The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunnawut70549, 2022-03-24 04:20:24

SWO-148- นวดไทย 16-11-61

SWO-148- นวดไทย 16-11-61

Keywords: นวดไทย

หลักทฤษฎีธาตุ หลักไตรลักษณ์ และหลัก ปัจจัยที่จะท�าให้เกิดความเจ็บป่วยเป็นอันดับแรก
อิทัปปัจจยตาท�าให้การพิจารณาสุขภาพและ และเมอ่ื เจบ็ ปว่ ยแลว้ กต็ อ้ งประกอบเหตปุ จั จยั ทจี่ ะ
ความเจ็บป่วยอยู่บนฐานความจริงท่ีเกิดข้ึน ทา� ใหห้ ายจากการเจบ็ ปว่ ยใหค้ รบถว้ นดว้ ย
มองเห็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นตามที่เป็นจริง
เขา้ ใจว่าความเจบ็ ป่วยสามารถเปล่ียนแปลงไปได้ การแพทย์แผนไทยได้รับเอาหลักธรรมชาติ
ตามเหตุปัจจัย ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมได้ ของสรรพส่ิงน้ีมาใช้ในการพิจารณาส่ิงต่าง ๆ
และความเจ็บป่วยนั้นสักแต่เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนกับ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการบา� บดั เยยี วยา กลา่ วคอื
ธาตุในร่างกาย ซึ่งต้องด�าเนินไปตามธรรมชาติ หมอตอ้ งเขา้ ใจธรรมชาตขิ องผปู้ ว่ ยแตล่ ะคน ไดแ้ ก่
ของมนั ความเจบ็ ปว่ ยไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา ไมส่ มควร ปรกตลิ กั ษณะ เพศ อายุ อารมณ์ อปุ นสิ ยั ธรรมชาติ
ท่จี ะยึดม่ันถือมนั่ ใหเ้ กิดความทกุ ขท์ างใจ เป็นตน้ ของรา่ งกาย คอื รปู รา่ ง ตา� แหนง่ แหง่ ที่ การทา� งาน
การพจิ ารณาตามหลกั นท้ี า� ใหเ้ กดิ ความตระหนกั วา่ ตามปกตแิ ละผดิ ปกตขิ องอวยั วะ สว่ นของรา่ งกาย
สิ่งต่าง ๆ มิได้เกิดขึ้นจากการสวดไหว้อ้อนวอน และระบบโดยรวมของร่างกาย ธรรมชาติของ
แตเ่ กดิ จากการประกอบเหตแุ ละปจั จยั ใหถ้ งึ พรอ้ ม ความเจ็บป่วย ตลอดจนธรรมชาติของส่ิงต่าง ๆ
ดงั นน้ั การดแู ลสขุ ภาพและการบา� บดั เยยี วยาตาม ทจี่ ะนา� มาใชใ้ นกระบวนการบา� บดั รกั ษา (ยงศกั ด,ิ์
หลักการน้ี จึงให้ความส�าคัญกับการป้องกันเหตุ ๒๕๕๙: ๑๗๕ - ๑๗๖)

การนวดไทยเป็นวิธีการหนึ่งของการบ�าบัด
เยียวยาตามหลักการน้ี การนวดเป็นการแก้ไข
ความผดิ ปกตขิ องธาตลุ มภายในรา่ งกาย โดยเฉพาะ
ลมท่ีแล่นอยู่ในเส้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
เมอื่ ลมในเสน้ เกดิ ความผดิ ปกติ ในลกั ษณะกา� เรบิ
หย่อน หรือพิการ จะกระทบต่อธาตุลมอ่ืน ๆ
ในร่างกาย และส่งผลกระทบท�าให้ธาตุน�้าและ
ธาตุไฟผิดปกติตามไปด้วย หากไม่บ�าบัดรักษา
จะกระทบต่อธาตุดิน คืออวัยวะต่าง ๆ ในท่ีสุด
การท�าให้ลมในเส้นเป็นปกติท�าให้เลือดไหลเวียน
ไดเ้ ปน็ ปกตดิ ว้ ยเชน่ กนั การนวดไทยจงึ มงุ่ ไปทล่ี ม
และเลอื ด ซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบสา� คญั ของรา่ งกาย
มนษุ ย์

51

01 ������ 13-11-61.indd 51 11/16/18 11:37 AM

ประเภทของการนวดไทย การนวดถวายแกพ่ ระมหากษตั รยิ ์ เชอ้ื พระวงศ์
ในอดีต การนวดไทยปรากฏตัวอยู่ท้ังใน และเจา้ นายชนั้ สงู สว่ นการนวดของหมอเชลยศกั ดิ์
เปน็ การนวดของสามญั ชน ซงึ่ มกี ารสบื ทอดฝกึ ฝน
ราชส�านักและมีการใช้กันโดยท่ัวไปท้ังในบ้าน มาตามสายตระกูลหมอหรือตามส�านักต่าง ๆ
และวัดต่าง ๆ การนวดของหมอในราชส�านัก เม่ือกรมหมอหลวงซ่ึงท�าหน้าท่ีในการดูแล
และการนวดของหมอเชลยศักด์ิ ซ่ึงหมายถึง รักษาความเจ็บป่วยให้แก่เจ้านายในราชส�านัก
หมอท่ีมิได้อยู่ในราชส�านัก มีความแตกต่างกัน ถกู ยกเลกิ ไป ทา� ใหผ้ ทู้ เ่ี ปน็ หมอหลวงในราชสา� นกั
กล่าวคือ การนวดโดยหมอในราชส�านักเป็น
การนวดที่มีแบบแผน พิธีรีตอง ซึ่งเหมาะกับ

52 11/16/18 11:37 AM

01 ������ 13-11-61.indd 52

แบบดั้งเดิมหมดหน้าที่ไปด้วย และเน่ืองจาก ยังคงเป็นการนวดกดตามจุดและแนวนวด
การนวดมีการสืบทอดมาอย่างหลากหลาย ตา่ ง ๆ บนรา่ งกาย เพอ่ื ใหส้ ง่ ผลตอ่ เสน้ ประธาน
การแบ่งประเภทการนวดไทยในยุคปัจจุบัน ความแตกต่างของส�านักเหล่านี้อยู่ที่เทคนิค
จงึ ควรแบง่ ตามสายการสบื ทอดกบั การนวดไทย การวางมือ ท่าทางในการนวด และล�าดับ
ในชมุ ชนซง่ึ เปน็ การนวดทแ่ี ตกตา่ งตามวฒั นธรรม ในการนวด ภายหลังได้ผสมผสานเอาการนวด
ของแตล่ ะภมู ภิ าคของประเทศ แบบดัดดึงเข้ามาในแบบแผนการนวดของ
บางสา� นกั
การนวดไทยสา� นกั ตา่ ง ๆ
ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ มีการก่อตั้งอายุรเวท
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดม้ กี ารกอ่ ตงั้ สมาคมแพทย์ วิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์) ข้ึน เพ่ือเปิดสอน
แผนโบราณแห่งประเทศไทยขึ้นเป็นคร้ังแรก วชิ าการแพทยไ์ ทยเดมิ ในสถาบนั การศกึ ษาแบบ
และตอ่ มาจงึ มสี มาคมตา่ ง ๆ ตง้ั ขน้ึ ตามมาในวดั เต็มเวลา เนื้อหาหลักสูตรเป็นการผสมผสาน
อกี หลายแหง่ เพอื่ จดั การเรยี นการสอนการแพทย์ ระหว่างความรู้ของการแพทย์แผนตะวันตก
แผนโบราณในสมาคมเหลา่ นี้ โดยมากจดั สอนกนั และการแพทย์แผนไทย ส�าหรับวิชาที่เกี่ยวกับ
ในวนั เสารแ์ ละอาทติ ย์ เปน็ การสอนแบบตวั ตอ่ ตวั การนวดไทย (หรอื ทวี่ ทิ ยาลยั เรยี กวา่ วชิ าหตั ถเวช)
ครผู สู้ อนการนวดในสมาคมเหลา่ นม้ี ที ง้ั ทส่ี บื ทอด เนน้ ทกี่ ารมกี ริ ยิ ามารยาทเรยี บรอ้ ย เมอื่ เรมิ่ นวด
การนวดมาจากหมอหลวงในราชส�านักและ ต้องเดินเข่าเข้าหาผู้ป่วย ไม่หายใจรดผู้ป่วย
การนวดโดยหมอเชลยศกั ดิ์ ขณะทา� การนวด จะใชเ้ ฉพาะมอื คอื นวิ้ หวั แมม่ อื
การนวดไทยซงึ่ สบื ทอดผา่ นสมาคมแพทย์ ปลายนิ้วอื่น และอุ้งมือในการนวดเท่านั้น
แผนโบราณมหี ลายสา� นกั และแบบแผน ทส่ี า� คญั เน้นการจัดท่าทาง องศา และการลงน�้าหนัก
ได้แก่ การนวดของสมาคมแพทย์แผนโบราณ จะไม่เร่ิมนวดฝ่าเท้าก่อน โดยมากจะเริ่มนวด
แหง่ ประเทศไทย การนวดของสมาคมเภสชั และ ต้ังแต่ใต้เข่ามาข้อเท้า หรือจากต้นขาลงมา
อายรุ เวชโบราณแหง่ ประเทศไทย (เดมิ อย่ทู ี่วัด ถึงข้อเท้าก่อน ท�าการนวดผู้ป่วยในท่าน่ัง
สามพระยา) และการนวดของโรงเรียนแพทย์ ท่านอนหงาย หรือท่านอนตะแคงเท่านั้น
แผนโบราณวัดพระเชตุพน (วัดโพธิ์) เป็นต้น ไมน่ วดผปู้ ว่ ยในทา่ นอนควา�่ ไมใ่ ชก้ ารดดั ขอ้ หรอื
แบบแผนการนวดของสมาคมเหล่านี้ในยุคแรก ส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายผู้ป่วยด้วยก�าลัง
มีท้ังท่ีคล้ายคลึงและแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่ ทรี่ นุ แรง

53

01 ������ 13-11-61.indd 53 11/16/18 11:37 AM

การนวดไทยในชมุ ชน กันในชุมชน จึงไม่เคร่งครัดว่าจะต้องนวดด้วย
การนวดไทยในชุมชน หรือที่มักเรียกกันว่า ความสภุ าพเรยี บรอ้ ยจนเกนิ ไป หมอนวดพน้ื บา้ น
การนวดพน้ื บา้ น เปน็ การนวดทพ่ี บไดต้ ามทอ้ งถนิ่ ส่วนใหญ่มักเป็นหมอในชุมชนท้องถ่ิน นวดอยู่
ต่าง ๆ ซ่ึงอาจเรียกช่ือแตกต่างกัน เช่น เอาเอ็น ทบ่ี า้ นของตนเอง หรอื อาจไปนวดผปู้ ว่ ยตามบา้ น
ตอกเสน้ ยา�่ ขาง (ลา้ นนา) นวดขดิ เสน้ (อสี าน) จบั เสน้ มกั มกี ารตงั้ ขนั ครกู อ่ นการรกั ษา และคา่ สมนาคณุ
แกะเส้น เข่ียเส้น เป็นต้น ซึ่งเทคนิควิธีการนวด มกั เปน็ ไปตามความสมคั รใจของผปู้ ว่ ย หมอบางคน
ทใี่ ชม้ คี วามหลากหลายมาก เชน่ ใชก้ ารบบี การกด อาจมีต�าราสมุดข่อยแสดงจุดนวดซึ่งบันทึก
การคลา� การขยา� การรดี การดงึ การดดั การเหยยี บ สบื ตอ่ กนั มาจากบรรพบรุ ษุ แตก่ ารเรยี นการสอน
การทบุ การสบั เปน็ ตน้ ทา่ ทางในการนวดของ ส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้ผ่านตัวบุคคลและเรียนรู้
หมอพื้นบ้านในชุมชน มีความแตกต่างกันได้มาก จากประสบการณใ์ นการรกั ษาผปู้ ว่ ย
และเนื่องจากเป็นการนวดในหมู่คนท่ีรู้จักคุ้นเคย

54

01 ������ 13-11-61.indd 54 11/16/18 11:37 AM

01 ������ 13-11-61.indd 55 11/16/18 11:37 AM

สถานภาพขององค์ความรู้ อยา่ งไรกต็ าม ยงั มคี วามรอู้ กี ประเภทหนงึ่
ทมี่ าขององคค์ วามรู้ ทคี่ วรกลา่ วถงึ คอื ความรทู้ ถี่ อื กนั ตามวฒั นธรรม
ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วว่า องค์ความรู้ ดงั้ เดมิ วา่ เปน็ ความรใู้ นระดบั ทสี่ งู ขนึ้ ตอ้ งเรยี นรู้
ผ่านการฝึกฝนทางจิต เพื่อให้สามารถรับรู้ถึง
การนวดไทยเป็นความรู้เชิงปฏิบัติที่เรียนรู้ สภาวะขององค์ประกอบพื้นฐานที่เรียกว่า
ผ่านการกระท�าต่อร่างกายมนุษย์ เพื่อแก้ไข “ธาตุ” ตามที่เป็นจริง และรับรู้ได้ถึงการมีอยู่
ความผิดปกติในการท�าหน้าท่ีของอวัยวะหรือ ของโครงสร้างของการรับความรู้สึกซ่ึงสัมพันธ์
สว่ นของรา่ งกาย โดยใชว้ ธิ กี ารกด คลงึ บบี จบั กบั ทวารหรอื อนิ ทรยี ท์ เี่ ปน็ เครอื่ งรบั รโู้ ลกทเี่ รยี ก
ดัด ดึง ฯลฯ ตามแนวเส้นและจุดแก้ท่ีเรียน กันว่า เส้นประธาน ในแง่นี้แหล่งของความรู้
สืบต่อกันมา โดยมีสมุฏฐานโรคเก่ียวกับเลือด จงึ พจิ ารณาไดว้ า่ มาจากจติ ทไี่ ดร้ บั การพฒั นาให้
และลมในเส้น แหล่งที่มาของความรู้มาจาก เขา้ ถงึ สภาวะตา่ ง ๆ ไดต้ ามความเปน็ จรงิ โดยไป
ครบู าอาจารยแ์ ลว้ ถา่ ยทอดตอ่ กนั มาจากรนุ่ สรู่ นุ่ พน้ การนกึ คดิ และประสบการณต์ ามปกติ
และมาจากคัมภีร์ต�าราท่ีคัดลอกสืบต่อกันมา
จนเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ต�าราการแพทย์ กลา่ วโดยสรปุ กค็ อื องคค์ วามรขู้ องการนวด
แผนไทยในยคุ ปจั จบุ นั ไทยประกอบดว้ ย

ความรู้การนวดไทยท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน ๑) ความรจู้ ากประสบการณใ์ นทางปฏบิ ตั ิ
เป็นผลรวมของความรู้ที่ถ่ายทอดผ่านการสอน ทอี่ ยใู่ นตวั หมอ
แบบตวั ตอ่ ตวั และการเรยี นรจู้ ากตา� รา ซงึ่ ผเู้ รยี น
ต้องฝึกฝนทักษะหาความรู้ความช�านาญด้วย ๒) ความรู้ท่ีมาจากการถอดบทเรียน
ตนเองบ้าง ด้วยการชี้แนะของครูหรือผู้รู้บ้าง ประสบการณแ์ ลว้ ถา่ ยทอดใหค้ นรนุ่ ถดั ไป
รวมท้ังต้องหาประสบการณ์ในทางปฏิบัติ
ผ่านการทดลองกับตนเองและการบ�าบัดผู้ป่วย ๓) ความรใู้ นคมั ภรี ต์ า� ราทมี่ กี ารบนั ทกึ ไว้
จนเกิดความรู้เชิงประจักษ์ขึ้น การแลกเปลี่ยน ๔) ความรทู้ เี่ กดิ จากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ความรกู้ นั ในหมหู่ มอและการเรยี นรจู้ ากการแพทย์ ขา้ มการแพทยแ์ ละขา้ มวฒั นธรรม และ
แผนอื่นก็มีส่วนท�าให้เกิดการผสมผสานความรู้ ๕) ความรู้ท่ีเกิดข้ึนจากจิตผู้รู้ ซ่ึงเข้าถึง
จากแหลง่ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั สภาวะตา่ ง ๆ ตามทเี่ ปน็ จรงิ

56 11/16/18 11:37 AM

01 ������ 13-11-61.indd 56

คมั ภรี ต์ า� ราการนวดไทย ความคลาดเคลื่อนให้ถูกต้องโดยผู้รู้ เพราะ
ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ วา่ คมั ภรี ต์ า� ราดงั้ เดมิ ความรทู้ บี่ นั ทกึ ในคมั ภรี ท์ ยี่ งั ไมส่ ามารถเขา้ ใจได้
ของการแพทย์แผนไทยมาจากการบันทึกของ ในปจั จบุ นั อาจมไิ ดห้ มายความวา่ จะไมถ่ กู ตอ้ ง
ครูบาอาจารย์แต่ครั้งโบราณสืบทอดมาจนถึง หมอไทยจงึ นยิ มใหล้ กู หลานหรอื สามเณรคดั ลอก
ปัจจุบัน และมักมีการเชื่อมโยงคัมภีร์ต�ารา คมั ภรี ต์ อ่ ๆ กนั มา แมย้ งั ไมส่ ามารถเขา้ ใจคมั ภรี ์
กับพระอาจารย์ชีวกโกมารภัจจ์ พระอาจารย์ ไดท้ ง้ั หมดกต็ าม
และพระฤๅษี คัมภีร์แพทย์ด้ังเดิมจึงเป็น
ของครูบาอาจารย์ จึงเป็นของท่ีมีสถานะสูง คั ม ภี ร ์ ต� า ร า ดั้ ง เ ดิ ม ที่ เ ป ็ น ห ลั ก ข อ ง
คนรุ่นหลังควรให้ความเคารพ ไม่ควรแก้ไข องค์ความรู้การนวดไทย ท่ีเป็นท่ียอมรับของ
ปรบั ปรงุ คมั ภรี ์ สงิ่ ทนี่ ยิ มทา� กนั มากกวา่ คอื ชา� ระ ครูบาอาจารย์หมอนวดไทยมี ๗ รายการ
(เรียงตามล�าดับความเก่าแก่ของการสร้างขึ้น
เทา่ ทคี่ น้ พบในปจั จบุ นั ) คอื

๑) ตา� ราโรคนทิ านคา� ฉนั ท์ ๑๑ ของพระยา
วิชยาธิบดี (กล่อม) เจ้าเมืองจันทบูร ในสมัย
รัชกาลที่ ๑ โดยมีเนื้อหาที่เก่ียวข้องในหัวข้อ
ปตั ฆาฏ กลอ่ น และกลา่ วเสน้ สบิ ยงั ไมท่ ราบปี
ที่สร้างขึ้นของต้นฉบับเดิม แต่จัดพิมพ์เป็น
หนงั สอื ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖

๒) จารึกต�ารายาวัดราชโอรสาราม
ราชวรมหาวิหาร สมัยรัชกาลท่ี ๒ สร้างขึ้น
พ.ศ. ๒๓๖๔ มแี ผน่ จารกึ ที่ ๔๕ เปน็ แผนนวด

๓) ศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ น
วิมลมังคลารามราชวรวิหาร (วัดโพธิ์) สมัย
รชั กาลท่ี ๓ สรา้ งขนึ้ พ.ศ. ๒๓๗๕ จา� นวน ๖๐ ภาพ
เปน็ ภาพแผนหงาย ๓๐ ภาพ แผนควา�่ ๓๐ ภาพ

๔) สมุดไทยด�าแสดงภาพและโคลงฤๅษี
ดดั ตนแกโ้ รคตา่ ง ๆ ๘๐ ภาพ สมยั รชั กาลที่ ๓
สรา้ งขนึ้ พ.ศ. ๒๓๘๑

57

01 ������ 13-11-61.indd 57 11/16/18 11:37 AM

58 11/16/18 11:38 AM

01 ������ 13-11-61.indd 58

01 ������ 13-11-61.indd 59 ศลิ าจารึกคัมภีรแ์ ผนนวดวัดโพธ์ิ

แผนภาพนวดทงั้ แผนหงายและแผนคว่า�
เป็นภาพแสดงหลักวิชาการนวดไทย ๖๐ ภาพ

พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจา้ อยู่หัว
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้จารกึ บนแผ่นศิลา

ประดบั ไว้ตามศาลาราย
ของวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์

ในชว่ งบรู ณะวดั พ.ศ. ๒๓๗๕

59

11/16/18 11:38 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นทั้งสิบ

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกกำาเหนิดเส้นทัง ๑๐ อันเปนประทานแก้เส้นทังหลาย ๚ ๛

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมลู นิธสิ าธารณสุขกบั การพัฒนา สงวนลขิ สิทธิ์ 11/16/18 11:38 AM

01 ������ 13-11-61.indd 60

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นทั้งสิบ

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกกำาเหนิดเส้นทัง ๑๐ อันเปนประทานแก้เส้นทังหลาย ๚ ๛

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมลู นิธสิ าธารณสุขกบั การพฒั นา สงวนลขิ สิทธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 61 11/16/18 11:38 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นอิทา

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นอิทาฝ่ายซ้าย ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมูลนิธิสาธารณสขุ กับการพัฒนา สงวนลิขสทิ ธ์ิ 11/16/18 11:38 AM

01 ������ 13-11-61.indd 62

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นอิทา

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นอิทาฝ่ายซ้าย ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมลู นิธิสาธารณสุขกับการพฒั นา สงวนลขิ สทิ ธ์ิ

01 ������ 13-11-61.indd 63 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นปิงคลา

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นปิงคลา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคัดลอกโดยมูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา สงวนลขิ สิทธิ์ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 64

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นปิงคลา

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นปิงคลา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคดั ลอกโดยมูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนา สงวนลขิ สิทธ์ิ

01 ������ 13-11-61.indd 65 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสุมนา

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นสุมนา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคัดลอกโดยมูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา สงวนลิขสทิ ธ์ิ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 66

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสุมนา

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นสุมนา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคดั ลอกโดยมูลนธิ ิสาธารณสขุ กับการพัฒนา สงวนลขิ สิทธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 67 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นกาลทารี

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นกาลทารี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมูลนิธิสาธารณสุขกบั การพัฒนา สงวนลขิ สิทธิ์ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 68

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นกาลทารี

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นกาลทารี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคดั ลอกโดยมูลนธิ ิสาธารณสุขกบั การพฒั นา สงวนลขิ สิทธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 69 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสหัศรังสี เส้นทวารี

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นสหัศรังสี เส้นทวารี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถา่ ยภาพและคัดลอกโดยมูลนิธิสาธารณสุขกบั การพัฒนา สงวนลขิ สทิ ธิ์ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 70

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสหัศรังสี เส้นทวารี

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นสหัศรังสี เส้นทวารี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคดั ลอกโดยมูลนิธิสาธารณสขุ กบั การพฒั นา สงวนลิขสทิ ธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 71 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นจันทภูสัง เส้นรุชำา

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นจันทภูสัง เส้นรุชำา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคัดลอกโดยมูลนธิ สิ าธารณสุขกบั การพฒั นา สงวนลขิ สิทธิ์ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 72

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นจันทภูสัง เส้นรุชำา

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นจันทภูสัง เส้นรุชำา ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคดั ลอกโดยมลู นธิ ิสาธารณสุขกบั การพฒั นา สงวนลิขสิทธ์ิ

01 ������ 13-11-61.indd 73 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสุขุมัง

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นสุขุมัง ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคัดลอกโดยมูลนธิ สิ าธารณสขุ กบั การพฒั นา สงวนลิขสทิ ธ์ิ 11/16/18 11:39 AM

01 ������ 13-11-61.indd 74

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสุขุมัง

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นสุขุมัง ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคัดลอกโดยมูลนิธิสาธารณสุขกับการพฒั นา สงวนลิขสิทธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 75 11/16/18 11:39 AM

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสิกขินี

๏ ลักษณะแผนหงายรูปนี้ บอกเส้นสิกขินี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคัดลอกโดยมูลนิธิสาธารณสขุ กับการพฒั นา สงวนลขิ สทิ ธ์ิ 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 76

ภาพเสน้ ประธานสบิ
จากศลิ าจารกึ คมั ภรี แ์ ผนนวดวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรวหิ าร (วดั โพธ)ิ์ พ.ศ. ๒๓๗๕

เส้นสิกขินี

๏ ลักษณะแผนควำ่ารูปนี้ บอกเส้นสิกขินี ตามไนยอาจารย์ท่านกล่าวไว้ที่แก้ต่างต่างดั่งนี้ ๚

ถ่ายภาพและคัดลอกโดยมลู นธิ สิ าธารณสุขกบั การพัฒนา สงวนลิขสิทธิ์

01 ������ 13-11-61.indd 77 11/16/18 11:40 AM

๕) คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ และ เลม่ ๒ ๗) คมั ภรี แ์ ผนนวด ฉบบั วดั สวุ รรณาราม ◀
ในต�าราเวชศาสตร์ฉบับหลวง สมยั รัชกาลที่ ๕ (พระสมุห์ต่วน มอบให้หอสมุดแห่งชาติ พ.ศ.
สร้างขึ้น พ.ศ. ๒๔๑๔ เป็นแผนนวด จ�านวน ๒๔๕๖) ยังไม่ทราบปีท่ีสร้างขึ้น เป็นแผนนวด ตาํ ราเวชศาสตร์
๒๙ ภาพ แผนหงาย จา� นวน ๒๑ ภาพ แผนควา�่ จา� นวน ๕๕ ภาพ แผนหงาย จา� นวน ๓๖ ภาพ ฉบบั หลวง รชั กาลท่ี ๕
จา� นวน ๘ ภาพ และมคี า� บรรยายเสน้ ประธาน แผนคว่�า จ�านวน ๑๙ ภาพ มีค�าบรรยายเส้น
และลมทเี่ กยี่ วขอ้ ง ประธานและลมทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมทงั้ แผนปลงิ

๖) คัมภีร์แผนนวด ฉบับปีกุนสปตศก (หมายเหตุ คัมภีร์ต�าราดั้งเดิม รายการ
๑๒๓๙ สร้างข้ึน พ.ศ. ๒๔๒๐ เป็นแผนนวด ๒ ถงึ ๕ ไดร้ บั การประกาศขนึ้ ทะเบยี นเปน็ ตา� รา
จา� นวน ๓๖ ภาพ แผนหงาย จา� นวน ๑๘ ภาพ การแพทยแ์ ผนไทยของชาติ ตามพระราชบญั ญตั ิ
แผนควา�่ จา� นวน ๑๘ ภาพ คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒)
78

01 ������ 13-11-61.indd 78 11/16/18 11:40 AM

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๙ ถงึ ๑๒

01 ������ 13-11-61.indd 79 79

11/16/18 11:40 AM

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๑๓ ถงึ ๑๖

80 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 80

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๑๗ ถงึ ๒๐

01 ������ 13-11-61.indd 81 81

11/16/18 11:40 AM

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๒๑ ถงึ ๒๔

82 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 82

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๒๕ ถงึ ๒๘

01 ������ 13-11-61.indd 83 83

11/16/18 11:40 AM

คมั ภรี แ์ ผนนวด เลม่ ๑ เลขท ี่ ๑๐๐๘
หนา้ ตน้ ท ี่ ๒๙ ถงึ ๓๒

84 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 84

เสน้ ประธานสบิ ทฤษฎกี ารนวดไทย
ทฤษฎีพ้ืนฐานท่ีใช้อธิบายความเจ็บป่วย
๑ เสน้ อทิ า ๒ เสน้ ปงิ คลา ๓ เสน้ สมุ นา ๔ เสน้ กาลทารี ๕ เสน้ สหศั รงั สี
๖ เสน้ ทวารี ๗ เสน้ จนั ทภสู งั ๘ เสน้ รชุ าำ ๙ เสน้ สขุ มุ งั ๑๐ เสน้ สกิ ขนิ ี และก�าหนดหลักการและวิธีการบ�าบัดด้วย
การนวดไทย มี ๒ ทฤษฎี คอื
ภาพแสดงทางเดนิ ของเสน้ ประธานสิบ
ยกร่างตามคมั ภรี ์แผนนวด ๑. ทฤษฎีธาตุ คือ ทฤษฎีว่าด้วยธาตุ ๔
เปน็ ทฤษฎที ใ่ี ชอ้ ธบิ ายองคป์ ระกอบพนื้ ฐานของ
โดยโครงการฟน้ื ฟูการนวดไทย มสพ. และคณะ สรรพส่ิงตามหลักพุทธศาสตร์ แม้ว่าธาตุที่เป็น
เหตุของความเจ็บป่วยที่ใช้การนวดมากที่สุด
01 ������ 13-11-61.indd 85 คอื ธาตลุ ม แตก่ ารนวดกเ็ กยี่ วขอ้ งกบั ธาตอุ นื่ ๆ
ทเี่ หลอื ดว้ ย

๒. ทฤษฎเี สน้ ประธาน คอื ทฤษฎที อี่ ธบิ าย
ทางเดนิ หลกั ของลมในรา่ งกาย เชอื่ กนั วา่ รา่ งกาย
คนเรามเี สน้ อยทู่ งั้ หมด ๗๒,๐๐๐ เสน้ แตท่ เี่ ปน็
เสน้ ประธานแหง่ เสน้ ทง้ั ปวงมเี พยี ง ๑๐ เสน้ ไดแ้ ก่
เส้นอิทา เส้นปิงคลา เส้นสุมนา เส้นกาลทารี
เสน้ สหศั รงั สี เสน้ ทวารี เสน้ จนั ทภสู งั เสน้ รชุ า�
เสน้ สขุ มุ งั และเสน้ สกิ ขนิ ี เสน้ เหลา่ นมี้ จี ดุ เรม่ิ ตน้
ออกมาจากบริเวณโดยรอบสะดือ มีทางเดิน
ของเส้นที่แน่นอนทอดไปตามส่วนต่าง ๆ ของ
รา่ งกาย เปน็ ทางเดนิ ของลมทแี่ ลน่ ภายในรา่ งกาย
ซึ่งสามารถรับรู้ได้เมื่อกดจุดท่ีสัมพันธ์กับ
เส้นประธานนั้น ๆ นอกจากเส้นและลมแล้ว
ยังมีจุดที่เป็นต�าแหน่งบนร่างกายท่ีมีความ
สมั พนั ธก์ บั เสน้ เมอ่ื กดหรอื กระตนุ้ ถกู จดุ จะเกดิ
กระแสความรสู้ กึ แลน่ ของลมไปตามแนวเสน้ ได้

85

11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 86 11/16/18 11:40 AM



01 ������ 13-11-61.indd 87 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 88 11/16/18 11:40 AM

หนา้ ทท่ี างสงั คม ความหมาย และคณุ คา่

การใช้การนวดไทยเพ่ือดูแลสุขภาพ ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ญ า ติ มิ ต ร ส า ม า ร ถ
ในครอบครัวและชุมชน ท�าให้เกิดการพึ่งพา แสดงความกรุณาเอ้ืออาทรต่อกันได้ง่ายข้ึน
และช่วยเหลือกันในชุมชน (self-reliance in เพราะเป็นการกระท�าด้วยการสัมผัสร่างกาย
community) เป็นรูปธรรมที่สามารถปฏิบัติ มีการซักถามและกระท�าการนวดเพ่ือลด
ไดจ้ รงิ โดยไมต่ อ้ งพงึ่ ยา วสั ดุ และอปุ กรณใ์ ด ๆ ความเจ็บปวดหรือการติดขัดของส่วนต่าง ๆ
การนวดเป็นการดูแลสุขภาพท่ีอยู่ในมือของ ของร่างกาย เมื่อความเจ็บปวดผ่อนคลายหรือ
ทกุ ๆ คน เคล่ือนไหวร่างกายได้ดีขึ้น ย่อมท�าให้ผู้ได้รับ
การนวดรสู้ กึ ขอบคณุ ในความกรณุ า สะทอ้ นถงึ
การนวดไทยยังส่งเสริมให้สังคมไทย การให้คุณค่ากับการพ่ึงพาและห่วงใยซึ่งกัน
เป็นสังคมของการเอ้ืออาทรและห่วงใยกัน และกนั
(Caring society) การนวดไทยเป็นสื่อช่วยให้

01 ������ 13-11-61.indd 89 89

11/16/18 11:40 AM

การนวดไทยในชุมชนแสดงถึงภูมิรู้ ภายนอกเทา่ นนั้ นอกจากนี้ คนในชมุ ชนทอ้ งถนิ่
ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ซ่ึงได้เรียนรู้ สามารถเรียนรู้ฝึกหัดการนวดไทยได้ในระยะ
วธิ กี ารนวดทสี่ บื ตอ่ กนั มา ทา� ใหค้ นในชมุ ชนรสู้ กึ เวลาไมม่ ากนกั กส็ ามารถนา� ไปใชเ้ ปน็ อาชพี เสรมิ
ภูมิใจในชุมชนของตนเอง เป็นการด�ารงไว้ซ่ึง หรืออาชีพหลักได้ เม่ือมีประสบการณ์และ
อัตลักษณ์ของชุมชนท่ีมีรากเหง้าความเป็นมา ความช�านาญเพ่ิมข้ึน ก็สามารถเป็นท่ีพ่ึง
และมีภูมิปัญญาท้องถิ่น (local wisdom) ด้านสุขภาพของคนในชุมชนซ่ึงเข้าถึงได้ง่าย
ของตนเองในการจัดการกับความเจ็บป่วย และทา� ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ภมู ใิ จทเ่ี ปน็ หมอคนหนง่ึ
ลดความรู้สึกว่าชุมชนเป็นเพียงฝ่ายรอคอย ของชมุ ชน
รับความช่วยเหลือและความรู้จากหน่วยงาน

90

01 ������ 13-11-61.indd 90 11/16/18 11:40 AM

นอกจากนี้ จากการที่หมอนวดไทย เชงิ ผลประโยชน์ ทงั้ หมอและผปู้ ว่ ยถอื วา่ สง่ิ ดี ๆ
ในชุมชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่ได้รับการ ท่ีเป็นผลจากกระบวนการช่วยเหลือเยียวยานี้
สืบทอดความรู้ต่อ ๆ กันมา เพื่อใช้ความรู้น้ัน เกิดข้ึนได้จากครูซึ่งเป็นที่มาของความรู้และ
ในการช่วยเหลอื ผอู้ นื่ มากกว่าเพอื่ การประกอบ จรรยาแพทย์ การบูชาครูด้วยการระลึกถึงครู
เป็นอาชีพ จึงไม่มีการเรียกร้องค่าตอบแทน ทุกคร้ังก่อนท�าการนวด และการประกอบพิธี
จากผู้ป่วย การตอบแทนของผู้ป่วยด้วยเงิน ไหว้ครูประจ�าปีจึงเป็นสิ่งส�าคัญของวัฒนธรรม
ส่ิงของ หรือแรงงานเป็นการแสดงออกถึง การถ่ายทอดความรู้ และเป็นเคร่ืองช่วยให้
ความส�านึกในบุญคุณมากกว่าการแลกเปลี่ยน หมอนวดไทยอยใู่ นกรอบจรยิ ธรรมและศลี ธรรม
อันดงี าม

ด้วยคุณค่าของการนวดไทยดังท่ีกล่าวมา
และการเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมท่ียอมรับ
ในความแตกต่างของความเชื่อทางศาสนา
และการด�ารงอยู่ร่วมกันของผู้คนต่างชาติพันธุ์
และความเชอื่ ทา� ใหม้ กี ารนา� การนวดไทยไปใช้
ในหมู่คนที่มิได้นับถือพระพุทธศาสนา แต่อยู่
ภายใตร้ ม่ พระบรมโพธสิ มภารของพระมหากษตั รยิ ์
พระองค์เดียวกันมาหลายร้อยปี การนวดไทย
จึงปรากฏตัวอยู่และสามารถน�าไปใช้ได้กับ
ทุกศาสนาและชาติพันธุ์ในสังคมไทย ในมิติ
ทางเพศสภาพ แม้การนวดไทยมักถ่ายทอดกัน
มากในหมู่หมอซึ่งเป็นผู้ชาย แต่ไม่มีข้อจ�ากัด
ส�าหรับผู้หญิงในการเรียนรู้ศาสตร์แขนงนี้
การนวดไทยสา� หรบั หญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละหลงั คลอด
เป็นวิถีปฏิบัติที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
เช่นเดียวกับการนวดแขนขาเด็กเล็กหลัง
การอาบน้�าซ่ึงมักปฏิบัติกันในชุมชนท้องถิ่น
ทกุ ภาคของประเทศ

91

01 ������ 13-11-61.indd 91 11/16/18 11:40 AM

การนวดไทยบนสามเสน้ ทาง: มูลฐาน ซ่ึงมีเป้าหมายเพ่ือการพ่ึงตนเองทาง
ชุมชน วชิ าชีพ ธรุ กจิ ด้านสุขภาพของประชาชนและชมุ ชน การวิจยั
และจดั การความรอู้ ยา่ งมเี ปา้ หมายและเลอื กสรร
การนวดไทยได้รับการฟื้นฟูอย่างจริงจัง มาใช้ประโยชน์เพ่ือตอบโจทย์ทางด้านสุขภาพ
โดยการริเริ่มขององค์กรภาคประชาสังคม ของประชาชนได้อย่างสอดคล้องกับวัฒนธรรม
ด้านสุขภาพ โดยมีสมาคมแพทย์แผนโบราณ สุขภาพของชุมชนท้องถ่ิน ท�าให้การนวดไทย
และหมอนวดไทยจ�านวนหน่ึงเป็นก�าลังส�าคัญ ได้รับการตอบรับจากผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนที่
ในดา้ นองคค์ วามรู้ และไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก เป็นอย่างดี ความต่ืนตัวเหล่าน้ีท�าให้เกิด
หนว่ ยงานภาครฐั ภายใตแ้ นวคดิ การสาธารณสขุ

92

01 ������ 13-11-61.indd 92 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 93 11/16/18 11:40 AM

การเปล่ียนแปลงในระบบสุขภาพจนถึงข้ัน ที่มีปัญหาเก่ียวกับระบบโครงสร้างร่างกาย
ยอมรบั ใหก้ ารนวดไทยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของบรกิ าร เท่านั้น เพราะการนวดไทยยังมีประโยชน์
สาธารณสุขและหมอนวดไทยได้รับการยอมรับ ในการผ่อนคลายร่างกาย เป็นทางเลอื กสา� หรบั
ใหม้ สี ถานภาพในทางกฎหมาย ซง่ึ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ผู้ต้องการบริการสุขภาพในรูปลักษณ์สมัยใหม่
ของการพัฒนาเป็นวิชาชีพท่ีมีกฎหมายรองรับ จึงมีศักยภาพที่จะเติบโตในตลาดธุรกิจบริการ
ภายใต้การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย สุขภาพ โดยเฉพาะสปาและสถานบริการนวด
อย่างไรก็ตาม ความสนใจของสังคมที่มีต่อ เพอ่ื สุขภาพ ซง่ึ เปน็ สว่ นหน่ึงของเป้าหมายทาง
การนวดไทยมิได้จ�ากัดเฉพาะในหมู่ประชาชน เศรษฐกจิ ของประเทศในยคุ ประเทศไทย ๔.๐
ที่เป็นเกษตรกรและผู้ใช้แรงงาน รวมท้ังผู้ป่วย

94

01 ������ 13-11-61.indd 94 11/16/18 11:40 AM

01 ������ 13-11-61.indd 95 11/16/18 11:40 AM

96 11/16/18 11:41 AM

01 ������ 13-11-61.indd 96

01 ������ 13-11-61.indd 97 11/16/18 11:41 AM

98 11/16/18 11:41 AM

01 ������ 13-11-61.indd 98

01 ������ 13-11-61.indd 99 99

11/16/18 11:41 AM

100 11/16/18 11:41 AM

01 ������ 13-11-61.indd 100


Click to View FlipBook Version