๔๑
ในการเรียน มีความสุขกับการสอนทงั้ ในห้องเรียนและนอก ห้องเรียน ครูผ้สู อนก็มีความต้ังใจในการจดั กิจกรรม
ที่ส่งเสริม พัฒนานักเรียน โดยทางโรงเรียนได้รับ งบประมาณจัดสรรมาดาเนินการซ่อมแซมอุปกรณ์การเรียน
อาคารเรยี นใหใ้ ชก้ ารได้ดอี ยู่เสมอ ๆ
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ โรงเรียนจัดระบบ
การจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน โรงเรียนใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหาร โดยจัดตามภารกิจการ
บริหารดงั น้ี
1. งานวิชาการ เช่น แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านวิชาการ การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
การพัฒนาการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โรงเรียนได้นาโปรแกรม SGS มาใช้ ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทางานได้
ทันทีเมื่อเช่ือมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต และเป็นประโยชน์กับนักเรียนในเรื่องการศึกษาต่อระบบ TCAS ข้อมูล
นักเรียนใช้โปรแกรม DMC การใช้ระบบคัดกรองปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน CCT การวิจัยในช้ันเรียน
การนิเทศการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การพัฒนางานวิชาการ ข้อมูลเกี่ยวกับ
ผูเ้ รียนทุกด้าน รายงานโครงการ/กิจกรรม เปน็ ตน้
2. งานบคุ ลากร เชน่ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมดา้ นบุคลากร ข้อมูลทกุ ด้านของครู
ใช้โปรแกรม EMIS ในการบันทึก ข้อมูล อายุตัว อายุราชการ วุฒิการศึกษา การศึกษาต่อการพัฒนา
วิชาชีพ การศึกษาตอ่ การเข้ารับการพัฒนาหรอื ฝกึ อบรม รายงานโครงการ/กจิ กรรม เปน็ ตน้
3. งานงบประมาณ เช่น แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมด้านแผนและงบประมาณ ใช้โปรแกรมการจัดซื้อ
จัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement)การเบิกจ่ายพัสดุ ครุภัณฑ์ การ
จดั ทาบัญชี รายงานประจาปี เปน็ ต้น
4.งานบริหารท่ัวไป เช่น แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านงานบริหารท่วั ไป ระบบและเครือขา่ ย ข้อมูล
สารสนเทศ งานกิจการนักเรียน ระบบ SDQ รายงานโครงการ/กิจกรรม การบริหารงานธุรการ ได้แก่
My Office School เป็นตน้
๒.๒ ผลการดาเนนิ งาน
มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมได้จัด
โครงการและกิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนบรรลุ ตามเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ ปรัชญาและจดุ เนน้ ของสถานศึกษา เช่น
โครงการเย่ียมบา้ น โครงการที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม เช่น กจิ กรรมค่ายพทุ ธบุตร โรงเรยี นวิถพี ุทธ และ
โรงเรียนคุณธรรม เป็นต้น จากการดาเนินงานตามโครงการต่าง ๆ ดังกล่าว ส่งเสริมให้นักเรียนของโรงเรียน
บรรลุตามเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ ปรัชญาและจดุ เน้นของสถานศกึ ษา
มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ได้ดาเนินการบริหาร
จัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนา
แผนไปปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
มีการบริหารอัตรากาลังทรัพยากรทาง การศึกษา และจัดระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน มีการนาข้อมูลมาใช้
ในการพัฒนา บคุ ลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝา่ ย มีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบ
ตอ่ ผลการจดั การศึกษา
๔๒
ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุก
กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับท้องถิ่น รวมไปถึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
มีรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายทาให้นักเรียน ได้เรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ ท้ังด้าน
วิทยาศาสตร์ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ด้านศิลปะ เช่น ดนตรี นาฏศิลป์
ทัศนศิลป์ ด้านการงานอาชีพ เช่น อุตสาหกรรม คหกรรม และดา้ นกีฬา เป็นต้น นอกจากน้ยี ังมีการจัดกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและ ตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
เช่น ส่งเสริมสนับสนุนการ จัดกิจกรรมชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร ชุมนุมตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
ลกู เสือ-เนตรนารี โดยสนบั สนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่เน้นใหน้ ักเรยี นได้ลงมือปฏิบัตจิ ริงจนสรุปความรไู้ ด้
ด้วยตนเอง (Learning by Doing)
มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ ครูและบุคลากรโรงเรียนตะเครียะ
วิทยาคม ได้รับการพัฒนา อบรม ให้มีความรู้ความสามารถท่ีจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาท้ัง
ภายในและภายนอก รอ้ ยละ 100 มีแผนพัฒนาครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา และดาเนนิ การจัดทากลมุ่ ชุมชน
แหง่ การเรยี นร้วู ชิ าชีพ (PLC) ครไู ด้ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีต่ รงกบั ความรคู้ วามสามารถหรอื คุณวฒุ ิทาใหง้ านมีคุณภาพ
มกี ารจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ โรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคมคานึงถึงสุขลักษณะของนักเรียนเป็นสาคัญ เ พราะถ้าห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
เช่น วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ อาคารเรียน มีความม่ันคง สะอาด และปลอดภัย สดช่ืน และแบ่งแยกชัดเจน
มีสิ่งอานวยความสะดวก เช่น โต๊ะเรียน พัดลม โทรทัศน์ โปรเจคเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และระบบ
อินเทอร์เน็ตสาหรับสืบค้นหาขอ้ มูลท่ใี ชใ้ นการจัดการเรียนการสอนของครูและนกั เรียนอย่างพอเพียง และอยู่ใน
สภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อม ร่มร่ืน และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนการสอน นักเรียน จะสนใจ
อยากเรียน มีความกระตือรอื ร้นในการเรยี น มีความสุขกับการสอนทั้งในห้องเรยี นและนอก ห้องเรียน ครูผู้สอน
ก็มีความต้ังใจในการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม พัฒนานักเรียน โดยทางโรงเรียนได้รับ งบประมาณจั ดสรรมา
ดาเนินการซ่อมแซมอุปกรณก์ ารเรียน อาคารเรียนใหใ้ ชก้ ารได้ดอี ยเู่ สมอ ๆ
มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ โรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคมมีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่มีวัสดุอุปกรณ์ และมีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการ
จัดการเรียนการสอนและการบริหารการจัดการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล นอกจากนี้ยังมี
ช่องทางในการเรียนรู้และการประชาสัมพันธ์เพ่ือให้ผู้รับบริการเข้าถึงข้อมูลคือ เฟสบุ๊ค และเว็บไซต์โรงเรียน
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านเทคโนโลยีเพ่ือให้นักเรียน ครูและบุคลากรได้ศึกษาค้นคว้า และทาให้นักเรียนและ
บคุ ลากรไดร้ ับการบริการอยา่ งท่วั ถงึ
๔๓
๒.๓ ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี/โครงการ กิจกรรม
รายงานโครงการ รายงานประจาปี เอกสารการนิเทศภายใน เอกสารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รายงาน
ประเมินคุณภาพภายในโดยหน่วยงานต้นสังกัด หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คู่มือการ
บริหารวิชาการ เอกสารข้อมูลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล แผนการจัดการเรียนรู้ คาส่ัง/บันทึกการประชุม
แบบสารวจและสรุปความพึงพอใจ รายงานไปราชการของครูและบุคลากร บันทึกผล PLC วุฒิบัตร/เกียรตบิ ัตร
การเข้าร่วมอบรม สมั มนา แผ่นพับประชาสมั พนั ธ์ เว็บไซตโ์ รงเรยี นและภาพถา่ ย
ตารางที่ 28 แสดงผลการประเมนิ จาแนกตามประเด็นพจิ ารณา
ประเดน็ พจิ ารณา ค่าเป้าหมาย ผล สูงกว่าหรือเทา่ กบั
การประเมิน คา่ เปา้ หมาย
๑. มเี ปา้ หมาย วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนด ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม เท่ากับ
ชัดเจน ค่าเปา้ หมาย
ยอดเยีย่ ม
๒. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ สูงกวา่
ยอดเยีย่ ม คา่ เปา้ หมาย
๓. ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ดี
ตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลศิ สงู กวา่
ค่าเปา้ หมาย
๔. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ ดีเลศิ ดีเลิศ
เท่ากับ
๕. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือตอ่ ดีเลิศ ดีเลศิ ค่าเปา้ หมาย
การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ ดเี ลิศ
เท่ากบั
๖. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร ค่าเปา้ หมาย
จดั การและการจัดการเรียนรู้
เท่ากับ
คา่ เปา้ หมาย
๔๔
๓. แผนการพัฒนาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพให้สงู ข้นึ
๓.๑ สรปุ จุดเด่นและจดุ ควรพัฒนา
จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา
1. โรงเรียนใช้ระบบการบริหารดาเนินงาน ๑. โรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
โรงเรียน ครอบคลมุ รอบด้าน และสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
2. โรงเรียนมรี ะบบการบริหารจดั การคุณภาพ ให้เป็นปัจจุบันและพร้อมสาหรับการใช้งานอยู่เสมอ
ของสถานศกึ ษาทีช่ ัดเจน มีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลตอ่ เช่น ป้ายนิเทศภายในห้องเรียน อุปกรณ์เทคโนโลยี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ภายในห้องเรยี น
โดยมีความร่วมมือของผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ย โดยเฉพาะ
ชุมชน ศษิ ยเ์ กา่ และองค์กรต่าง ๆ ทชี่ ว่ ยเหลือ
สนับสนุนในการบริหารจัดการศึกษาใหป้ ระสบ
ผลสาเรจ็
๓.๒ วิธีการพฒั นาทคี่ าดวา่ จะนามาใชเ้ พือ่ ยกระดับคุณภาพใหส้ ูงขึ้นในปีตอ่ ไป
๑) ประเมนิ การบรหิ ารการจดั การสถานศกึ ษาโดยใช้ชุมชนเข้ามามสี ว่ นร่วมและกระทาอย่างตอ่ เนอ่ื ง
๒) เปดิ โอกาสใหช้ ุมชน ปราชญช์ าวบ้าน เข้ามามีส่วนรว่ มให้การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
3) ปรบั ปรุงระบบอนิ เตอร์เนต็ อปุ กรณ์เทคโนโลยีภายในห้องเรยี น และพฒั นาระบบโปรแกรมตา่ ง ๆ
ให้มปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ปัจจุบนั มากยง่ิ ข้ึน
๔๕
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ
๑. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
๒. กระบวนการ/วธิ กี ารพฒั นา ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
๒.๑ กระบวนการ/วิธีการพัฒนา
จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ โรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคมมีกระบวนการพัฒนาที่ทาให้ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนและจัดทา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีมงุ่ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และสมรรถนะผู้เรียนตามทกั ษะในศตวรรษที่ 21 โดยโรงเรียน
มีการประชุมครูเพ่ือจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่ได้รับมอบหมายและนาหลักสูตรแกนกลางมา
วิเคราะห์ ตัวช้ีวัดของหลกั สูตร และกาหนดให้ครูผู้สอนทุกรายวิชา ดาเนินการออกแบบการจดั การเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผ่านกระบวนการ Active Learning มีโครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ผ่านระบบครูพี่เล้ียง
อาวุโส และหลังจากครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ครูจะบันทึกผลลงในบันทึกหลังสอน
แล้วนาผลที่ได้มาพูดคุยและเข้าสู่กระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหา นาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาเพ่ือเป็น
ข้อมูลในการทาวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนต่อไป กาหนดให้มีการประเมินผลด้วยหลากหลายตามสภาพจริง
ของผู้เรียน และมีกิจกรรมที่แสดงผลงานนักเรียนซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่านักเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ
จริง สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้
ครใู ช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี ออื้ ต่อการเรียนรู้ โรงเรยี นตะเครียะวทิ ยาคมมกี าร
จดั การเรียนการสอนให้ครูใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่เี หมาะสม มาใช้ในการจดั การเรียนการสอนท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้
เช่น การใช้ใบงาน จาก quiver vision สอนเรื่อง เซลล์ ของส่ิงมชี ีวิต ใช้ quizizz ในการทดลองทาข้อสอบ ราย
หน่วย และ ขอ้ สอบ O–net ใช้ google classroom ในการสง่ งาน /ตรวจงาน ใช้ zipgrade ในการตรวจข้อสอบ
การใช้เกม มาใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น เกมถอดรหัสจากภาพ นอกจากนี้ ในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีการจัดการเรียนการ
สอนรูปแบบออนไลน์ ทาให้สามารถยังจัดการจัดการเรียนการสอนได้ในสถานการณ์ท่ีนักเรียนไม่สามารถมา
โรงเรียนได้อย่างปกติ ท้ังยังเว็บไซต์โรงเรียนเพ่ือเป็นทางเลือกให้ครูในการจัดการเรียนรู้ โดยสามารถนาไปใช้
เป็นช่องทางให้ครูมอบหมาย ติดตาม ภาระงาน การบ้าน เป็นช่องทางในการส่ือสารระหว่างครูและนักเรียนใน
ประเด็นต่าง ๆ รวมถึงมีการใช้สื่อจาก DLTV Youtube มีการประเมินความพึงพอใจโดยใช้ Google form
ผนวกกับการนาบรบิ ท และภูมปิ ัญญาของทอ้ งถิน่ มาบรู ณาการในการจัดการเรยี นรใู้ ห้กับนกั เรยี น
ครูมีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก โรงเรียนตะเครยี ะวิทยาคมจดั ให้ครูมีการบริหารจัดการในชั้น
เรียนและนอกห้องเรียนร่วมกับนักเรียนบนพ้ืนฐานการจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข โดยมีจัดมุมประสบการณ์
การเรียนรู้ภายในห้องเรียน โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ดูแลอย่างใกล้ชิด มีการจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้
นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้หรอื สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง โดยเน้นผูเ้ รียนสาคัญ จัดบรรยากาศในการเรยี นที่เออื้ ต่อ
การเรยี นรูข้ องนกั เรยี นโดยใช้สอื่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ รายบุคคล และใช้ขอ้ มลู ใน
การจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข รักท่ีจะเรียน และมีทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม
อยา่ งมีความสุข
๔๖
ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนตะเครียะ
วิทยาคมกาหนดให้ครูผู้สอน ส่งโครงการสอน โครงสร้างรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ก่อนสอนและหลังสอน
เพ่ือให้ฝ่ายวิชาการตรวจสอบมาตรฐานและตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ ของรายวิชา และเสนอผู้อานวยการโรงเรียน
เพื่อให้มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนในการใช้เครื่องมือและ
วิธีการวัดประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรยี นรู้ ใช้วิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย
เพ่ือรู้จักผู้เรียนด้านการเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรยี นเพอ่ื นาไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ ครูมเี ครื่องมือและ
วธิ ีการวัดประเมินผลอย่างหลากหลาย การทาวิจัยในช้ันเรียน เพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ในวชิ า
ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการวิจัยน้ัน ๆ มาปรับวิธีการเรียนเปล่ียนวิธีการสอน การประพฤติปฏิบัติตนเป็น
แบบอยา่ งท่ีดี โดยมีข้ันตอนการใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลทเี่ หมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการ
เรยี นรดู้ ังนี้
ข้นั ตอนการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี น
1. ศกึ ษา วิเคราะห์มาตรฐาน และตวั ชว้ี ัดของหลกั สตู ร
2. จดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า และการวดั ผลประเมนิ ผล (แผนการจดั การเรียนร)ู้
3. ช้ีแจงรายละเอียดของการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียน ได้แก่ ภาระงาน เกณฑ์ คะแนน
ตามแผนการประเมนิ ท่ีกาหนดไว้
4. วัดและประเมินผลผู้เรียน
5. วัดและประเมนิ ความก้าวหนา้ ระหวา่ งเรียน หลงั เรียนเมือ่ จบหน่วยหรือกลางภาค
6. ผู้เรยี นรับทราบคะแนนและพัฒนาปรบั ปรงุ ใหม้ ีคะแนนตามทโี่ รงเรยี นกาหนดคือ 60%
7. วัดและประเมนิ ความก้าวหนา้ ระหว่างเรียน หลังเรียนเมอ่ื จบหนว่ ยหรือปลายภาค
8. ผู้เรยี นได้รบั การแจง้ ผลการเรยี น
9. ผู้เรยี นพฒั นาปรับปรุงผลการเรยี น
10. ผู้เรียนสามารถตรวจสอบผลการปรับปรุงผลการเรยี นได้
ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคมจัดให้มีชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ระหวา่ งครูและผู้เกี่ยวข้องเพ่ือพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เก่ียวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ แล้วส่งเสริมให้ครูนาผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาสู่การทาวิจัยในชั้นเรียน
และเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามาใช้สถานท่ีอบรม นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมท้ังผู้ท่ีเก่ียวข้อง
โดยการจัดกิจกรรมค่ายและทัศนศึกษา ท่ีได้ดาเนินการจัดค่ายให้ความรู้ตามทักษะของแต่ละกลุ่มสาระ
และทัศนศึกษาตามสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีสามารถให้ความรู้ท่ีไม่สามารถหาได้ในหนังสือเรียน เป็นประสบการณ์จริง
ประสบการณต์ รงกับนักเรยี น
๔๗
๒.๒ ผลการดาเนินงาน
ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ ครูทุก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้นักเรียนฝึกปฏิบัติจริงตาม มาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ช้ีวัดของหลักสตู รสถานศึกษา มีแผนจัดการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชน และทอ้ งถิน่ สามารถนาไป
จัดกิจกรรมได้จริง และให้โอกาสกับผู้เรียนได้ปรับปรุงและพัฒนาผลงานและผลสัมฤทธิ์ให้พัฒนาเพิ่มขึ้น
การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ ่เี พม่ิ ขึ้นทาใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความภาคภูมใิ จและมีแรงจงู ใจในการเรียนเพิ่มขึน้ ส่งผลให้พัฒนา
ทางการสติปัญญา ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง ฝึกทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุป องค์ความรู้
นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ดยี ่ิงขนึ้
ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ครูมีการใช้เทคโนโลยีเป็น
เคร่ืองมอื อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นการสอนเปน็ ส่วนใหญเ่ นื่องจากโรงเรยี นจัดสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อ
ต่อการใช้เทคโนโลยีของครูโดยโรงเรียนมีการติดตั้งโปรเจคเตอร์ จอโทรทัศน์และอินเตอร์เน็ตทุกห้องเรียน
ซ่ึงเป็นห้องเรียนท่ีอานวยความสะดวกในการใช้สื่อเทคโนโลยีของครู ทาให้ครูเกิดการจัดรูปแบบการสอนได้
หลากหลายและส่งผลให้ผู้เรียนมีความตั้งใจในการเรียนมากขึ้นและทาให้ผู้สอนมีความทันยุคทันสมัย
เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนต่ืนตัวอยู่เสมอในการเตรียมการสอนและผลิตวัสดุใหม่ ๆ เพ่ือใช้เป็นส่ือการสอน
ตลอดจนคิดค้นเทคนิควิธีการต่าง ๆ เพื่อให้การเรียนรู้ของนักเรียนน่าสนใจยิ่งข้ึน ผู้สอนมีความสนุกสนาน
ในการสอนและนกั เรยี นเกดิ การเรียนร้ไู ด้ดียิ่งขึ้น
ครูมกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก ครมู ีการบริหารจัดการในชั้นเรียนและนอกห้องเรียนเชิงบวก
ร่วมกบั นกั เรียนเพื่อเป็นพ้นื ฐานแหง่ การจัดการเรียนรู้ คือ “การเรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ ” ครสู ามารถจดั การเรยี น
การสอนไดเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ เนน้ กระบวนการคิด วิเคราะห์
และการลงมือปฏิบัติ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนอยากเรียนรู้
และรักในการเรียนมากขึ้น กระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
จัดบรรยากาศในการเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของนักเรียน การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เกดิ บรรยายกาศในการเรยี นรู้รว่ มกันอย่างมีความสุข
ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ครูมีการตรวจสอบและ
ประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนส่งโครงการสอน โครงสร้าง
รายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ก่อนสอนและหลังสอน เพื่อให้ฝ่ายวิชาการตรวจสอบมาตรฐานและตัวชี้วัด
ผลการเรยี นรู้ ของรายวิชา และเสนอผู้อานวยการโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 ครูมีการวดั และประเมินผลท่ี
ม่งุ เน้นการพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียน ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เชน่ การตอบปากเปล่า การใหน้ กั เรียนศึกษา
ใบความรู้ ทาใบงาน สรุป และนาเสนอบทเรียนตามแนวความคิดของนักเรียนเอง การสอบวัดความรู้ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อ
นาไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ครูดาเนินการจัดการ เรียนการสอนตามรายวิชาท่ีได้รับมอบหมายอย่างเต็ม
เวลา เตรียมการสอน สอดแทรกแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม จริยธรรม และมีเวลาใน
การให้คาแนะนา คาปรกึ ษา แก้ไขปัญหาให้แกน่ ักเรียน ท้ังดา้ นการเรียน ความประพฤติ คุณภาพชีวิตด้วยความ
เสมอภาค เต็มความสามารถ มีการทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาท่ีตน
๔๘
รับผิดชอบ และใช้ผลในการวิจัยน้ัน ๆ มา ปรับวิธีการเรียนเปล่ียนวิธีการสอน การประพฤติปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างท่ีดี เช่น มาโรงเรียนให้ทันเวลา การแต่งกายท่ีสุภาพเรียบร้อย และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
ทางานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายอย่างเตม็ ใจ เตม็ ท่ี และเต็มเวลา
ครูมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ จาก
การที่ครูเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรั บปรุงการจัดการเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการ PLC ระหว่างครูและผู้เก่ียวข้องเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูและผู้เก่ียวข้องมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ และพัฒนาเพ่ือเปน็ ขอ้ มูล
ในการทาวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอน ทาให้เกิดสื่อและนวัตกรรมท่ีสร้างสรรค์และมีความหลากหลายทาให้
สามารถแก้ปัญหาด้านการเรียนและพฤติกรรม โดยทาให้ผลการเรยี นของนักเรียนมีการพัฒนาดขี ้ึนรวมถึงทาให้
พฤตกิ รรมของนกั เรยี นดีขึ้น
๒.๓ ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้/บันทึกผลหลังการสอน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน แฟ้มข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล เครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียน แบบ
บันทกึ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ สือ่ การเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน บันทึกการ
ใช้ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ โครงการตายายย่าน นิเทศช้ันเรียน แบบประเมินผลการเรียนการสอนของครูผ่าน บันทึก
PLC ผลงานนกั เรียน แบบประเมินความพึงพอใจ และภาพถา่ ย
๔๙
ตารางท่ี 29 แสดงผลการประเมินกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ จาแนกตาม
ประเด็นพจิ ารณา
ประเดน็ พิจารณา คา่ เป้าหมาย ผล สูงกวา่ หรือ
การประเมนิ เทา่ กบั
๑. ครทู จี่ ัดการเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 100 คา่ เปา้ หมาย
ยอดเยย่ี ม (ยอดเยย่ี ม)
สูงกว่า
คา่ เป้าหมาย
๒. ครมู ีแผนการจัดการเรยี นรู้ทสี่ ามารถนาไปจัดกจิ กรรม รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 สูงกว่า
ได้จรงิ ยอดเยี่ยม (ยอดเยี่ยม) คา่ เป้าหมาย
๓. ครมู รี ูปแบบการจัดการเรยี นร้เู ฉพาะสาหรับผทู้ ม่ี ี รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 สูงกว่า
ความจาเป็นและตอ้ งการความช่วยเหลอื พิเศษ ยอดเยย่ี ม (ยอดเยย่ี ม) คา่ เปา้ หมาย
๔. ผเู้ รียนไดร้ บั การฝึกทักษะแสดงออก แสดงความคิดเหน็ รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 100 สูงกวา่
สรปุ องคค์ วามรู้ ยอดเยี่ยม (ยอดเยย่ี ม) คา่ เปา้ หมาย
๕. ผ้เู รยี นไดร้ บั การฝึกนาเสนอผลงาน รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 สงู กว่า
ยอดเย่ยี ม (ยอดเยยี่ ม) คา่ เปา้ หมาย
๖. ผู้เรยี นสามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 100
ยอดเย่ียม (ยอดเยย่ี ม) สงู กวา่
๗. ครูใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ คา่ เป้าหมาย
ท่เี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100
ดเี ลิศ (ยอดเยี่ยม) สูงกวา่
ค่าเปา้ หมาย
๘. ครมู กี ารนาภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 สงู กวา่
ดเี ลิศ (ยอดเยี่ยม) ค่าเป้าหมาย
๙. ครูสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง
จากส่อื ทหี่ ลากหลาย ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 สงู กว่า
ดีเลิศ (ยอดเยยี่ ม) ค่าเป้าหมาย
๑๐. ครมู ีการบริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 สงู กว่า
ดเี ลิศ (ยอดเยี่ยม) ค่าเปา้ หมาย
๑๑. ครตู รวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบและ
นาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 สูงกวา่
ดเี ลศิ (ยอดเยย่ี ม) ค่าเปา้ หมาย
๑๒. ครใู ชเ้ ครื่องมือและวิธกี ารวัดและประเมนิ ผล ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 สูงกว่า
ทเี่ หมาะสมกับเปา้ หมายในการจัดการเรยี นรู้ ดเี ลศิ (ยอดเยย่ี ม) คา่ เป้าหมาย
๑๓. ครูมีการให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนไปใช้ รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 100 สูงกว่า
พัฒนาการเรียนรู้ ดีเลิศ (ยอดเยย่ี ม) คา่ เปา้ หมาย
๑๔. ครแู ละผมู้ สี ่วนเกย่ี วข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 100 สูงกว่า
และใหข้ ้อมูลป้อนกลับเพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนา ดเี ลศิ (ยอดเยย่ี ม) คา่ เปา้ หมาย
การจดั การเรยี นรู้
๕๐
๓. แผนการพฒั นาเพื่อยกระดับคณุ ภาพให้สงู ข้ึน
๓.๑ สรุปจุดเดน่ และจุดควรพัฒนา
จดุ เด่น จุดควรพัฒนา
1. ครูจดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติ 1. ครูควรมีการจัดระบบและทา PLC อย่าง
จริงตามาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตร ต่อเนื่อง เป็นระบบเพื่อนาไปสู่การวิจัยชั้นเรียนและ
สถานศึกษา มีการนิเทศช้ันเรียนร้อยละ 100 มี รวบรวมเทคนิคการสอนที่นามาใช้จัดให้เกิดเป็น
แผนการเรียนรู้ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง และ โมเดลทม่ี คี วามชดั เจนมากยิ่งข้นึ
สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ มีนวัตกรรมในการ
จัดการเรียนรู้และมกี ารเผยแพร่ ตลอดจนมกี ารจัดการ
เรียนรู้แบบโครงงาน
2. ครูมีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมให้
นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ นักเรียนได้ลงมือทาและ ปฏิบัติจริง มีการ
ใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย มีการใช้สื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการแหล่งการเรียนรู้ และ
ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่เี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
๓.๒ วธิ กี ารพฒั นาทค่ี าดวา่ จะนามาใช้เพือ่ ยกระดับคณุ ภาพให้สงู ข้ึนในปตี อ่ ไป
๑) มกี ารประเมินการจัดการเรียนรโู้ ดยผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ
๒) ครมู ีกำรสร้ำงสือ่ กำรเรยี นกำรสอนทห่ี ลำกหลำย
๓) ครูได้รับการอบรมในหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนที่หลากหลาย และสร้าง
เทคนิคการเรยี นใหม่ๆ อยูเ่ สมอ
4) มีการประเมนิ การจัดการเรียนรู้โดยผูเ้ รยี นอยา่ งตอ่ เนื่อง เพ่อื ปรบั ปรุง พัฒนาการจดั การเรียนรู้อยา่ ง
เปน็ ระบบ
๕๑
ส่วนท่ี ๓
สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการชว่ ยเหลอื
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจ ะต้องนาไปวิเคราะห์
สังเคราะห์ นาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
(๓-๕ ปี) ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ืองให้เกิดความย่ังยืน
ดังน้ัน จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวม
ของจดุ เด่น จุดควรพฒั นาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพฒั นาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานทส่ี ูงขนึ้ และความ
ต้องการชว่ ยเหลือ ดงั น้ี
สรุปผล
จุดเดน่ จุดควรพัฒนา
คณุ ภาพของผเู้ รียน คุณภาพของผูเ้ รยี น
1. นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรม 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยเฉพาะกลุ่มสาระ
จริยธรรม ตามอัตลักษณ์ ของโรงเรียนคุณธรรม คือ ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ
ซ่ือสัตย์ จิตอาสา พอเพียง และรับผิดชอบ มีมารยาท โดยโรงเรียนควรจัดกระบวนการติดตามนักเรียน
งามตามวิถีของวัฒนธรรมไทย และดารงชีวิตอยู่ใน ประสานงานผู้ปกครอง ผ่านทุกช่องทางการติดต่อ
สังคมอยา่ งมีความสุข มสี ุขภาพจติ สขุ ภาพกายทีด่ ี เช่น กลุ่มไลน์ หนังสือแจ้ง ฯ สาหรับผู้เรียนที่มี
คะแนน ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ เพ่ือเป็นการ
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและลด 0 ร มส ใน
1. โรงเรียนใชร้ ะบบการบริหารดาเนนิ งานโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษาต่อไป
ครอบคลมุ รอบดา้ น
2. โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
สถานศึกษาท่ชี ดั เจน มปี ระสิทธิภาพ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพ ๑. โรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีความ และสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะชุมชน ศิษย์ ให้เป็นปัจจุบันและพร้อมสาหรับการใช้งานอยู่เสมอ
เก่า และองค์กรต่าง ๆ ท่ีช่วยเหลือ สนับสนุนในการ เช่น ป้ายนิเทศภายในห้องเรียน อุปกรณ์เทคโนโลยี
บรหิ ารจดั การศกึ ษาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ภายในหอ้ งเรียน
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียน กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ เป็นสาคญั
1. ครูจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ 1. ครูควรมีการจัดระบบและทา PLC อย่าง
จริงตามาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดของหลักสูตร ต่อเนื่อง เป็นระบบเพื่อนาไปสู่การวิจัยชั้นเรียนและ
สถานศึกษา มีการนิเทศชั้นเรียนร้อยละ 100 รวบรวมเทคนิคการสอนท่ีนามาใช้จัดให้เกิดเป็น
มีแผนการเรียนรู้ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง โมเดลท่ีมคี วามชัดเจนมากยง่ิ ขึ้น
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีนวัตกรรม
๕๒
จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา
ในการจดั การเรียนร้แู ละมีการเผยแพร่ ตลอดจนมีการ
จัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน
2. ครูมีการจัดการเรียนการสอน /กิจกรรมให้
นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ นักเรียนได้ลงมือทาและ ปฏิบัติจริง มีการ
ใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย มีการใช้ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการแหล่งการเรียนรู้ และ
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้
แนวทางการพฒั นาเพือ่ ให้ได้มาตรฐานที่สงู ข้ึน
แนวทางการพฒั นามาตรฐานท่ี ๑
๑. วเิ คราะห์มาตรฐาน และตัวชว้ี ัด ทีน่ กั เรยี นมีผลการเรียนไม่บรรลตุ ามเปา้ หมาย
๒. นักเรยี น และครู ร่วมกาหนดคา่ เป้าหมายของผลการเรยี นในแตล่ ะรายวิชา
๓. จัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละดาเนินการวดั ผลประเมินผลดว้ ยกจิ กรรมท่ีหลากหลาย
4. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานลงสู่วิชาเรียนเพ่ือพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลในทุกรายวิชา
5. ครมู ีการสรา้ งสื่อการเรียนการสอนดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีหลากหลาย
6. ดาเนนิ การกิจกรรม PLC อยา่ งตอ่ เนือ่ งและเปน็ รูปธรรม
7. นากิจกรรมตายายยา่ น โครงงานคณุ ธรรมมาช่วยในการพฒั นานกั เรยี น
แนวทางการพัฒนามาตรฐานที่ ๒
1. ประเมินการบริหารการจัดการสถานศึกษาโดยใช้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและกระทาอย่าง
ต่อเน่ือง
2. เปิดโอกาสให้ชุมชน ปราชญช์ าวบา้ น เข้ามามีสว่ นร่วมใหก้ ารจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษา
3. ปรับปรงุ ระบบอินเตอร์เนต็ อุปกรณ์เทคโนโลยีภายในห้องเรียน และพัฒนาระบบโปรแกรมต่าง
ๆ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเป็นปจั จบุ นั มากย่งิ ขนึ้
แนวทางการพฒั นามาตรฐานท่ี ๓
๑. มีการประเมินการจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือปรบั ปรงุ พัฒนาการจัดการเรียนรู้
อยา่ งเป็นระบบ
๒. ครมู ีการสร้างสื่อการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย
๓. ครูได้รับการอบรมในหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย และ
สรา้ งเทคนิคการเรยี นใหมๆ่ อยเู่ สมอ
4. มีการประเมินการจดั การเรียนรู้โดยผูเ้ รียนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนรู้
อย่างเปน็ ระบบ
๕๓
ความต้องการชว่ ยเหลือ
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น
๑. ส่อื บทเรยี นสาเรจ็ รูป
๒..ห้องเรยี นคณุ ภาพ เชน่ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์
๓. เครอ่ื งดนตรีสากล ดนตรไี ทย
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. งบประมาณในการบริหารจัดการ
๒. พาหนะสาหรบั นานกั เรยี นไปแหล่งเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั
๑. สนับสนุนครู หรอื วทิ ยากร สาหรบั การเรียนการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ และภาษาอังกฤษ
๒. สนบั สนุนวสั ดุ อุปกรณ์การเรียนรู้ ตามความเหมาะสม และความจาเป็นต่อการเรียน เช่น
อุปกรณ์การเรยี นการสอน coding
๕๔
สว่ นท่ี ๔
ภาคผนวก
กระบวนการท่ีต้องการให้ สมศ.ประเมนิ ความโดดเด่น (โรงเรยี นคุณธรรม)
การดาเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม
๑. การขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามรูปแบบ “ตะเครียะโมเดล” ในปีการศึกษา ๒๕๖๒
กระบวนการขับเคล่ือนเพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรม จึงได้เร่ิมต้นข้ึนอย่างเป็นระบบ
ตามรูปแบบตะเครียะโมเดล ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย “ซือ่ สตั ย์ จิตอาสา พอเพยี ง” ซึ่งเป็นคุณธรรมอัตลกั ษณ์
เดิม และพัฒนาเพ่ิมขึ้นเปน็ “ซ่อื สัตย์ จิตอาสา พอเพียง รับผิดชอบ”และกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนารูปแบบ
๓-๗-๔
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา ๓-๗-๔
๓ ยุทธศาสตร์
พัฒนา กระตุ้นปลูกจิตสำนึก SWOT กำรมีส่วนร่วม อบรม
พัฒนำ ประชุม นิเทศติดตำม ประเมินผล PDCA
พัฒนา นักเรียนแกนนำ ผู้นำเยำวชนจิตอำสำ โครงงำน
คณุ ธรรม คณุ ธรรมทกุ พื้นที่ ควำมดีทง้ั โรงเรยี น
สภาพแวดลอ้ ม/การมี สร้ำงควำมสัมพันธ์ท่ีดี ประชุมชี้แจง สร้ำงศรัทธำ
ส่วนรว่ ม และควำมเช่ือมั่น ร่วมพัฒนำ ครู นักเรียนและ
ชมุ ชน
7 วงล้อ เสรมิ สร้าง
ระเบียบ
วิถี วินยั ใสใ่ จ
พอเพียง เสรมิ สรา้ ง
ซื่อสัตย์ ความดี
วถิ พี ุทธ จิตอาสา
วิถีธรรม พอเพียง ส่งเสริม
มารยาท
งาม
ส่งเสรมิ พัฒนา
จติ อาสา จรยิ ธรรม
วถิ ีพอเพียง ๕๕
วถิ พี ุทธ วิถีธรรม
ส่งเสริมจิตอาสา กจิ กรรมธนำคำรโรงเรียน กิจกรรมสหกรณ์ร้ำนค้ำ กิจกรรมหน่ึง
พัฒนาจรยิ ธรรม ห้องเรียนหนงึ่ พนื้ ทที่ ำกิน
ส่งเสรมิ มารยาทไทย กิจกรรมในศูนย์กำรเรียนรู้วิถีพุทธวิถีธรรม เช่น หนึ่งห้องเรียน
เสริมสร้างระเบยี บวินัย หน่ึงวนั ธรรมสวนะ
โครงงำนคุณธรรม กิจกรรมจิตอำสำพำกันทำ กิจกรรมตำยำย
ใสใ่ จความดี ยำ่ น
ค่ำยพุทธบุตร กิจกรรมวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ กิจกรรม
พื้นท่ีรบั ผิดชอบ
กจิ กรรมงำมอยำ่ งไทย กจิ กรรมนอ้ งไหวพ้ ี่
กิจกรรมหน้ำเสำธง กิจกรรมเขตพื้นที่รับผดิ ชอบ กิจกรรมลูกเสือ
เนตรนำรี กจิ กรรมเดนิ แถว กิจกรรมแตง่ กำยสไตล์ ตว.
โครงงำนคุณธรรม กิจกรรมทบทวนควำมดวี ิถี ตว.
ซื่อสัตย์ ๔ คุณธรรม จิตอาสา
พอเพียง เปา้ หมาย รบั ผดิ ชอบ
คณะกรรมการสถานศึกษา การขบั เคล่ือน ตะเคร
วิเคราะห์จดุ มงุ่ หมายการศกึ ษาของชาติ
ชว่ ยกนั สร้างค
หลกั สูตร ปรัชญา วิสัยทัศน์
ตามรอยพ่อวิถีพอเ
วเิ คราะหบ์ ริบทชมุ ชน สังคม ความเช่อื จิตอาสาพากนั ท
ประเพณี วิถพี ทุ ธ วถิ ธี รร
งานวินัย สภานกั เ
กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม โครงงานคุณธร
กจิ กรรมพัฒนาผเู้
กาหนดเกณฑ์การประเมิน เปา้ หมาย โครงการประจา
ประชุมช้ีแจงคณะครู คณะกรรมการ
นักเรียนผู้ปกครอง ชุมชน
ประชุมชี้แจงนักเรยี น ดาเนนิ การ
plan do
ภาพท่ี 4 แสดงแผนผังกา
๕๖
รียะโมเดล (T.W. MODEL) เครือข่ายผู้ปกครอง/ชุมชน
ประเมินผล
คนดีใหบ้ ้านเมอื ง
นักเรยี น การเปลีย่ น
เพียง ผูบ้ รหิ าร/ครู แปลง/
ซือ่ สตั ย์ สภาพแวดลอ้ ม พฤตกิ รรม
บง่ ช้ีเชงิ บวก
ทา
รม จิตอาสา การมีส่วนร่วม
พอเพยี ง
เรียน
รรม รบั ผิดชอบ
เรยี น
าปี
check action
ารดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม
ตะเคร
ผ้บู ริหารและครู
คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ นกั เรยี น
(คณุ ธรรมเป้าหมาย+พฤติกรรมบ่งชเ้ี ชิงบวก)
คณุ ธรรมอัตล
(คณุ ธรรมเป้าหมาย+พฤติก
ซอ่ื สตั ย์ จติ อาสา รับผดิ ชอบ ซอ่ื สตั ย์ จติ อาสา
พอเพียง
เขา้ สอนตรงเวลา ดแู ลช่วยเหลอื ใชท้ รพั ยากรใน เข้าสอนตรง เขา้ เรยี นทุกคาบ เสยี สละ
นักเรยี น โรงเรยี นอยา่ ง เวลา ทาการบา้ นดว้ ยตนเอง ชว่ ยเหล
ประหยดั และคมุ้ คา่
แตง่ กายถกู ตอ้ ง เสียสละแบง่ ปัน ประหยัดอดออม ปฏบิ ตั ิตาม อาสาชว่
ตามระเบียบ เพ่อื นครแู ละ หนา้ ที่อย่าง
ปดิ น้าปดิ ไฟเมอ่ื เลิก เต็ม ไม่เอาสมบัตผิ ู้อืน่ มาเป็นของ ช่วยเหล
ข้อตกลง นกั เรียน ใช้ ความสามารถ ตัวเอง ดว้ ยควา
กินขา้ วใหห้ มดจาน ส่งแผนการ
ไมเ่ บยี ดเบียน ชว่ ยเหลอื ชุมชน ด่ืมน้าให้หมดแก้ว จัดการเรียนรู้
เวลาราชการ และสังคม สอนเตม็
ศกั ยภาพ
เข้าแถวและทา อุทศิ เวลา
กจิ กรรมตาม
ข้อตกลง เดนิ แถวทกุ ครั้งทุกเวลา ชว่ ยเหล
ชุมชนแ
ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดความ เป็นแบบอย่างทด่ี ี
แตกแยกใน ให้แก่นกั เรียน ไม่ทะเลาะววิ าท
องค์กร
แบ่งปนั มีความเผอ่ื ทิ้งขยะลงถงั
ปฏบิ ัติงานโปร่งใส แผ่
เช่ือถอื ได้
พดู จาสุภาพและพดู ความ
ไม่นาสมบัติ จริง
ราชการมาเปน็
ของส่วนตวั รักษาทรพั ยส์ ินของ รร.
ครตู น้ แบบ ไมเ่ ลน่ การพนนั /ยาเสพติด
ภาพที่ 5 โมเดลการบริหา
รียะโมเดล ๕๗
สภาพแวดล้อม การมสี ว่ นรว่ ม
คุณธรรมทกุ ที่ ความดที ัง้ โรงเรยี น
ลักษณ์
กรรมบง่ ชีเ้ ชิงบวก)
พอเพียง รบั ผดิ ชอบ การพัฒนา ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วม
สภาพแวดลอ้ ม
ะ ใช้จ่ายประหยัด/ สง่ งานตามกาหนด โครงงานคณุ ธรรม นักเรียน
ลือ ออม กิจกรรมเขตพื้นท่ี บุคลากร
วยเหลือ ช่วยเหลอื งาน ทาเวรกวาด หนึ่งห้องเรยี นหนง่ึ เครอื ข่ายผปู้ กครอง
ผ้ปู กครอง ห้องเรียน พน้ื ท่ีทากิน
ลอื เพื่อน ปดิ น้าปิดไฟเมือ่ ปฏิบัติตนตาม กิจกรรมสนบั สนุน ๔H เครือขา่ ยชมุ ชน
ามเต็มใจ ไมใ่ ช้ หนา้ ท่ีทีไ่ ด้รบั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน อบต./กระทรวง
มอบหมายอยา่ ง พลงั งาน
ลืองาน กนิ ขา้ วใหห้ มด เครง่ ครดั โดยไม่ กจิ กรรมตายายยา่ น มยส/สผผ/สพม สข สต
และสงั คม จานดม่ื น้าให้หมด ต้องบังคบั
แกว้ ปฏบิ ัติตนตาม
รู้จกั แบง่ ปันและ กฎระเบยี บของ
เผ่อื แผ่ผู้อนื่ สงั คม/โรงเรียน
ดูแลสมบตั ขิ อ มีผลการเรียนพึง
โรงเรยี น ประสงค์
ปลกู ผกั กินเอง
นกั เรียนตน้ แบบ บรบิ ท สภาพแวดลอ้ ม
ารงานโรงเรียนคณุ ธรรม “ตะเครียะโมเดล” เครอื ขา่ ย เออื้ ตอ่ การพฒั นา
58
การดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม
ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖3 โรงเรียนได้ดาเนนิ การโรงเรียนคุณธรรมตามคุณธรรมอตั ลกั ษณ์
ของโรงเรยี น ซื่อสัตย์ จติ อาสา พอเพียง รับผดิ ชอบ มีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ 30 ผลการดาเนนิ งานโรงเรยี นคุณธรรม
คุณธรรมอัตลกั ษณ์
คุณธรรม พฤตกิ รรมบ่งชีเ้ ชิงบวก
เปา้ หมาย
ซื่อสัตย์ ผบู้ รหิ าร ครู นกั เรียน
จติ อาสา 1. แต่งกายถูกต้องตามระเบยี บ 1. เข้าสอนตรงเวลา 1. เขา้ เรยี นทุกคาบ ทา
และข้อตกลง 2. แต่งกายถกู ต้องตาม การบา้ นดว้ ยตนเอง
2. ไม่เบยี ดเบยี นเวลาราชการ ระเบียบและข้อตกลง 2. ไมเ่ อาสมบตั ิผู้อนื่ เปน็ ของ
3. เข้าแถวและรว่ มกจิ กรรม 3. ไม่เบียดเบียนเวลา ตนเอง
ตามข้อตกลง ราชการ 3. เดนิ เปน็ แถวทุกครัง้ ทุกท่ี
4. ไม่ก่อใหเ้ กิดความแตกแยก 4. เขา้ แถวและร่วม ทกุ เวลา
ในองค์กร กิจกรรมตามข้อตกลง 4. ไม่ทะเลาะวิวาท
5. ปฏบิ ัตงิ านโปร่งใส 5. ไม่กอ่ ใหเ้ กิดความ 5. ท้ิงขยะลงถัง
ตรวจสอบได้ แตกแยกในองค์กร 6. พูดจาสุภาพและพูดความ
6. ไมน่ าสมบตั ิราชการมาเป็น 6. ปฏิบตั ิงานโปรง่ ใส จริง
ของส่วนตวั ตรวจสอบได้ 7. รกั ษาทรพั ยส์ นิ ของ
7. ไม่นาสมบัตริ าชการ โรงเรียน
มาเป็นของส่วนตัว 8. ไม่เล่นการพนัน
9. ไมย่ ่งุ เกี่ยวยาเสพติด
1. ช่วยเหลือนกั เรยี นและครู 1. ช่วยเหลือนักเรียน 1. เสียสละช่วยเหลืองาน
2. เสียสละแบ่งปันเพ่ือครูและ และครู โรงเรียน
นกั เรยี น 2. เสียสละแบ่งปันเพ่ือ 2. อาสาชว่ ยเหลอื ครู
3. ชว่ ยเหลอื ชุมชนและสังคม ครูและนักเรยี น 3. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยความ
3. ช่วยเหลือชุมชนและ เตม็ ใจ
สังคม 4. ช่วยเหลืองานชุมชนและ
สังคม
59
คณุ ธรรมอตั ลักษณ์
คณุ ธรรม พฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชิงบวก
เปา้ หมาย
พอเพียง ผ้บู ริหาร ครู นักเรียน
รบั ผิดชอบ 1. ใช้ทรัพยากรในโรงเรียน 1. ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ใ น 1. ใชจ้ า่ ยประหยัด อดออม
ประหยัด และคุม้ คา่ ท่สี ดุ โรงเรียนประหยัด และ 2. ชว่ ยเหลอื งานผปู้ กครอง
2. รู้จักออม ประหยัด วาง คุม้ คา่ ท่ีสุด 3. ปดิ นา้ ปดิ ไฟเม่ือเลกิ ใช้
แผนการใช้จ่าย 2. รู้จักออม ประหยัด 4. รู้จักแบง่ ปันและเผอ่ื แผ่
3. ปดิ น้าปดิ ไฟเม่อื เลิกใช้ วางแผนการใช้จา่ ผ้อู ่ืน
4. กินข้าวให้หมดจาน ด่ืมน้าให้ 3. ปิดน้าปิดไฟเม่ือเลิก 5. ดแู ลทรัพยส์ มบตั ิของ
หมดแกว้ ใช้ โรงเรียน
5. เป็นแบบอย่างท่ีดีในทุกๆ 4. กินข้าวให้หมดจาน 6. ปลูกผกั กินเอง
เร่อื งใหก้ ับนกั เรยี น ดมื่ น้าใหห้ มดแกว้
6. แบ่งปนั และมคี วามเผื่อแผ่ 5. เป็นแบบอย่างท่ีดีใน
ทกุ ๆ เรอ่ื งให้กับนักเรียน
6. แบ่งปันและมีความ
เผือ่ แผ่
1.ปฏิบัติตามหน้าที่อย่างเต็ม 1.เขา้ สอนตรงเวลา 1.สง่ งานตามกาหนด
ความสามารถ 2.ปฏิบัติตามหนา้ ท่ีอย่าง 2.ทาเวรกวาดห้องเรียน
2.ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรม เตม็ ความสามารถ 3.ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ บั
ของนกั เรียนและครู 3.ส่งแผนการจัดการ มอบหมายอยา่ งเคร่งครัดโดย
3.เข้าแถวและร่วมกิจกรรมตาม เรยี นรู้ ไมต่ ้องบังคับ
ขอ้ ตกลง 4.สอนเต็มศักยภาพ 4.ปฏบิ ตั ิตนตามกฎระเบียบ
ของสังคม/โรงเรียน
5.มีผลการเรยี นพึงประสงค์
60
โครงงานคณุ ธรรม
โครงงานคุณธรรมของโรงเรียนท่ีโดดเด่นด้านต่างๆ เช่น วิธีดาเนินงาน กิจกรรม ผลสาเร็จท่ีเกิดข้ึน การมี
ส่วนรว่ ม เป็นตน้
ตารางที่ 31 โครงงานคุณธรรมของโรงเรยี นตะเครียะวทิ ยาคม
ช่ือโครงงาน คุณธรรมเป้าหมาย ความโดดเด่น ผูร้ ับผดิ ชอบ
(ระบคุ วามโดดเด่นโดยสังเขป) โครงงาน
๑. โครงงาน / กิจกรรม
คณุ ธรรม - ซอ่ื สัตย์ 1. เป็นโครงงานทีคิดและทา นักเรียนแกนนา
ศูนยก์ ารเรียนรวู้ ิถีพุทธวถิ ี
ธรรม - จิตอาสา จาก”ปัญหาที่อยากแก้ ความ สภานกั เรียน
- นอ้ งไหว้พี่ /ยิ้มไหวท้ ักทาย - พอเพียง ดที ่ีอยากทา” ในสถานศึกษา
- มัคทายกน้อย
- น่งั สมาธิก่อนเรียน - รับผิดชอบ แบบมสี ว่ นร่วม สอดคลอ้ งกับ
- หน่งึ ห้องเรยี น หนงึ่ วันธรรม
บริบทของโรงเรียนและชุมชน
สวนะ.
2. โครงงาน /กิจกรรมส่งเสรมิ ท้องถน่ิ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
2. เปน็ โครงงานที่มีกระบวนการ
- การทานา
- การปลูกปาลม์ วธิ ีการแก้ปัญหาอย่างชดั เจน
- ๑ ห้องเรียน ๑ พืน้ ท่ีทากิน
- ธนาคารโรงเรยี น โดยใช้กระบวนการมีสว่ นรว่ ม
๓. จิตอาสาพากนั ทา และแก้ปัญหาไดจ้ ริง
- ตายายย่าน
- เรารกั ต.ว. 3. เป็นโครงงานทส่ี อดคล้องกบั
- ๑ ห้องเรยี น ๑ โครงงาน
คุณธรรม พฤติกรรมบง่ ช้เี ชิงบวกใน
ตารางคุณธรรมอัตลกั ษณ์ของ
นกั เรยี น ครู ผู้บริหารชัดเจน
4. เปน็ โครงงานทีไ่ ด้รับความ
ร่วมมือและการมีสว่ นร่วมจาก
ครอบครวั และชุมชน
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกบั
วยั และสอดคล้องกบั ความ
สนใจของนักเรยี น
6. เปน็ โครงงานที่นกั เรียนได้
เรียนรู้ เพมิ่ พนู ทัง้ ดา้ นความรู้
ทกั ษะการปฏิบตั ิ และ
คุณธรรม ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิต
ได้
61
ผลการดาเนนิ งานท่เี กดิ ขน้ึ
1. แนวปฏิบัติที่ดีที่พบจากการดาเนินงาน (Best Practice) (อาจเป็นวิธีดาเนินการท่ีก่อให้เกิดผล
ในทางท่ีดีด้านต่าง ๆ เช่น การกาหนดแผนงาน การบริหารจัดการ การขับเคลื่อนเพื่อสร้างการยอมรับ
การสร้างการมีส่วนร่วม การเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ การสร้างความต่อเนอื่ งเพอื่ ให้เกิดความ
ยัง่ ยนื เปน็ ต้น)
1) มีความโดดเด่นในเรื่องการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรมตาม “หลักการ และกระบวนการ
ดาเนินงานโรงเรยี นคุณธรรม สามารถนาหลักการและกระบวนการสูก่ ารปฏิบัติจริงอย่างบูรณาการ เป็นระบบ
ทแ่ี ละมีประสิทธภิ าพ เกดิ ประสทิ ธิผลตามเป้าหมาย
2) มีเคร่ืองมือและกลไกขับเคล่ือนการพัฒนาสู่เป้าหมาย คือการกาหนดนโยบายของโรงเรียน
การวางแผนปฏิบัติการประจาปีโดยการประชุมร่วมกัน กาหนดนโยบายการพัฒนาคุณธรรมของโรงเรียน
เพ่ือบูรณาการเข้าสู่การทางานปกติในทุกฝ่ายงานของโรงเรียน เช่น งานวินัยนักเรียน งานพัฒนาการเรียน
การสอน งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมสภานักเรียน มีการกาหนดแผนพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
ไว้ในแผนปฏิบตั ิการประจาปี
3) การกาหนดกลยุทธ์ในการพัฒนา โดยสร้าง “ตะเครียะโมเดล” ขึ้นเป็นแนวทางในการพัฒนา
โรงเรียนคุณธรรมอย่างชัดเจน โดยมีการประชุมชี้แจงให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบและมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
ทาท้งั โรงเรยี น
4) การจัดตัง้ ศูนย์การเรียนรคู้ ุณธรรม 4 ศูนย์เป็นฐานในการพัฒนาคุณธรรม ประกอบด้วย “ศนู ยก์ าร
เรียนรตู้ ามรอยพ่อวถิ ีพอเพยี ง” “ศนู ย์จิตอาสาพากันทา “ศนู ยว์ ิถีพทุ ธ วิถธี รรม” “ศูนยค์ รอบครวั พอเพียง”
2. องค์ความรู้ท่ีเกิดขึ้น (Knowledge) (ความรู้ท่ีเกิดขึ้นและนาไปใช้เพ่ือให้การดาเนินงานประสบ
ความสาเรจ็ / องค์ความรทู้ ่ีเกิดขนึ้ ระหวา่ งการดาเนนิ งานอันเป็นผลมาจากการปฏบิ ัติงาน)
1) มีองค์ความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการพัฒนาโรงเรียนคณุ ธรรมท่ีเป็น Tacit Knowledge
อยู่ในตัวผู้บริหาร ครู และนักเรียน ซ่ึงได้รับจากประสบการณ์ตรงในการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรมและการ
จัดทาโครงงานคุณธรรมที่ผ่านมา ที่สามารถนามากลั่นกรองและถอดบทเรียนออกมาเป็น Explicit
Knowledge ต่อไป
2) มีองค์ความรู้ที่เกิดจากการจัดทาโครงการ /โครงงานต่าง ๆ ของครูและนักเรียน เร่ืองการทานา
การปลูกปาลม์ การปฏิบตั ิศาสนกิจและศาสนพิธี ฯลฯ โดยมี 4 มีศูนย์การเรียนรู้ (ศูนย์การเรียนรู้ตามรอยพ่อ
วิถีพอเพยี ง ศูนย์จิตอาสาพากันทา และ ศูนย์วิถีพทุ ธ วิถีธรรม “ศูนย์ครอบครัวพอเพยี ง” ) ท่ีจดั ต้ังขึ้นเป็นฐาน
ให้ท้ังความรู้ ฝึกทกั ษะปฏิบตั ิ และคณุ ธรรมจริยธรรม
3. นวัตกรรมท่ีเกิดข้ึน (Innovation) (นอกเหนือจากชิ้นงาน งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ
ของโรงเรียนที่ทาขึ้นเพื่อใช้ในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหาร ครู นักเรียน อาจเป็นการดาเนินการ
หรือกระทาส่ิงต่าง ๆ ด้วยวิธีการใหม่ๆ ของโรงเรียนในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม และยังอาจหมายถึง การ
เปลย่ี นแปลงทางความคดิ หรอื กระบวนการ ทเ่ี กิดขน้ึ จากการดาเนินงานพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม)
1) “ตะเครียะโมเดล” เป็นรูปแบบที่นาหลักการและกระบวนการพัฒนาโรงเรียนโรงเรียนคุณธรรม
ของ มยส./มยพ. ท่ีใช้เป็นหลักและแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม มาบูรณาการกับภารกิจต่าง ๆ
ของโรงเรียน เพ่ือใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบ ไดแ้ ก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน สภาพแวดล้อม และการมีสว่ น
ร่วมของทกุ ภาคส่วน
62
2) “ 5 ส.คุณธรรมสู่ความดีที่ยั่งยืน” เป็นกระบวนการในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมของ
โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ท่ีได้พัฒนาขึ้นใช้ โดยนา 6 ขั้นตอนในกระบวนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
ของมูลนธิ ยิ วุ สถิรคุณมาบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทของโรงเรียนและชุมชนทอ้ งถ่ิน ประกอบด้วย
- ส1. การสื่อสารสร้างความเข้าใจและแรงบันดาลใจ ของบุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและ
ชุมชน
- ส2. การสร้างการมสี ว่ นร่วม ของนักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง ชมุ ชนและหนว่ ยงานต่าง ๆ
- ส3. การสอบถามตดิ ตามความกา้ วหนา้ (AAR) ซง่ึ ดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผา่ นครทู ปี่ รึกษา
โครงงาน ครแู กนนา และฝ่ายบริหารตามลาดับช้ัน ซงึ่ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ รว่ มแก้ปัญหา
- ส4. การส่งเสริมสนับสนุนและเสริมแรง มกี ารเสริมแรงเชิงบวกเพื่อสรา้ งขวัญกาลงั ใจให้แก่
นักเรยี น
- ส5. การสรา้ งเครือขา่ ย มกี ารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และสร้างเครือขา่ ยโรงเรียนคุณธรรม
4. ผลกระทบที่เกิดขึ้น (Impact) ผลพลอยได้ท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม เช่น
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน อตั ราการออกกลางคัน ระดบั ความร่วมมือของชุมชน หรืออัตราการศึกษาตอ่ ในระดับ
ท่ีสูงขึ้น ท้ังนี้ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต้อง สามารถเชื่อมโยงสัมพันธ์อันเป็นผลมาจากการกาหนดคุณธรรม
เปา้ หมาย/พฤตกิ รรมบ่งช้ีเชงิ บวก หรือวิธีบรรลุเปา้ หมายการเปลีย่ นแปลงอ่ืน ๆ ตามที่โรงเรยี นกาหนดได้
1) โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม เป็นที่ยอมรับ ผู้ปกครอง ชุมชน เช่ือถือศรัทธาและให้ความร่วมมือกับ
โรงเรียนเป็นอย่างดี มโี รงเรียนในพื้นทเ่ี ขา้ ร่วมเป็นโรงเรียนเครือข่าย ขยายผลสูโ่ รงเรยี นในพื้นทีแ่ ละชมุ ชน
2) ตะเครียะวิทยาคมเป็นแหล่งเรียนรู้โรงเรียนคุณธรรมจริยธรรม ท่ีมีผู้บริหาร ครู นักเรียนจาก
โรงเรียนต่าง ๆในภาคใต้ มาศึกษาดูงานอย่างไม่ขาดสาย ทาให้ผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้เกี่ยวข้องมีความ
ภาคภูมใิ จ เป็นแรงจูงใจในการดาเนนิ การของผ้บู รหิ าร ครู นักเรียน ตลอดจนชุมชนท้องถ่ินที่ใหก้ ารสนับสนนุ
5. ประเด็นหรือขอ้ คน้ พบใหมอ่ นื่ ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ (New Findings)
๑) แนวทางการบรหิ ารโรงเรียนตะเครยี ะวทิ ยาคม “UCDA MODEL”
๒) โครงงานคณุ ธรรมของผบู้ ริหาร และครู ได้แกโ่ ครงงานคุณธรรม แต่งกายสไตล์ ตว. โครงงาน
คณุ ธรรม กิจกรรมยามเชา้ โครงงานคุณธรรม ตายายย่าน อันตรธาน ๐ ร มส.
๓) โรงเรยี นได้รับคดั เลือกจากสานักงานวัฒนธรรมจงั หวัด ให้เป็น องค์กรคณุ ธรรม
๔) มลู นิธิครอบครัวพอเพยี ง ประกาศจัดตง้ั ใหโ้ รงเรียนตะเครียะวทิ ยาคม เปน็ ศนู ย์ครอบครัวพอเพียง
ลาดบั ที่ ๒๒๓ เพอื่ การสบื สานศาสตรพ์ ระราชาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ณ วนั ที่ ๑๐ ธันวาคม
๒๕๖๒
๕) โรงเรยี นได้จดั ทา เวบ็ ไซด์ ประชาสมั พนั ธ์ กจิ กรรมในการดาเนนิ งานของนักเรียนผ่าน
http://www.takrear.ac.th
ตารางท่ี 32 แสดงผลงานที่ต้องการประเมนิ ความโดดเด่นในการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี
ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา ระดบั คุณภาพ
C1 C2 C3
ความสามารถด้านวิชาการควบค่คู ุณธรรม
เร่ือง โรงเรยี นคณุ ธรรม
63
ร่องรอยหลักฐาน/เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง
คาสั่ง/ประกาศแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓
คาส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทารายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
ประกาศใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ประกาศค่าเปา้ หมาย
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
คู่มอื /แนวทาง/คาอธบิ ายการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษา จาแนกแตล่ ะระดับช้นั
ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน
ผลการสารวจการศึกษาต่อ
ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
รางวัลความสาเรจ็ สถานศกึ ษา/ผู้บรหิ าร/ครู/นักเรียน
ภาพกจิ กรรม
หมายเหตุ ร่องรอยหลกั ฐาน/เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สามารถดาวน์โหลดผา่ นทาง QR code
64
คณะผจู้ ดั ทาเอกสารรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
โรงเรยี นตะเครียะวิทยาคม
๑. นางสาวชุฏิมา อินทร์จันทร์ ประธาน
๒. นายบรรจง สขุ ขวด คณะทางาน
๓. นายอาทร แดงช่วย คณะทางาน
๔. นางปานเลขา น่ิมมา คณะทางาน
๕. นางสาวอมรรตั น์ มุสกิ ะโรจน์ คณะทางาน
๖. นางสาวจิราภรณ์ เพช็ รรตั น์ คณะทางาน
๗. นางสาวอังศุมาลนิ ชชู ่วง คณะทางาน
๘. นางสาวเนตรนภา หยมู าก คณะทางาน
๙. นายกิตศิ ักดิ์ สสี วนแกว คณะทางาน
๑๐. นางสาวยามลี ๊ะ ยีหะ คณะทางาน
๑๑. นางสาวอมุ ารินทร์ บุญเก้ือ คณะทางาน
๑๒. นายยอดยิ่ง สุขขี คณะทางาน
๑๓. นายธวชั ชัย นาคฤทธ์ิ คณะทางาน