The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเอง(SAR )โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ปีการศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by takrear16, 2021-09-28 01:57:07

รายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการประเมินตนเอง(SAR )โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ปีการศึกษา2563

1

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

(Self Assessment Report: SAR)

โรงเรยี นตะเครียะวทิ ยาคม
เลขท่ี ๒๖๐ หมทู่ ่ี ๕ ตาบลตะเครียะ
อาเภอระโนด จังหวดั สงขลา
www.takrear.ac.th

สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน





บทสรุปสาหรับผ้บู รหิ าร

โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศึกษา สงขลา สตลู กระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษา
ปที ี่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖3 มีครูและบุคลากร จานวน ๑๔ คน มีนักเรียน จานวน
98 คน จัดให้มีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เมื่อวันท่ี ๑ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖3 ถึง วันที่ 9
เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๖4 โดยผลการประเมนิ ตนเอง ของสถานศึกษาตามรายมาตรฐาน ๓ มาตรฐานจากการ
มสี ่วนร่วมในการประเมินของทุกฝ่ายงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวของในการจัดการศึกษา มีครู ผู้ปกครอง นักเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ไดด้ งั นี้

ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ดงั นี้

มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ียม

จากการที่โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีการวางแผนการทางานโดยจัดทาโครงการและจัดกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายและตามความต้องการของผู้เรียนและจัดให้สอดคล้องกับจุดเน้นของ
สถานศึกษา สภาพของชุมชนท้องถิ่น และสมรรถนะของผู้เรียนตามทักษะในศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกับ
ตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จนมีผล
การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ การพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียน ระดับคะแนน ดี
ข้ึนไป มีการพัฒนามากข้ึนเนื่อง จากกิจกรรมตายายย่าน ทาให้นักเรียนกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น
พัฒนาการของค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้นในบางรายวิชา ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและ
เขียน การส่ือสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับดี นักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถในการคิดคานวณ
การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและ
คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจนตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ดังท่ีปรากฏผล
ประเมินในมาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานท่ี ๒ ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มีผล
ประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและ
ดาเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดาเนินงานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการ
พฒั นา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรงุ แก้ไขงานให้ดีขึ้น
อย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๓ ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญมีผลประเมินอยู่ในระดับ
คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นไปตามความต้องการ
ของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและ
ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมนิ ผลจากสภาพจริง



คานา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ฉบับนี้
จดั ทาขน้ึ ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ้ ๓ ...ใหส้ ถานศึกษาจัดส่งรายงาน
ผลการประเมนิ ตนเองให้แก่หน่วยงานตน้ สงั กัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปีตลอดจน
เป็นไปตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติการดาเนินงานประกัน
คุณภาพการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ทีร่ ะบวุ า่ ให้สถานศึกษาระดับการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน
ดาเนินการในขอ้ ๒.๖ จดั ทารายงงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้
ความเห็นชอบและจดั สง่ รายงานดงั กล่าวตอ่ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นประจาทุกปี

รายงานฉบับนี้ประกอบดว้ ย ๔ สว่ น คือ สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลพ้ืนฐาน ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา ส่วนท่ี ๓ สรุปผล และแนวทางการพฒั นา และสว่ นท่ี ๔ ภาคผนวก

ขอขอบคุณคณะผู้จัดทา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วม
ในการสนับสนุนและจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ฉบบั น้ี และหวังว่า
เอกสารรายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคม ในปีต่อ ๆ ไป รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผลการพัฒนาการจัดการศึกษาและให้
การช่วยเหลือสนับสนุนอย่างเหมาะสม หน่วยงานต้นสังกัดมีฐานข้อมูลสาคัญในการกาหนดนโยบายการ
พัฒนาการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และโรงเรียนมีความพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

(นางสาวชฏุ ิมา อนิ ทรจ์ ันทร)์
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นตะเครียะวทิ ยาคม

26 เมษายน ๒๕๖๔



สารบัญ หน้า

คานา ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
สว่ นที่ ๑ ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา ๑
1
๑.๑ ข้อมลู ท่ัวไป 2
๑.๒ ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศกึ ษา 5
๑.๓ ข้อมูลนกั เรียน 6
๑.๔ ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้และวทิ ยากรทอ้ งถ่ิน 7
๑.๕ ขอ้ มลู คา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 8
๑.๖ ข้อมูลคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทดี่ ีตามที่สถานศกึ ษากาหนด 9
๑.๗ ขอ้ มลู ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม และข้อเสนอแนะ 12
๑.๘ ข้อมลู ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖1-๒๕๖3 13
ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 13
ผลการประเมนิ โดยภาพรวม 17
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน 24
30
ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น 36
คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน 45
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 51
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 51
ส่วนท่ี ๓ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการช่วยเหลือ 52
สรปุ ผล 53
แนวทางการพฒั นาเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานทีส่ งู ขึ้น 54
ความต้องการชว่ ยเหลอื 54
ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก 63
เร่ือง/กระบวนการท่ีตอ้ งการให้ สมศ.ประเมนิ ความโดดเดน่ 64
รอ่ งรอยหลกั ฐาน/เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง
คณะผจู้ ดั ทา



สารบัญตาราง หน้า
2
ตารางท่ี ๑ แสดงจานวนผู้บริหารโดยตาแหน่ง 2
ตารางท่ี ๒ แสดงจานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื จาแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา 3
ตารางท่ี ๓ แสดงจานวนครูผู้สอน จาแนกตามรายวชิ าท่ีสอน ตามมาตรฐานวิชาเอก (ตาม
4
เกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ.กาหนด) ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ตารางท่ี 4 แสดงจานวนครผู ู้สอน จาแนกตามรายวชิ าที่สอน ตามมาตรฐานวชิ าเอก (ตาม 5

เกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ.กาหนด) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๓ 5
ตารางที่ ๕ แสดงจานวนหอ้ งเรียนและนักเรียนจาแนกตามระดับชัน้ เรยี นและเพศ 6

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ 7
ตารางท่ี ๖ แสดงจานวนนกั เรียนทมี่ ลี กั ษณะพเิ ศษ จาแนกตามคณุ ลักษณะและเพศ
ตารางท่ี ๗ แสดงจานวนและสถติ กิ ารใชแ้ หลง่ เรียนรูภ้ ายนอกและภมู ิปญั ญาท้องถิน่ 9
10
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ 12
ตารางที่ ๘ แสดงค่าเป้าหมายทโี่ รงเรยี นกาหนด จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 24

ยอ้ นหลัง ๓ ปีการศึกษา 24
ตารางท่ี ๙ แสดงผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม
ตารางท่ี 10 ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม 25
ตารางที่ 11 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ๓ ปีการศึกษา
ตารางท่ี 12 แสดงคา่ ร้อยละของนักเรยี นท่มี ีความสามารถในการอ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง จาแนก 25
26
ตามระดับช้ันและระดับคุณภาพ
ตารางท่ี 13 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาไทย จาแนกตามระดบั ชนั้ และระดับ 27

คุณภาพ 27
ตารางท่ี 14 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ จาแนกตามระดบั ชั้นและระดับ
28
คุณภาพ
ตารางที่ 15 แสดงความสามารถในการคดิ คานวณ จาแนกตามระดับช้ันและระดับคณุ ภาพ 28
ตารางที่ 16 แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหา จาแนกตามระดับช้ันและระดบั คุณภาพ
ตารางท่ี 17 แสดงความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จาแนกตามระดับช้ันและระดบั คุณภาพ
ตารางท่ี 18 แสดงความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร จาแนกตาม

ระดับชนั้ และระดับคณุ ภาพ
ตารางที่ 19 แสดงจานวนและค่าร้อยละของนักเรียนทุกระดับช้ันที่มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู

กวา่ เป้าหมายทโ่ี รงเรยี นกาหนด จาแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
ตารางที่ 20 แสดงความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จาแนกตามรายวิชาและปี

การศกึ ษาระดับชนั้ ม.๓
ตารางที่ 21 แสดงความกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ จาแนกตามรายวิชาและ

ปกี ารศึกษาระดบั ชั้น ม.๖



สารบญั ตาราง(ตอ่ ) หน้า
29
ตารางท่ี 22 แสดงความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชีพ จาแนกตามระดับช้ันและ
ระดับคุณภาพ 30

ตารางท่ี 23 แสดงคณุ ลักษณะและค่านิยมทด่ี ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด จาแนกตามระดับชน้ั 31
และระดบั คุณภาพ
31
ตารางท่ี 24 แสดงความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย จาแนกตามระดับชัน้ และระดับ
คณุ ภาพ 32
33
ตารางที่ 25 แสดงการยอมรับท่ีจะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย จาแนกตาม 43
ระดับชนั้ และระดับคุณภาพ 49

ตารางที่ 26 แสดงสขุ ภาวะทางรา่ งกาย จาแนกตามระดบั ชน้ั และระดับคุณภาพ 58
ตารางที่ 27 แสดงสขุ ภาวะทางจิตสงั คม จาแนกตามระดับชนั้ และระดับคุณภาพ 60
ตารางท่ี 28 แสดงผลการประเมนิ จาแนกตามประเด็นพจิ ารณา 62
ตารางที่ 29 แสดงผลการประเมินกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

จาแนกตามประเด็นพจิ ารณา
ตารางที่ 30 ผลการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม
ตารางท่ี 31 โครงงานคุณธรรมของโรงเรยี นตะเครียะวิทยาคม
ตารางท่ี 32 แสดงผลงานท่ตี ้องการประเมินความโดดเดน่ ในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

รอบส่ี

สารบญั ภาพ ช

ภาพที่ ๑ แผนทีก่ ารเดนิ ทางไปยงั โรงเรยี นตะเครียะวิทยาคม หน้า
ภาพที่ ๒ แสดงโมเดล/กระบวนการของระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 1
ภาพที่ 3 แนวทางการบรหิ าร“UCDA MODEL” 36
ภาพท่ี 4 แสดงแผนผังการดาเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม 37
ภาพที่ 5 โมเดลการบรหิ ารงานโรงเรยี นคุณธรรม “ตะเครียะโมเดล” 56
57



ส่วนที่ ๑
ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ข้อมูลท่ัวไป

โรงเรียนตะเครยี ะวิทยาคม ( Takraiwitayakorm School ) เป็นสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการเรยี นการสอนใน
ระดับการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
สงขลา สตูล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดทาการสอนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เปน็ โรงเรียนมัธยมศึกษาประจาตาบลตะเครียะ ได้ประกาศจัดต้งั เมื่อปีการศึกษา
๒๕๑๙ เริ่มเปิดทาการสอน เมื่อวันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๑๙ โดยจัดต้ังแบบสหศึกษา เปิดทาการสอนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ในปีการศึกษา ๒๕๑๙ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปีการศึกษา ๒๕๓๙ มีโรงเรียน
ในเขตพ้ืนท่ีบริการ จานวน ๕ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านดอนแบก (สุขประชา) โรงเรียนชุมชนวัดบ้านขาว
โรงเรียนวัดเกษตรชลธี (เลื่อนประชาคาร) โรงเรียนวัดหัวป่า (รักเมืองไทย 38) โรงเรียนวัดคูวา
(เล่ือนประชาสฤษฎ์) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชุมชนชนบท อาชีพหลักของชุมชน คือ ทานา
อาชีพเสริม ทาสวนประมง รับจ้าง ผู้ปกครองส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม (Takraiwitayakorm School) ตั้งอยู่ เลขที่ ๒๖๐ หมู่ท่ี ๕ ตาบลตะเครียะ
อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา ๙๐๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๗๔ ๓๐๐๐๒๑ โทรสาร ๐๗๔ ๓๐๐๐๒๑
e-mail. [email protected] เว็บไซต์โรงเรียน http://www.takrear.ac.th/ มีพ้ืนท่ีทั้งหมด ๕๑ ไร่
๒ งาน ๘๓ ตารางวา ซ่ึงเป็นท่ีดินบริจาคทั้งหมดตั้ง อยู่ห่างจากอาเภอระโนด ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร
หา่ งจากจงั หวัดสงขลา ประมาณ ๑๐๘ กิโลเมตร มอี าณาเขต ดงั น้ี

ทิศเหนอื จดโรงเรียนบ้านดอกแบก
ทศิ ตะวนั ออก จดถนน ร.พ.ช. และท่ีดินเอกชน
ทศิ ใต้ จดที่นาเอกชน
ทศิ ตะวันตก จดท่ีนาเอกชน

แผนที่การเดินทางโดยสังเขป

ภาพที่ 1 แผนที่การเดินทางไปยังโรงเรยี นตะเครียะวทิ ยาคม



๑.๒ ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา (ระบุข้อมลู ณ วนั ที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๔ )

๑) จานวนผ้บู ริหารโดยตาแหน่ง รวม ๑ คน ไดแ้ ก่

ตารางท่ี ๑ แสดงจานวนผบู้ ริหารโดยตาแหน่ง

ดารงตาแหนง่ วุฒิ
การศกึ ษา
ที่ ช่อื -สกุล ตาแหน่ง ที่โรงเรยี นนต้ี ้ังแต่ โทรศัพท์
สงู สดุ
ว/ด/ป
ศษ.ม.
๑. นางสาวชฏุ ิมา อนิ ทร์จันทร์ ผูอ้ านวยการ ๑ มนี าคม ๒๕๖๒ ๐๙๓-๕๘๓๖๙๑๙

๒) จานวนครแู ละบุคลากรอื่น ๑3 คน ได้แก่

ตารางที่ ๒ แสดงจานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาอ่นื จาแนกตามวุฒิการศึกษา

จานวน ข้าราชการครู (คน) พนกั งาน ครูอตั ราจา้ ง บุคลากร
ราชการ (คน) ทางการศึกษาอื่น
มตี ัว มาช่วย ไปช่วย (คน)
วฒุ ิการศึกษาสูงสุด อยู่จริง ราชการ ราชการ (คน)
-
สูงกว่าปริญญาตรี 1 - - - -

ปรญิ ญาตรี ๙- - - ๑ -
-
ต่ากว่าปริญญาตรี - - - - -

อื่น ๆ (ระบุ) -- - -

๓) จานวนครผู ูส้ อน จาแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรูแ้ ละค่าเฉลย่ี จานวนช่วั โม
ตารางท่ี ๓ แสดงจานวนครผู ้สู อน จาแนกตามรายวิชาที่สอน ตามมาตรฐานวชิ าเอก (

2. 3. วิทยาศาสตร์ 4. สงั คมศึกษา ศาสนา และ
คณติ ศาสตร์ วฒั นธรรม

1. 1. ภาษาไทย
ข้อมลู รายการ คณิตศาสต ์ร
การ วัดผลการ ึศกษา
สอน รวม
วิทยาศาสต ์รทั่วไป
ฟิสิกส์
ชีววิทยา
เค ีม
เทคโนโลยี
รวม
พระพุทธศาสนา ีศลธรรม
และจ ิรยธรรม
ห ้นาท่ีพลเ ืมอง วัฒนธรรม
และการดาเนินชีวิต
เศรษฐศาสต ์ร
ประวัติศาสต ์ร
ภูมิศาสต ์ร
ศาสนาอิสลาม
รวม

1. จานวนชว่ั โมง 17 15 15 16 6 6 6 11 45 6 7 8 7 8 36 15
สอน/สัปดาห์ 1 1 111021

2. จานวนครตู าม 1 1 0 1 1 1 1 1 1 3 -1 1 1 21
เกณฑ์ 0
0
3.1 ขา้ ราชการครู 2 2 21 1
ท่มี ี/สอน -1 0 -1 0 0 0 0

3.2 พรก., อตั รา 0 01 1
จา้ ง (คร)ู ทมี่ ี/สอน

3.3 ตาแหน่งวา่ ง 0 0 1
ขา้ ราชการครู

4. จานวนครู - 1 1 0 1 0 0 -1 -1 -1 -2
ขาด / เกนิ

0 0 0 0 -1 0 0 0 0 -1 0 -1 0 -1 0 0 -1 0 -1 -1 0 0 0 -1 0 -1 -1 -1 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 10 5 2 17 3 3 3 9 4 5 9 4 5 5 14 2 6 3 7 18 180 ภาษาอังกฤษ 5. ภาษาต่างประเทศ รายวชิ าทส่ี อน (ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กาหนด) ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มงในการสอน
1 0 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 12 ภาษาฝรง่ั เศส
011 0 00 ภาษาญีป่ นุ่ 6. ศลิ ปะ
ภาษาจนี
0 ภาษามลายู 7. สขุ ศึกษา
ภาษาเกาหลี พลศกึ ษา
ภาษาตากาล๊อก
ภาษาอน่ื ๆ (ระบุ) 8.
รวม
0 01 0 01 ทศั นศลิ ป์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ดนตรีศึกษา
นาฎศิลป์ 9. กจิ กรรมพัฒนา ๓
รวม ผเู้ รียน
สุขศกึ ษา
พลศึกษา
รวม
งานบา้ น / คหกรรรม
งานประดิษฐ์
งานชา่ ง
งานเกษตร
งานธุรกิจ พณชิ ยกรรม บัญชี
งานอตุ สาหกรรม
เทคโนโลยี / คอมพวิ เตอร์
รวม
บรรณารกั ษ์

แนะแนว
ยุวกาชาด ลกู เสือ และเนตรนารี
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนไมร่ ะบุสาขา
รวม

รวมทง้ั ส้นิ

ตารางท่ี ๔ แสดงจานวนครูผูส้ อน จาแนกตามรายวชิ าทส่ี อน ตามมาตรฐานวิชาเอก

2. 3. วทิ ยาศาสตร์ 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
คณิตศาสตร์ วฒั นธรรม

1. 1. ภาษาไทย
ขอ้ มลู รายการ ค ิณตศาสต ์ร
การ วัดผลการ ึศกษา
สอน รวม
วิทยาศาสต ์รทั่วไป
ฟิสิก ์ส
ชีววิทยา
เค ีม
เทคโนโลยี
รวม
พระพุทธศาสนา ีศลธรรม
และจ ิรยธรรม
ห ้นาท่ีพลเ ืมอง วัฒนธรรม
และการดาเนินชีวิต
เศรษฐศาสต ์ร
ประวัติศาสต ์ร
ภูมิศาสต ์ร
ศาสนาอิสลาม
รวม

1. จานวนชวั่ โมง 17 15 15 16 6 6 6 11 45 6 7 8 7 8 36 17
สอน/สัปดาห์ 1 1 111021

2. จานวนครตู าม 1 1 0 1 1 1 1 1 1 3 -1 1 1 21
เกณฑ์ 0
0
3.1 ข้าราชการครู 1 2 21 13
ทมี่ ี/สอน -1 0 -1 0 0 0 0

3.2 พรก., อัตรา 01 1
จา้ ง (ครู) ท่ีม/ี สอน

3.3 ตาแหนง่ วา่ ง 0 0
ขา้ ราชการครู

4. จานวนครู - 0 1 0 1 0 0 -1 0 -1 0
ขาด / เกนิ

0 0 0 0 0 0 0 0 0 -1 0 -1 0 -1 0 0 -1 0 -1 -1 0 0 0 -1 -1 -1 -1 -1 -1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 11 1 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 12 7 ภาษาอังกฤษ (ตามเกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ.กาหนด) ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ภาษาฝรงั่ เศส
ภาษาญปี่ ุน่ 5. ภาษาต่างประเทศ รายวชิ าทส่ี อน
ภาษาจีน
0 00 0 00 17 3 3 3 9 4 5 9 4 5 5 ภาษามลายู 6. ศลิ ปะ
ภาษาเกาหลี
ภาษาตากาล๊อก 7. สขุ ศกึ ษา
ภาษาอ่นื ๆ (ระบุ) พลศกึ ษา
รวม
ทศั นศลิ ป์ 8.
ดนตรีศกึ ษา
0 00 0 01 14 2 6 3 7 18 180 นาฎศลิ ป์ การงานอาชพี และเทคโนโลยี
รวม
สุขศกึ ษา 9. กจิ กรรมพฒั นา ๔
พลศึกษา ผ้เู รยี น
รวม
งานบา้ น / คหกรรรม
งานประดิษฐ์
งานชา่ ง
งานเกษตร
งานธุรกจิ พณชิ ยกรรม บัญชี
งานอตุ สาหกรรม
เทคโนโลยี / คอมพวิ เตอร์
รวม
บรรณารกั ษ์

แนะแนว
ยุวกาชาด ลกู เสือ และเนตรนารี
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนไมร่ ะบุสาขา
รวม

รวมทง้ั ส้นิ



๑.๓ ข้อมลู นักเรียน (ระบุขอ้ มลู ณ วนั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๖๔)

ตารางท่ี ๕ แสดงจานวนห้องเรียนและนกั เรียนจาแนกตามระดับชั้นเรียนและเพศ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ระดับชั้นเรียน ม.๑ ม.๒ ม.๓ รวม ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม รวม ม.ต้น-
ม.ต้น ม.ปลาย ม.ปลาย

จานวนห้องเรยี น 1 1 1 3 1 1 1 3 6

เพศ ชาย 13 12 8 33 783 18 51
หญิง 8 6 14 28 793 19 47

รวมจานวน น.ร. 21 18 22 61 14 17 6 37 98

เฉลย่ี ตอ่ หอ้ ง 21 18 22 21.67 14 17 6 12.33 16.33

ตารางที่ ๖ แสดงจานวนนักเรยี นท่ีมีลกั ษณะพิเศษ จาแนกตามคณุ ลักษณะและเพศ

ระดับชน้ั เรียน จานวนนักเรียนจาแนกตามคุณลกั ษณะและเพศ รวม
พิการ ดอ้ ยโอกาส ความสามารถพิเศษ
ชาย หญิง
ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญงิ 13 8
12 6
ม.๑ - - 13 8 - - 8 14
77
ม.๒ - - 12 6 - - 89
33
ม.๓ - - 8 14 - - 51 47

ม.๔ - - 77 - -

ม.๕ - - 89 - -

ม.๖ - - 33 - -

รวมจานวนนกั เรียน - - 51 47 - -



๑.๔ ขอ้ มูลแหลง่ เรยี นร้แู ละภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่

ตารางท่ี ๗ แสดงจานวนและสถติ ิการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

(แสดงเป็นกราฟ)ช่ือแหล่งเรียนร/ู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่

แหลง่ เรยี นรภู้ ายใน สถติ กิ ารใช้ แหลง่ เรียนรู้ สถิตกิ ารใช้ สถติ ิการใช้
1. ห้องสมดุ (จานวน ภายนอก (จานวน ภูมิปญั ญาท้องถิน่ (จานวน
๒. หอ้ งวิทยาศาสตร์ ครง้ั /คน/ปี) คร้งั /คน/ปี) ครง้ั /คน/ป)ี
๓. หอ้ งคอมพิวเตอร์ 80/98/ปี
๔. หอ้ งดนตรี 40/98/ปี 1. วัดบา้ นขาว 4/98/ปี 1. พระครกู ติ ตสิ าร
ธรรมวฒั น์ 4/20/ปี
๕. ห้องครวั 1/17/ปี
80/98/ปี 2. วดั เกษตรชลธี 3/38/ปี 2. อบต. ตะเครียะ
๖. ห้อง
พระพุทธศาสนา 30/98/ปี 3. วดั ดอนรกั 1/2/ปี 3. ลกู ปัดมโนราห์

45/50/ปี 4. โรงเรียน 1/20/ปี

วดั เกษตรชลธี

(เลื่อนประชาคาร)

35/30/ปี 5. โรงเรยี น 1/20/ปี

วดั หัวปา่

(รกั เมืองไทย 38)

8/10/ปี 6. โรงเรียน 2/8/ปี

ระโนดวิทยา

๗. อาคารพระธรรม 80/98/ปี 7. โรงเรยี นบ้าน 1/15/ปี
เมธาจารย์ 4/98/ปี ดอนแบก 1/20/ปี
(สขุ ประชา)
๘. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
เศรษฐกิจพอเพียง 8. โรงพยาบาล
ระโนด

๙. แปลงนาสาธิต 4/98/ปี 9. โรงเรียนชมุ ชน 1/20/ปี
๑๐. ห้องพยาบาล 3/14/ปี วัดบ้านขาว 1/20/ปี

๑๑. สนามกฬี า 35/98/ปี 10. โรงเรยี น 1/20/ปี
๑๒. บรรยากาศ 20/98/ปี วดั ควู า (เลื่อน 1/2/ปี
สภาพแวดลอ้ ม ประชาสฤษฎ์)
โรงเรยี น
11. โรงเรยี นวัด
ทุ่งสงวน

12. โรงแรม
แกรนดพ์ าเลซ
ชุมพร

13. โรงเรยี น 1/2/ปี
นวมนิ ทราชูทิศ
ทกั ษิณ



๑.๕ ข้อมลู คา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ตารางที่ ๘ แสดงค่าเปา้ หมายท่ีโรงเรียนกาหนด จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ย้อนหลงั ๓ ปกี ารศึกษา

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ค่าเปา้ หมายท่โี รงเรยี นกาหนด
ปี ๒๕๖1 ปี ๒๕๖2 ปี ๒๕๖3

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน ดี ดี ดี

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน ดี ดี ดี

๑) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และ ดี ดี ดี
การคดิ คานวณ

๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ดี ดี ดี
อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและแก้ปัญหา

๓) ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดี ดี ดีเลิศ

4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ดี ดี ดี
การสือ่ สาร

๕) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ดี ดี ดี

๖) ความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชพี ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม ยอดเยยี่ ม

๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผ้เู รียน ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม

๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด ดีเลศิ ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม

๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม

๓) การยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเย่ยี ม ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม

๔) สุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ ดเี ลศิ ดเี ลศิ

๒.๑ มเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม ยอดเยย่ี ม

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ

๒.๓ ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ น ดี ดี ดี
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย

๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ดเี ลิศ ดีเลศิ ดเี ลิศ

๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือตอ่ การจดั ดีเลศิ ดีเลศิ ดีเลิศ
การเรียนรู้

๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ าร ดีเลศิ ดีเลศิ ดีเลศิ
จดั การและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ

๓.๑ จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง และ ดี ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้

๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเอ้ือต่อ ดีเลศิ ดีเลิศ ดีเลศิ
การเรียนรู้

๓.๓ มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก ดเี ลศิ ดีเลิศ ดเี ลิศ



ตารางท่ี ๘ (ตอ่ ) คา่ เปา้ หมายทีโ่ รงเรยี นกาหนด
ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ดีเลิศ ดเี ลศิ ดเี ลิศ
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผล
มาพัฒนาผู้เรียน ดี ดีเลศิ ดีเลศิ

๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพอ่ื พัฒนา
และปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้

๑.๖ ข้อมูลคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามท่สี ถานศกึ ษากาหนด

คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด คือมารยาทการไหว้นักเรียนโรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคมทุกคนต้องไหว้เป็น ไหว้สวย จนเป็นนิสัย ผนวกเข้ากับคุณธรรมอัตลักษณ์ ซ่ือสัตย์ จิตอาสา
พอเพยี ง และรับผิดชอบ



๑.๗ ข้อมูลผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม และขอ้ เสนอแนะ

ตารางท่ี ๙ แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษาระดบั ข้ันพ้ืนฐาน ตอ้ ง ตอ้ ง พอใช้ ดี ดมี าก
เพอ่ื การประเมนิ คุณภาพภายนอก ปรบั ปรุง ปรับปรุง
เร่งด่วน

กลุม่ ตัวบ่งช้ีพืน้ ฐาน 
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑ ผเู้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒ ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม 
ท่ีพงึ ประสงค์ 

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓ ผู้เรียนมคี วามใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๔ ผู้เรียนคดิ เปน็ ทาเป็น 

ตัวบง่ ชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รียน 

ตวั บ่งชีท้ ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้น 
ผู้เรยี นเปน็ สาคญั

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๗ ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและ
การพฒั นาสถานศกึ ษา 

ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายใน 
โดยสถานศึกษาและตน้ สังกัด

กลุ่มตัวบง่ ชี้อัตลกั ษณ์
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน

พันธกจิ และวัตถุประสงคข์ องการจัดตงั้
สถานศึกษา

ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ทีส่ ง่
ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

กลมุ่ ตวั บ่งชีม้ าตรการส่งเสริม
ตวั บ่งช้ีท่ี ๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือส่งเสริม

บทบาทของสถานศึกษา

ตวั บ่งชีท้ ่ี ๑๒ ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพ่ือ
ยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และ
พัฒนาสู่ความเป็นเลิศทส่ี อดคล้องกบั แนวทาง
การปฏิรปู การศกึ ษา

โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดับคณุ ภาพ ดี โดยมีค่าเฉลีย่ ๘๒.๗๙
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ [ ] รบั รอง [ ] ไมร่ บั รอง

๑๐

ข้อเสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม

ตารางท่ี 10 ข้อเสนอแนะจากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม

ตวั บ่งช้ี ข้อเสนอแนะ แนวทางการนาข้อเสนอแนะไป ผลการนาขอ้ เสนอแนะ
๑ - 12 ใช้ ไปใช้

1. มาตรฐานด้านผลการจัดการศกึ ษา ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร สามารถจัดกิจกรรมการ

1. 1 ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง ศึ ก ษ า สถานศึกษา คณะครูทุกภาค เรียนรู้ได้อย่างหลาก

วเิ คราะห์หลักสตู ร กาหนดเปา้ หมายการ เรียนร่วม คิด วางแผน แสดง หลาย ผู้เรียนมีโอกาส

เรียนรู้ ความรู้ ทักษะความคิดรวบยอด ความ คิดเห็น ในการจัดทา เข้าร่วม กิจกรรม และมี

คุณลกั ษณะแตล่ ะสาระใหช้ ัดเจน หลักสูตร ให้มีกิจกรรมส่งเสริม ประสบการณ์ตรงมาก

1.2 สถานศึกษาต้องจัดระบบการ ค ว า ม ส า ม า ร ถ นั ก เ รี ย น ข้ึนและมีโอกาสเรียนใน

วิเคราะห์ผู้เรียนให้ได้ข้อเท็จจริงด้าน หลากหลายตามความสนใจ สิ่ ง ที่ ต น ส น ใ จ แ ล ะ

ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน ความถนัด เปิดกิจกรรมลด เวลา ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ใ น

ดาเนนิ การใหส้ อดคลอ้ งกับความถนัด เรียน เพ่ิมเวลารู้ กิจกรรมชุมนุม ชวี ติ ประจาวนั ได้

และรายวิชา เพมิ่ เตมิ หลากหลา

2. มาตรฐ านด้านบริหารการจัด ฝ่ายบริหารจัดการจัดกิจกรรม ฝ่ายบริหารวิชาการมี

การศึกษา การนิเทศมุ่งเน้นในเร่ืองการ การนิเทศติดตามอย่าง

2.1 ฝ่ายบริหารวิชาการควรนิเทศ ปฏบิ ัตกิ ารสอน การสร้างส่อื การ ต่อเนื่องเป็นระบบครบ

ติดตามอย่างต่อเนื่องเป็นระบบครบ สอนให้กาลังใจแก่ผรู้ ับการนเิ ทศ วงจร นักเรียนมีพื้นฐาน

วงจร ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน การ รับผิดชอบในการดูแล

2.2 ฝ่ายบริหารวิชาการควรควร จัดบรรยากาศห้องเรียน และ แ ล ะ รั บ ผิ ด ช อ บ

ทบทวนการปฏบิ ัติการเรียนการสอน ส่ือ สภาพแวดล้อม เพื่อให้ เอื้อต่อ ห้ อ ง เ รี ย น แ ล ะ

ให้เกิดประสิทธิภาพ และส่งเสริมขวัญ การเรียนรู้ มสี ่อื ท่ี เหมาะสม สภาพแวดลอ้ มที่ ชดั เจน

กาลงั ใจใหก้ ับผรู้ ว่ มงาน

2.3 ควรจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อ

การจัดการเรียนการสอนและปรับปรุง

การเรียนร้โู ดยใชร้ ะบบ PDCA

3. มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการ ประชุมจัดเตรียมและเลือกใช้ส่ือ ครูจัดการเรียนการสอน

สอนทเ่ี นน้ ผ้เุ รียนเป็นสาคัญ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ กิ จ ก ร ร ม โ ด ย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้

3. 1 คว รน าภูมิปัญญ าท้องถิ่ น น า ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ วิเคราะห์ สังเคราะห์

เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ใน เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ลงมือปฏิบัติจริงและ

การจดั การเรยี นการสอน กิจกรรมมาประยุกต์ใช้ในการ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้

3.2 ควรวิเคราะห์ผลการประเมิน จดั การเรียนการสอนมกี ารนาผล ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์

และนามาใชใ้ นการซ่อมเสรมิ การประเมินมาวิเคราะห์ และ มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับ

หาแนวทางในการแก้ปัญหาของ กลุ่มและครู ได้ประเมิน

ผเู้ รียน และพัฒนากระบวนการ

เรยี นรู้ของตนเอง

๑๑

ตัวบง่ ช้ี ตัวบง่ ช้ี ขอ้ เสนอแนะ แนวทางการนา
ข้อเสนอแนะไปใช้

4. มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพ สถานศึกษามีการพัฒนาระบบ ระบบประกันคุณภาพ

ภายใน ประกันคุณภาพภายในให้ครบ การศึกษา

4.1 สถานศึกษากาหนดมาตรฐาน ทุกข้ันตอนและให้ทุกฝ่ายมีส่วน มีประสิทธิภาพมากข้ึน

การ ศึก ษา จัด ทา แผ นพัฒ นา มุ่ง สู่ ร่วมในการดาเนินการ

คณุ ภาพมาตรฐานของสถานศึกษา

4.2 สถานศึกษาจัดระบบสสาร

สนเทศ ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการ

จดั การศกึ ษา

4. 3 ส ถ า น ศึ ก ษ า จั ด ใ ห้ มี ก า ร

ตรวจสอบคุณภาพเป็นระบบครบวงจร

PDCA อย่างต่อเนื่อง

๑๒

๑.๘ ขอ้ มูลผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๓

ตารางท่ี 11 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๓ ปกี ารศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น ดี ดเี ลศิ ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม
ผู้เรยี นเป็นสาคัญ

๑๓

สว่ นที่ ๒
ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ผลการประเมนิ โดยภาพรวมตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (จานวน ๓ มาตรฐาน)
๑. ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
๒. กระบวนการ/วธิ กี ารพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา
โรงเรียนตะเครียะวทิ ยาคมมีกระบวนการพัฒนาผ้เู รียนดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วมของ

ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือคุณภาพผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอนตามความถนัด
และความสนใจของผู้เรียน นักเรียนได้เรียนรู้จากวิธีการที่หลากหลาย ในรูปแบบ Active Learning สะเต็ม
ศกึ ษา จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้มาประยกุ ต์ใช้ด้วยการจัดทาโครงงานคุณธรรม พัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานคุณธรรมเป็นฐาน ดาเนินการพัฒนางาน
วิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน โดยมีการประเมิน ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
บรบิ ท และสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มมี าตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศักราช 2551
ได้มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ มีรายวิชาเพ่ิมเติม กิจกรรมชุมนุม เพ่ือให้ผู้เรียนได้เลอื กเรียนตาม
ความถนัดและความสนใจ ใช้โครงงานในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน โดยผ่านศูนย์การเรียนรู้เชิง
คุณธรรม ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้ตามรอยพ่อวิถีพอเพียง ศูนย์การเรียนรู้จิตอาสาพากันทา ศูนย์การเรียนรู้วิถี
ธรรม วิถีพุทธ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยเน้น กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี เพื่อเสริมสร้างวินัยและคุณลักษณะ
12 ประการ โดยผ่านกระบวนการคิด และปฏิบตั ิจรงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวติ การเรยี นรูโ้ ดยใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อ้ือ
ต่อการเรียนรู้ มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรียน มีการบริหาร
จัดการช้ันเรียนเชิงบวก โดยการทาวิจัยในช้ันเรียน และนาผลท่ไี ด้ไปแก้ปัญหาจริง มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
ให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมและพัฒนาครูและ
บุคลากร ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนม่ันคง สะอาดและ
ปลอดภัย มีสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพออยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มร่ืน และมีแหล่งเรียนรู้
สาหรับผู้เรียน จัดโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน จัดห้องสมุด
ท่ีให้บริการส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเอ้ือให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเอง หรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีบริการ
ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ โดย บริการ Wireless
network มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ี ทันสมัย ทาให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีการบริหารจัดการภายใต้ UCDA MODEL เป็นการน้อมนาหลักคิด
ตามแนวพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา
ทาให้มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลาย เช่น การประชุมระดมสมอง
การประชุมแบบมีส่วนร่วม เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ
สถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาชัดเจน
มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีท่ีสอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา

๑๔

สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นในการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ
ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา และได้นาแผนไปเป็นเครื่องมือในการบริหารจัด
การศึกษา สามารถจัดทาโครงการและกิจกรรมไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มีการนิเทศติดตาม ประเมิน รายงานผล
และนาผลการประเมินไปใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
สถานศึกษา และพัฒนางานทกุ ดา้ นในทกุ ภาคส่วนของโรงเรยี นตะเครยี ะวทิ ยาคม

๒.๒ ผลการดาเนินงาน
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ และมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

บรรลุเป้าหมายตามสถานศกึ ษากาหนด ผลการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (O-Net) ค่าพัฒนาเพม่ิ ข้ึน แต่ยัง
ไม่บรรลุเป้าหมาย (เป้าหมายค่าพัฒนาเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 3) โดยช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉล่ียเพ่ิมข้ึน
ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียลดลงในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ผลการ
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-Net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยเพ่ิมข้ึนในรายวิชาวิทยาศาสตร์
มีคะแนนเฉล่ียลดลงในรายวิชาภาษาไทย สังคมศึกษาฯ และภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายและเปลี่ยนความความคิดเห็นและแก้ปัญหา
ได้ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรมได้ ผู้เรียนมีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อ
งานอาชีพ มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และค่านยิ มท่ีดี เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด จากกิจกรรม
โครงงานคุณธรรม กิจกรรมวันสาคัญ และประเพณีต่าง ๆ ของชุมชน ทาให้ผู้เรียนยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบน
ความแตกต่างและหลากหลาย และมีสขุ ภาวะทางร่างกาย จิตใจ และสงั คมเป็นไปตามเป้าหมายของสถานศึกษา
ซง่ึ เหน็ ไดจ้ ากความร่วมมอื ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมอย่างมคี วามสขุ

๒.๓ ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง
แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี/โครงการ กิจกรรม

รายงานโครงการ รายงานผลการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม จริยธรรม รายงานประจาปี เอกสารการนิเทศ
ภายใน เอกสารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รายงานประเมินคุณภาพภายในโดยหน่วยงานต้นสังกัด
หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คู่มือการบริหารวิชาการ เอกสารข้อมูลการนิเทศ ติดตาม
ประเมินผล แผนการจัดการเรียนรู้ คาส่ัง/บันทึกการประชุม ผลงานรางวัล โรงเรียน ครู นักเรียน แบบสารวจ
และสรปุ ความพึงพอใจ รายงานไปราชการของครูและบุคลากร บันทึกผล PLC เวบ็ ไซต์โรงเรียนและภาพถ่าย

๑๕

๓. แผนการพัฒนาเพ่อื ยกระดับคุณภาพใหส้ ูงข้ึน

๓.๑ สรุปจุดเดน่ และจุดควรพัฒนา

จุดเด่น จุดควรพฒั นา

 คณุ ภาพของผูเ้ รียน  คณุ ภาพของผู้เรยี น

1. นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉพาะกลุ่มสาระ

จริยธรรม ตามอัตลักษณ์ ของโรงเรียนคุณธรรม คือ ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ

ซื่อสัตย์ จิตอาสา พอเพียง และรับผิดชอบ มีมารยาท โดยโรงเรียนควรจัดกระบวนการติดตามนักเรียน

งามตามวิถีของวัฒนธรรมไทย และดารงชีวิตอยู่ใน ประสานงานผู้ปกครอง ผ่านทุกช่องทางการติดต่อ

สงั คมอยา่ งมคี วามสุข มีสุขภาพจิตสขุ ภาพกายท่ีดี เช่น กลุ่มไลน์ หนังสือแจ้ง ฯ สาหรับผู้เรียนท่ีมี

คะแนน ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ เพ่ือเป็นการ

 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและลด 0 ร มส

1. โรงเรียนใช้ระบบการบริหารดาเนนิ งานโรงเรยี น ในปีการศกึ ษาตอ่ ไป

ครอบคลมุ รอบดา้ น
2. โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของ  กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สถานศกึ ษาทชี่ ดั เจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลตอ่ คุณภาพ ๑. โรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีความ และสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

ร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะชุมชน ศิษย์ ให้เป็นปัจจุบันและพร้อมสาหรับการใช้งานอยู่เสมอ

เก่า และองค์กรต่าง ๆ ท่ีช่วยเหลือ สนับสนุนในการ เช่น ป้ายนิเทศภายในห้องเรียน อุปกรณ์เทคโนโลยี

บรหิ ารจัดการศึกษาให้ประสบผลสาเร็จ ภายในหอ้ งเรียน

 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียน  กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี น

เปน็ สาคัญ เป็นสาคัญ

1. ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ 1. ครูควรมีการจัดระบบและทา PLC อย่าง

จริงตามาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัดของหลักสูตร ต่อเนื่อง เป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การวิจัยช้ันเรียนและ

สถานศึกษา มีการนิเทศช้ันเรียนร้อยละ 100 มี รวบรวมเทคนิคการสอนที่นามาใช้จัดให้เกิดเป็น

แผนการเรียนร้ทู ี่สามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จริง และ โมเดลทม่ี คี วามชดั เจนมากยงิ่ ข้นึ

สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ มีนวัตกรรมในการ

จัดการเรียนรู้และมีการเผยแพร่ ตลอดจนมีการ

จัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน

2. ครูมีการจัดการเรียนการสอน /กิจกรรมให้

นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เน้นผู้เรียน

เป็นสาคัญ นักเรียนได้ลงมือทาและ ปฏิบัติจริง มีการ

ใช้เทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาย มีการใช้ส่ือ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการแหล่งการเรียนรู้ และ

ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้

๑๖

๓.๒ วิธีการพฒั นาท่คี าดวา่ จะนามาใช้เพ่ือยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นในปตี อ่ ไป

แนวทางการพฒั นามาตรฐานที่ ๑
๑. วเิ คราะห์มาตรฐาน และตวั ชว้ี ัด ทีน่ กั เรียนมผี ลการเรียนไมบ่ รรลุตามเป้าหมาย
๒. นกั เรยี น และครู รว่ มกาหนดค่าเป้าหมายของผลการเรยี นในแตล่ ะรายวิชา
๓. จดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละดาเนินการวดั ผลประเมนิ ผลด้วยกจิ กรรมท่ีหลากหลาย
4. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานลงสู่วิชาเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะ

กระบวนการคดิ อย่างมีเหตุผลในทกุ รายวชิ า
5. ครูมกี ารสรา้ งส่ือการเรียนการสอนดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศที่หลากหลาย
6. ดาเนินการกิจกรรม PLC อยา่ งต่อเน่ืองและเป็นรูปธรรม
7. นากิจกรรมตายายยา่ น และโครงงานคุณธรรมมาช่วยในการพัฒนานักเรยี น

แนวทางการพัฒนามาตรฐานท่ี ๒
1. ประเมินการบริหารการจัดการสถานศึกษาโดยใช้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและกระทาอย่าง

ต่อเนอ่ื ง
2. เปิดโอกาสใหช้ มุ ชน ปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามามีส่วนร่วมให้การจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
3. ปรับปรุงระบบอินเตอร์เน็ต อุปกรณ์เทคโนโลยีภายในห้องเรียน และพัฒนาระบบโปรแกรม

ต่าง ๆ ให้มีประสทิ ธิภาพและเป็นปจั จบุ ันมากยิง่ ข้ึน
แนวทางการพฒั นามาตรฐานที่ ๓
๑. มีการประเมินการจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือปรับปรงุ พฒั นาการจัดการเรียนรู้

อยา่ งเป็นระบบ
๒. ครมู กี ารสรา้ งส่ือการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย
๓. ครูได้รับการอบรมในหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนที่หลากหลาย และ

สร้างเทคนคิ การเรียนใหม่ ๆ อยเู่ สมอ
4. มีการประเมินการจดั การเรียนรู้โดยผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือปรับปรุง พฒั นาการจัดการเรียนรู้

อย่างเปน็ ระบบ
สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง

ต่อเน่ืองต่อไปโดยไม่หยุดย้ัง และควรเตรียมการเร่ืองบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในเร่ืองการประกัน
คุณภาพภายใน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรในอนาคต เพื่อให้สถานศึกษาสามารถรักษามาตรฐาน
คุณภาพการศึกษา และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ตอ่ ไป

๔. ประเดน็ ทีส่ ถานศึกษาต้องการให้ สมศ.มีการประเมินผลและการตดิ ตามตรวจสอบเปน็ พิเศษ

การดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม การขับเคลื่อนโรง เรียนคุณธรรม จริยธรรม ตามรูปแบบ

“ตะเครยี ะโมเดล” ในปีการศึกษา ๒๕๖3 กระบวนการขับเคลื่อนเพ่ือพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านคณุ ธรรม

จริยธรรม ได้อย่างเป็นระบบตามรูปแบบตะเครียะโมเดล ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย “ซ่ือสัตย์
จิตอาสา พอเพยี ง รับผดิ ชอบ”และกาหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนารูปแบบ ๓-๗-๔

๑๗

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น

๑. ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

๒. กระบวนการ/วธิ ีการพัฒนา ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ กระบวนการ/วิธกี ารพัฒนา

ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคดิ คานวณ
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การส่ือสาร และการคิดคานวณ โดยมีการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และจัดทาแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและสมรรถนะของผู้เรียนตามทักษะในศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องกับ
ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และ
ส่งเสริมสนับสนุนในการสร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่ครูผู้สอน มีการประชุมให้ความรู้ แลกเปล่ียน
เรียนรู้ในการพัฒนาการอ่าน การเขียน แต่งต้ังคาสั่งผู้รับผิดชอบและวางแผนโดยใช้กระบวนการประชุมครูใน
คาบประชุมของโรงเรียน การประชุม PLC และเพ่ิมความรู้ความเข้าใจโดยจัดครูเข้าร่วมการประชุมจาก
หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาทกั ษะการสอนเพ่ือสง่ เสริมทักษะการอ่านคล่องเขยี นคล่อง
ส่งเสริมสนับสนุนการนาความรู้สู่การปฏิบัติด้วยวิธีการหลากหลายและต่อเน่ือง ตามแผนปฏิบัติการ
ประจาปีตามโครงการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาเรียนรวม/เรยี นร่วม จัดกิจกรรมดงั นี้
๑. กิจกรรม One day One sentence นาเสนอคาศัพท์/สานวนภาษาอังกฤษในตอนเชา้ หน้าแถวของ
ทุก ๆ วัน โดยนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในการนาเสนอ และให้นักเรียนคนอื่น ๆ อ่านคา ความหมาย
และสะกดตามจากนั้นจะนาคาศัพท์/สานวน ไปจัดบอร์ดและให้นักเรียนทุกคนทาการจดใส่ในสมุด
วิชาภาษาองั กฤษ
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ใช้สื่อ เกม แบบฝึกทักษะที่เน้น
พฒั นาทักษะการคดิ คานวณ คดิ วเิ คราะห์แกป้ ญั หาของผู้เรียน
3. ส่งเสริมการอ่านผ่านกิจกรรมห้องสมุด ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งหนังสือ ส่ือ และจัด
กิจกรรมท่ีส่งเสริมการอ่านของผู้เรียนโดยยุวบรรณารักษ์ เช่น เกมบันไดงู สารานุกรมไทย เกมถอดรหัส เกม
Khahoot สารานกุ รมไทย ฯลฯ
4. จัดกิจกรรมวันสุนทรภู่ โดยการจัดกิจกรรมสุนทรภู่มีการแข่งขันทักษะวิชาการที่สอดคล้องกับการ
อา่ น การเขียนและ การส่อื สาร ไดแ้ ก่ การแข่งขันอ่านทานองเสนาะ คัดลายมอื แต่งคาประพันธ์ ประกวดบอร์ด
ประวัติสดุดีสุนทรภู่โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมในการแข่งขันทักษะทุกคน และคัดตัวแทนห้องให้
คณะกรรมการตัดสินผลอีกคร้ัง วันจัดกิจกรรมสุนทรภู่จะมีการแสดงละครบนเวที ตอบปัญหาประวัติสุนทรภู่
และมกี ารมอบรางวัลการแข่งทกั ษะ
5. การจัดการเรียนการสอนในคาบซ่อมเสริม สาหรับนักเรียนท่ีบกพร่องและไม่ผ่านการคัดกรองด้าน
การอา่ นและการเขียน
6. กิจกรรมวางทุกงานอ่านทุกคน มีทุกวันศุกร์คาบที 8 นักเรียนและคุณครูทุกคนจะต้องหยิบหนังสือ
ขนึ้ มาอา่ น ตามสถานท่ีตา่ ง ๆ
7. กจิ กรรมรณรงค์อา่ นคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง
8. กิจกรรมตายายยา่ น
9. มีการจัดทาส่ือหรือนวัตกรรมกิจกรรมจัดหา จัดทาสื่อเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนที่บกพร่อง
ทางการเรียนรู้ แบบคัดกรองนักเรียน บัตรคา/บัตรภาพ แบบฝกึ ทักษะการอา่ น บันทึกการสอนซ่อมเสริม บนั ทึก
รกั การอา่ น

๑๘

ดาเนินการพัฒนา ประเมิน และปรับปรุงแก้ไขความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนตาม
รูปแบบและวิธีที่กาหนดอย่างต่อเนื่อง โดยการบูรณาการตัวชี้วัดของการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียน ร่วมกับการประเมินผลกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สรปุ และตัดสินผลการประเมินบันทึก
และรายงานผลการประเมินความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความ มีการวางแผนนิเทศและ
ติดตามอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง โดยกากับติดตามตามคาส่ังและปฏิทินการนิเทศของกลุ่มบริหารวิชาการ
สรุปติดตามรายงานผลการพฒั นาอย่างต่อเน่ืองและร่วมชื่นชมผลการดาเนินงาน โดยจากการจัดกิจกรรมส่งผล
ให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการอ่านหนังสือ เอกสาร และสื่อต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ แล้วสามารถ
คิดวิเคราะห์จากเร่ืองทอ่ี า่ นสู่งานเขยี นที่มสี านวนภาษาถูกต้อง และส่ือใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจอย่างชัดเจน

มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
แกป้ ัญหา

โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมดาเนินกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปญั หา ดังน้ี

ผู้เรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมจัดกิจกรรมการบูรณาการท่ีฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การ
เผชิญกับสถานการณ์ และการนาความรู้มาประยุกต์ใช้และแก้ไขปัญหา ในวิชาวิทยาศาสตร์ รายวิชาการศึกษา
คน้ คว้าอิสระ (IS) และโครงงานคุณธรรม ท่ใี ช้วธิ ีสอนแบบโครงงานเปน็ ฐาน ผา่ นกระบวนการกล่มุ โดยใหผ้ เู้ รียน
ทาการศึกษาและร่วมวิเคราะห์ปัญหาตนเอง ปัญหาชุมชน ปัญหาสังคม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หา
แนวทางแกป้ ัญหา และนาเสนอผลงาน

จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมหลากหลายกิจกรรม ได้แก่ โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานคุณธรรม โครงการ
ส่งเสรมิ การจดั การเรียนร้ตู ามแนวสะเต็มศึกษา กิจกรรมเข้าคา่ ยลูกเสอื เนตรนารี กจิ กรรมชมุ นมุ ส่งผลใหผ้ ้เู รียน
มีผลงานทสี่ ะทอ้ นถงึ ความสามารถในการคดิ

มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด การเรียนรู้
ด้วยการลงมือปฏบิ ตั ิเชอ่ื มโยงกบั ชีวิตประจาวัน และสง่ เสรมิ การนาเทคโนโลยีมาใช้ในจัดการเรียนรู้ เพอ่ื นาไปสู่
การสร้างนวัตกรรมของผเู้ รยี น ดงั นี้
๑. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมชุมนมุ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลา
รู้ ด้วยการให้ผู้เรยี นได้สร้างองค์ความรู้ท่ีได้เรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ทห่ี ลากหลาย นาไปสร้างและต่อยอดผลงาน
สร้างเป็นช้ินงาน/ผลงานรายวิชา ท่ีมีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด หรือชิ้นงาน/ผลงานที่บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ
อย่างนอ้ ยคนละ ๑ ชิ้นงาน
๒. กจิ กรรมโครงงานคุณธรรม โดยมกี ระบวนการเรียนรู้ ดังนี้

๑) พัฒนา นักเรียนและครูสร้างโครงงาน ปัญหาท่ีอยากแก้ ความดีท่ีอยากทา โดยใช้กระบวนการ
โครงงานผู้เรียนจัดกลุ่ม และเลือกเสนอประเด็นท่ีกลุ่มสนใจศึกษา แก้ปัญหา คน้ คว้าองค์ความรู้ นามาเสนอเพื่อ
แลกเปลีย่ นเรยี นรรู้ ะหว่างกล่มุ โดยมคี รทู ปี่ รกึ ษาคอยให้ขอ้ เสนอแนะ เพื่อปรับปรุง พัฒนา

๒) กลุม่ นาไปปรบั ปรงุ พฒั นา พรอ้ มรวบรวมองคค์ วามรู้ นาเสนอในรูปแบบทีถ่ นัด
๓) กลุ่มนาความรู้ไปประยุกต์ทาโครงงานหรือโครงการเพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน และเขยี นเคา้ โครงเปน็ ๕ บท และพัฒนาตอ่ ไป
๔) ช่นื ชมผลงาน นักเรยี นประกวดโครงงานและให้คะแนนท้ังโรงเรยี นโดยใชแ้ บบประเมนิ โครงงาน

๑๙

๓. กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ในชั้นเรียนดาเนินการดังนี้ ประชุมช้ีแจงคณะครู นักเรียน ดาเนนิ การตาม
หลักสูตรและกระวนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายวิชา ให้นักเรียนสร้างชิ้นงานที่ได้รับมอบหมายและมีการตรวจ
ประเมนิ ผลช้ินงานของนกั เรียน

ผลจากการดาเนินการ ส่งผลให้ผู้เรียนจะได้ฝึกคิดในแบบต่าง ๆ วางแผนในการแก้ไขปัญหาออกมาใน
รูปแบบของชิ้นงาน/ผลงานเด่น ทั้งแบบเด่ียวและแบบกลุ่ม ที่หลากหลาย เช่น สร้างช้ินงานในรูปแบบหนังสือ
เล่มเล็ก โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานคุณธรรม สร้างเกมสื่อเรียนรู้ ออกแบบชิ้นงานโดยอาศัยเทคโนโลยีบน
ระบบอินเตอร์เน็ต ที่จัดทาเป็นคลิปวิดีโอ และผลงานจากเกิดจากการต่อยอดองค์ความรู้ไปสู่การสร้าง
ส่งิ ประดษิ ฐ์ทเ่ี ปน็ นวตั กรรมใหม่ จนไดร้ บั รางวลั ต่าง ๆ

มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โรงเรยี นตะเครียะวิทยาคมจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารของผู้เรียนต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยกาหนดรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา
เพม่ิ เติมไว้ในโครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ด้วยการจัดกจิ กรรม ดงั น้ี
๑. สง่ เสรมิ การเรียนร้ผู ่านเทคโนโลยีในหอ้ งเรียน มขี น้ั ตอนดังน้ี

๑) ฝ่ายวิชาการประชุม เพอื่ หาแนวทางในการพฒั นาการเรียนการสอนของผู้เรียน ให้เกดิ ประสทิ ธิ
ภาพอยา่ งสูงสดุ ดว้ ยการนาสือ่ เทคโนโลยเี ขา้ หอ้ งเรยี น

๒) ครูออกแบบ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล นาเสนอหน้า
ชั้นเรยี น รวมท้ังส่งงานผ่านสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และสือ่ ออนไลน์ Google Classroom

๓) ครูประเมินผลการออกแบบใช้เทคโนโลยีของผู้เรียน เพื่อปรับปรุงและแก้ไขให้ผู้เรียนได้ใช้
เทคโนโลยที ่อี ย่างเต็มประสิทธภิ าพมากทส่ี ุด

๒. การติดตอ่ สอ่ื สารระหวา่ ง ครู ผูป้ กครองและผเู้ รียน โดยใช้ Line เวบ็ เพจ facebook
3. ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางสถานศึกษาและ
ครผู ู้สอนได้มอี อกแบบการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ ทสี่ ามารถให้นักเรยี นสามารถเรียนรู้ได้โดยใช้
เทคโนโลยไี ด้ แมผ้ ู้เรยี นไมส่ ามารถมาเรียนได้ในสถานการณ์ปกติ
จากการจัดกิจกรรมส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพฒั นาตนเองในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน ผู้เรียนมคี วามสามารถใน
การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นสารสนเทศ มีทักษะการนาเข้าข้อมูล การรวบรวมข้อมูล และเตรียมข้อมูลเพ่ือ
นาเสนอการประมวลผลขอ้ มูล มกี ารจัดเรียง รวมขอ้ มลู และสรปุ ผลได้อย่างชัดเจน ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการ
มีการทารายงาน ตารางและแผนภูมิ และใช้โปรแกรมนาเสนอ สามารถจัดทาคลิปวีดิโอแนะนาตัวเอง
คลิปรายการอาหาร คติชนวิทยา แล้วอัพโหลดข้ึนเฟสบุค ยูทูป รวมท้ังในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
ทผี่ ู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง และรวบรวม วิเคราะห์ จัดทาเป็นรูปแบบการรายงาน นาเสนองาน
และจัดทาแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)

มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม จัดทาแผนและปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพและยกระดับผ ลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจัดทาฐานข้อมูลคุณภาพและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
โดยการ วิเครา ะห์นักเ รียนเป็ นรายบุ คคลจา กข้อมูล ผลสัมฤ ทธ์ิในม า ตรฐา นและตั วช้ีวัดใ นแต่ละรายวิช า
และในผลการทดสอบระดับชาติ และวางแผนการพัฒนาครู และพัฒนานักเรียนด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลาย

๒๐

ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างความรู้สู่การปฏิบัติ
ดว้ ยวิธีการหลากหลายและต่อเน่ือง ตามแผนปฏิบัติการประจาปีตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โ ครงการส่งเสริมอัจฉริยภาพทางวิชาการ
และโครงการพฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ย์-คณติ โดยปฏิบตั ิตามแผนทีว่ างไว้ดงั นี้

1. พฒั นาครูด้วยกจิ กรรมท่หี ลากหลายตามความเหมาะสม และความตอ้ งการ ได้แก่ การอบรม/

ประชุม/สัมมนา จากหน่วยงานต้นสังกัด จากเครือข่ายท่ีจัด และตามช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ที่มีการจัดให้
ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2. จัดใหม้ ีแหล่งเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมและเออื้ ตอ่ การเรียนรูข้ องผู้เรยี น โดยการดาเนินการพฒั นา

แหลง่ เรียนรู้ ไดแ้ ก่ หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั กิ าร เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ที่จะสนับสนนุ ให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอน
ท่ีมชี ีวิตใหก้ ับนักเรยี น

3. มกี ารทดสอบและประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู ว้ ยเครือ่ งมือทม่ี มี าตรฐานด้วยวิธแี ละรปู แบบที่

หลากหลาย
4. ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมตายายย่าน ในคาบเรียนสุดท้ายของทุกวันพุธ ดาเนินการ โดยมี

นักเรียนผู้ช่วยครูจานวน 10-12 คน นักเรียนต้ัง ม.1 - ม.6 คละกัน และมีครูท่ีปรึกษาเป็นผู้ดูแล ช่วยเหลือ
ให้ทุกคนในย่านทาการบ้าน ทบทวนความรู้ หรือทางานท่ีได้รับมอบหมาย ให้แล้วเสร็จ โดยพ่ีสอนน้อง เพื่อลด
ปัญหาการไม่ส่งงาน และมีเวลาช่วยเหลืองานผู้ปกครองมากขึ้น จากการจัดกิจกรรมส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการ
เรยี นดีข้นึ ๐, ร, มส ลดลง

มรี ะบบนิเทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ และมีการจัดชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี เพ่ือพฒั นางาน รายงาน
ผลการดาเนินงานท่ีชัดเจน และช่ืนชมโดยประชาสัมพันธ์และมอบเกียรติบัตรให้กับนักเรียนท่ีมีคะแนนแต่ละ
ระดบั ช้นั ตั้งแต่เกรดเฉลีย่ 3.00 ขน้ึ ไป

มีความร้ทู กั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมดาเนินการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะและมีเจตคติที่ดี
ต่ออาชีพ จัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมท่ีจะศึกษาต่อใน
ระดับชั้นท่ีสูงข้ึน หรือมีวุฒิภาวะทางอาชีพท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย ตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษากาหนด
อย่างหลากหลายตามศักยภาพและความสนใจของผู้เรียน ในการดาเนินจัดกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ ของทุก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน การจัดบริการแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียน สง่ เสริมให้
ผเู้ รียนมคี วามรู้ มที ักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีความสุขในการทางาน มีเจตคติทดี่ ตี ่ออาชีพ
สุจรติ นอกจากน้ยี ังมกี ารจัดกจิ กรรมเสริมความรดู้ า้ นการศึกษาและอาชพี ดงั นี้
๑. กจิ กรรมหน่งึ หอ้ งเรยี นหนึง่ พน้ื ที่ทากนิ มขี น้ั ตอนวธิ ีการดังนี้

๑) ฝ่ายบรหิ ารชแ้ี จงวิธกี ารดาเนินการกจิ กรรมหนึง่ ห้องเรยี นหน่ึงพ้ืนทท่ี ากนิ ต่อ ครูและผเู้ รยี นทกุ
คน วา่ เป็นกจิ กรรมที่สามารถตอบสนองโครงการลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารขู้ องรฐั บาล ได้อีกกิจกรรมหนึง่ เพราะ
นกั เรียนจะได้ฝึกคิด ฝกึ แกป้ ัญหาในสถานการณจ์ ริง นกั เรียนไดใ้ ช้ทง้ั 4 H

๒) ผู้เรียนและครรู ว่ มคดิ และเลือกอาชีพท่สี มาชิกเสนอพรอ้ มใหเ้ หตผุ ลและวิธกี ารปฏิบตั ิ
3) แบ่งกลุม่ แบง่ หน้าท่ีรบั ผดิ ชอบตามความถนดั และความสะดวกของสมาชิก
4) สมาชิกร่วมผลติ สินคา้ และจาหน่ายในคาบลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ ในคาบที่ ๗-๘ ทุกวนั องั คาร
5) จัดทาบญั ชีรบั -จา่ ย

๒๑

๒. นาหลกั สตู รงานอาชีพสู่การปฏบิ ัติ มีวิธีการดังน้ี
จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดของนักเรียน ในรูปแบบรายวิชาเพ่ิมเติม คาบลดเวลาเรียน

เพิม่ เวลารู้ ท่เี น้นทกั ษะอาชพี ได้แก่ วชิ าขนมไทย อาหารว่าง การแปรรปู อาหาร ผา้ มัดยอ้ ม ฯลฯ
๑) ครูผู้สอน ศึกษาคาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา และแนวทางการจัดการเรียนรู้ตาม

หลักสตู รสถานศึกษา
๒) กลุ่มสาระการเรียนรู้เปดิ รับสมัครนักเรียนลงทะเบียนเรียน ตามความสนใจ
๓) ครจู ัดทาแผนการเรยี นรู้ รูปแบบการสอน การวดั และประเมนิ ผล
๔) นาแผนการจดั การเรียนรู้สู่หอ้ งเรยี น
๕) ฝกึ ทักษะการเรียนร้ใู นรูปแบบการปฏิบัตจิ รงิ
๖) ประเมินผลการเรยี นรู้

3. มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะและมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ โดยสถานศึกษาดาเนินการผ่าน
โครงการหน่ึงคนหนง่ึ อาชีพ และโครงการเสริมทักษะอาชพี ทุนปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจน ท่มี ีการจดั กจิ กรรม
ให้ความรู้ทักษะทางอาชีพให้แก่นักเรียนที่มีสถานะยากจน ให้สามารถสร้างอาชีพทั้งแก่ตัวนักเรียนและ
ครอบครัวเพอื่ ประกอบอาชพี หรือหาไดเ้ สรมิ ระหว่างเรียน

นอกจากนี้ ผู้เรียนได้ทาแบบทดสอบวัดแววความถนัดและอาชีพท่ีเหมาะสม จากสานักงานจัดหางาน
จังหวัดสงขลา เพ่ือสร้างเจตคติท่ีดีต่ออาชพี ท่ีตนสนใจ จัดกิจกรรมแนะแนว จากการจัดกิจกรรมส่งผลให้ผเู้ รียน
รูจ้ กั วางแผนการทางาน ทาบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย มชี ่องทางในการต่อยอดความรู้ สร้างเงนิ สรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ
ให้กับตนเอง ผเู้ รยี นมคี วามพงึ พอใจ ต่อการจัดกจิ กรรมในรปู แบบโครงงานอาชีพ อย่ใู นระดบั มากที่สุด

การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามที่สถานศึกษากาหนด
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมได้จัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคน
มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีงาม คือ มารยาทการไหว้นักเรียนโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมทุกคน
ต้องไหว้เป็น ไหว้สวย จนเป็นนิสัย ผนวกเข้ากับคุณธรรมอัตลักษณ์ ซ่ือสัตย์ จิตอาสา พอเพียง รับผิดชอบ
ผ่านกระบวนการและกิจกรรมต่างๆ ผ่านโครงการพัฒนาสภานักเรียน โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม และโครงการหนง่ึ ห้องเรยี นหน่งึ โครงงานคุณธรรม ปฏบิ ัตติ ามแผนทีว่ างไว้ดังน้ี
๑. กระบวนการส่งเสริมอัตลักษณ์ ดาเนินการโดย กระบวนการเตรียมตัว ปรับตัว ตามหลักสูตร
เสริมสร้างอัตลักษณ์ โดยให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมและผ่านกิจกรรมตามกระบวนการที่สถานศึกษา จัดข้ึนให้
ครอบคลมุ หัวข้อการพัฒนาคณุ ลกั ษณะทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ได้แก่ การอบรมมารยาทไทยเพื่อให้ผเู้ รียนมีบุคลิก
การแต่งกายท่ีดี มีมารยาท และการพูดจาได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ โดยมีการอบรมโดยคุณครู และพ่ี ๆ
โครงงานคุณธรรม มาอบรมให้ความรู้แก่ ผู้เรียนชั้น ม.๑ และ ม.๔ ในวันปฐมนิเทศ และสาหรับนักเรียนทุก ๆ
คนเขา้ ร่วมกิจกรรมทบทวนอตั ลกั ษณ์ในคาบโครงงานคณุ ธรรม ทุก ๆ วนั พุธคาบท่ี 7 และจดั ทาปา้ ยนิเทศ
๒. กิจกรรม ยิ้ม ไหว้ ทักทาย เป็นโครงงานคุณธรรมหนึ่งซ่ึงดาเนินการโดยนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่
3 ให้สมาชิกในห้องเรียนจัดเวร หมุนเวียนวันละ 3-4 คน ทาหน้าท่ี ยืนต้อนรับกล่าวทักทายในตอนเช้าพร้อม
กบั ครูเวรประจาวัน และเมื่อทากจิ กรรมหนา้ เสาธงเสร็จจะให้ร่นุ น้องไหว้รุ่นพีก่ ่อนทจี่ ะแยกย้ายเข้าห้องเรียนโดย
ให้น้องม.1 ไหว้พ่ีม.2 ไหว้ไปเรื่อย ๆ จนถึง ม.5 ไหว้พี่ ม. 6 ส่งผลให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจ
สรา้ งความสัมพนั ธท์ ดี่ ีระหว่างครู นกั เรียน รุ่นพีแ่ ละรนุ่ นอ้ ง

๒๒

๓. โครงงานคณุ ธรรม เปน็ กจิ กรรมทส่ี าคัญของโรงเรยี นวิถีพุทธ ดาเนนิ การโดย
๑) ตวั แทนผู้เรยี นแกนนา เข้าคา่ ยอบรม
๒) นักเรยี นแกนนาจดั อบรมผู้เรยี นระดับหอ้ งเรียน ห้องละ ๕ คน
๓) นักเรียนตัวแทน ขยายผลในห้องเรียน ร่วมระดมความคิดเห็นค้นหาปัญหาในชั้นเรียน เพื่อ

ต้องการแกไ้ ข
๔) ผ้เู รียนทุกคนรว่ มกนั หาวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยจดั ทาเปน็ ร่างโครงงานคุณธรรมระดับห้องเรยี น
๕) เปิดเวทีนาเสนอต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ ปรับปรุงร่างโครงงาน เพ่ือให้

ผเู้ รยี นนาไปดาเนนิ การตามโครงการ
6) ผู้เรียนนาเสนอผลโครงงาน เพอ่ื ประเมินผลการดาเนนิ โครงงาน คณะกรรมการประเมนิ คดั เลือก

โครงงานดีเด่น ตามระดับสายช้ัน และระดับโรงเรียน โครงงานเด่น เช่น โครงงาน Time is of the essence
โครงงานออมวันละนิดชีวิตสุขสบาย โครงงานสวนหยอ่ มสวยด้วยมือเรา โครงงานเพ่ือนช่วยเพ่ือน โครงงานแถว
ตรงสง่ เสยี ง เป็นต้น

4. โครงการพัฒนาสภานักเรียน ดาเนินการผ่านตัวแทนนักเรียนท่ีทาหน้าท่ีเป็นสภานักเรียน
เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมท่ีดีงามตามที่โรงเรียนกาหนด
ส่งผลใหไ้ ด้รบั รางวัลกิจกรรมการดาเนินงานสภานักเรียนดีเด่น ประจาปีการศึกษา 2563 ประเภทสถานศกึ ษา
ขนาดเล็ก ไดร้ บั รางวัล รองชนะเลิศอันดบั 1 จากสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู

นอกจากน้ี สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมสร้างอัตลักษณ์ ผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ เช่น การสอบ
นักธรรม กิจกรรมทักษะชีวิตครอบคลุมผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนต้นท้ังหมด กิจกรรมจิตอาสา ลูกเสือเนตรนารี
บาเพ็ญประโยชน์ ร่วมพัฒนาชุมชนในวันสาคัญต่าง ๆ ให้ความรู้ในเร่ืองขับขี่ปลอดภัย วินัยจราจร อบรม
เรอื่ งยาเสพตดิ เพศวถิ ี กจิ กรรมโฮมรมู โดยครูประจาชนั้ อบรม ดแู ล ติดตามพฤติกรรมผู้เรยี น

ความภูมใิ จในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย
โรงเรียนตะเครียะวทิ ยาคมได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง
และเห็นคณุ คา่ ของความเปน็ ไทย โดยให้นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการในการอนุรกั ษ์และสืบสานวฒั นธรรมประเพณี
และภูมิปัญญาในท้องถ่ิน สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมทางด้านศิลปะ/ดนตรี/นาฏศิลป์ แสดงออก
ด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยท่ีตนเองภาคภูมิใจในท้องถ่ินได้อย่างเหมาะสม ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
และเป็นไปตามสภาพของผู้เรยี น เช่น กจิ กรรมหน้าเสาธงในทุกเช้า กิจกรรมน้องไหว้พี่ พ่ีไหวน้ ้อง กจิ กรรมหนึ่ง
วันธรรมสวนะ จัดกิจกรรมทางศาสนาให้นักเรียนเข้าร่วมในวันสาคัญต่าง ๆ ผ่านโครงการชุมชนสัมพันธ์
เช่น พิธีแห่เทียนพรรษา พิธีทาบุญทอดกฐินตามวัดต่าง ๆ ในชุมชน วันสาคัญทางพุทธศาสนา ประเพณีบุญ
สารทเดอื นสิบ จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้ผู้เรียนเอื้ออาทรผูอ้ ่ืนและกตัญญกู ตเวทีต่อผู้มพี ระคุณ เชน่ กิจกรรมมทุ ิตา
จติ จัดกิจกรรมสง่ เสริมความจงรักภักดตี ่อสถาบนั พระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรมวันแมแ่ ห่งชาติ กิจกรรมวันพ่อ
แหง่ ชาติ กิจกรรมวนั เฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ์ฯ

การยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมได้จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมมุ่งเน้นกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยส่งเสริม
สมรรถนะ ครูผู้สอนและผู้เรียนได้มีทักษะการปฏิบัติตนเพื่อการอยู่ร่วมกัน ซึ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิตในบริบท
ทางสังคมและ วัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย โดยผู้เรียนได้พินิจพิเคราะห์ พิจารณาการกระทา ด้วยการใช้
การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดแก้ปัญหา และตรวจสอบผลที่ได้รับจากการตัดสินใจด้วยตนเอง
โดยที่นักเรียนได้แสดง ความสามารถในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ส่งเสริมการทางานร่วมกับผู้อ่ืนท่ีมีความ

๒๓

หลากหลายรู้จักสร้างทางเลือก ในการแก้ปญั หาไดด้ ้วยตนเอง ใช้เหตุผลในการตัดสินใจ ยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผู้อ่ืน และรู้จักรับผดิ ชอบใน หน้าท่ีท่ตี นได้รับมอบหมาย ซ่ึงถือเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตประจาวนั เพื่อ
การอยู่ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้อย่างสันตสิ ขุ และส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มแกผ่ ู้เรียน นอกจากบรู ณาการในการ
จัดการเรียนการสอนของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแล้ว โรงเรียนได้จัดกิจกรรม
สอดแทรกในชีวิตประจาวันของผู้เรียน เช่น กิจกรรมหน้าเสาธงในทุกเช้า กิจกรรมน้องไหว้พี่ พี่ไหว้น้อง
กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมตายายย่าน กิจกรรมหนึ่งวันธรรมสวนะ นอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรมทางศาสนาให้
นกั เรียนเข้าร่วมในวันสาคัญต่าง ๆ เช่น พธิ ีหล่อเทียนและแห่เทียนพรรษา พิธีทาบุญทอดกฐินตามวัดต่าง ๆ ใน
ชุมชน ทาบุญตักบาตรในวันข้ึนปีใหม่ วันสาคัญทางพุทธศาสนาและวันคล้ายวันสถาปนาโรงเรียน จัดกิจกรรม
ส่งเสริมให้ผเู้ รียนเอื้ออาทรผู้อ่ืนและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ เช่น กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมมุทิตาจิต จัดกิจกรรมส่งเสริมความจงรักภักดีต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาของ
สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์ฯ โรงเรียนได้ดาเนินการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลาย

สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ส่งเสริมให้นักเรียนมี สุขภาวะทางร่างกายและมีจิตสังคม
ผู้สอนมีการประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทาให้ทราบถึงพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาของผู้เรียน แต่ละคนอย่างทั่วถึง เพื่อตรวจคัดกรองเบื้องต้นให้กับ ผู้เรียนอีกด้วย โดยมีสถานท่ี
ทเ่ี อ้ืออานวยต่อการออกกาลังกาย มีอุปกรณ์กีฬาใหย้ ืมเพ่ือใช้ในการออกกาลังกาย ตลอดจนมีกิจกรรมที่พัฒนา
ทางด้านจิตสังคม โดยใช้การฝึกสมาธิ และการอบรมด้านจิตใจในการเข้าแถวตอนเช้าทุกวัน นอกจากนี้แล้ว
ในรายวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษายังมีแผนการจดั การเรียนรู้ซึ่งสามารถพัฒนา สมรรถภาพทางกายของผู้เรยี นได้
อีกทางหนึ่ง มีการทดสอบสมรรถภาพ โดยตรวจสุขภาพก่อนเริ่มวางแผนการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายโดยคานึงถึงความสนใจและความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ศึกษารายการทดสอบ
สมรรถภาพของกรมพลศึกษา 7 รายการ รายละเอียดของการทดสอบนักเรียนในแต่ละรายการ สารวจจานวน
นักเรียนท่ีจะทาการทดสอบสมรรถภาพทางกายและนาข้อมูลนักเรียนที่ทดสอบมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ต้ังไว้
เพื่อนามาวิเคราะห์หาคา่ เฉล่ียแลว้ เปรียบเทียบกับคา่ เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้เพ่ือพัฒนานักเรียนต่อไป
การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและมีจิตสังคม ผ่านโครงการส่งเริมสุขภาพ
และพัฒนาบุคลิกภาพนักเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลงานที่สะท้อนถึงความสามารถทางร่างกาย
และลักษณะจิตสังคม ตลอดจนได้รับรางวัลเหรียญเงิน ทุ่มน้าหนักและพุ่งแหลนรุ่นชายอายุไม่เกิน 16 ปี
รางวลั เหรียญทองแดงทุม่ น้าหนกั หญงิ อายไุ ม่เกิน 18 ปี จากการแขง่ ขันกฬี าเยาวชนจงั หวดั สงขลา

๒๔

๒.๒ ผลการดาเนินงาน
๒.๒.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน สถานศึกษาได้ตั้งคณะกรรมการประเมินภายใน

ของสถานศึกษาข้ึน และรวบข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียนต่าง ๆ ตามแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากนกั เรยี นทุกคน (จานวน 98 คน) แล้วนามาประเมนิ ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา

ตารางท่ี 12 แสดงค่าร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีความสามารถในการอ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง จาแนกตามระดับชนั้

และระดบั คณุ ภาพ

ค่าเปา้ หมาย ร้อยละของนักเรยี นในการอ่านคล่อง เขยี นคล่อง รอ้ ยละของนักเรยี น
ท่ีกาหนด ทีส่ งู กวา่ หรอื เท่ากบั
ระดับช้ัน จาแนกตามระดับคณุ ภาพ
ม.๑ ค่าเปา้ หมาย
ยอด ดเี ลิศ ดี ปาน กาลัง
เย่ยี ม กลาง พฒั นา

- 19.05 57.14 9.52 14.29

ม.๒ - - 77.77 16.66 5.55

ม.๓ ดี - 77.27 13.64 - 9.09 90.82
ม.๔ - 57.14 42.86 - -

ม.๕ 5.88 29.41 64.71 - -

ม.๖ 33.33 66.67 - - -

รวมรอ้ ยละเฉล่ีย 6.54 41.59 42.69 4.36 4.82

ระบุข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมนิ ตนเองตามตารางน้ี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เอกสารการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนทุกระดับชน้ั แบบประเมินการอ่าน เขยี น

แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น บันทึกการอา่ นและ ช้นิ งาน ผลงานนักเรียน

ตารางที่ 13 แสดงความสามารถในการส่ือสารภาษาไทย จาแนกตามระดบั ชั้นและระดบั คุณภาพ

คา่ เปา้ หมาย รอ้ ยละของนักเรยี นในการส่อื สารภาษาไทย รอ้ ยละของนักเรียน
ที่กาหนด ท่สี งู กว่าหรือเท่ากับ
ระดบั ชั้น จาแนกตามระดับคณุ ภาพ
ม.๑ ค่าเปา้ หมาย
ยอด ดเี ลศิ ดี ปาน กาลงั
เยี่ยม กลาง พฒั นา

- 14.28 71.43 14.29 -

ม.๒ - - 38.89 50.00 11.11

ม.๓ ดี - 86.36 4.55 9.09 -
ม.๔ - 42.86 57.14 - -
78.08
ม.๕ 17.65 17.65 17.65 47.05 -

ม.๖ 100 - - - -

รวมรอ้ ยละเฉลี่ย 19.61 26.86 31.61 20.07 1.85

๒๕

ระบุข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามตารางน้ี
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย เอกสารการวดั และประเมินผลผเู้ รยี นทกุ ระดับช้ัน แบบประเมนิ

การสอื่ สาร แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน บนั ทึกการอ่านและ ช้นิ งาน ผลงานนักเรยี น

ตารางที่ 14 แสดงความสามารถในการสื่อสารภาษาองั กฤษ จาแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ

ค่าเปา้ หมาย ร้อยละของนักเรียนในการส่อื สารภาษาอังกฤษ รอ้ ยละของนักเรียน
ที่กาหนด ทสี่ ูงกว่าหรือเท่ากบั
ระดบั ชน้ั จาแนกตามระดับคุณภาพ
ม.๑ คา่ เปา้ หมาย
ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลัง
เย่ยี ม กลาง พฒั นา

14.29 14.29 28.57 42.86 -

ม.๒ 21.05 26.32 15.79 36.84 -

ม.๓ ดี 27.27 27.27 36.36 9.09 - 85.19
ม.๔ 35.71 14.29 50.00 - -

ม.๕ 17.65 47.06 35.29 - -

ม.๖ 33.33 33.33 33.33 - -

รวมร้อยละเฉลี่ย 24.88 27.09 33.22 14.80 -

ระบขุ ้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามตารางน้ี

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ เอกสารการวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี นทุกระดบั ช้นั แบบ
ประเมินการสือ่ สาร แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน บนั ทกึ การอ่านและ ชนิ้ งาน ผลงานนักเรยี น

ตารางท่ี 15 แสดงความสามารถในการคิดคานวณ จาแนกตามระดับชัน้ และระดับคณุ ภาพ

ร้อยละของนักเรียนในการคิดคานวณ ร้อยละของนักเรียน
ที่สงู กวา่ หรอื เท่ากบั
ระดบั ชน้ั ค่าเปา้ หมาย จาแนกตามระดับคุณภาพ
ทก่ี าหนด ค่าเป้าหมาย
ยอด ดเี ลิศ ดี ปาน กาลงั
เย่ยี ม กลาง พฒั นา

ม.๑ 14.29 4.76 23.81 57.14 -

ม.๒ 5.56 27.78 22.22 38.88 5.56

ม.๓ 4.55 27.27 9.09 59.09 - 25.39

ม.๔ ดี - - 7.14 92.86 -

ม.๕ - - 5.88 94.12 -

ม.๖ - - - 100 -

รวมรอ้ ยละเฉล่ีย 4.06 9.97 11.36 73.68 0.93

ระบุข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เอกสารการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนทกุ ระดบั ชัน้ แบบ

ประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และ ชิ้นงานผลงานนกั เรียน

๒๖

ตารางท่ี 16 แสดงความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น

และแก้ปัญหา จาแนกตามระดบั ชน้ั และระดับคุณภาพ

ร้อยละของนักเรียนในการคิดวเิ คราะห์ฯ รอ้ ยละของนักเรียน
ท่ีสงู กว่าหรือเท่ากับ
ระดบั ชน้ั ค่าเป้าหมาย จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ท่ีกาหนด คา่ เป้าหมาย
ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลัง
เย่ยี ม กลาง พัฒนา

ม.๑ 14.29 14.29 42.86 19.04 9.52

ม.๒ 33.34 11.11 11.11 11.11 33.33

ม.๓ 36.36 50.00 - 13.64 - 79.84
ม.๔ ดี 21.43 57.14 21.43 - -

ม.๕ 29.41 23.53 29.41 17.65 -

ม.๖ - 33.33 50.00 16.67 -

รวมรอ้ ยละเฉล่ีย 22.47 31.57 25.80 13.02 7.14

ระบขุ ้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมนิ ตนเองตามตารางนี้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ แบบสรุปรายงานการประเมินความสามารถในการอ่านคิด

วิเคราะห์และเขียน ร่องรอยกิจกรรม โครงการ รายงานโครงการด้านวิชาการ รายงานโครงการพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมลดเวลาเรียนฯ รายงานโครงการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การ
ทางานร่วมกนั แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนและบันทึกการทางาน/ช้ินงาน/ผลงานนักเรียน

ตารางที่ 17 แสดงความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จาแนกตามระดับชั้นและระดับคุณภาพ

ร้อยละของนักเรยี นในการสรา้ งนวตั กรรม รอ้ ยละของนักเรียน
ทีส่ ูงกวา่ หรอื เท่ากบั
ระดบั ชน้ั คา่ เป้าหมาย จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ท่กี าหนด ค่าเปา้ หมาย
ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลงั
เย่ียม กลาง พฒั นา

ม.๑ 28.57 3.33 38.10 - -

ม.๒ 44.44 16.67 22.22 16.67 -

ม.๓ 54.55 22.27 9.09 9.09 - 93.75

ม.๔ ดีเลิศ 21.43 64.29 14.28 - -

ม.๕ 11.76 52.94 23.53 11.76 -

ม.๖ 33.33 66.67 - - -

รวมร้อยละเฉลี่ย 32.35 43.53 17.87 6.25 -

ระบขุ ้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามตารางนี้
ผลงานสรา้ งสรรค์ สิ่งใหม่ ๆของนักเรยี น เชน่ โครงงานคุณธรรม โครงงานวิทยาศาสตร์ ช้ินงาน

ผลผลติ ฯลฯ

๒๗

ตารางที่ 18 แสดงความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร จาแนกตามระดบั ชน้ั

และระดับคุณภาพ

รอ้ ยละของนักเรียนในการใช้เทคโนโลยี รอ้ ยละของนักเรยี น
ทส่ี ูงกว่าหรือเท่ากบั
ระดับชัน้ ค่าเป้าหมาย สารสนเทศและการสือ่ สาร
ม.๑ ทก่ี าหนด คา่ เป้าหมาย
จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ยอด ดเี ลิศ ดี ปาน กาลัง
เยย่ี ม กลาง พฒั นา

47.61 42.85 9.52 - -

ม.๒ 50.00 27.78 16.67 - 5.55

ม.๓ ดี 45.45 45.45 9.10 - - 99.07
ม.๔ 78.57 14.28 7.15 - -

ม.๕ 58.83 23.53 17.64 - -

ม.๖ 33.33 66.67 - - -

รวมรอ้ ยละเฉล่ีย 52.30 36.76 10.01 - 0.93

ระบขุ ้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามตารางน้ี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาการคานวณของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
เช่น ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศ การนาเสนองาน/
โครงงาน บันทึกการทางาน/ชิน้ งาน/ผลงานนกั เรียน

ตารางที่ 19 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของนักเรียนทุกระดับชั้นท่ีมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงกว่าเป้าหมาย

ทโี่ รงเรยี นกาหนด จาแนกตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

คา่ เป้าหมาย นกั เรียน นักเรยี นทมี ผี ลสัมฤทธฯิ์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ท่โี รงเรยี น ทง้ั หมด เท่ากับและสูงกว่าเป้าหมายทีก่ าหนด

กาหนด (คน) จานวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

๑. ภาษาไทย ดี 98 69 70.41

๒. คณติ ศาสตร์ ดี 98 30 30.61

๓. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดี 98 71 72.45

๔. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ดี 98 32 32.65

๕. ภาษาต่างประเทศ ดี 98 40 40.82

๖. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ดี 98 98 100

๗. ศลิ ปะ ดี 98 78 79.59
๘. การงานอาชพี
ดี 98 70 71.43

ระบขุ ้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองตามตารางน้ี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนดในระดับ ดี ข้ึนไป แบบบันทึกผลการเรียน

รายบุคคลและจากการทาโครงการต่าง ๆ และรายงานโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการ

๒๘

ส่งเสริมอัจฉริยภาพทางวิชาการ โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โครงงานคุณธรรมตายายย่าน โครงการ
พฒั นาการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และกจิ กรรมสอนเสริม O-net

ตารางท่ี 20 แสดงความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ จาแนกตามรายวิชาและปีการศึกษา

ระดับชัน้ ม.๓

คา่ เฉล่ียของผลการทดสอบระดับชาติ เปรียบเทยี บค่าพฒั นากับปที ีผ่ า่ นมา

วชิ า ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
ภาษาไทย
คา่ ท่ไี ด้ ค่า คิดเป็น ค่าทไ่ี ด้ ค่า คดิ เปน็ คา่ ทไี่ ด้ ค่า คิดเปน็
พัฒนา ร้อยละ พัฒนา ร้อยละ พัฒนา รอ้ ยละ

55.86 14.31 34.44 55.84 -0.02 -0.04 50.63 -5.21 -9.33

คณติ ศาสตร์ 23.62 4.71 24.91 26.74 3.12 13.21 22.60 -4.14 -15.49

วทิ ยาศาสตรฯ์ 38.19 11.12 41.08 27.45 -10.74 -28.12 29.27 1.82 6.63

ภาษาอังกฤษ 25.43 -0.57 -2.19 29.58 4.15 16.32 27.25 -2.33 -7.88

ค่าเฉลย่ี รวม 0.34 32.44 -2.47 -6.52
๔ กลมุ่ สาระฯ 35.78 7.39 24.56 34.90 -0.87

ตารางที่ 21 แสดงความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ จาแนกตามรายวชิ าและปีการศึกษา

ระดับชั้น ม.๖

ค่าเฉลย่ี ของผลการทดสอบระดบั ชาติ เปรียบเทยี บค่าพัฒนากับปีท่ีผ่านมา

วชิ า ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓

คา่ ท่ไี ด้ ค่า คดิ เป็น คา่ ทไ่ี ด้ ค่า คิดเป็น คา่ ทไ่ี ด้ ค่า คิดเปน็
พฒั นา รอ้ ยละ พัฒนา ร้อยละ พัฒนา รอ้ ยละ

ภาษาไทย 43.44 -5.66 -11.53 44.57 1.13 2.60 37.50 -7.07 -15.86

คณติ ศาสตร์ 23.91 5.53 30.09 23.04 -0.87 -3.64 18.23 -4.81 -20.87

วิทยาศาสตรฯ์ 29.70 5.91 24.84 26.50 -3.20 -10.77 28.13 1.63 6.15

สังคมศึกษาฯ 31.63 -3.17 -9.11 36.21 4.58 14.48 35.17 -1.04 -2.87

ภาษาองั กฤษ 23.28 3.00 14.79 24.64 1.36 5.84 21.67 -2.97 -12.05

ค่าเฉลย่ี รวม 9.82 30.99 0.60 1.70 28.14 -2.85 -9.19
๕ กลุม่ สาระฯ 30.39 1.12

๒๙

ตารางที่ 22 แสดงความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชพี จาแนกตามระดบั ช้ันและระดับคณุ ภาพ

ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน รอ้ ยละของนักเรยี น
ที่สูงกวา่ หรอื เท่ากับ
ระดบั ช้ัน คา่ เป้าหมาย ในการจัดการและเจตคติท่ีดีพร้อมท่ีจะศึกษาต่อ
ท่กี าหนด คา่ เป้าหมาย
การทางานหรืองานอาชีพ จาแนกตามระดับคุณภาพ

ยอด ดเี ลศิ ดี ปาน กาลงั
เยย่ี ม กลาง พฒั นา

ม.๑ 57.14 33.33 9.53 - -

ม.๒ 61.11 11.11 27.78 - -

ม.๓ ยอดเย่ียม 59.09 27.27 13.64 - - 100
ม.๔ 85.71 14.29 - - -

ม.๕ 52.94 35.29 11.77 - -

ม.๖ 33.33 66.67 - - -

รวมร้อยละเฉล่ีย 58.22 31.33 10.45 - -

ระบุข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนุนผลการประเมินตนเองตามตารางนี้

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาการงานอาชีพ รายงานโครงการพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมลดเวลาเรียนฯ
รายงานข้อมูลการแนะแนวการศึกษาตอ่ และอาชพี สัมภาษณ์นกั เรียนเกย่ี วกบั การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ
กิจกรรมชุมนุม/กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 พ้ืนท่ีทากิน ประเมินผลงาน/ทักษะการทางานและ
ชิน้ งาน

๓๐

๒.๒.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
คุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาหนด คือ มารยาทการไหว้นักเรียนโรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคมทุกคนต้องไหว้เป็น ไหว้สวย จนเป็นนิสัย ผนวกเข้ากับคุณธรรมอัตลักษณ์ ซ่ือสัตย์ จิตอาสา
พอเพยี ง รับผิดชอบ

ตารางท่ี 23 แสดงคณุ ลักษณะและคา่ นิยมที่ดีตามทีส่ ถานศึกษากาหนด จาแนกตามระดับชน้ั

และระดับคณุ ภาพ

ค่าเปา้ หมาย ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีคุณลักษณะและค่านยิ มที่ดี รอ้ ยละของนักเรยี น
ทีก่ าหนด ท่ีสงู กวา่ หรือเท่ากับ
ระดบั ชนั้ ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ม.๑ ค่าเปา้ หมาย
ยอดเย่ยี ม ดเี ลศิ ดี ปาน กาลงั
กลาง พัฒนา

28.57 38.09 33.34 - -

ม.๒ 44.44 22.22 27.78 5.56 -

ม.๓ ยอดเย่ียม 63.64 36.36 - - -

ม.๔ 78.57 21.43 - - - 99.08

ม.๕ 47.06 41.18 11.76 - -

ม.๖ 33.33 66.67 - - -

รวมร้อยละเฉลี่ย 49.27 37.66 12.15 0.92

ระบขุ ้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเองตามตารางนี้

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมนักเรียนการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา
ต่าง ๆ การเข้าแถว การแสดงความเคารพการพูดจา กิริยามารยาท การไหว้ฯ รายงานโครงการโรงเรียนวิถพี ุทธ
รายงานการส่งเสรมิ พัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมคี า่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ สมั ภาษณ์นักเรียนเกย่ี วกบั การจดั ทา
โครงงานคุณธรรม การเรียน อื่น ๆ

๓๑

ตารางท่ี 24 แสดงความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย จาแนกตามระดบั ชนั้ และระดบั คุณภาพ

ค่าเปา้ หมาย ร้อยละของนักเรียนทม่ี ีความภูมิใจในทอ้ งถิ่น ร้อยละของนักเรียน
ทก่ี าหนด ทส่ี ูงกวา่ หรอื เท่ากับ
ระดบั ช้ัน และความเปน็ ไทย จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ม.๑ ค่าเปา้ หมาย
ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลงั
เย่ยี ม กลาง พัฒนา

80.95 19.05 - - -

ม.๒ 88.89 11.11 - - -

ม.๓ 86.36 9.09 4.55 - - 100
ม.๔ ยอดเย่ียม 92.86 7.14 - - -

ม.๕ 76.47 23.53 - - -

ม.๖ 66.67 33.33 - - -

รวมร้อยละเฉล่ีย 82.03 17.21 0.76 - -

ระบุข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมนิ ตนเองตามตารางนี้

การสัมภาษณ์ สอบถาม สังเกตพฤติกรรมที่สะท้อนคุณลักษณะและค่านิยมของผู้เรียน เช่น การพูดจา
กิริยามารยาท การไหว้ฯ รายงานการส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนมีค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการายงาน
โครงการโรงเรียนวิถพี ุทธ สัมภาษณน์ ักเรียนเก่ียวกับการจดั ทาโครงงานคุณธรรม การเรยี น อ่นื ๆ

ตารางท่ี 25 แสดงการยอมรับทจ่ี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย จาแนกตามระดบั ชัน้

และระดับคณุ ภาพ

ร้อยละของนักเรยี นท่ยี อมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั บน รอ้ ยละของนักเรยี น
ท่สี ูงกว่าหรือเท่ากบั
ระดับชั้น คา่ เป้าหมาย ความแตกตา่ งและหลากหลาย
ม.๑ ทกี่ าหนด ค่าเปา้ หมาย
จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ยอด ดเี ลิศ ดี ปาน กาลัง
เยย่ี ม กลาง พฒั นา

19.05 23.81 42.86 14.28 -

ม.๒ 33.33 33.33 27.78 5.56 -

ม.๓ ยอดเย่ียม 31.82 54.55 9.09 4.54 - 91.20
ม.๔ 28.57 64.29 7.14 - -

ม.๕ 17.65 70.59 - 11.76 -

ม.๖ 33.33 33.33 16.67 16.67 -

รวมรอ้ ยละเฉลี่ย 27.29 46.65 17.26 8.80 -

ระบขุ ้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามตารางนี้

ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา
วัฒนธรรม ประเพณี จากการสมั ภาษณ์ สอบถาม สังเกตพฤติกรรมท่ีสะท้อนคุณลักษณะและค่านิยมของผู้เรียน
เชน่ การพูดจา กิริยามารยาท การไหวฯ้ รายงานโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม รายงานการสง่ เสริมพฒั นาใหผ้ ูเ้ รยี น

๓๒

มีค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการายงานโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ รายงานโครงการระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น สมั ภาษณ์นกั เรยี นเกี่ยวกบั การจดั ทาโครงงานคุณธรรม การเรียน อนื่ ๆ

ตารางท่ี 26 แสดงสขุ ภาวะทางร่างกาย จาแนกตามระดับชน้ั และระดับคุณภาพ

ค่าเปา้ หมาย ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีการรกั ษาสุขภาพกาย รอ้ ยละของนักเรียน
ทก่ี าหนด ทสี่ ูงกวา่ หรอื เท่ากับ
ระดับช้ัน ของตนเองให้แข็งแรง จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ค่าเป้าหมาย
ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลัง
เยย่ี ม กลาง พฒั นา 100

ม.๑ 57.14 28.57 14.29 - -

ม.๒ 66.67 16.67 16.66 - -

ม.๓ ยอดเย่ียม 72.73 27.27 - - -
ม.๔ 57.14 42.86 - - -

ม.๕ 70.59 29.41 - - -

ม.๖ 66.67 33.33 - - -

รวมร้อยละเฉลี่ย 65.31 28.57 6.12 - -

ระบุข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามตารางนี้
ผเู้ รียนมีการรกั ษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะชว่ ง

วัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอ่ืนอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อ่ืน ประเมินจากบันทึกการ
ทดสอบสมรรถภาพนักเรียน บันทึกน้าหนัก ส่วนสูง นักเรียน แฟ้มเอกสารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน บันทึก
การเยีย่ มบ้านนักเรยี น ภาพกิจกรรม/ โครงการส่งเสริมสขุ ภาพ ฯลฯ

๓๓

ตารางท่ี 27 แสดงสุขภาวะทางจติ สงั คม จาแนกตามระดับช้ันและระดับคณุ ภาพ

รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี สี ุขภาพจติ อารมณ์ และ

ค่าเปา้ หมาย สงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั ร้อยละของนักเรยี น
ทกี่ าหนด ทีส่ ูงกวา่ หรือเท่ากบั
ระดบั ชั้น อยู่ร่วมกับคนอน่ื อย่างมีความสุข
ไม่มีความขดั แย้งกับผู้อ่ืน จาแนกตามระดบั คุณภาพ คา่ เปา้ หมาย

ยอด ดเี ลศิ ดี ปาน กาลัง 100
เยยี่ ม กลาง พฒั นา

ม.๑ 57.14 28.57 14.29 - -

ม.๒ 66.67 16.67 16.66 - -

ม.๓ ยอดเย่ียม 72.73 27.27 - - -
ม.๔ 57.14 42.86 - - -

ม.๕ 70.59 29.41 - - -

ม.๖ 66.67 33.33 - - -

รวมร้อยละเฉลี่ย 65.15 29.69 5.16 - -

ระบขุ ้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเองตามตารางนี้
ผเู้ รียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจติ อารมณ์และสังคม และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแตล่ ะช่วง

วัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อ่ืน ประเมินจากบันทึกการ
ทดสอบสมรรถภาพนักเรียน บันทึกน้าหนัก ส่วนสูง นักเรียน แฟ้มเอกสารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน บันทึก
การเย่ยี มบ้านนกั เรียน ภาพกจิ กรรม/ โครงการสง่ เสริมสุขภาพ ฯลฯ

๓. แผนการพฒั นาเพ่อื ยกระดับคุณภาพให้สูงขน้ึ
๓.๑ สรปุ จดุ เด่นและจุดควรพฒั นา
จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา
1. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ มคี ุณธรรม 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยเฉพาะกลุ่มสาระ
จริยธรรม ตามอัตลักษณ์ ของโรงเรียนคุณธรรม คือ ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ
ซื่อสัตย์ จิตอาสา พอเพยี ง และรับผดิ ชอบ มีมารยาท โดยโรงเรียนควรจัดกระบวนการติดตามนักเรียน
งามตามวิถีของวัฒนธรรมไทย และดารงชีวิตอยู่ใน ประสานงานผู้ปกครอง ผ่านทุกช่องทางการติดต่อ
สงั คมอยา่ งมคี วามสุข มีสขุ ภาพจติ สขุ ภาพกายทด่ี ี เช่น กลุ่มไลน์ หนังสือแจ้ง ฯ สาหรับผู้เรียนที่มี
คะแนน ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ เพื่อเป็นการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและลด 0 ร มส
ในปกี ารศึกษาต่อไป

๓๔

๓.๒ วธิ กี ารพฒั นาที่คาดวา่ จะนามาใชเ้ พ่ือยกระดับคณุ ภาพใหส้ งู ข้ึนในปตี อ่ ไป
๑) วเิ คราะหม์ าตรฐาน และตัวช้วี ดั ท่ีนกั เรยี นมผี ลการเรยี นไมบ่ รรลุตามเป้าหมาย
๒) นกั เรยี น และครู ร่วมกาหนดค่าเปา้ หมายของผลการเรียนในแต่ละรายวิชา
๓) จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และดาเนินการวัดผลประเมินผลด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
๔) สง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานลงสู่วิชาเรียนเพือ่ พัฒนาทกั ษะกระบวนการ

คดิ อยา่ งมเี หตุผลในทุกรายวิชา
๕) ครมู กี ารสรา้ งสื่อการเรียนการสอนดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทีห่ ลากหลาย
๖) ดาเนนิ การกิจกรรม PLC อยา่ งต่อเนือ่ งและเปน็ รปู ธรรม
๗) นากจิ กรรมตายายย่าน และโครงงานคุณธรรมมาชว่ ยในการพัฒนานักเรียน

4. การรายงานและนาเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียนตอ่ ผ้ทู ่ีเกีย่ วข้อง
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมนาเสนอผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ผ่านกานรายงานผล

การประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา โดยทาการช้ีแจ้งในที่ประชุม และลงในเว็บไซต์ของสถานศึกษา
(www.takrear.ac.th) เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ปกครอง นักเรียน หน่วยงานต้นสังกัด ชุมชน และหน่วยงานอื่น
ที่เก่ียวข้อง ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ.๒๕๔๕

5. นวัตกรรม/วธิ ีปฏิบัตทิ ่ดี ีด้านคุณภาพของผเู้ รยี น
วธิ ปี ฏิบตั ิทีด่ คี ือ ครอบครัวพอเพียง
ความสาคัญของกิจกรรม “...เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความม่ันคงของ

แผน่ ดนิ เปรยี บเสมือนเสาเข็มทถี่ ูกตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นน่ั เอง ส่ิงกอ่ สร้างจะมนั่ คงได้ก็อยู่ทเี่ สาเข็ม
แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป...” จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ
บรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรวารสารชัยพัฒนา : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๒ หลกั คิด
ทส่ี าคัญต่อชีวติ ต่อการปกครองและการบริหารบ้านเมือง เพือ่ สง่ เสรมิ ให้เด็ก เยาวชนและประชาชนทวั่ ประเทศ
ไดร้ บั รู้ เรียนรู้ เขา้ ใจและนามาปรับประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั พัฒนาต่อยอดทางการศึกษา การดาเนินงานท้ัง
ธุรกิจเอกชน รฐั วิสาหกจิ และขา้ ราชการ รวมถึงการบริหารชุมชนและบริหารประเทศ จงึ เปน็ ท่ีมาของการจัดต้ัง
“มูลนิธิครอบครัวพอเพียง” ความมุ่งหวังเพื่อให้ประเทศชาติ ประชาชนมีความสุข สงบ พ่ึงพาตนเองได้และ
พัฒนาได้อย่างมั่นคง ย่ังยืน เร่ิมต้นจากจุดเล็กๆ คือ “ครอบครัว” เพราะ “สังคมดี เร่ิมต้นที่ครอบครัว”
การจัดการเรียนรู้โดยจัดตั้งศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนตะเรียะวิทยาคม ซ่ึงเป็นแนวทางปฏิบัติให้นักเรียน
เกิดจิตสานึกพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ด้านศาสนา วัฒนธรรม การสร้างจิตสานึกด้านจิตอาสาเพื่อสังคมและ
สง่ิ แวดลอ้ ม โดยการนาแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใชใ้ นกจิ กรรมหลักของโครงการและนาไปใช้ในชวี ิต

จดุ ประสงค์และเป้าหมาย
1. เพ่ือปลุกจิตสานึกให้นักเรียนและครอบครัวมีความรัก ความกตัญญู รู้คุณชาติ ศาสนาและสถาบัน
พระมหากษตั รยิ ์
2. เพ่ือปลุกจิตสานึกให้นักเรียนและครอบครัวมีคุณธรรมมีจริยธรรม รังเกียจการทุจริตและ
ถอื ประโยชน์ของสว่ นรวมเปน็ สาคญั

๓๕

3. เพื่อให้ความช่วยเหลือในการให้คาปรึกษาแนะนา จัดฝึกอบรมดูงาน ผลิตเอกสารและเผยแพร่เรื่อง
เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่เยาวชนและครอบครัว เพ่ือการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ตลอดจนในการบรหิ ารองค์กร ห้างร้าน ชุมชนและประเทศชาติ

กระบวนการดาเนนิ งาน
1. จดั ตัง้ นักเรียนแกนนา ศนู ยค์ รอบครวั พอเพียงโรงเรยี นตะเรยี ะวิทยาคม
2. นกั เรยี นแกนนา ศนู ยค์ รอบครัวพอเพยี งระดบั โรงเรียน เข้าอบรมความรเู้ รือ่ งต่างๆ เช่น การผลิตส่ือ
มาตรฐานชุมชน Cyber bully เป็นต้น
3. นาความรจู้ ากการอบรมสัมมนา มาขยายผลใหแ้ กค่ รแู ละนักเรียนในโรงเรยี น หรือผูท้ ่สี นใจ
4. จัดกิจกรรมช่วยเหลือสังคม เช่น ลงพื้นท่ีเยี่ยมนักเรียนท่ีประสบภัยน้าท่วม และมอบถุงยังชีพ
กิจกรรมจิตอาสา ขอทาดีด้วยหัวใจ ร่วมใจกันพัฒนาชายฝ่ังทะเล โดยการเก็บขยะเพ่ือคืนที่อยู่ให้สัตว์น้า
ณ บริเวณชายฝัง่ ทะเลระโนด อ. ระโนด จ. สงขลา
ผลการดาเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ จากการจัดกจิ กรรมกจิ กรรมศนู ย์ครอบครัวพอเพียง
โรงเรยี นตะเรียะวิทยาคม อาเภอระโนด จงั หวดั สงขลา มีผลดาเนนิ การดังน้ี
1. นกั เรียนมคี วามรัก ความกตัญญู ร้คู ุณชาติ ศาสนาและสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
2. นักเรียนและครอบครัวมีคุณธรรมมีจริยธรรม รังเกียจการทุจริตและถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็น
สาคญั มจี ิตอาสาช่วยเหลอื สงั คม
3. นักเรียนสามารถนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในกิจกรรมหลักของโครงการและนาไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้

บทเรียนท่ีได้รับ จากการจัดกิจกรรมกิจกรรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนตะเรียะวิทยาคม
สามารถปลูกฝังนักเรียน ในด้าน คุณธรรมและจริยธรรม ความมีจติ อาสา โดยมีการนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง
มาใช้ในชวี ติ ประจาวัน ซงึ่ ตรงตามคณุ ธรรมอตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น ซ่อื สตั ย์ จิตอาสา พอเพียง และรับผิดชอบ

บริหารงบประมาณ ๓๖บริหารท่วั ไป
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
Action๑. ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียมDo
Admire๒. กระบวนการ/วิธกี ารพฒั นา ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเองConnecting

๒.๑ กระบวนการ/วธิ กี ารพฒั นา
ในปีการศึกษา ๒๕๖3 มีการขบั เคลื่อนขบวนการเพือ่ พฒั นาโรงเรียนใหส้ เู่ ปา้ หมายท่วี างไว้ โดยการ

ขบั เคลือ่ นตามรูปแบบ “UCDA MODEL”

บรหิ ารวชิ าการ

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

Plan
Understanding
ภาพที่ 2 แสดงโมเดล/กระบวนการของระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา

ซื่อสตั ย์ จติ อาสา
พอเพียง รบั ผดิ ชอบ

Development
Check

บรหิ ารบุคคล

นกั เรียน

ภาพที่ 2 แสดงโมเดล/กระบวนการของระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

๓๗

แนวทางการบริหารโรงเรียนตะเครยี ะวิทยาคม “UCDA MODEL”

รู้แจ้งปัญหำ รูข้ อ้ มูลพน้ื ฐาน ความต้องการ สภาพปัญหาที่
ศกึ ษำบริบท เกิดขน้ึ นโยบาย เปา้ หมาย ขององคก์ ร โรงเรยี น
ชุมชน

ศกึ ษา รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูล โรงเรียน ชุมชน
เพ่อื ค้นหารากฐานของปัญหาทแี่ ท้จริง

กำหนดเป้ำหมำย กาหนดเป้าหมาย เลือกประเดน็ แนวทางการ
พฒั นา ดว้ ยการมีส่วนรว่ ม

วำงแผน ออกแบบ วางแผน ออกแบบ กระบวนการพัฒนา ด้วยการมี
ส่วนรว่ ม และส่ือสารเพ่อื ใหม้ ีความเข้าใจที่ตรงกนั

ลงมอื ทำ นากระบวนการท่วี างแผน ออกแบบ ลงสู่การ
นำสะท้อนผล ปฏบิ ัติ เพอ่ื พัฒนาศักยภาพของโรงเรียน ดว้ ยการ
มสี ่วนรว่ ม มีทีมพี่เลยี้ งให้คาแนะนา นเิ ทศ กากับ
ตดิ ตาม และสนับสนุน

การเรยี นรู้ การทางาน แลกเปลย่ี นเรียนรู้ เพอ่ื นาสู่
การปรับปรุง การพฒั นาให้ดีข้น

ดลใจพัฒนำ เสรมิ สรา้ งขวัญ กาลังใจ
พำสู่ควำมย่ังยนื ร่วมช่นื ชมผลงาน และพัฒนาสคู่ วามย่งั ยนื

ภาพที่ 3 แนวทางการบรหิ าร“UCDA MODEL”

การบริหารโรงเรียนตะเครียะวิทยาคม “UCDA MODEL” เป็นการน้อมนาหลักคิดตามแนวพระราช
ดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรนี ฤบดินทรสยามมนิ ท
ราธิราช บรมนาถบพิตร มาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา โดยใช้ เขา้ ใจ (UNDERSTAND) เข้าถงึ (CONNECTING)
พัฒนา (DEVELOPMENT) และร่วมช่ืนชมผลความสาเร็จ (ADMIRE) และมีเป้าหมายพัฒนานักเรียน ให้บรรลุ
คุณธรรมเป้าหมายของโรงเรียน คือ ซ่ือสัตย์ จิตอาสา พอเพียง และรับผิดชอบ ผ่านทฤษฎีวงล้อเดมม่ิง
(Deming Wheel) หรือ วงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) ของ วิลเล่ียม เอ็ดเวิร์ดเดมม่ิง ซึ่งประกอบด้วย ๔
ขั้นตอน การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบและประเมินผล (Check) การปรับปรุง

๓๘

แก้ไข (Action) อีกท้ังยังบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการบริหาร คือ ๓ ห่วง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และภูมิคุ้มกันความเปล่ียนแปลง และมีความรู้ คู่คุณธรรม เพื่อให้สมดุลและ
พรอ้ มตอ่ การรองรับการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ท้งั ด้านวตั ถุ สังคม สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรม
จากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี โดยมีรปู แบบการพัฒนาดงั นี้

เข้าใจ (UNDERSTAND) คือ การสร้างให้เกิดความม่ันใจในข้อมูลพ้ืนฐานด้วยการศึกษาข้อมูลทุกมิติ
ของโรงเรียนและชมุ ชน คน้ หารากฐานของปัญหา รวบรวมองค์ความรู้ มี ๒ ขนั้ ตอน คอื

ขน้ั ที่ ๑ รู้ชดั ปัญหา คอื รู้ ขอ้ มูลพืน้ ฐาน ความต้องการ สภาพปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ นโยบาย
เป้าหมาย ขององคก์ ร โรงเรยี น และชุมชน

ขน้ั ที่ ๒ ศึกษาบริบท คือ ศึกษา รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูล โรงเรียน ชุมชน เพอ่ื ค้นหารากฐาน
ของปัญหาท่แี ท้จริง

เข้าถึง (CONNECTING) คือ เป็นการสื่อสาร และการสร้างความมีส่วนร่วม โดยมุ่งสร้างความเข้าใจ
ความม่ันใจ ให้ โรงเรียน ชุมชน และ ผ้เู กี่ยวข้อง มสี ่วนร่วมในกระบวนการพัฒนามากท่สี ดุ มี ๒ ขัน้ ตอน คอื

ข้นั ท่ี ๓ กาหนดเปา้ หมาย คอื กาหนดเปา้ หมาย เลือก ประเดน็ / แนวทางในการพัฒนา ดว้ ย
การมีส่วนรว่ ม

ขั้นที่ ๔ วางแผน ออกแบบ คอื วางแผนออกแบบกระบวนการพฒั นา ด้วยการมสี ว่ นรว่ มและ
สือ่ สารเพือ่ ให้ความเข้าใจ ตรงกนั

พัฒนา (DEVELOPMENT) คือ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ โรงเรียนและชุมชน สร้างทีมพ่ีเลี้ยง
ออกแบบหลักสูตรและโปรแกรมการพัฒนา การศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และฝึกปฏิบัติของโรงเรียนและ
ชมุ ชน รวมทงั้ ใหค้ าแนะนา นิเทศ กากบั ตดิ ตาม และสนับสนุนมี ๒ ข้นั ตอน คือ

ข้ันท่ี ๕ ลงมือทา คือ นากระบวนการท่ีได้วางแผน ออกแบบ ลงสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนา
ศกั ยภาพโรงเรยี น ดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นร่วม มที ีมพี่เลย้ี งให้คาแนะนา นิเทศ กากบั ตดิ ตาม และสนบั สนุน

ขน้ั ท่ี ๖ นาสะทอ้ นผล คอื การเรยี นร้กู ารทางาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพอื่ นาส่กู ารปรับปรงุ การ
ทางาน ให้ดีข้ึน

ช่ืนชมผลความสาเรจ็ (ADMIRE) คอื การเหน็ คุณคา่ ของงานที่ทาและปฏบิ ัติ มี ๒ ขน้ั ตอน คือ
ข้ันท่ี ๗ ดลใจพัฒนา คอื การเสริมสรา้ งขวญั กาลงั ใจ ในการทางาน
ขนั้ ท่ี ๘ พาสู่ความย่งั ยืน คือ รว่ มชื่นชมผลงาน และพัฒนาสคู่ วามยงั่ ยนื

จากการวิเคราะห์ผลการประเมินภายใน การประเมินคุณภาพนอกรอบท่ี ๓ การศึกษายุทธศาสตร์ของ
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา สงขลา สตลู โรงเรียนวางแนวทาง
ในการพัฒนาดงั นี้

กลมุ่ บริหารงานวิชาการ

๑. กาหนดให้ครูผู้สอนจัดทาบันทึกข้อตกลงในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างครู กับ
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

๒. กาหนดให้ครผู ูส้ อนจัดทา ID Plan แผนพัฒนาตนเองทุกปีการศึกษา

๓๙

๓. กาหนดให้ครูผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย ๒ รายวิชา/ภาคเรียน และบูรณา
การกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๔. กาหนดให้ครผู สู้ อนจัดทาวิจยั ในชั้นเรยี นภาคเรยี นละ ๑ เรือ่ ง
๕. ครูใชร้ ะบบ DLIT ในการจดั การเรียนการสอน
๖. กาหนดใหท้ กุ กล่มุ สาระการเรยี นร้จู ัดโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
๗. ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ เพือ่ เน้นทักษะการทางาน และการมงี านทา
๘. ส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพของนกั เรียน
๙. จดั ทาโครงการประเมินการใช้หลักสตู รเม่อื ส้ินปีการศึกษา
๑๐. สง่ เสริมในการนาปราชญช์ าวบ้านมาใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั วชิ าชพี แก่นักเรยี น
๑๑. ส่งเสรมิ การนิเทศภายใน
๑๒. สง่ เสริมการจัดกจิ กรรม PLC ของคณะครู
๑๓. พัฒนาครูในการสร้างส่อื นวัตกรรม และเรียนรู้ภายในโรงเรียน
กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
๑. สง่ เสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรได้รบั การพัฒนาทางวิชาชีพ
๒. ส่งเสริมใหค้ รแู ละบุคลากรมขี วัญกาลังใจในการปฏบิ ัตงิ าน
กลุ่มบรหิ ารงานท่วั ไป
๑. จดั โครงการคุณธรรม โดยมีคณุ ธรรมเปา้ หมาย ซอ่ื สัตย์ จติ อาสา พอเพียง รับผิดชอบ
๒. จดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน และมบี รรยากาศแห่งการเรียนรู้
๓. พัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
๔. ประสานความร่วมมือกับชุนชนในการเข้ารว่ มกจิ กรรมของโรงเรยี นและชมุ ชน
๕. ส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามยั ของนกั เรียนให้มคี วามพร้อมท้ังดา้ นร่างกายและจิตใจ
กลุม่ บริหารงบประมาณ
๑. รบั -ส่ง หนังสอื ราชการให้ถูกต้องและตรงตามกาหนดเวลา
๒. จดั ทาทะเบียนพสั ดุ ครุภณั ฑ์ให้ถูกตอ้ งตามระเบียบ และสามารถตรวจสอบได้
๓. จัดทาเอกสารเบกิ จ่ายให้ถกู ต้องตามระเบยี บพสั ดแุ ละสินทรัพย์
๔. จัดทาบญั ชรี ายรบั ร่ายจ่าย ให้เปน็ ปัจจุบนั และตรวจสอบได้
๕. เบิกจา่ ยงบประมาณให้ถกู ตอ้ งตามหลกั ธรรมาภิบาล
6. ระดมทรัพยากรจากชุมชนเพื่อพัฒนาการศึกษา
๗. นาเทคโนโลยีมาใช้ ในการบริหารงานธรุ การ ไดแ้ ก่ My Office School

มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันของแต่ละกลุ่มงาน ครูและบุคลากรมีการยอมรับในการทางานเป็นทีม
การสร้างความผูกพัน ขวัญและกาลังใจ มีกระจายงาน จัดสรรงบประมาณการจัดส่ืออุปกรณ์ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี มีการรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน แล้วนามาวิเคราะห์ พัฒนา ปรับปรุงการดาเนินงาน ให้ศิษย์
เก่ามีส่วนร่วมในการทากิจกรรมของโรงเรียน มีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการ
รับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้ปกครองจากการประชุมผู้ปกครอง การติดต่อฝ่ายบริหารโดยตรง
หรือการรับฟงั ความคิดเห็นโดยผ่านครทู ป่ี รกึ ษา ครู และบุคลากร

๔๐

มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา สามารถปฏิบัติได้จริง โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีเป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กาหนดไว้
อย่างชัดเจน นามาซึง่ การจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา โดยการจัดประชุมสัมมนา มี ครู บุคลากร คณะกรรมการ
สถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมการจัดทา วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
กาหนดวิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงคข์ องโรงเรียน ตลอดจนแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ

มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ได้ดาเนินการบริหาร
จัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ ประชุมวางแผนการดาเนนิ งาน การจัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
จัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี/โครงการ กิจกรรม เอกสารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เอกสารการ
นเิ ทศภายใน รายงานโครงการ รายงานประจาปี รายงานประเมินคณุ ภาพภายในโดยหน่วยงานต้นสงั กดั คาสั่ง/
บันทึกการประชุม มีติดตามประเมินผลทุกระยะ ดาเนินการนิเทศกากับติดตามตลอดปีการศึกษาอย่างน้อย
ปีการศึกษาละ ๔ คร้ัง (ภาคเรียนละ๒ คร้ัง) ให้ผลสะท้อนกลับ และสรุปการประเมินผล ตลอดจนปรับปรุง
หลกั สตู รให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางตลอดเวลา

ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับท้องถิ่น รวมไปถึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มี
ประชุมวางแผนการดาเนินงาน จัดทาคู่มือการบริหารวิชาการ ระบบการเรียนรู้ การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้ฯ เอกสารข้อมูลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล เอกสาร
หลักฐานผลงานเชิงประจักษ์ในการพัฒนางานวิชาการ ติดตามประเมินผลทุกระยะ ดาเนินการนิเทศกากับ
ติดตามตลอดปีการศึกษาอย่างน้อย ปีการศึกษาละ ๔ ครั้ง (ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง) ให้ผลสะท้อนกลับ และสรุป
การประเมินผล ตลอดจนปรับปรงุ หลักสตู รให้สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางตลอดเวลา

พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โรงเรียนจัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ กิจกรรมประชุม/อบรม/สัมมนาของหน่วยงานต้นสังกัด และได้วางแผนการ
จัดทากิจกรรมสานสัมพันธ์เครือข่ายเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาร่วมกับโรงเรียนในสหวิทยาเขต เช่น โรงเรียน
สามบ่อวิทยา โรงเรียนคลองแดนวิทยา เมื่อครูเข้ารับการอบรม/ประชุม/สัมมนา ทุกคร้ังจะมีการแลกเปล่ียน
เรียนรู้ ติดตามประเมินผลผลการพัฒนาและนาความรู้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานใน
หน้าที่ และจัดทารายงานการเข้ารับการอบรมเพ่ือนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพต่อไปทั้งในของโรงเรียน และ
ใหก้ ับสถานศกึ ษา/หนว่ ยงานอ่นื ๆ ได้

จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม
คานึงถึงสุขลักษณะของนักเรียนเป็นสาคัญ เพราะถ้าห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ เช่น วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์
อาคารเรียน มีความมั่นคง สะอาด และปลอดภัย สดชื่น และแบ่งแยกชัดเจน มีส่ิงอานวยความสะดวก
เช่น โต๊ะเรียน พัดลม โทรทศั น์ โปรเจคเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ตสาหรับสืบค้นหาข้อมูล
ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียนอย่างพอเพียง และอยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อม
ร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนการสอน นักเรียน จะสนใจอยากเรียน มีความกระตือรือร้น


Click to View FlipBook Version