภาพโต๊ะ เก้าอ้ี บางห้องเรียนเกา่ และชารดุ
3. โรงเรียนประสานงานกับหนว่ ยงานตน้ สังกดั จัดหา 4. หอ้ งสมุดมหี นงั สอื ไม่หลากหลายไม่เป็นปจั จบุ นั
วัสดอุ ปุ กรณ์ อาคารสถานท่ี นอกเหนือท่ีได้รบั จดั สรร และไม่เพยี งพอต่อการสืบคน้
ตามปกติ 5. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยงั ไม่สมบูรณ์และ
4. มีการปรับปรุงพฒั นาอาคารสถานทอี่ ยา่ งสม่าเสมอ เพยี งพอต่อการใชง้ านของครู และนาเรยี น
สง่ ผลตอ่ บรรยากาศ การจดั การเรยี นการสอนที่ดี
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 33
๑.๖ ด้านการบริหารจัดการ (M๔) จุดออ่ น
จดุ แข็ง
1. โรงเรียนได้จัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปีใชเ้ ปน็ 1. การจดั เก็บขอ้ มลู สารสนเทศไมเ่ ป็นระบบและไม่
เครอ่ื งมือในการปฏบิ ัติงาน เปน็ ปัจจบุ ันทาใหข้ าดความคลอ่ งตัวในการ
2. มีการนิเทศ กากบั ติดตามการจัดการเรียนรู้ อย่าง ปฏิบตั งิ าน
ต่อเนื่อง 2. โรงเรยี นขาดการรายงาน/ประชาสัมพันธ์
3. ผูบ้ รหิ ารมคี วามมงุ่ มนั่ ในการบริหารจัดการ เผยแพรผ่ ลงาน
โรงเรยี นให้บรรลุภารกิจ 3.ระบบนเิ ทศ กากบั ตดิ ตามและประเมินผล การ
4. เปดิ โอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการ บริหาร จดั การศกึ ษา ในระดบั โรงเรียนยังไม่ต่อเนอื่ ง
จัดการ
ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในตามปัจจัยทั้ง ๖ ประเดน็ ดงั กลา่ วข้างต้นสรุปในภาพรวมได้
วา่ ปัจจยั ต่างๆดงั กล่าวเป็นปัจจัยท่ีเป็นจุดแข็งของโรงเรยี นทเี่ อื้อต่อการพฒั นาโดยการให้บริการด้าน
การศกึ ษาของโรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37) มีการจัดระบบด้านโครงสร้างและ
นโยบายด้านผลผลิตด้านบุคลากรด้าน การเงินวัสดุอุปกรณ์และด้านการบรหิ ารจดั การเป็นปัจจัยท่ีเอื้อต่อ
การพัฒนาแต่ประสบปัญหาในประเดน็ ท่ีว่างบประมาณทีไ่ ด้รับจัดสรรจากรฐั บาลยังไมเ่ พียงพอต่อการ
บรหิ ารจดั การ ทาใหโ้ รงเรียนพัฒนาได้ไม่ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ไดต้ ้งั ไว้เท่าที่ควร
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 34
๒. ผลการวเิ คราะหป์ จั จยั ภายนอก (External Environment)
๒.๑ ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม (S)
โอกาส อุปสรรค
1. คนในชมุ ชนมรี ายได้เฉลยี่ ต่อครัวเรือนอยู่ในระดบั 1. สถานทตี่ ง้ั ของโรงเรียนอย่ใู กล้ตัวอาเภอ มี
ปานกลาง ผลกระทบต่อจานวนนกั เรียนในโรงเรยี น
2. ชุมชนมคี วามเข้มแข็ง ยินดีใหก้ ารสนับสนนุ ภารกิจ 2. การยา้ ยถิน่ ของผปู้ กครองทาให้นักเรียนเรียนไม่
ของโรงเรยี น ต่อเนือ่ งอยู่เป็นประจา
3. คนในชุมชนมภี ูมปิ ัญญาท้องถิ่นทีส่ ามารถ นามา 3. มีการติดการพนนั เปน็ แบบอย่างที่ไมด่ ีต่อ
เปน็ จุดเดน่ ของโรงเรียนได้ นกั เรียน
3. คนในชมุ ชนร่วมกันอนรุ ักษ์ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นซงึ่ 4. ผู้ปกครองไม่สามารถใหค้ าปรึกษาปญั หาการ
สามารถใช้เป็นแหลง่ เรียนรแู้ ละสรา้ งจิตสานึก ในด้าน เรยี นของนักเรยี นได้
ตา่ ง ๆ ให้กบั นักเรียนได้
4. หนว่ ยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนนุ
กจิ กรรมด้านวชิ าการทาใหโ้ รงเรยี นจดั การศึกษาได้
อยา่ งประสทิ ธิภาพ
๒.๒ ด้านเทคโนโลยี (T) อปุ สรรค
โอกาส
1. ชุมชนเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศได้สะดวก มาก 1. มกี ารใชเ้ ทคโนโลยใี นทางลบ เช่น เลน่ เกม ดู
ขึ้น สง่ ผลดตี อ่ การประชาสมั พันธ์ของ โรงเรียน โทรทัศน์มากเกินไป
2. การติดตอ่ ส่ือสารทาไดง้ ่ายมผี ลตอ่ การจดั กจิ กรรม 2. ใช้สัญญาณอนิ เทอร์เน็ตไม่ท่วั ถึงนกั เรียน
การเรียนการสอน
3. การพฒั นาทางดา้ นเทคโนโลยี ทาให้นกั เรียนได้
เรยี นรู้ และแสวง
หาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง
4. นกั เรยี น ผปู้ กครองและชมุ ชน เขา้ ถึงระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศขยองโรงเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 35
๒.๓ ด้านเศรษฐกจิ (E) อุปสรรค
โอกาส
1. คนในชมุ ชนสว่ นใหญม่ ีอาชีพและที่ดินทากนิ 1. เศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศอยู่ในชว่ งชะลอตวั
เปน็ กรรมสิทธิ์ของตนเอง สง่ ผลกระทบต่อชมุ ชนและโรงเรยี น
2. ชมุ ชนเป็นสังคมเมอื ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ 2. ราคาพืชผลทางการเกษตรตกตา่ ทาให้รายได้ ของ
3. ชุมชนพรอ้ มสนับสนนุ และมสี ว่ นรว่ มระดม ผ้ปู กครองลดลง
ทรพั ยากรในการพฒั นาโรงเรียน 3. นกั เรียนมคี า่ นยิ มด้านความฟุ่มเฟือย ใช้ของแพงสูง
เกินตวั ไม่สอดคลอ้ งกบั รายได้ของครอบครัว
๒.๔ ด้านการเมอื งและกฎหมาย (P) อปุ สรรค
โอกาส
1. มคี วามรเู้ กย่ี วกบั กฎหมาย และสนใจการเมือง 1. นโยบายด้านการศกึ ษามีการเปลีย่ นแปลงบ่อย
2. นโยบายกระจายอานาจให้ อปท. มสี ่วนให้ สง่ ผลตอ่ ความต่อเนอื่ งในการบรหิ ารจัด การศกึ ษา
สถานศกึ ษาได้รบั การสนบั สนุนงบประมาณ จาก 2. ผูป้ กครองบางสว่ นไมเ่ ขา้ ใจ นโยบายปฏริ ูป
อปท. การศกึ ษา ขาดเร่ืองกฎหมายและ พ.ร.บ. การศึกษา
3. การดาเนินการด้านการจัดการทรัพยากร
การศึกษาสอดคล้องกบั กฎระเบียบ
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกตามปัจจัยทั้ง ๔ ประเด็นดังกล่าวข้างต้นสรุปในภาพรวม
ไดว้ ่าปจั จยั ตา่ ง ๆ ดังกล่าวเป็นปจั จัยทีเ่ อือ้ ตอ่ การพฒั นาและการใหบ้ ริการทางการศึกษาของโรงเรียนสักงาม
ประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) โรงเรียนมีสภาพสังคมวัฒนธรรมที่ดีงามแข็งแกร่งมีการพัฒนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีแหล่งเรียนรู้และ แหล่งวัฒนธรรม ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนให้การส่งเสริม
สนับสนุนด้านเทคโนโลยีและ งบประมาณ และเนื่องจากมีการ ส่งผลให้การ จัดการศึกษาของโรงเรียนสัก
งามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) มีการพัฒนาในทุก ๆ ด้านอย่างเป็นระบบชัดเจนและ
ต่อเน่ือง
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 36
ตารางสงั เคราะห์ความเช่ือมโยงระหว่างตัวแปร
ของสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของโรงเรียน
TM3 TM2 TM4 TM1 TS2 TS1 T
SM3 SM2 SM4 SM1 SS2 SS1 S
PM3 PM2 PM4 PM1 PS2 PS1 P
EM3 EM2 EM4 EM1 ES2 ES1 E
M3 M2 M4 M1 S2 S1
ตารางแสดงความสัมพนั ธข์ องการวิเคราะหส์ ภาพภายในและสภาพภายนอก
ทีเ่ ป็นโอกาส/อปุ สรรคและจุดแขง็ /จุดออ่ น
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37)
O (โอกาส)
สภาพแวดล้อมท่เี อ้ือตอ่ การจัดการ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อ ไดแ้ ก่ มีแผนงาน
เรยี นการศกึ ษา คือ บุคลากรมคี วามรู้ ที่ชัดเจน ชุมชนใหค้ วามรว่ มมือในการ
ความสามารถดี พัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง จัดการศึกษาแตย่ ังไมส่ ามารถส่งเสรมิ
ชุมชนและองคก์ รในทอ้ งถน่ิ มีส่วน หรอื นาแผนงานมาใช้อย่างจริงจัง และ
ร่วมในการจดั การศกึ ษา โรงเรียนมี ไมส่ ามารถนาเอาชุมชนให้มสี ่วนร่วม W
S แผนงานปฏบิ ตั งิ านชัดเจน
ในการจดั การศึกษาอย่างเต็มที่ (จุดอ่อน)
(จุดแข็ง) สภาพแวดลอ้ มภายในท่ีเปน็ จุดแขง็ สภาพแวดลอ้ มที่ไมเ่ อ้ือและเป็น
แต่ไมเ่ อื้อ ไดแ้ ก่ บุคลากรมีความรู้ จดุ ออ่ น คือ คณะกรรมการและองค์กร
ความสามารถดี แตข่ าดส่ือ การเรยี น ท้องถ่ินไม่เข้าใจบทบาทของตนเองต่อ
การสอนที่เปน็ เทคโนโลยที นั สมยั ไม่ การสนบั สนุนทางการศกึ ษาแตก่ าร
สามารถระดมทนุ จากชุมชนได้อยา่ ง บริหารจัดการไม่สามารถ
เต็มที่เนื่องจากเศรษฐกิจของชุมชน ประชาสมั พันธ์และประสานงานทดี่ ี
บางสว่ นมรี ายได้น้อย มีหนี้สินมาก เพ่อื ขจดั ปญั หาดงั กลา่ วได้
T ( อุปสรรค)
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 37
สรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรยี น
ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของ
โรงเรียนสักงามมประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) ดังกล่าวข้างต้นสามารถประเมินสถานภาพของ
โรงเรียนได้อยู่ในลักษณะ “เอื้อและแข็ง” (STAR) กล่าวคือ โรงเรียนมีโอกาสท่ีจะพัฒนาภารกิจในการจัด
การศึกษา และให้บริการทางการ ศึกษากับชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
บุคลากรปฏิบัติหน้าท่ีตรงตาม ความรู้ความสามารถของตนเอง และมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ
ก่อให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพการบริหารการจัดการท่ีเป็นระบบชัดเจนและมีคุณภาพ ด้าน
ผลผลิตและการให้บริการท่ีดีมี ชื่อเสียงเป็นจุดแข็งในการพัฒนาภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนจากปัจจัย
ภายนอก ซง่ึ ได้แก่ปัจจยั ด้านสังคม และวฒั นธรรม ด้านเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย
ซง่ึ มรี ะเบียบพระราชบญั ญตั ทิ ี่ เอือ้ ต่อการดาเนนิ การ
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 38
ตารางสงั เคราะห์ผลการประเมินสภาพโรงเรยี นแยกแยะตามกลุ่มสภาพแวดลอ้ ม
ตัวแปร รายการสภาพแวดลอ้ ม
T เทคโนโลยีมบี ทบาทสาคัญในการเรียนการสอนทาใหน้ ักเรียนเกดิ ความสนุก
M3 ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ยงั ไมเ่ ต็มศักยภาพ
TM3 ส่งเสรมิ และพัฒนาการใช้สือ่ การเรียนการสอนท่ีเปน็ เทคโนโลยีให้ได้ใช้ประโยชนอ์ ยา่ ง
คุ้มคา่
S ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา รักษาขนบธรรมเนียมประเพณที ่ดี ีงาม
M3 ขาดสื่อการสอนใหม่ๆ ที่เป็นเทคโนโลยี และนวัตกรรม
SM3 ขยายความร่วมมือกับชุมชน
P องค์กรท้องถ่ินให้การสนบั สนุนงบประมาณในการจัดการศึกษา
M3 ขาดสื่อการสอนใหมๆ่ ทเ่ี ป็นเทคโนโลยี และนวตั กรรม
PM3 ขยายความร่วมมือกับองคก์ รทอ้ งถ่ินเพ่ือใหม้ ีการสนับสนนุ สือ่ การเรยี นการสอน
E ประชาชนบางสว่ นประกอบอาชพี เสริมทาให้มีรายไดเ้ พ่มิ ขึ้น
M3 มกี าระดมเงนิ จากชมุ ชน หนว่ ยงานในท้องถน่ิ
EM3 สง่ เสริมความสมั พนั ธ์ชุมชนเพ่ือความรว่ มมือเพ่มิ ข้นึ
T คอมพวิ เตอร์มบี ทบาทสาคัญในการเรยี นการสอนทาใหน้ ักเรียนเกดิ ความสนกุ
M2 มพี ื้นที่กว้างขวาง วัสดุอปุ กรณ์ที่จาเป็นพรอ้ ม เหมาะสาหรับจดั กจิ กรรมต่าง ๆ
TM2 สง่ เสรมิ พัฒนาอาคาร หอ้ งเรียนตา่ งๆให้ใชค้ อมพิวเตอร์ในการจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอน
S ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีทีด่ ีงาม
M2 มพี ้ืนท่ีกว้างขวาง วสั ดุอุปกรณท์ จ่ี าเปน็ พร้อม เหมาะสาหรับจัดกจิ กรรมต่าง ๆ
SM2 ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมเพอ่ื รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนโดยใช้พน้ื ท่ีของ
โรงเรยี น
P องค์กรท้องถิ่นให้การสนับสนุนงบประมาณในการจัดการศึกษา
M2 โรงเรียนให้ความรว่ มมือกบั ชุมชนในการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี
PM2 ขยายความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรยี นกบั องค์กรท้องถนิ่ ในการจดั การศกึ ษา
E บางสว่ นประกอบอาชีพเสริมทาให้มีรายได้เพ่ิมข้นึ
M2 นกั เรยี นทเ่ี รียนจบบางคนไมส่ ามารถใชค้ วามร้เู พื่อพัฒนาตนเองได้
EM2 ส่งเสรมิ นักเรยี นทกี่ าลงั จะสาเรจ็ การศึกษาใหม้ ีความรูใ้ นการประกอบอาชีพเสรมิ ใน
ทอ้ งถิน่
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 39
ตัวแปร รายการสภาพแวดลอ้ ม
T เทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญในการเรียนการสอนทาให้นักเรียนเกิดความสนุก
M4 มแี ผนปฏบิ ตั งิ านเป็นระบบ
TM4 ขยายการจดั ทาแผนงานดา้ นการส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีในหอ้ งเรียน
S ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา นิยมบรจิ าคเงนิ เพื่อทาบญุ
M4 มีแผนวานเป็นระบบ แต่ขาดการประสานงานกับชุมชน
SM4 ส่งเสริมให้มีแผนงานเพอื่ การประสานงานกับชุมชน ในการให้ชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัด
การศกึ ษามากขนึ้ และบรจิ าคเงนิ เพ่อื สนับสนนุ การศึกษา
P องค์กรท้องถิ่นให้การสนบั สนุนงบประมาณในการจัดการศึกษา
M4 มแี ผนปฏิบัตงิ านเปน็ ระบบ
PM4 ขยายการจดั ทาแผนแผนงานในการขอความร่วมมือด้านการสนับสนุนงบประมาณการจัด
การศกึ ษาจากองค์กรท้องถิน่
E บางส่วนประกอบอาชีพเสรมิ ทาใหม้ ีรายไดเ้ พิ่มข้ึน
M4 มีแผนปฏบิ ตั ิงานเปน็ ระบบ
EM4 ขยายการจัดทาแผนใหส้ ง่ เสริมด้านอาชีพนักเรยี น จากตวั อย่างในชุมชน
T คอมพิวเตอร์มบี ทบาทสาคัญในการเรยี นการสอนทาใหน้ ักเรยี นเกดิ ความสนกุ
M1 บคุ ลากรมีความรูค้ วามสามารถดี หลายสาขา และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง
TM1 ขยายและส่งเสริมใหบ้ ุคลากรได้พัฒนาตนเองในดา้ นการใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ในการ
จัดการเรียนการสอน
S ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา รักษาขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ดี ีงาม
M1 บคุ ลากรมีความรู้ความสามารถดี หลายสาขา และมีการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
SM1 สนบั สนุนชุมชนใหม้ สี ่วนรว่ มในการส่งเสรมิ ให้บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนจดั การศึกษา
ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
P องค์กรท้องถนิ่ ให้การสนับสนุนงบประมาณในการจดั การศึกษา
M1 บคุ ลากรมีความร้คู วามสามารถดี หลายสาขา และมกี ารพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง
PM1 ขยายความร่วมมือระหว่างองค์กรท้องถ่ินกบั โรงเรียนให้ช่วยเหลือด้านงบประมาณ วัสดุ
อปุ กรณ์และอืน่ ๆ เพ่ือการพฒั นาตนเองของบุคลากร
E บางส่วนประกอบอาชีพเสริมทาให้มีรายไดเ้ พ่ิมขนึ้
M1 บุคลากรมีความรคู้ วามสามารถดี หลายสาขา และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง
EM1 ส่งเสรมิ บุคลากรให้พัฒนาตนเองด้านวิชาชพี ในชุมชนเพ่ือสง่ เสรมิ อาชพี นักเรียน
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 40
ตารางสังเคราะหส์ ถานภาพโรงเรยี นแยกแยะตามลกั ษณะของผ้รู ับผลประโยชน์
ที่ Cell ขอ้ ความกลยุทธ์ ประเด็น ลกั ษณะงาน ผูร้ ับ
ผลประโยชน์
1 TM3 สง่ เสรมิ และพฒั นาการใชส้ ่ือการเรียนการสอนท่ี สง่ เสรมิ วัสดุ นกั เรียน
เปน็ เทคโนโลยใี ห้ได้ใช้ประโยชน์อยา่ งคุ้มค่า อปุ กรณ์
2 SM3 ขยายความรว่ มมือขององค์กรทอ้ งถนิ่ เพื่อให้มี ขยาย ประชาสมั พนั ธ์ นกั เรียน
สว่ นรว่ มในการจัดหาสือ่ การสอนใหม่ ๆ
3 PM3 ขยายความรว่ มมือกับองค์กรท้องถน่ิ เพ่ือใหม้ ีการ ขยาย ประชาสมั พันธ์ โรงเรยี น
สนับสนุนสือ่ การเรยี นการสอน
4 EM3 สง่ เสรมิ การใช้อุปกรณ์ท่ีมอี ยู่ให้ค้มุ ค่ามากทีส่ ดุ ส่งเสริม วสั ดุ นกั เรยี น
อปุ กรณ์
5 TM2 สง่ เสริม และพัฒนาอาคาร หอ้ งเรียนต่าง ๆใหใ้ ช้ สง่ เสริม การจดั กจิ กรรม นักเรียน
คอมพิวเตอร์ในการจดั การเรียนการสอน พฒั นา การเรยี นการสอน
6 SM2 ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมเพื่อรักษา สง่ เสรมิ บรกิ าร นกั เรียน
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนโดยใชพ้ ื้นที่
ของโรงเรยี น
7 PM2 ขยายความรว่ มมือระหว่างโรงเรยี นกบั องค์กร ขยาย ประชาสมั พันธ์ โรงเรยี น
ทอ้ งถ่นิ ในการจดั การศึกษา
8 EM2 ส่งเสรมิ นักเรียนท่ีกาลังจะสาเรจ็ การศึกษาให้มี สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรม นกั เรียน
ความรูใ้ นการประกอบอาชพี เสริมในทอ้ งถ่ิน การเรยี นการสอน
9 TM4 ขยายการจัดทาแผนงานดา้ นการสง่ เสริมการใช้ ขยาย ทาแผนงาน นักเรยี น
เทคโนโลยใี นหอ้ งเรียน
10 SM4 ส่งเสริมใหม้ แี ผนงานเพือ่ การประสานงานกับ ส่งเสริม ประชาสมั พนั ธ์ โรงเรยี น
ชมุ ชน ในการให้ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการจดั
การศกึ ษามากข้ึนและบรจิ าคเงนิ เพือ่ สนับสนนุ
การศกึ ษา
11 PM4 ขยายการจัดทาแผนแผนงานในการขอความ ขยาย จดั ทา โรงเรยี น
ร่วมมือด้านการสนบั สนุนงบประมาณการจดั แผนงาน
การศึกษาจากองคก์ รท้องถ่ิน
12 EM4 ขยายการจดั ทาแผนใหส้ ่งเสริมดา้ นอาชีพ ขยาย ทาแผนงาน นกั เรยี น
นกั เรียน จากตวั อย่างในชมุ ชน
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 41
ท่ี Cell ข้อความกลยทุ ธ์ ประเดน็ ลักษณะงาน ผูร้ บั
ผลประโยชน์
13 TM1 ขยายและสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรได้พฒั นาตนเองใน ขยาย พัฒนาบคุ ลากร บุคลากร
ด้านการใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ สง่ เสริม
เรยี นการสอน
14 SM1 สนับสนนุ ชุมชนใหม้ สี ว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ ให้ ส่งเสริม จัดการเรียนการ โรงเรยี น
บคุ ลากรในโรงเรยี นและชมุ ชนจัดการศกึ ษาด้าน สนับสนนุ
สอน
ขนบธรรมเนยี มประเพณีได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
15 PM1 ขยายความรว่ มมือระหว่างองค์กรท้องถิน่ กบั ขยาย วสั ดุอุปกรณ์ บคุ ลากร
โรงเรียนให้ช่วยเหลอื ดา้ นงบประมาณ วัสดุ พฒั นา
อุปกรณ์และอน่ื ๆ เพ่ือการพฒั นาตนเองของ
บุคลากร
16 EM1 สง่ เสรมิ บคุ ลากรให้พฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชีพใน ส่งเสรมิ พฒั นาบคุ ลากร บคุ ลากร
พัฒนา
ชุมชนเพอื่ ส่งเสรมิ อาชพี นักเรียน
17 TS2 สง่ เสรมิ ให้มกี ารใช้อาคาร สถานที่เพ่ือใช้เปน็ สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการ นักเรียน
ท่ตี ั้งของแหลง่ เรยี นรู้ทางอนิ เตอร์เน็ต
เรยี นการสอน
18 SS2 ส่งเสริม และขยายใหช้ ุมชนได้จดั กิจกรรมดา้ น สง่ เสริม การบรกิ าร โรงเรยี น
ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆในโรงเรียน
19 PS2 ขยายความร่วมมือด้านการสนับสนุน ขยาย ประชาสมั พันธ์ โรงเรียน
งบประมาณจากองคก์ รท้องถิ่นในการพัฒนา
อาคารสถานท่ี
20 ES2 ส่งเสริมใหช้ ุมชนได้ใชส้ ถานที่ของโรงเรยี นในการ ส่งเสริม การบริการ โรงเรยี น
จดั กิจกรรเกี่ยวกับอาชีพ
21 TS1 ขยายแผนงานดา้ นการใชค้ อมพิวเตอร์และ ขยาย จัดทาแผน นักเรียน
เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
22 SS1 สนบั สนนุ และขยายให้คณะกรรมการศึกษาฯ สนบั สนุน ประชาสมั พนั ธ์ โรงเรียน
เปน็ สื่อกลางระหวา่ งโรงเรยี นกับชุมชน
23 PS1 พฒั นาแผนงานการของบสนบั สนนุ การศึกษา พัฒนา จดั ทาแผน นักเรยี น
จากองค์กรท้องถน่ิ
24 ES1 พัฒนาแผนงานเพ่ือส่งเสริมรายได้นักเรียน พัฒนา จัดกิจกรรม นกั เรยี น
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 42
ทศิ ทางการจัดการศึกษาของโรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตรอ์ นสุ รณ์ 37)
วสิ ยั ทศั น์ (Vision)
“โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) มุง่ พฒั นาความรคู้ ู่คณุ ธรรม นา
เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่มาตรฐานสากลภายในปกี ารศึกษา 2567”
พนั ธกจิ (Mission)
1. พฒั นากระบวนการบรหิ ารจัดการท่ีเน้นการใชค้ ุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินการตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้นาการใชค้ ณุ ธรรม จริยธรรม ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู้ สมผสานวธิ ี
ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.จัดสภาพบรรยากาศ แหล่งเรยี นรู้ให้เอ้ือต่อการปรบั วิธเี รยี นและเปลีย่ นวิธสี อนทเ่ี นน้ ส่งเสรมิ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. พัฒนาเครือขา่ ยชุมชน สังคม และองค์กรส่วนทอ้ งถิ่นให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา
คณุ ธรรม จริยธรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. พัฒนาบคุ ลากรใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยีและการสอ่ื สารในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างสรา้ งสรรค์
7. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม โดยครใู หก้ ารดแู ลเอาใจใส่อย่างใกล้ ชิด
ค่านยิ มรว่ ม
1 บริหารจดั การแบบมีสว่ นรว่ มบนหลักธรรมาภบิ าล
2 ส่งเสริมสนบั สนนุ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
3 เน้นคุณภาพตามมาตรฐาน
4 เนน้ คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เป้าประสงค์ (Goal)
1. ผเู้ รียนมีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มที ัศนคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมอื ง มหี ลักคิดท่ีถกู ต้อง และเปน็ พลเมืองดีของ
ชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจติ สาธารณะ รบั ผดิ ชอบต่อสังคมและผอู้ ืน่ ซ่ือสตั ย์
สุจริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รักษาศีลธรรม
2. ผ้เู รยี นที่มคี วามสามารถพิเศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอน่ื
ๆ ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ
3. ผู้เรยี น ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มศี กั ยภาพและคณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี
3.1 ผู้เรียน เป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ คิดรเิ รมิ่ และสร้างสรรคน์ วัตกรรม มีความรู้ มีทักษะ
มีสมรรถนะ ตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะท่ีเหมาะสม ตามวัย มี
ความสามารถในการพึ่งพา ตนเอง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปน็ พลเมือง พลโลกท่ีดี
(Global Citizen) พรอ้ มกา้ วสู่ สากล น าไปสู่การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 43
3.2 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้และ
จรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชพี
4. ผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
และกล่มุ ท่อี ยู่ ในพื้นที่ห่างไกลทุรกนั ดาร ได้รับการศกึ ษาอย่างทวั่ ถงึ เทา่ เทียม และมีคุณภาพ
5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. สถานศกึ ษามีสมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มกี ารกากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล
มีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจัย เทคโนโลยี
และนวตั กรรมในการขบั เคลอ่ื นคุณภาพการศึกษา
นโยบายของโรงเรียน (Policy)
โรงเรียนสักงามประชาสรรค์ (เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37) ได้ดาเนนิ งานจัดการศึกษาสนองนโยบาย
ทางราชการ เป็นไปตามข้อกาหนดของหลกั สตู รและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น มงั่ หวงั ใหน้ ักเรียนมคี วามรู้คู่
คุณธรรมและเรียนอย่างมีความสุข ตามคาขวัญของโรงเรียนว่า “สะอาดกายเจริญวัย สะอาดใจเจริญสุข
สนุกกับการเรียนรู้” ได้มีการวางแผนปฏิบัติงานมาทุกปีการศึกษา ท้ังนี้โรงเรียนได้กาหนดนโยบาย เพ่ือ
เป็นแนวทางในการดาเนินงาน ดงั นี้
นโยบาย
นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ
นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศกึ ษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพมมี าตรฐาน
และลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา
นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา
คาขวญั โรงเรยี น
ความรคู้ ู่คุณธรรม นาปัญญา รักษาสง่ิ แวดล้อม
อัตลักษณโ์ รงเรยี น
ความรู้ดี มีคุณธรรม วถิ ีพอเพียง
เอกลักษณโ์ รงเรียน
มารยาทดี วาจาดี มีนา้ ใจ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสักงามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 44
จดุ เนน้ การพฒั นา
น้อมนาหลักปรชั ญา พฒั นาทีมงาน นาพาผเู้ รยี น สูศ่ ตวรรษที่ 21
ตราสญั ลักษณโ์ รงเรยี น
สีธงประจาโรงเรยี น
สขี องโรงเรยี น สขี าว - เหลือง
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรียนสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 45
กลยุทธ์สถานศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี 1 ด้านการจดั การศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
กลยุทธท์ ี่ 2 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
กลยุทธ์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
กลยทุ ธ์ที่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาทีม่ คี ุณภาพมีมาตรฐานและลด
ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา
กลยทุ ธ์ที่ 5 ด้านการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
กลยุทธท์ ่ี 6 ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา
ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ เป้าประสงค์ ค่าเปา้ หมาย
กลยทุ ธ์
เป้าประสงค์ที่ 1 : ผู้เรยี นมคี วาม 1.รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รยี นระดับปฐมวัย มี
กลยทุ ธ์ที่ 1
ดา้ นการจัดการศกึ ษา รกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึด การพัฒนาการทางดา้ นร่างกายอารมณ์จิตใจ
เพ่อื ความม่ันคงของ
มนษุ ย์และของชาติ มัน่ การปกครองระบอบ และสงั คม สตปิ ญั ญา และพร้อมเข้าส่กู าร
กลยุทธท์ ี่ 2 ประชาธปิ ไตยอันมี เรยี นในระดบั ท่สี งู ขนึ้
ด้านการจัดการศกึ ษา
เพ่อื เพิม่ ความสามารถ พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มี 2.ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นมีทักษะ การ
ในการแข่งขนั ของ
ประเทศ ทัศนคติท่ถี ูกตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง มี อา่ น การเขยี นผ่านเกณฑ์ตามช่วงวัย
หลกั คดิ ท่ถี ูกต้อง และเปน็ พลเมือง - ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 อ่านออก เขียนได้
ดีของชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มี - ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2-6 อ่านคล่อง
คา่ นิยมที่พึงประสงค์ มีจติ เขยี นคลอ่ ง
สาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสงั คมและ 3.ร้อยละ 100 ของผูเ้ รยี นได้รบั การจดั
ผูอ้ นื่ ซือ่ สัตย์ สุจรติ มธั ยัสถ์ อด กจิ กรรมส่งเสริมรักการอ่าน
ออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รกั ษา
ศลี ธรรม
เปา้ ประสงคท์ ่ี 2 : 1.ผเู้ รยี นประถมศึกษาปที ่ี 3 มผี ลการ
ผู้เรยี นทมี่ ีความสามารถพเิ ศษด้าน ทดสอบคะแนนความสามารถพ้ืนฐาน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศลิ ปะ ระดบั ชาติ (NT) ดา้ นภาษา ด้านคานวณ
ดนตรี กีฬา ภาษา และอนื่ ๆ 2.ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีสารรถนะ
ได้รบั การพัฒนาอยา่ งเต็มตาม
ศักยภาพ สาคญั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พนื้ ฐานสอดคล้องกับทักษะการเรียนรใู้ น
ศตวรรษที่ 21
3.รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รยี น ได้รับการ
สง่ เสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนส่คู วาม
เป็นเลิศในด้านต่าง
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์ 37 ) ห น้ า | 46
กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ ค่าเปา้ หมาย
กลยุทธท์ ี่ 3 เป้าประสงค์ที่ 3 : ผูเ้ รยี น ผ้บู รหิ าร ครู 1.รอ้ ยละ 80 ของครูและบคุ ลากร
ดา้ นการพฒั นาและ และบคุ ลากรทางการศึกษา มศี กั ยภาพ ทางการศึกษาเขา้ รบั การพฒั นาผา่ น
เสริมสร้างศกั ยภาพ
และคุณลกั ษณะ ดังน้ี สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ทรพั ยากรมนุษย์ 3.1 ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการ สื่อสาร
เรียนรู้ คิดริเร่ิมและส ร้า ง ส ร ร ค์ 2.ร้อยละ 80 ของครูและบคุ ลากร
นวตั กรรม มคี วามรู้ มีทักษะ
ทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาการ
มี ส ม ร ร ถ น ะ ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ จัดการเรียนรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพใน
คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี รปู แบบทห่ี ลากหลาย
21 มีสุขภาวะทเ่ี หมาะสม ตามวยั 3.ผ้บู รหิ ารมคี วามรู้และทักษะ
มคี วามสามารถในการพึ่งพา ตนเอง พ้นื ฐานในการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการ
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริหารจดั การ
และการเป็นพลเมือง
4.รอ้ ยละ 100 ของครูและบุคลากร
พลโลกที่ดี (Global Citizen)
ทางการศกึ ษามคี วามสขุ ในการ
พร้อมก้าวสู่ สากล น าไปสู่การสร้าง ปฏบิ ัตงิ าน
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ข อ ง
ประเทศ 5.รอ้ ยละ 100 ของครูมคี วามพึง
3.2 ผู้บริหาร ครู และบุคลากร พอใจในระบบเทคโนโลยชี ว่ ยพัฒนา
ทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการ กิจกรรมการเรยี นการสอน
เรียนรู้ มีความรู้และจรรยาบรรณ ตาม
มาตรฐานวิชาชพี
กลยุทธ์ท่ี 4 เป้าประสงค์ที่ 4 : ผู้เรียนที่มีความ 1.รอ้ ยละ 90ของครนู าหลักสูตร
ด้านการสร้างโอกาสในการ ต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่ม ระดบั ปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลาง
เข้าถึงบริการการศึกษาที่มี ช า ติ พั น ธุ์ ก ลุ่ ม ผู้ ด้ อ ย โ อ ก า ส การศึกษาข้นั พ้นื ฐานไปสู่การปฏิบตั ิ
คุณภาพมีมาตรฐานและลด แ ล ะ ก ลุ่ ม ท่ี อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ห่ า ง ไ ก ล ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพ
ความเหลื่อมล้าทางการ ทุรกันดาร ได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง
ศกึ ษา เทา่ เทยี ม และมคี ณุ ภาพ 2.รอ้ ยละ 90 ของประชากรวยั เรยี น
ได้รบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดร้ ับ
โอกาสในการเข้ารบั การบรกิ ารทาง
การศกึ ษาอยา่ งทัว่ ถึงมคี ุณภาพ
3.ร้อยละ 90ของประชากรวัยเรยี น
ภาคบงั คับไดร้ บั โอกาสในการเข้ารับ
การบรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งทัว่ ถงึ
และมีคุณภาพ
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓ ปี (พ.ศ. 2565 – 2567)
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค์ ( เกษตรศาสตร์อนุสรณ์ 37 ) ห น้ า | 47
กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ คา่ เป้าหมาย
กลยุทธ์ที่ 5 เป้าประสงคท์ ี่ 5 : สถานศึกษา 1.ร้อยละ 100 ของครูมีการบรู ณาการ ใน
ด้านการจัดการศึกษาเพื่อ จัดการศกึ ษาเพ่ือการบรรลุ การใชก้ ารจดั การเรยี นการสอนอยา่ งยงั่ ยืน
พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็น เปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
มติ รกบั สิ่งแวดล้อม (Sustainable Development 2.รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม
Goals: SDGs) และสรา้ งเสรมิ จริยธรรมคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
กลยุทธท์ ่ี 6 คุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับ หลกั สูตรและคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12
ด้านการปรบั สมดุลและ ส่ิงแวดลอ้ ม ตามหลกั ปรัชญา ประการ
พัฒนาระบบการบริหารจัด ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีวถิ ีชีวติ ตาม
การศึกษา หลักเศรษฐกจิ พอเพียงและมีจติ สานึกความ
เปา้ ประสงคท์ ่ี 6 : สถานศึกษา เปน็ ไทย
มีสมดลุ ในการบริหารจัดการเชิง 4.ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นและผ้รู บั บรกิ าร
บรู ณาการ มีการกากับ ตดิ ตาม มคี วามพึงพอใจใช้บริการของโรงเรยี นเปน็
ประเมนิ ผล มีระบบขอ้ มลู แหล่งเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง
สารสนเทศท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 1.ร้อยละ 100 ของผบู้ รหิ ารใชจ้ ่าย
และการรายงานผลอย่างเปน็ งบประมาณเพ่ือการบรหิ ารจัดการทม่ี ี
ระบบ ใชง้ านวิจัย เทคโนโลยี ประสทิ ธภิ าพมีการกากบั ตดิ ตารม
และนวัตกรรมในการขบั เคลื่อน ตรวจสอบและประเมนิ ผลโดยยดึ หลักธรร
คุณภาพการศึกษา มาภบิ าล
2.รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงานทุกระดับ
สง่ เสริมสนับสนุนผูป้ กครอง ชุมชน สงั คม
และสาธารณชนให้มคี วามรู้ความเข้าใจ
สร้างความตระหนักในการจดั การศกึ ษาข้ัน
พน้ื ฐานการกากับดูแล ตลอดจนการมีส่วน
ร่วมรับผดิ ชอบในการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
3.ร้อยละ 100 มีความพึงพอใจของผู้มีส่วน
เก่ยี วข้องในการบริหารจดั การศึกษาของ
สถาน