The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระคริสตธรรมคัมภีร์ฉบับศึกษา ผู้เผยพระวจนะสมัยอาณาจักรบาบิโลน พระคัมภีร์ฉบับศึกษาเขียนโดยคนไทย ตรวจโดยผู้เชียวชาญต่างประเทศระดับสากล ด้านในเล่มมีส่วนสำหรับให้บันทึกส่วนตัว มีรูปภาพจำลองพระนเวศเพื่อให้เข้าใจมากขึ้น ท้ายเล่มมีประมวลศัพท์ แผนที่
หน้าพิเศษชนชาติมหาอำนาจสมัยโบราณ เรียงลำดับก่อนหลังตามเวลาของการเป็นมหาอำนาจ
พิมพ์หมึก soy ink ใช้กระดาษถนอมสายตา
ISBN : 978-616-339-143-8
ขนาดเล่ม 16X23X1 ซม. ราคา 170 บาท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tbsbookshop, 2020-07-29 18:39:42

พระธรรมเอเสเคียล ฉบับศึกษา

พระคริสตธรรมคัมภีร์ฉบับศึกษา ผู้เผยพระวจนะสมัยอาณาจักรบาบิโลน พระคัมภีร์ฉบับศึกษาเขียนโดยคนไทย ตรวจโดยผู้เชียวชาญต่างประเทศระดับสากล ด้านในเล่มมีส่วนสำหรับให้บันทึกส่วนตัว มีรูปภาพจำลองพระนเวศเพื่อให้เข้าใจมากขึ้น ท้ายเล่มมีประมวลศัพท์ แผนที่
หน้าพิเศษชนชาติมหาอำนาจสมัยโบราณ เรียงลำดับก่อนหลังตามเวลาของการเป็นมหาอำนาจ
พิมพ์หมึก soy ink ใช้กระดาษถนอมสายตา
ISBN : 978-616-339-143-8
ขนาดเล่ม 16X23X1 ซม. ราคา 170 บาท

Keywords: พระธรรมเอเสเคียล ฉบับศึกษา

พระครสิ ตธรรมคมั ภีรฉ์ บับศกึ ษา
ผู้เผยพระวจนะ สมยั อาณาจักรบาบโิ ลน

เอเสเคียล

Study Bible for the Prophetic Book in Babylonian Period :

Ezekiel



พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บบั ศกึ ษา ผเู้ ผยพระวจนะ สมยั อาณาจกั รบาบโิ ลน

เอเสเคยี ล

SEztuekdiyel Bible for the Prophetic Book in Babylonian Period :

สงวนลขิ สทิ ธ ์ิ 2020 โดยสมาคมพระครสิ ตธรรมไทย
พระคมั ภรี ์ : จากพระครสิ ตธรรมคมั ภรี ์ ฉบบั มาตรฐาน
ภาพ : Horace Knowles © The British & Foreign Bible Society 1954, 1967, 1972
Copyright © 2020 Thailand Bible Society
Thai Scripture Text : The Holy Bible, Thai Standard Version
Illustrations : Horace Knowles © The British & Foreign Bible Society 1954, 1967, 1972

พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บบั ศกึ ษา ผเู้ ผยพระวจนะ สมยั อาณาจกั รบาบิโลน เอเสเคียล นส้ี งวนลขิ สทิ ธ์ิ
และจดั พมิ พจ์ �ำ หนา่ ยโดยสมาคมพระครสิ ต­ธรรมไทย การอา้ งองิ หรอื การน�ำ เนอ้ื ความของพระครสิ ตธรรม
คมั ภรี ฉ์ บบั นไ้ี ปใชใ้ นการจ�ำ หนา่ ย ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากสมาคมฯ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร และในกรณที ก่ี าร
อา้ งองิ เปน็ เนอ้ื ความยาวตอ้ งมขี อ้ ความแสดงการเปน็ เจา้ ของลขิ สทิ ธก์ิ �ำ กบั ดงั น้ี “พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บบั
ศกึ ษา ผ้เู ผยพระวจนะ สมยั อาณาจักรบาบิโลน เอเสเคยี ล สงวนลขิ สทิ ธโ์ิ ดยสมาคมพ­ ระครสิ ตธรรมไทย
ใชโ้ ดยไดร้ บั อนญุ าต”

Quotations of the Study Bible for the Prophetic Book in Babylonian Period : Ezekiel in any
form, must obtain written permission from the publisher. For any long quotation, notice of copy-
right must appear as follows : “Study Bible for the Prophetic Book in Babylonian Period : Ezekiel
© 2020 by Thailand Bible Society. Used by permission.”

พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 : มนี าคม 2020
TBS 2020-2M : ISBN 978-616-339-143-8

จดั พมิ พ์ และเผยแพรโ่ ดย
สมาคมพระคริสตธรรมไทย
319/52-55 ถนนวภิ าวดรี งั สติ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400
โทรศพั ท์ 0-2279-8341 โทรสาร 0-2616-0517
http://www.thaibible.or.th, www.thaibible.net, e-mail:[email protected]

D

คำ�นำ�

เมอื่ เราเผชญิ ความทกุ ขย์ าก ความคาดหวงั ของคนสว่ นใหญค่ อื ตอ้ งการหลดุ พน้ จากความทกุ ขย์ ากนนั้
โดยเรว็ ที่สุด ท�ำ ให้ความจรงิ ถกู บิดเบอื นได้ง่าย ธรรมชาติของคนเรานน้ั มักจะเปิดใจรบั ข่าวดีมากกวา่ ข่าว
ร้าย ดงั นัน้ คนทจี่ ะส่ือสารความจริงที่เป็นขา่ วร้ายจะตอ้ งลงทนุ ลงแรงมากมาย ในการทจ่ี ะส่ือสารความจรงิ
ให้กบั คนทม่ี คี วามคาดหวังทตี่ ้องการรับฟงั แตข่ า่ วดอี ยา่ งเดยี ว

เอเสเคยี ลถกู จบั เปน็ เชลยอยทู่ บ่ี าบโิ ลนรว่ มกบั ประชาชนจากกรงุ เยรซู าเลม็ ผคู้ าดหวงั วา่ จะไดก้ ลบั ไป
บ้านเกิดเมอื งนอนของตนภายใน 2 ปี เพราะพวกเขาเช่ือตามสารที่ผเู้ ผยพระวจนะเทจ็ ได้กลา่ ว ประชาชน
จงึ ตื่นเต้นและดีใจ แตพ่ ระเจ้าตรสั กบั เอเสเคียลในทางตรงกนั ข้าม พระองคท์ รงเปดิ เผยวา่ บาบิโลนจะทำ�­
ลายกรงุ เยรูซาเลม็ ใหพ้ ังพินาศกว่าเดิม พวกท่เี ป็นเชลยอยู่จะไมไ่ ดก้ ลับไปบา้ นเกดิ ในเวลาอนั ใกล้ แตพ่ วก
เขาต้องอยู่ในบาบิโลนต่อไปอีกนาน เมื่อเอเสเคียลต้องถ่ายทอดความจริงนี้ พระเจ้าจึงทรงให้ท่านลงทุน
แสดงออกเชิงสัญลักษณ์ (เผยพระวจนะโดยการกระทำ�) ให้พวกเชลยเห็นว่า อะไรจะเกิดข้ึน ตัวท่านเอง
ตอ้ งทุกขท์ รมานฝ่ายร่างกายอย่างมาก กว่าทปี่ ระชาชนจะใหค้ วามสนใจ

เอเสเคยี ลเปน็ ผเู้ ผยพระวจนะที่ไดเ้ หน็ นมิ ติ มากมาย และค�ำ เผยพระวจนะหลายอยา่ งในพระธรรมเลม่ น้ี
ก็ไดส้ �ำ เรจ็ ในประวตั ศิ าสตร์ แมเ้ อเสเคยี ลจะพดู ถงึ การลงโทษของพระเจา้ ทรี่ นุ แรง แตท่ า่ นก็ไดใ้ หค้ วามหวงั
ถึงพระพรทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตอนั ยาวไกล แม้พระวหิ ารในกรุงเยรซู าเล็มจะถกู ทำ�ลายอยา่ งราบคาบ แต่
ท่านก็ให้นิมิตเกี่ยวกับพระวหิ ารหลังใหม่ ซง่ึ ผู้อา่ นจะได้เห็นภาพจำ�ลองที่ได้จดั ทำ�ขน้ึ ภายในเล่ม

หนังสือเล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์กับการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง เพ่ือนำ�ไปสอนและแบ่ง
ปันให้เกิดผล นอกจากคำ�อธิบายแล้ว ยังมีภาพประกอบเพื่อช่วยให้ท่านจินตนาการตามสิ่งที่บันทึกไว้ใน
พระธรรมเล่มน้ีไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และยงั ไดจ้ ัดพืน้ ท่วี า่ งไว้บางสว่ นสำ�หรับการจดบันทึกสว่ นตวั ของทา่ นเอง

หวงั วา่ พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บบั ศกึ ษานจี้ ะเปน็ พระพรแกท่ า่ น ขอพระวจนะของพระเจา้ เปน็ รากฐาน
ในการเติบโตฝา่ ยจติ วญิ ญาณและเป็นความหวังนิรันดรข์ องทา่ นสบื ไป

สมาคมพระครสิ ตธรรมไทย

E

แนะน�ำ เนอื้ หา

พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บบั ศึกษา ผู้เผยพระวจนะ สมยั อาณาจกั รบาบโิ ลน เอเสเคยี ล

เนอื้ หาของหนงั สอื ประกอบด้วย
1. พระคมั ภรี ฉ์ บบั มาตรฐาน 2011
1.1 เนอ้ื หาพระธรรม (Text) ตรงความหมายในภาษาเดมิ ของพระคมั ภรี ์
1.2 เชงิ อรรถ (Footnote) อธบิ ายบางอยา่ งในเนอ้ื หาพระธรรมเพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจชดั เจน
1.3 ข้ออ้างโยง (Cross Reference) อ้างอิงข้อพระคัมภีร์อ่นื ๆ ท่มี ีเน้อื ความเดียวกันหรือ
คลา้ ยคลงึ กนั
2. ค�ำ น�ำ (Introduction)
2.1 คำ�นำ�ของหมวดพระธรรม ช่วยผ้ศู ึกษาเห็นลักษณะและจุดประสงค์ของแต่ละหมวดใน
พระคมั ภรี ์ เชน่ หมวดเบญจบรรณ หมวดประวตั ศิ าสตร์ หมวดกวนี พิ นธ์ กลมุ่ ปญั ญานพิ นธ์ ฯลฯ
2.2 คำ�นำ�ของพระธรรมแต่ละเล่ม แนะนำ�ผู้ศึกษาเก่ียวกับลักษณะวรรณกรรม เบ้ืองหลัง
ประวตั ศิ าสตร์ หลกั ศาสนศาสตร์ ฯลฯ ของพระธรรมเลม่ นน้ั
3. โครงรา่ งของพระธรรม (Outline) ใหผ้ ศู้ กึ ษามองเหน็ ภาพกวา้ งๆ ของพระธรรมทง้ั เลม่
4. ค�ำ อธบิ าย (Study Note อยบู่ นพน้ื หลงั สฟี า้ ) เปน็ การอธบิ ายบางสว่ นของขอ้ หรอื ทง้ั ขอ้ หรอื ทง้ั ตอน
4.1 อธบิ ายค�ำ หรอื ขอ้ ความทเ่ี ขา้ ใจยาก
4.2 อธบิ ายเบอ้ื งหลงั วฒั นธรรม ศาสนา สงั คม และประวตั ศิ าสตร์
4.3 อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพระคมั ภรี เ์ ดมิ และพระคมั ภรี ใ์ หม่
4.4 อธบิ ายความหมายโดยน�ำ เสนอค�ำ แปลของฉบบั ตา่ งๆ
4.5 เสนอแงค่ ดิ หรอื แนวทางการน�ำ ความหมายพระธรรมมาเกย่ี วโยงกบั ชวี ติ ปจั จบุ นั ในดา้ นตา่ งๆ
ค�ำ อธบิ ายเปน็ ตวั หนาในแถบสขี าว อยรู่ ะหวา่ งสญั ลกั ษณ์
5. บทความพเิ ศษ (Sidebar อยถู่ ดั ลงมาจาก ค�ำ อธบิ าย) อธบิ ายค�ำ ส�ำ คญั หรอื แนวคดิ บางอยา่ งทาง
ศาสนศาสตรใ์ นกรอบของพระธรรมนน้ั ๆ
6. ประมวลศพั ท์ (Glossary อยทู่ า้ ยเลม่ ) อธบิ ายค�ำ หรอื วลที ป่ี รากฏบอ่ ยครง้ั ในพระคมั ภรี ์
7. หนา้ พเิ ศษ (Topical Index อยทู่ า้ ยเลม่ ) อธบิ ายหวั ขอ้ ส�ำ คญั ตา่ งๆ ในพระคมั ภรี ์
8. แผนท่ี (Map) แสดงตำ�แหนง่ ทต่ี ง้ั ของเมอื ง และสถานทส่ี �ำ คญั ในพระคมั ภรี ์
9. รปู ภาพ แผนภาพ ใชป้ ระกอบค�ำ อธบิ ายเพอ่ื เพม่ิ ความเขา้ ใจ
10. บนั ทกึ สว่ นตวั พน้ื ทพ่ี เิ ศษส�ำ หรบั ผศู้ กึ ษาใชเ้ ขยี นบนั ทกึ เพม่ิ เตมิ

F

วธิ กี ารใช้

พระคริสตธรรมคัมภีร์ฉบับศกึ ษา ผู้เผยพระวจนะ สมัยอาณาจักรบาบิโลน เอเสเคียล

1. การอา้ งองิ ค�ำ อธบิ าย
1.1 ดู “ชวี ประวตั ขิ องเอเสเคยี ล” ในค�ำ น�ำ หมายถงึ ใหไ้ ปดคู �ำ อธบิ ายหวั ขอ้ ชวี ประวตั ขิ อง
เอเสเคยี ล ในค�ำ น�ำ พระธรรมเอเสเคยี ล
1.2 ดบู ทความพเิ ศษ “บตุ รมนษุ ยใ์ นพระธรรมเอเสเคยี ล” หมายถงึ ใหไ้ ปดคู �ำ อธบิ ายบทความ
พิเศษ (Sidebar) เร่ือง “บตุ รมนุษย์ในพระธรรมเอเสเคียล” โดยดเู ลขหน้าของบทความพิเศษ
ไดท้ ่สี ารบญั
1.3 ดู “แดนคนตาย” ในประมวลศพั ท์ หมายถงึ ให้ไปดคู �ำ อธบิ ายเรอ่ื ง “แดนคนตาย” ในหนา้
ประมวลศพั ทท์ า้ ยเลม่
1.4 ดแู ผนท่ี 1 (ต�ำ แหนง่ D 4) หมายถงึ ใหไ้ ปดแู ผนท่ี 1 ตรงต�ำ แหนง่ จดุ ตดั ของพกิ ดั แนวนอน
แถว D กบั พกิ ดั แนวตง้ั แถว 4 ทป่ี กหนา้ ดา้ นใน

2. การอา้ งองิ พระคมั ภรี ์
2.1 ดู อพย.20:14 หรอื เทยี บกบั อพย.20:14 หรอื (อพย.20:14) เปน็ การอา้ งองิ ขอ้ พระคมั ภรี ์
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วอยู่ ในทน่ี ห้ี มายถงึ ใหด้ พู ระธรรม อพยพ บทท่ี 20 ขอ้ 14
2.2 ดู 3:23 หรอื เทยี บกบั 3:23 หรอื (3:23) เปน็ การอา้ งองิ ขอ้ พระคมั ภรี ใ์ นเลม่ เดยี วกนั กบั
ทก่ี �ำ ลงั อธบิ ายอยู่ จงึ ไมม่ ชี อ่ื พระธรรมก�ำ กบั
2.3 ดขู อ้ 20 หรอื เทยี บกบั ขอ้ 20 หรอื (ขอ้ 20) เปน็ การอา้ งองิ ขอ้ พระคมั ภรี ใ์ นเลม่ เดยี ว และ
บทเดยี วกนั กบั ทก่ี �ำ ลงั อธบิ ายอยู่ จงึ ไมม่ ชี อ่ื พระธรรมและเลขบทก�ำ กบั
2.4 ดคู �ำ อธบิ าย 4:16 เปน็ การอา้ งองิ ถงึ ค�ำ อธบิ าย (Study Note) ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทก่ี ลา่ วอยู่
ในเลม่ เดยี วกนั กบั ทก่ี �ำ ลงั อธบิ ายอยู่ จงึ ไมม่ ชี อ่ื พระธรรมก�ำ กบั

3. สญั ลกั ษณ์
3.1 สญั ลกั ษณ์ ขน้ึ ตน้ หรอื ลงทา้ ยบทความพเิ ศษ (Sidebar) หมายถงึ ค�ำ อธบิ ายบทความ
พเิ ศษนน้ั ยงั ไมจ่ บและมตี อ่ ในหนา้ ถดั ไป โดยในหนา้ ถดั ไปจะมชี อ่ื หวั ขอ้ บทความพเิ ศษตามดว้ ยค�ำ
วา่ (ตอ่ ) และมสี ญั ลกั ษณเ์ ดยี วกนั ปรากฏอยหู่ นา้ ค�ำ อธบิ ายทต่ี อ่ เนอ่ื งดว้ ย
3.2 สญั ลกั ษณ์ ทา้ ยบทความพเิ ศษ (Sidebar) หมายถงึ บทความพเิ ศษนน้ั อธบิ ายจบแลว้
3.3 สญั ลกั ษณ์ ก�ำ กบั อยหู่ นา้ และหลงั ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ตวั หนาและมกี ารเนน้ แถบสขี าว สว่ น
ขอ้ ความนน้ั ไดน้ �ำ เสนอแงค่ ดิ หรอื แนวทางการน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั (Application)

G

หน้าตวั อยา่ ง

พระคริสตธรรมคมั ภีรฉ์ บบั ศกึ ษา ผู้เผยพระวจนะ สมยั อาณาจักรบาบโิ ลน เอเสเคยี ล

H

สารบญั

พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ฉ์ บับศึกษา ผ้เู ผยพระวจนะ สมัยอาณาจักรบาบโิ ลน เอเสเคียล

ค�ำ น�ำ D
ค�ำ น�ำ หมวดผเู้ ผยพระวจนะใหญ ่ 1
เอเสเคยี ล 12
บทความพเิ ศษ (Sidebar)
19
บตุ รมนษุ ยใ์ นพระธรรมเอเสเคยี ล 105
โกก และ มาโกก 110
นมิ ติ เรอ่ื งพระนเิ วศและเขตแดนใหม ่ 136
อญั มณใี นพระคมั ภรี ์ 137
ประมวลศพั ท ์ 144
หนา้ พเิ ศษ ปกหนา้ ดา้ นใน
แผนท่ี 1 ปกหลงั ดา้ นใน
แผนท่ี 2

เอเสเคยี ลทร่ี มิ แมน่ ำ�้ เคบาร์



ค�ำนำ�

หมวดผเู้ ผยพระวจนะใหญ่

หมวดผู้เผยพระวจนะ เป็นพระธรรมหมวดสุดท้ายในพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมของโปรเตสแตนต์
โดยแบ่งย่อยออกเป็น ผู้เผยพระวจนะใหญ่ (Major Prophets) และผู้เผยพระวจนะน้อย (Minor Prophets)
ท้ังสองหมวดย่อยแตกต่างกันท่ีความยาวของเน้ือหา คือหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่มีเนื้อหายาวกว่าหมวด
ผู้เผยพระวจนะน้อย หมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มได้แก่ อิสยาห์ เยเรมีย์ เพลง
คร่�ำครวญ เอเสเคียล และดาเนียล ส่วนหมวดผู้เผยพระวจนะน้อยประกอบด้วยหนังสือ 12 เล่ม ซ่ึงในพระ
คมั ภรี ฮ์ บี รูไดร้ วมเขา้ เปน็ เลม่ เดยี วและเรยี กชอื่ วา่ “หนงั สอื สบิ สองผเู้ ผยพระวจนะ” (The book of the Twelves)
อนั ได้แกโ่ ฮเชยาจนถึงมาลาคี ลักษณะการประพันธข์ องหนังสือในหมวดผ้เู ผยพระวจนะมีหลายรูปแบบ เชน่
บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ค�ำเทศนา ค�ำตักเตือน ค�ำพิพากษาและข่าวความรอด บทกวี บทเพลงสรรสริญ
บทครำ่� ครวญไว้อาลัย บทสนทนา นมิ ิต ประสบการณ์ ค�ำพยากรณ์

ผเู้ ผยพระวจนะและหน้าท่ี
จากหลกั ฐานทางโบราณคดแี ละหลกั ฐานในพระคมั ภรี ์ (เชน่ ปฐก.20:7; อพย.7:1‑2) พบวา่ ผเู้ ผยพระวจนะ
เป็นที่รู้จักมาแต่โบราณและมีบทบาทส�ำคัญในหลายๆ วัฒนธรรม โดยพื้นฐานแล้วผู้เผยพระวจนะคือผู้ท่ีได้
รับการทรงเรียกจากพระเจ้าเพ่ือภารกิจหรือแผนงานพิเศษบางอย่างของพระองค์ ผู้เผยพระวจนะบางท่าน
อย่างเช่น เอลียาห์ ซามูเอล ฯลฯ อาจไม่ได้เน้นการบันทึกพระวจนะหรือสารจากพระเจ้า แต่พระคัมภีร์ได้
บันทึกชีวประวัติและผลงานที่ท่านท�ำอย่างละเอียด ส่วนหนังสือในหมวดผู้เผยพระวจนะน้ันเป็นงานเขียน
ของกลุ่มผู้เผยพระวจนะที่เป็นนักประพันธ์ ซึ่งได้บันทึกพระวจนะหรือสารจากพระเจ้าไว้เป็นลายลักษณ์
อกั ษรจำ� นวนมากและส่งตอ่ จนสบื ทอดมาถึงเราในปัจจุบนั หน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบของผเู้ ผยพระวจนะเหล่าน้ี
กค็ ือ การกล่าวหรือประกาศพระวจนะของพระเจ้าอย่างสตั ยซ์ ื่อ ไม่ว่าผูฟ้ ัง (หรอื ผอู้ า่ น) จะชอบหรือไมก่ ต็ าม
ในพนั ธสญั ญาเดมิ มคี ำ� ท่ีใชเ้ รยี กผเู้ ผยพระวจนะอยหู่ ลายอยา่ งเชน่ “คนของพระเจา้ ” (1 พกษ.13:1; 17:18,
24) “คนบริสุทธ์ิของพระเจ้า” (2 พกษ.4:9) “ผู้ท่ีมีการดลใจ” (ฮชย.9:7) และ “ผู้ท�ำนาย” (1 ซมอ.9:9‑11)
โดยค�ำว่า ผู้ท�ำนาย (Seer) ในท่ีนี้หมายถึงผู้ที่สามารถเห็นหรือเข้าใจส่ิงที่ผู้อ่ืนไม่อาจเห็นหรือไม่อาจเข้าใจ
นอกจากนย้ี ังมีผู้เผยพระวจนะเท็จดว้ ย (ยรม.23:26) ซง่ึ ตา่ งจากผ้เู ผยพระวจนะแท้ เพราะผเู้ ผยพระวจนะแท้
จะไม่กล่าวถ้อยค�ำของตัวเอง แต่จะกล่าวหรือเผยพระวจนะของพระเจ้า (1 ซมอ.3:19‑21; 1 พกษ.22:19;
ยรม.1:9,12; อมส.1:3; 3:7) โดยท่ัวไปผู้เผยพระวจนะมักเริ่มต้นประกาศถ้อยค�ำด้วยข้อความว่า “น่ีคือพระ
วจนะของพระเจ้า” หรอื บางท่านก็อาจมีโวหารเปิดอย่างเช่นผเู้ ผยพระวจนะอาโมสทกี่ ล่าววา่ “สิงหเ์ ปล่งเสียง
ค�ำรามแล้ว ใครจะไมก่ ลวั บา้ ง? พระยาห์เวห์องคเ์ จ้านายตรสั แลว้ ใครบ้างจะไมเ่ ผยพระวจนะ?” (อมส.3:8)
ถึงแมผ้ ู้เผยพระวจนะมกั มจี ุดเด่นเรือ่ งการกลา่ วถึงเหตุการณ์ในอนาคต แต่การพยากรณ์ก็ไม่ใช่งานหลกั
เสียทเี ดยี ว ค�ำวา่ ผเู้ ผยพระวจนะในภาษาอังกฤษคอื “prophet” ซ่ึงมรี ากมาจากคำ� กรยิ า “to prophesy” อนั
มีความหมายตามพจนานกุ รมวา่ ท�ำนาย หรือ บอกลว่ งหน้า จงึ อาจท�ำใหเ้ ขา้ ใจไปวา่ ผเู้ ผยพระวจนะมีหนา้
ทท่ี �ำนายแต่เรอ่ื งทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคตเท่าน้ัน อย่างไรก็ตาม ในพระคมั ภีร์ฉบบั แปลไทยใชค้ ำ� ว่า “ผเู้ ผยพระ
วจนะ” ซงึ่ มคี วามหมายวา่ เปน็ ผปู้ ระกาศหรอื สอ่ื สารทกุ สงิ่ ทม่ี าจากพระเจา้ โดยอาจเปน็ ไดท้ งั้ เรอ่ื งทจี่ ะเกดิ ขน้ึ
ในอนาคต หรอื พระประสงคข์ องพระเจา้ หรอื ส่งิ ท่กี �ำลังเกิดข้นึ ในปัจจุบัน (ในสมยั ของผ้เู ผยพระวจนะ) ดังนนั้

2
ผู้เผยพระวจนะจึงไม่จ�ำเป็นต้องกล่าวแต่ค�ำพยากรณ์เสมอไป แต่งานหลักของผู้เผยพระวจนะเหล่าน้ีคือการ
เป็นกระบอกเสียงของพระเจา้ ในทุกเรือ่ งท่พี ระองคท์ รงสำ� แดง

ผ้เู ขยี นและช่วงเวลาที่เขียน
หนังสือในหมวดผู้เผยพระวจนะมีช่ือเรียกตามช่ือของผู้เผยพระวจนะ เช่น อิสยาห์ เยเรมีย์ เอเสเคียล
ดาเนียล และแม้ว่าเป็นไปได้ที่หนังสือบางเล่มอาจมีผู้ช่วยเขียนด้วย เช่น บรรดาลูกศิษย์หรือสาวกของ
อิสยาห์ (อสย.8:16) บารุคผู้เป็นอาลักษณ์ของเยเรมีย์ (ยรม.36) ฯลฯ แต่เน้ือหาของหนังสือก็มีความเป็น
เอกภาพ จึงสามารถอา่ นและท�ำความเขา้ ใจเนื้อหาของหนงั สือแตล่ ะเลม่ ไดอ้ ย่างเปน็ หนว่ ยเดียวกนั
ช่วงเวลาที่เขียนหนังสือในหมวดนี้ครอบคลุมตั้งแต่ยุคก่อนไปเป็นเชลยจนถึงหลังกลับจากการเป็นเชลย
ท่ีบาบิโลน คือศตวรรษท่ี 8‑6 ก่อน ค.ศ. โดยผู้เขียนบางคนมีชีวิตอยู่ร่วมสมัยเดียวกันหรืออยู่ในช่วงเวลา
ไล่เลี่ยกนั แต่อาจอยู่ตา่ งสถานท่ี ตา่ งสถานะ และเรม่ิ ปฏิบัตงิ านเผยพระวจนะและเขียนหนังสือในคนละช่วง
เวลากนั ดู “คำ� น�ำ” ของพระธรรมแต่ละเลม่
นอกจากน้ันเนื้อหาของหนังสือแต่ละเล่มในหมวดนี้ยังมีความเก่ียวข้องกับมหาอ�ำนาจของโลกยุค
โบราณอย่างนอ้ ย 4 อาณาจกั รไดแ้ ก่ อยี ิปต์ อสั ซเี รยี บาบิโลน และเปอรเ์ ซีย ดังนนั้ การรู้และคุน้ เคยกบั บริบท
ทางประวัตศิ าสตร์เหลา่ น้จี ะชว่ ยใหเ้ ข้าใจเนือ้ หาของหนงั สอื แต่ละเลม่ ไดก้ ระจ่างขน้ึ

เบื้องหลังทางประวัตศิ าสตร์
ตั้งแต่ปี 930 ก่อน ค.ศ. ชนชาติอิสราเอลได้แบ่งแยกเป็นอาณาจักรอิสราเอล (อาณาจักรเหนือ) กับ
อาณาจักรยูดาห์ (อาณาจักรใต้) เม่ือดูในภาพรวม ท้ังสองอาณาจักรต่างก็ได้ท�ำบาปด้วยการปฏิเสธ
พระเจ้าและหันไปปรนนิบัตินมัสการรูปเคารพหรือพระอื่นๆ พระเจ้าจึงทรงลงโทษพวกเขาด้วยพระพิโรธ
และความหวงแหน โดยให้พวกเขาตกไปเป็นเชลยยังต่างแดนจนกว่าจะครบเวลาที่ก�ำหนดไว้ อย่างไรก็ดี
แมพ้ ระเจ้าทรงกำ� หนดการลงโทษประชากรของพระองค์ไวแ้ ลว้ แต่พระองค์ก็ยังทรงใช้บรรดาผเู้ ผยพระวจนะ
มากล่าวเตือนสติพวกเขาเร่ืองความบาปและศีลธรรมท่ีตกต่�ำในสังคม เรียกให้พวกเขาส�ำนึกผิดและกลับใจ
ใหม่โดยด�ำเนินชีวิตตามทางของพระเจ้าและละทิ้งรูปเคารพกับความบาปชั่วเสีย แต่หากพวกเขายังคงใจ
แขง็ ดื้อดึงต่อไปก็ให้เตรียมพบกบั การลงโทษจากพระองค์
ผู้เผยพระวจนะเหล่านี้ปฏิบัติงานในศตวรรษที่ 8‑6 ก่อน ค.ศ. ซึ่งเป็นช่วงเวลาส�ำคัญในประวัติศาสตร์
สากลดว้ ย เพราะเปน็ ชว่ งท่ีบรรดาชาตมิ หาอ�ำนาจในโลกยุคโบราณต่างพยายามตอ่ สู้ขยายดินแดนเพ่ือเสริม
ความมง่ั ค่งั และม่นั คงให้อาณาจักรของตน และพระเจา้ ก็ไดท้ รงใช้ชนชาติต่างๆ เหลา่ นเี้ องเปน็ เครอ่ื งมอื ของ
พระองค์
ในศตวรรษที่ 8 ก่อน ค.ศ. ชนชาติอัสซีเรียทางตะวันออกเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดและแผ่อาณาเขตมา
ทางตะวันตก จึงเกิดการต่อสู้กับอียิปต์ซ่ึงเป็นมหาอ�ำนาจเก่าแก่ท่ีอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีอิสราเอล
และยูดาห์คัน่ อยตู่ รงกลาง อสิ ราเอลและยดู าหจ์ งึ เปน็ ทห่ี มายปองและตกอยู่ใต้แรงกดดนั จากทกุ ฝ่าย ทง้ั ยังมี
ความขดั แย้งกนั เองอีกดว้ ย พระธรรมอสิ ยาหม์ เี น้อื หาเกย่ี วขอ้ งกับเหตุการณ์ในชว่ งนี้ ซ่ึงตรงกบั รัชสมัยของ
กษัตริย์แห่งยูดาห์ 4 พระองค์คือ อุสซียาห์ (792‑740 ก่อน ค.ศ.) โยธาม (740‑735 ก่อน ค.ศ.) อาหัส
(735‑715 ก่อน ค.ศ.) และเฮเซคียาห์ (715‑686 ก่อน ค.ศ.) ในช่วงน้ีอิสราเอลได้เข้าเป็นพันธมิตรผนึก
ก�ำลังกับซีเรีย ท�ำให้ยูดาห์ย่ิงถูกกดดันมากขึ้น พระเจ้าจึงทรงใช้อิสยาห์มาหนุนใจและเตือนสติกษัตริย์แห่ง
ยดู าห์ใหเ้ ช่อื วางใจและพึ่งพาพระเจา้ ไม่ใชพ่ ง่ึ พามนุษยห์ รือชนชาติใดๆ แล้วพระองค์จะทรงสำ� แดงการชว่ ยกู้
อนั อัศจรรย์แกพ่ วกเขา ในชว่ งปลายศตวรรษนี้ กลุม่ พนั ธมติ รซเี รยี -อสิ ราเอลลว้ นถูกกองทพั อัสซีเรยี ท�ำลาย
จนสน้ิ ชาติ ขณะทย่ี ูดาห์ยังดำ� รงอยตู่ ่อมาได้อีกระยะหนึ่งตามทพ่ี ระเจา้ ตรสั ไวใ้ นพระธรรมอิสยาห์

3
ในศตวรรษท่ี 7 ก่อน ค.ศ. ชนชาติอัสซีเรียเร่ิมอ่อนแอลงในขณะท่ีบาบิโลนซึ่งเคยอยู่ใต้อาณัติกลับ
เข้มแข็งขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถเอาชนะอัสซีเรียและขึ้นเป็นมหาอ�ำนาจแทนในช่วงท้ายศตวรรษ แม้แต่
อียิปต์ก็ยังพ่ายแพ้บาบิโลนและต้องถอยร่นไปเช่นกัน ในช่วงนี้อาณาจักรยูดาห์ดูเหมือนจะปลอดภัยจาก
อัสซีเรีย แต่สถานการณ์ในประเทศกลับแย่ลงเรื่อยๆ โดยเฉพาะในฝ่ายจิตวิญญาณ เพราะชาวยูดาห์ได้หลง
ผิดละทิ้งพระเจ้ากันมากขึ้น เนื้อหาในพระธรรมเยเรมีย์เก่ียวข้องกับช่วงเวลาน้ีซ่ึงครอบคลุมรัชสมัยของ
กษัตริย์แห่งยูดาห์ 5 พระองค์คือ โยสิยาห์ (640‑609 ก่อน ค.ศ.) เยโฮอาหาส (ครองราชย์เพียง 3 เดือน
ในปี 609 ก่อน ค.ศ.) เยโฮยาคิม (609‑598 กอ่ น ค.ศ.) เยโฮยาคนี (598‑597 กอ่ น ค.ศ.) และเศเดคียาห์
(597‑586 ก่อน ค.ศ.) ไปจนถึงช่วงเวลาที่เกดาลิยาห์ได้รับแต่งตั้งจากทางการบาบิโลนให้เป็นผู้ว่าราชการ
มณฑลยดู าห์ (586‑581 ก่อน ค.ศ.) พระเจา้ ทรงใช้เยเรมีย์ให้ประกาศการพิพากษาว่าพระองค์จะทรงลงโทษ
ยูดาห์ผ่านบาบิโลน ท�ำให้ชาวยูดาห์ไม่พอใจเยเรมีย์อย่างรุนแรง แต่ในท่ีสุดกรุงเยรูซาเล็มก็ถูกท�ำลายและ
ชาวยูดาห์ถูกกวาดไปเปน็ เชลยจริงๆ ซ่ึงพระธรรมเพลงครำ่� ครวญมเี นือ้ หาเกี่ยวขอ้ งกับเหตกุ ารณ์ดงั กล่าว
ต้นศตวรรษท่ี 6 ก่อน ค.ศ. เป็นช่วงท่ีชาวยูดาห์ตกเป็นเชลยในบาบิโลน เรื่องราวช่วงนี้เก่ียวข้องกับ
เน้อื หาในพระธรรมเอเสเคยี ลและดาเนยี ล โดยพระธรรมท้ังสองเล่มเล่าเรอ่ื งราวในสมยั เดียวกนั แต่น�ำเสนอ
จากคนละมุมมองและคนละสถานการณ์ เพราะผู้เผยพระวจนะทั้งสองอยู่ต่างสถานที่และมีสถานะต่างกัน
บริบทของดาเนียลคือราชส�ำนักบาบิโลนและเปอร์เซีย ขณะที่บริบทของเอเสเคียลคือชุมชนเชลยชาวยูดาห์
ในช่วงกลางศตวรรษน้ี บาบิโลนเริ่มระส่�ำระสายขณะที่เปอร์เซียเร่ิมเข้มแข็งข้ึนและผนึกก�ำลังกับมีเดีย จน
ช่วงท้ายศตวรรษ กลุ่มพันธมิตรมีเดีย-เปอร์เซียก็ได้ร่วมกันพิชิตบาบิโลน แต่ต่อมามีเดียก็อ่อนแอลง จึง
เหลือเพียงเปอร์เซียเท่าน้ันที่เป็นมหาอ�ำนาจของโลก ในช่วงน้ีเองที่เชลยชาวยูดาห์ได้รับอนุญาตให้กลับถิ่น
ฐานเดิม พวกเขาจึงกลับไปฟื้นฟูบ้านเมืองข้ึนใหม่ และสร้างพระวิหารหลังใหม่ข้ึนแทนที่พระวิหารหลังเดิม
ท่ีถกู ทำ� ลายไปตอนเยรซู าเลม็ ลม่ สลาย
จะเห็นได้ว่าในศตวรรษท่ี 8‑6 ก่อน ค.ศ. เป็นยุคท่ีเต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวายและการเปลี่ยนแปลง
ชนชาติอิสราเอลเวลาน้ันจึงตกอยู่ในการทดลองให้ละทิ้งพระเจ้าไปพึ่งพาพระอื่นๆ และเอาอกเอาใจมนุษย์
ซึ่งพวกเขาก็พ่ายแพ้การทดลองนี้ ทั้งยังปล่อยให้ศีลธรรมในสังคมตกต่�ำลงด้วย จนพระเจ้าได้ทรงพิพากษา
พวกเขา แต่พระองค์ก็ยังประทานความหวังเป็นข่าวดี คือการลงโทษพวกเขาจะเป็นเพียงช่ัวขณะหน่ึง
ภายหลังพระองค์จะทรงน�ำพวกเขากลับมาและฟื้นฟูทุกส่ิงขึ้นใหม่ ทั้งยังมีพระสัญญาเก่ียวกับยุคแห่งพระ
เมสสยิ าหผ์ ูจ้ ะนำ� อาณาจกั รแห่งสันติสุขมาอยา่ งสมบรู ณ์

การจัดหมวดหมใู่ นสารบบคริสเตยี น
ในสารบบพระคัมภีร์ฮีบรูมีการแบ่งและจัดล�ำดับหนังสือหมวดผู้เผยพระวจนะต่างจากสารบบพระคัมภีร์
ของคริสเตียน โดยพระคัมภีรฮ์ ีบรูแบง่ หนังสอื หมวดน้อี อกเป็น “ผู้เผยพระวจนะยุคกอ่ น” (Former Prophets)
และ “ผู้เผยพระวจนะยุคหลัง” (Latter Prophets) หนังสือผู้เผยพระวจนะยุคก่อนหมายถึงก่อนท่ีจะมีการ
บันทกึ เนอื้ หาหรือสารเป็นงานเขยี น (ดู “ผู้เผยพระวจนะและหน้าที่") ไดแ้ กพ่ ระธรรมโยชูวาจนถงึ พงศก์ ษัตริย์
ในขณะทหี่ นงั สอื ผเู้ ผยพระวจนะยคุ หลังซึ่งมีการบันทกึ เนื้อหาหรอื สารดงั ท่ีกลา่ วมานั้นมี 4 เล่มได้แก่ อิสยาห์
เยเรมีย์ เอเสเคียล และหนังสือสิบสองผู้เผยพระวจนะ ส่วนเพลงคร�่ำครวญและดาเนียลจัดอยู่ในหมวดบท
ประพนั ธ์ (หรือหมวดเพลงสดดุ ี ดู ลก.24:44)
ในยุคต่อมา พระคัมภีร์ฉบับเซปทัวจินต์ (พระคัมภีร์พันธสัญญาเดิมฉบับแปลกรีก ซ่ึงมีสัญลักษณ์
LXX) ได้เรียงล�ำดับหนังสือใหม่ และล�ำดับใหม่นี้มีความคล้ายคลึงกับพระคัมภีร์ของคริสเตียนในปัจจุบัน
ดังจะเห็นว่าในสารบบพระคัมภีร์ของคริสเตียนได้จัดหนังสือท้ัง 5 เล่มคือ อิสยาห์ เยเรมีย์ เพลงคร�่ำครวญ
เอเสเคียล และดาเนียล ไว้ด้วยกันเป็นหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ และเรียงล�ำดับตามปริมาณเนื้อหา

4
(ยกเวน้ เพลงคร่�ำครวญ ซึง่ มีเนือ้ หาตอ่ เนื่องจากเยเรมยี )์

เม่ือพิจารณาดูสารบบพระคัมภีร์ทั้งแบบฮีบรูและแบบคริสเตียน จะเห็นได้ว่าหนังสือในหมวดผู้เผย
พระวจนะใหญ่ถูกแยกไว้เป็นหมวดหมู่เฉพาะเสมอ และเน้ือหาของพระธรรมหมวดนี้ยังแสดงให้เห็นพระ
ราชกิจท่ีพระเจ้าทรงกระท�ำแก่ประชาชาติต่างๆ ในระดับประวัติศาสตร์สากลบนพื้นฐานพันธสัญญา ซึ่งบ่ง
บอกว่าพระองค์ทรงเป็นพระเจา้ เท่ียงแท้ของทกุ ประชาชาติบนแผน่ ดนิ โลกในทุกยุคทุกสมยั

หัวเร่ืองหลกั และสาระส�ำคัญ
พระธรรมแต่ละเล่มในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่แม้เขียนข้ึนตามสถานการณ์และมุมมองท่ีต่างกันของ
ผเู้ ขียนในแต่ละสมัย แต่ก็มีหัวเร่อื งหลักทีม่ กั ปรากฏบ่อยๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
ก) วนั แห่งพระยาห์เวห์ (The Day of the Lord)
วลี “วนั แห่งพระยาห์เวห์” หรือ “วนั แห่งพระเจ้า” หรอื “วันสดุ ทา้ ย” เป็นวลที ี่พบมากในพระธรรมหมวด
ผเู้ ผยพระวจนะ ทง้ั อสิ ยาห์ เยเรมีย์ เอเสเคยี ล และพระธรรมอกี หลายเล่มในหมวดผเู้ ผยพระวจนะน้อย แนว
คิดหลักของเร่ืองนี้คือ วันแห่งพระยาห์เวห์เป็นวันเวลาท่ีพระเจ้าจะทรงพิพากษา หรือทรงช่วยกู้และฟื้นฟู
ประชากรของพระองค์ หรือทั้งสองอย่าง โดยใช้แสนยานุภาพของชาติมหาอ�ำนาจ (เช่น อัสซีเรีย บาบิโลน
ฯลฯ) ให้นำ� ภยั พบิ ัตมิ าถงึ ผถู้ ูกพิพากษา อยา่ งไรกต็ าม วลี “วนั แห่งพระยาหเ์ วห์” มกั จะหมายถงึ วันแห่งการ
พิพากษาท้ังหลายก่อนวันอันยิ่งใหญ่ท่ีพระเจ้าจะทรงพิพากษาทุกสิ่งในขั้นเด็ดขาด ซึ่งพระคัมภีร์ใช้ค�ำว่า
“วันทยี่ ง่ิ ใหญข่ องพระเจา้ ” (ศฟย.1:14; มลค.4:5) โดยหมายถงึ วนั สุดทา้ ย (the Last Day) ท่ีพระเจา้ จะทรง
พิพากษามนุษย์ทุกคน เม่ือน้ันพระพิโรธของพระเจ้าจะเทลงบนคนบาปท้ังปวง แต่พระองค์จะประทานพระ
เมตตาคุณแก่คนท่ีซื่อสัตย์ต่อพระองค์ ดังน้ันวันแห่งพระยาห์เวห์จึงมีลักษณะเด่นสองด้านในเวลาเดียวกัน
คอื มที ้ังการพพิ ากษาลงโทษและการชว่ ยกจู้ ากพระเจ้า ดู “วนั แหง่ พระยาหเ์ วห์” ในประมวลศัพท์
ข) พระเมสสยิ าห์ (Messiah)
ค�ำว่า “พระเมสสิยาห์” ในพันธสัญญาเดิมเทียบเท่ากับค�ำว่า “พระคริสต์” ในพันธสัญญาใหม่ ดู
“พระคริสต์” ในประมวลศัพท์ ค�ำน้ีมาจากค�ำฮีบรูว่า มาชีอาฆ (Mashiach) ซึ่งแปลว่า “ผู้ได้รับการเจิม”
(Anointed One) และยังรวมถึงผทู้ ่ีได้รบั เลอื กหรือได้รับการแตง่ ตง้ั ดว้ ย ทัง้ น้บี คุ คลทจ่ี ะตอ้ งรับการเจมิ ได้แก่
ผู้ที่จะด�ำรงต�ำแหน่งกษัตริย์ (วนฉ.9:8; 1 ซมอ.9:16; 10:1; 16:1,12‑13; 2 ซมอ.2:7; 1 พกษ.1:34,39;
19:15-16ก; 2 พกษ.9:1‑3,6; 11:12) หรอื ปโุ รหติ (อพย.28:41; 29:7; ลนต.8:12,30) และในบางครง้ั ผเู้ ผยพระ
วจนะก็ได้รับการเจิมด้วยเพ่ือแสดงถึงการเป็นผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกหรือแต่งต้ัง (1 พกษ.19:16ข; 1 พศด.
16:22) ถึงกระน้ันพระคัมภีร์ก็ไม่ได้เรียกทุกคนที่ด�ำรงต�ำแหน่งเหล่าน้ีว่าพระเมสสิยาห์ ดังนั้นค�ำว่า “พระ
เมสสยิ าห”์ จงึ มักเลง็ ถงึ บคุ คลที่ได้รับการเจมิ หรอื แตง่ ตง้ั เป็นพิเศษนอกเหนือกรณที ่วั ไป
ดว้ ยเหตนุ ี้ พระสญั ญาเรอื่ งพระเมสสยิ าหจ์ งึ เปน็ ขา่ วสารสำ� คญั เรอ่ื งหนงึ่ ในพนั ธสญั ญาเดมิ และเปน็ ความ
หวังส�ำหรับประชากรของพระเจ้า พระสัญญาเรื่องนี้สาวกลับไปได้ถึงสมัยอาดัมและเอวา (ปฐก.3:15) ซ่ึง
พระสัญญาดังกล่าวเป็นข่าวประเสริฐแรกท่ีมนุษย์ได้รับหลังจากล้มลงในบาป (Proto-Evangelium) จากน้ัน
พระเจา้ ยงั ไดท้ รงสัญญาผ่านอับราฮัม อิสอคั ยาโคบ และยูดาห์ (ปฐก.49:10) จนถึงดาวิดผู้ไดร้ ับพระสัญญา
ว่าพระเมสสิยาหน์ ้นั จะมาบงั เกดิ ในตระกลู ของท่าน (2 ซมอ.7:1‑17; 1 พศด.17:1‑15) พวกผ้เู ผยพระวจนะ
จึงให้ความส�ำคัญและอ้างถึงอยู่บ่อยคร้ังว่าพระเมสสิยาห์จะมาทางเชื้อสายของดาวิด โดยอิสยาห์เรียกพระ
เมสสิยาหว์ า่ “หนอ่ แตกจากตอของเจสซี” หรือ “รากของเจสซี” (อสย.11:1,10) สว่ นอาโมสกลา่ ววา่ พระเจา้
จะทรงยก “กระท่อมของดาวิดทลี่ ม้ ลงแล้ว” ตง้ั ข้นึ ใหม่ (อมส.9:11) มีคาหอ์ ธบิ ายวา่ พระเมสสยิ าหจ์ ะมาจาก
บ้านเกิดของดาวิดคือเบธเลเฮม (มคา.5:2) เอเสเคียลประกาศว่าพระเมสสิยาห์ทรงเป็นด่ัง “ดาวิดผู้รับใช้
ของเรา” (อสค.34:23‑24; 37:24‑25)

5
ดังน้ัน ถ้อยค�ำของผู้เผยพระวจนะท่ีกล่าวถึงพระเมสสิยาห์จึงเล็งถึงบุคคลที่พระเจ้าทรงเจิมหรือแต่งตั้ง
ไว้เป็นพิเศษเพื่อมวลมนุษย์ ให้เป็นพระผู้ช่วยให้รอดตามพระสัญญาแรกท่ีพระองค์ประทาน ท่านจะเข้ามา
ในโลกน้ีทางเช้ือสายของดาวิดกษัตริย์แห่งชนชาติอิสราเอล เพ่ือว่าประชาชาติท่ัวโลกจะได้รับพรน้ันร่วมกัน
ด้วย (ปฐก.18:18; 22:18; 26:4; สดด.72:17; มลค.3:12)
ค) กิจพยากรณ์ (Prophetic Acts)
คือการเผยพระวจนะด้วยการแสดงบทบาทประกอบ เป็นส่ือหรือวิธีการสอนรูปแบบหนึ่งซ่ึงพบได้มาก
ในหมวดผู้เผยพระวจนะ โดยใช้ส่ิงของหรือการกระท�ำบางอย่างส่ือสารแทนการพูด เพ่ือให้กลุ่มผู้รับสารนั้น
เหน็ ภาพและเกดิ อารมณร์ ว่ มในเน้ือหาได้งา่ ย วิธีการน้ีมีมาต้ังแต่สมยั โมเสสและผู้เผยพระวจนะยคุ ตน้ ๆ (เช่น
อพย.7:14‑20; 1 ซมอ.15:27‑28; 1 พกษ.11:29‑32; 2 พกษ.13:14‑19) ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ก็มี
ปรากฏอยบู่ อ่ ยครง้ั โดยมที งั้ แบบทเ่ี ปน็ การกระทำ� บางอยา่ งในชว่ งเวลาหนงึ่ หรอื เปน็ การดำ� เนนิ ชวี ติ ในลกั ษณะ
ท่เี ฉพาะเจาะจง กิจพยากรณ์ทพ่ี บในหมวดผเู้ ผยพระวจนะใหญม่ ดี งั ต่อไปนี้
กิจพยากรณ์ในพระธรรมอิสยาห์

1) อิสยาหต์ ้งั ชอ่ื บตุ รชายว่า “เชอารยาชูบ” (คนที่เหลืออยู่จะกลบั มา) (7:3)
2) อิสยาห์ต้ังชอ่ื บุตรชายว่า “อมิ มานเู อล” (พระเจา้ สถิตกบั เรา) (7:10‑17)
3) อสิ ยาห์ตง้ั ช่อื บตุ รชายวา่ “มาเฮร์-ชาลาล-หชั -บัส” (สิง่ ของซึง่ ถูกรบิ อย่างรวดเร็ว) (8:1‑4)
4) อสิ ยาหเ์ ดนิ เปลอื ยกายเพอ่ื แสดงภาพการตกเป็นเชลย (20:1‑6)
กิจพยากรณใ์ นพระธรรมเยเรมีย์
1) เยเรมยี ซ์ ่อนผา้ ป่านคาดเอวเพื่อสื่อถงึ การตกไปเป็นเชลยในตา่ งแดน (13:1‑11)
2) เยเรมีย์ครองชีวติ โสดเพื่อสื่อถึงการเตรยี มพบกับภัยพิบตั ทิ ม่ี าใกล้แลว้ (16:1‑4)
3) เยเรมยี ท์ ำ� เหยือกดนิ ให้แตกเพ่ือสอื่ ถึงการล่มสลายของกรุงเยรซู าเล็ม (19:1‑2,10‑11)
4) เยเรมยี ์สวมแอกเพอ่ื แสดงภาพการตกเปน็ ทาสกษตั ริยบ์ าบิโบน (27:1‑13)
5) เยเรมยี เ์ กบ็ โฉนดการซอื้ ทนี่ าเพอ่ื สอื่ ถงึ การไดก้ ลบั มาแผน่ ดนิ เกดิ อกี ในอนาคต (32:6‑15,25,42‑44)
6) เยเรมยี ์ซ่อนหนิ ก้อนใหญ่ใตท้ างเดินเพื่อสื่อถงึ การพิชติ ดินแดนของกษัตรยิ ์บาบโิ ลน (43:8‑13)
7) เยเรมยี ส์ ง่ั ใหเ้ สไรยาหอ์ า่ นและถว่ งหนงั สอื มว้ นลงแมน่ ำ�้ ยเู ฟรตสิ เพอื่ สอื่ ถงึ การพพิ ากษาอาณาจกั ร
บาบโิ ลน (51:59‑64)
กจิ พยากรณ์ในพระธรรมเอเสเคยี ล
1) เอเสเคียลอยูล่ ำ� พงั และเปน็ ใบเ้ พื่อเรยี กความสนใจใหฟ้ ังคำ� เตอื นจากพระเจา้ (3:22‑27)
2) เอเสเคียลทำ� แบบจำ� ลองการลอ้ มกรุงเยรูซาเล็ม (4:1‑3)
3) เอเสเคียลนอนตะแคงเปน็ สัญลกั ษณก์ ารแบกความผดิ บาป (4:4‑8)
4) เอเสเคยี ลกนิ อาหารท่ีแสดงภาพความทุกข์ล�ำบากเม่ือตกเป็นเชลย (4:9‑17)
5) เอเสเคยี ลใช้ดาบฟนั เสน้ ผมเพอ่ื สอ่ื ถงึ การบกุ พชิ ิตกรงุ เยรซู าเลม็ (5:1‑5,12)
6) เอเสเคียลขนข้าวของผ่านช่องกำ� แพงเพ่อื แสดงภาพการอพยพเมือ่ ตกเปน็ เชลย (12:1‑16)
7) เอเสเคยี ลกนิ ดม่ื ดว้ ยทา่ ทางหวน่ั หวาดเพอ่ื แสดงภาพความหวาดกลวั เมอ่ื ตกเปน็ เชลย (12:17‑19)
8) เอเสเคียลขีดเส้นทางให้ดาบเพ่ือสื่อวา่ กษตั ริย์บาบโิ ลนจะบกุ มาตีเยรูซาเลม็ (21:18‑22)
9) เอเสเคียลงดไว้ทุกข์ให้ภรรยาเพ่อื สื่อถงึ ความทกุ ข์ใจในการตกเปน็ เชลย (24:15‑27)
10) เอเสเคยี ลรวบไมส้ องอนั เปน็ อนั เดยี วเพอ่ื สอื่ ถงึ การรวมชนชาตอิ สิ ราเอลเขา้ ดว้ ยกนั อกี ครงั้ (37:15‑22)

6
ง) การพพิ ากษาบรรดาประชาชาติ (Oracle Against the Nations)

สารอกี ประเภทหนง่ึ ทีพ่ บบอ่ ยในหนงั สือหมวดผู้เผยพระวจนะคอื การพพิ ากษาบรรดาประชาชาติ (Oracle
Against the Nations - OAN) ซึ่งมีเนื้อหาเป็นค�ำกล่าวโทษหรือแจ้งข้อหาชนชาติต่างๆ โดยเฉพาะชาติ
มหาอ�ำนาจหรือชาติท่ีเป็นศัตรูกับประชากรของพระเจ้า แล้วตามด้วยค�ำพิพากษาหรือภัยพิบัติท่ีพระเจ้าจะ
ทรงน�ำมาถงึ ชนชาตนิ นั้ ๆ สารประเภทน้มี ักเก่ียวข้องหรอื ประกาศควบคูไ่ ปกบั เร่อื งวันแหง่ พระยาห์เวห์ (The
Day of the Lord)

ส�ำหรับชนชาตอิ ิสราเอล สารเรื่องการพพิ ากษาบรรดาประชาชาตนิ ับเปน็ ข่าวดแี ละเปน็ ความหวงั เพราะ
เป็นการประกาศวา่ พระเจา้ จะทรงสำ� แดงความยุตธิ รรมด้วยการพพิ ากษาส่ิงทีช่ นชาตเิ หลา่ นนั้ กระทำ� เปน็ การ
แกแ้ คน้ ทพี่ วกเขาโหดรา้ ยทารณุ ตอ่ ประชากรของพระองค์ ขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ การชว่ ยกปู้ ระชากรของพระองค์
ให้รอดพ้นความทุกข์ล�ำบากด้วย นอกจากนี้ยังเป็นการส�ำแดงถึงความเป็นพระเจ้าแห่งสากลโลก เพราะคน
สมัยโบราณเชื่อว่าแต่ละชนชาติมีพระของตนคอยปกป้องดูแล และเม่ือชนชาติใดรบชนะอีกชนชาติหน่ึงก็
แสดงวา่ พระของชาตทิ ช่ี นะนน้ั ยงิ่ ใหญก่ วา่ และมชี ยั เหนอื พระของชาตทิ แี่ พ้ แต่ในสารเรอ่ื งการพพิ ากษาบรรดา
ประชาชาติ พระเจา้ ทรงเปน็ พระเจา้ เดยี วและเปน็ ผกู้ ำ� หนดความเปน็ ไปของทกุ ชนชาตบิ นแผน่ ดนิ โลก ภายหลงั
การพพิ ากษา ทุกชนชาตจิ ะได้รูจ้ ักและย�ำเกรงพระเจา้ ของอสิ ราเอล รวมถึงหนั มาปรนนบิ ัตนิ มสั การพระองค์
และแสดงไมตรตี อ่ ประชากรของพระองค์
จ) ธรรมบัญญัติและพระกิตติคณุ (Law and Gospel)

เราพบรูปแบบหรือแนวคิดเร่ืองธรรมบัญญัติและพระกิตติคุณควบคู่กันเสมอในพระคัมภีร์ตลอดทั้งเล่ม
โดยธรรมบญั ญตั สิ ะทอ้ นพระลกั ษณะดา้ นความยตุ ธิ รรมและความเขม้ งวดของพระเจา้ ในการสนองตอบมนษุ ย์
สว่ นพระกติ ตคิ ุณสะท้อนพระลกั ษณะอันเปี่ยมดว้ ยพระคุณความรกั เมตตาของพระเจ้าในการจัดเตรียมและทำ�
ตามแผนการชว่ ยกหู้ รอื ฟน้ื ฟหู ลงั จากทที่ รงสนองตอบมนษุ ยต์ ามความยตุ ธิ รรมของพระองคแ์ ลว้ (ฉธบ.32:39)
อย่างไรก็ดีพระลักษณะทั้งสองด้านนี้ไม่ได้แยกขาดจากกันหรือขัดแย้งกันเอง เพราะพระเจ้านั้นมั่นคงและ
ไมเ่ ปลยี่ นแปลง เปน็ พระเจา้ ผทู้ รงพระชนมอ์ ยตู่ ลอดไป จงึ ทรงวนิ จิ ฉยั และปฏบิ ตั ติ อ่ มวลมนษุ ยต์ ามความเปน็
จริงท่ีเกิดข้ึนโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานพระลักษณะของพระองค์ ตัวอย่างเน้ือหาท่ีแสดงแนวคิดเร่ืองธรรมบัญญัติ
และพระกิตติคุณในพระคัมภีร์ เชน่

แผนการฟ้นื ฟปู ระชาชาตทิ ว่ั ผืนแผ่นดินโลก ปฐก.11:1-9
ธรรมบญั ญตั ิ การท�ำใหม้ นษุ ยก์ ระจัดกระจายไปทั่วแผ่นดนิ ปฐก.12:1-3
พระกติ ติคุณ การเรียกอับรามเพ่ือชนทกุ ชาตทิ ัว่ โลก
การครอบครองประชากรของพระเจา้ ผา่ นกษตั ริยท์ ีท่ รงต้ังไว้ วนฉ.17:6; 21:25; 1 ซมอ.8
ธรรมบัญญัติ การปล่อยใหป้ ระชาชนท�ำตามใจตนเอง นรธ.4:13‑22; 1 ซมอ.16:1‑13; 2 ซมอ.7
พระกิตติคณุ การจัดเตรยี มราชวงศด์ าวิด
ข่าวประเสรฐิ ที่เปโตรประกาศในกรุงเยรูซาเล็ม กจ.2:32-37,40
ธรรมบัญญัติ พระเจ้าทรงแตง่ ตง้ั พระเยซคู รสิ ต์ทพ่ี วกเขา
กจ.2:38‑39
ได้ตรงึ ไวบ้ นกางเขน

พระกติ ติคณุ พระเจา้ จะทรงยกบาปแกผ่ ู้ทกี่ ลับใจใหม่
และเชื่อวางใจในพระเยซูครสิ ต์

7
ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ก็มีเนื้อหาที่แสดงแนวคิดเร่ืองธรรมบัญญัติและพระกิตติคุณด้วยเช่นกัน
โดยเฉพาะเรื่องการพิพากษาให้ตกไปเป็นเชลยยังต่างแดนเพื่อตีสอนประชากรของพระองค์ (ธรรมบัญญัติ)
และการสงวนคนท่ีเหลืออยู่ไว้และนำ� พวกเขากลับมายังแผ่นดินเดิมอันเป็นข่าวที่หนุนใจและให้ความหวัง
(พระกิตตคิ ุณ)

ศพั ท์สำ� คญั
ในหมวดผูเ้ ผยพระวจนะใหญ่มีศพั ทส์ ำ� คัญจ�ำนวนหนึง่ ที่ใช้บอ่ ยๆ ดงั นี้
ก) การตกเป็นเชลย (Captivity)
คำ� ภาษาฮีบรคู อื กาลาห์ แปลว่า “ย้ายที”่ หรอื “เปิดเผย” เมื่อคำ� น้ปี รากฏในรูปทีม่ ีความหมายเน้นหนัก
ก็มักจะหมายถึง “การน�ำไปเป็นเชลย (ยังต่างแดน)” ในหมวดผู้เผยพระวจนะมักใช้ค�ำนี้เพื่อกล่าวถึงการที่
ชาวยูดาห์ตกไปเป็นเชลยในบาบิโลน (Babylonian Captivity) ครั้งแรกทค่ี �ำนป้ี รากฏในหมวดผ้เู ผยพระวจนะ
ใหญ่คือ อสย.5:13 ค�ำเรียกบรรดาเชลยท่ีถูกน�ำตัวไปบาบิโลนว่า โกลาห์ หรือ กาลูท (ยรม.28:6; 29:1,22)
กม็ รี ากศพั ทม์ าจากคำ� นี้ สว่ นการใชค้ ำ� นเ้ี พอ่ื กลา่ วถงึ การตกไปเปน็ เชลยของคนอสิ ราเอล (ในอาณาจกั รเหนอื )
มปี รากฏเฉพาะใน 2 พกษ.17:5‑6,23 เท่านน้ั
การตกเป็นเชลยเป็นการท่ีพระเจ้าทรงตีสอนลงโทษประชากรของพระองค์ เพราะพวกเขาได้กระท�ำบาป
ด้วยการลืมและปฏิเสธพระเจ้า พระองค์จึงทรงเหว่ียงพวกเขาออกไปเสียจากแผ่นดิน (2 พกษ.17:7‑23;
24:1‑4; ยรม.16:10‑13) และนี่เป็นเหตุการณ์ที่ส�ำคัญมากตอนหนึ่งในประวัติศาสตร์ชนชาติอิสราเอลจนท�ำ
ให้เกิดการแบ่งช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ของชนชาติออกเป็น ยุคก่อนเป็นเชลย (Pre-exilic period) ยุคตก
เป็นเชลย (Exilic period) และยคุ กลับจากการเปน็ เชลย (Post-exilic period) ตามทป่ี รากฏใน มธ.1:17
ในบางคร้ัง สารเรื่องการตกเป็นเชลยก็ปิดท้ายด้วยเรื่องการได้กลับมายังแผ่นดินเดิม ซ่ึงในแง่หน่ึงก็
เป็นสารที่หนุนใจและให้ความหวัง แต่ขณะเดียวกันก็เป็นการประกาศอย่างชัดเจนว่าพวกเขาจะต้องตกเป็น
เชลยจนกว่าจะครบเวลาที่พระเจ้าทรงกำ� หนดไว้ นอกจากนี้สารเร่ืองการตกเป็นเชลยและการกลับจากเป็น
เชลยยังมกั เกีย่ วขอ้ งหรอื มีการกล่าวถึงควบคูไ่ ปกบั เรอ่ื ง “คนทเี่ หลืออย”ู่ ดว้ ย
ข) คนที่เหลอื อยู่ (Remnant)
ค�ำภาษาฮีบรูคือ เชอาร์ แปลว่า “(คนหรือส่ิง) ที่เหลืออยู่” โดยมีรากมาจากคำ� กริยา ชาอาร์ ที่แปลว่า
“หลงเหลือไว้” ในบางกรณีค�ำนี้ยังใช้หมายถึงสิ่ง “อื่นๆ” ได้ด้วย (เช่น 2 พศด.9:29) แต่ในพันธสัญญาเดิม
มักใช้ค�ำนี้ในบริบทที่หมายถึงสิ่งของหรือบุคคลที่เหลือรอดจากสงครามหรือภัยพิบัติ ซึ่งบ่งบอกถึงการที่
พระเจ้าทรงสงวนหรือรักษาไว้ เช่น การท่ีทรงเหลือ 7,000 คนท่ียังซื่อสัตย์ต่อพระเจ้าไว้ในอิสราเอลใน
สมัยของเอลียาห์ (1 พกษ.19:18) ส่วนในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่มักใช้ค�ำน้ีเพ่ือหมายถึงกลุ่มคนท่ีหลง
เหลือจากการล่มสลายของกรุงเยรูซาเล็ม ซ่ึงก็คือชาวยิวท่ีถูกกวาดไปเป็นเชลยนั่นเอง คำ� นี้ปรากฏตั้งแต่ใน
ฉธบ.4:27 อนั เปน็ พนั ธสญั ญาทพี่ ระเจา้ ทรงทำ� กบั ชนชาตอิ สิ ราเอล และอสิ ยาหก์ ็ไดต้ งั้ ชอื่ บตุ รชายคนหนง่ึ ของ
ท่านว่า เชอารยาชูบ (อสย.7:3) แปลวา่ “คนท่เี หลอื อยู่ (เชอาร) จะกลับมา (ยาชูบ)”
ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ ค�ำน้ีปรากฏในพระธรรมอิสยาห์เท่าน้ัน แต่แนวคิดเรื่องดังกล่าวก็มีอยู่
ในพระธรรมเล่มอ่ืนด้วย ส�ำหรับชาวยูดาห์ท่ีอยู่ในเยรูซาเล็มก่อนท่ีกรุงจะล่มสลายนั้น พวกเขาเข้าใจว่า
ตนคือคนท่ีเหลืออยู่ และล�ำพองใจว่าภัยพิบัติได้ผ่านพ้นไปแล้ว จึงไม่ยอมรับผู้เผยพระวจนะท่ีพระเจ้าทรง
ใช้มาว่ากล่าวตักเตือนและดื้อดึงไม่ยอมกลับใจจากบาป (2 พศด.36:11‑14; ยรม.14:13‑16; 23:16‑17;
26:20‑23; 27:9‑10) แต่พระเจ้าทรงส�ำแดงให้เห็นว่าแท้จริงแล้วคนที่เหลืออยู่คือพวกท่ีถูกกวาดไปเป็น
เชลยตา่ งหาก เป็นพวกท่ีพระเจ้าทรงสงวนไว้และจะทรงน�ำกลับมาฟนื้ ฟแู ผ่นดนิ ในอนาคต สว่ นพวกที่ยังคง
อยู่ในเยรซู าเล็มจะตอ้ งประสบภยั พบิ ตั อิ ยา่ งไมอ่ าจหลกี เล่ยี งได้เลย (ยรม.24; อสค.9; 11:14‑17; 14:21‑23;

8
15:6‑8) นอกจากน้ี พระเจ้ายังทรงสงวนชีวิตกษัตริย์เยโฮยาคีน (หรือ เยโคนิยาห์) ผู้เป็นเช้ือสายราชวงศ์
ดาวิดไว้อีกด้วย (2 พกษ.25:27‑30; ยรม.52:31‑34) นี่เป็นความหวังที่ส�ำคัญมากอย่างหนึ่งส�ำหรับพวก
เชลย เพราะเปน็ ไปตามพระสญั ญาวา่ ราชวงศด์ าวิดจะไม่สน้ิ สุด ท้งั ยงั เป็นการรบั ประกันพระสญั ญาเรือ่ งพระ
เมสสยิ าห์ผ้จู ะมาจากเชือ้ สายของดาวดิ ที่พวกเขารอคอย
ค) ครวุ าท (Burden)

คำ� ภาษาฮบี รคู ือ มสั ซา แปลวา่ “สมั ภาระ” หรอื “ของหนกั ” (ที่ตอ้ งแบกหรอื บรรทกุ ไป) ตวั อยา่ งการใช้คำ�
น้ีในความหมายแบบตรงตัวได้แก่ อพย.23:5; ยรม.17:21‑22,24 คำ� นยี้ งั พบไดบ้ ่อยในหมวดผเู้ ผยพระวจนะ
ด้วย โดยมักจะใช้เรียกสารหรือถ้อยค�ำท่ีพระเจ้าทรงเปิดเผยแก่ผู้เผยพระวจนะและทรงให้พวกเขาประกาศ
ออกไป (ตัวอย่างเช่น อสย.13:1; 14:28; อสค.12:10) มักเป็นถ้อยค�ำที่มีเนื้อหารุนแรง จึงได้แปลค�ำน้ีว่า
“ครุวาท” เพ่อื บง่ วา่ เปน็ คำ� พดู หรือสารท่หี นกั แนน่ และรุนแรง ทั้งส�ำหรับผ้รู บั สารนัน้ ๆ และอาจส�ำหรับผ้เู ผย
พระวจนะเองด้วย โดยสารน้นั เปน็ เหมอื นภาระที่หนักอ้ึงอย่ภู ายในจติ ใจและจำ� เปน็ ต้องประกาศออกไปตามท่ี
พระเจ้าทรงบญั ชา ดู “ผเู้ ผยพระวจนะและหนา้ ท่ี”

อย่างไรกต็ าม แม้คำ� น้จี ะใช้บ่อยในหมวดผูเ้ ผยพระวจนะ แต่ในพระธรรมเยเรมยี แ์ ละเพลงครำ�่ ครวญกลับ
ไม่พบการใช้ค�ำน้ี ทั้งนี้เพราะในสมัยของเยเรมีย์เต็มไปด้วยผู้เผยพระวจนะเท็จท่ีคอยแอบอ้างว่าถ้อยค�ำของ
ตนเป็นครวุ าทจากพระเจา้ เช่นกนั พระเจ้าจงึ ทรงใหเ้ ยเรมยี ์เตอื นสติผูฟ้ งั วา่ การท่ีพวกเขาไมร่ จู้ กั แยกแยะว่า
อนั ใดเป็น “ครวุ าท” ท่ีแทจ้ รงิ พวกเขาเองจึงกลายเปน็ “ภาระ” ส�ำหรับพระเจ้า (ยรม.23:33‑34) และเยเรมีย์
จงึ ไม่ใชค้ ำ� นเี้ รยี กสารทท่ี า่ นไดร้ บั จากพระเจา้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งและเปน็ การแยกตวั ออกจากพวกผเู้ ผย
พระวจนะเท็จในสมยั ของทา่ น (ยรม.23:35‑40; พคค.2:14)
ง) ความยุตธิ รรม (Justice, Judgement)

คำ� ภาษาฮบี รูคือ มชิ พาท แปลว่า “ความยตุ ธิ รรม” หรือ “การพิพากษา” หรอื “การปกครอง” โดยหลาย
ครง้ั คำ� นกี้ บั คำ� วา่ เซเดค (ความชอบธรรม) ปรากฏควบคกู่ นั หรอื มแี นวคดิ ใกลเ้ คยี งกนั คำ� วา่ มชิ พาท ปรากฏ
ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ท้ังสิ้น 120 ครั้ง โดยอยู่ในพระธรรมอิสยาห์ 42 คร้ัง เยเรมีย์ 32 ครั้ง และ
เอเสเคียล 43 ครั้ง สว่ นในพระธรรมเพลงครำ่� ครวญปรากฏ 2 คร้ัง (พคค.3:35,59) และในดาเนียลพบเพยี ง
ครั้งเดียว (ดนล.9:5) ค�ำนี้มกั แปลว่าความยุตธิ รรม หรือการพพิ ากษา และบางคร้งั กย็ งั แปลวา่ ความเปน็ ธรรม
ความถูกต้อง ความเท่ียงธรรม และกฎหมายได้ด้วย โดยบ่อยครั้งเม่ือใช้กับพระเจ้ามักมีความหมายในแง่
การปกครองและการพิพากษา ขณะที่เม่ือใช้กับมนุษย์มักจะหมายถึงเรื่องความยุติธรรมในสังคมและในการ
ด�ำเนินชวี ติ

ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ จุดเร่ิมต้นความบาปทั้งสิ้นของชนชาติอิสราเอลนั้นมาจากการที่พวกเขา
ปฏิเสธพระเจ้าและหันไปหารูปเคารพหรือพระอ่ืนๆ ซึ่งในการท�ำเช่นน้ันพวกเขาก็ได้ปฏิเสธแนวทางและกฎ
เกณฑ์ต่างๆ ในธรรมบัญญัติอันเป็นพันธสัญญาระหว่างพระเจ้ากับพวกเขาด้วย ผลของส่ิงเหล่านี้จึงปราก­ฏ
ออกมาในการดำ� เนนิ ชวี ติ และในสภาพสงั คมของพวกเขา (อสย.1:2‑4,21; 59:12‑15; ยรม.1:16; 5:1‑5,24,28;
อสค.20:16; 22:3‑4) เป็นความอยุติธรรมและการท�ำบาปต่อเพ่ือนมนุษย์ในรูปแบบต่างๆ เช่น การทุจริต
รบั สนิ บน การบดิ เบอื นความเปน็ ธรรม การเมนิ เฉยและเอารดั เอาเปรยี บคนทอี่ อ่ นแอกวา่ การหลงมวั เมาเสพ
สุขฝ่ายเนื้อหนัง และการท�ำเร่ืองโหดร้ายทารุณ (อสย.1:23; 59:3‑7; ยรม.5:26‑28; อสค.22:6‑12) ดังนั้น
เมื่อผู้เผยพระวจนะพูดถึงการกลับใจใหม่ ก็มักจะพูดถึงเร่ืองความยุติธรรมในสังคมควบคู่ไปด้วยอย่างแยก
กนั ไมอ่ อก (เช่น อสย.1:16‑20; ยรม.22:13‑17) และเพราะพระเจ้าได้ทอดพระเนตรดูประชากรของพระองค์
แล้วไม่พบ “ความยุตธิ รรม” ภายในพวกเขา พระองคจ์ ึงประทาน “การพิพากษา” ลงมายังพวกเขา (อสย.5:7,
13‑16)

นอกจากน้ี พระคัมภรี ์ยังมักกลา่ วถึงความยุตธิ รรมในลกั ษณะทเ่ี ป็นการกระท�ำเชิงรกุ คอื เปน็ การ “แสดง

9
ความยุติธรรม” หรือ “มอบความเป็นธรรม” เพ่ือผู้อ่ืนและส่วนรวม มากกว่าจะเป็นการเรียกร้องสิทธิหรือ
ความเป็นธรรมให้ตนเอง เช่น การชว่ ยปกปอ้ งหรอื เปน็ ปากเป็นเสยี งแทนคนบางกลมุ่ อยา่ งลกู กำ� พร้า หญิง
มา่ ย คนตา่ งด้าว หรอื คนอนาถา เพ่อื ใหค้ นเหล่านีท้ ี่มกั ถูกละเลยหรือถกู เอารดั เอาเปรียบในสังคมได้รบั ความ
เปน็ ธรรมในเรือ่ งตา่ งๆ
จ) ผูร้ ับใช้ (Servant)

ค�ำภาษาฮบี รคู อื เอเบด แปลว่า “ทาส” หรอื “ผูร้ บั ใช้” ค�ำน้ีมีรากมาจากค�ำกรยิ า อาบาด ซง่ึ นอกจากแปล
ว่า “รบั ใช”้ ยงั แปลได้อกี วา่ “ปรนนบิ ัติ” หรอื “นมสั การ” และในหมวดผู้เผยพระวจนะยงั มกี ารใช้ค�ำวา่ “ผ้รู ับ
ใชข้ องพระยาหเ์ วห”์ โดยหมายถงึ บคุ คลทพ่ี ระเจา้ ทรงใชใ้ หก้ ระทำ� การหรอื ทำ� บางสงิ่ ใหส้ ำ� เรจ็ ตามแผนการของ
พระองค์ ท้ังน้ีโดยไม่ได้เจาะจงหรอื ก�ำหนดตายตัววา่ บุคคลผ้นู ้นั จะเปน็ ใครหรอื รู้จกั พระเจา้ หรอื ไม่ แต่ในบาง
คร้งั คำ� นีก้ ็ใชเ้ ก่ยี วขอ้ งกับเรอ่ื งพระเมสสิยาหด์ ว้ ย ดู “พระเมสสิยาห”์ ใน “หัวเร่อื งและสาระส�ำคญั ”

ในหมวดผเู้ ผยพระวจนะใหญม่ คี ำ� วา่ “ผรู้ บั ใชข้ องเรา (พระยาหเ์ วห)์ ” ปรากฏทงั้ หมด 42 ครง้ั โดยอยู่ในพระ
ธรรมอิสยาห์ 21 ครั้ง เยเรมยี ์ 14 ครัง้ และเอเสเคียล 7 ครั้ง โดยการใชค้ �ำน้ีในพระธรรมอสิ ยาห์น้นั หมายถงึ

1) ผู้เผยพระวจนะอสิ ยาห์เอง (20:3)
2) เอลียาคมิ หรอื เยโฮยาคมิ (22:20)
3) กษตั รยิ ด์ าวิด (37:35)
4) ชนชาตอิ สิ ราเอลหรอื ประชากรของพระเจา้ (41:8‑9; 43:10; 44:1‑2,21; 45:4; 49:3; 65:8‑9,13‑14)
5) พระเมสสิยาห์ (42:1,19; 52:13; 53:11)
ส่วนผรู้ ับใชข้ องพระยาหเ์ วหท์ ่กี ล่าวถึงในพระธรรมเยเรมียน์ ้ันหมายถงึ
1) บรรดาผเู้ ผยพระวจนะในอดีต (7:25; 26:5; 29:19; 35:15; 44:4)
2) เนบคู ัดเนสซาร์ กษัตรยิ ์บาบิโลน (25:9; 27:6; 43:10)
3) ชนชาติอิสราเอลหรอื ประชากรของพระเจ้า (30:10)
4) กษัตริยด์ าวดิ (33:21‑22,26)
5) ยาโคบ บรรพบุรุษของคนอิสราเอลทเ่ี ป็นตวั แทนของชนชาติอิสราเอล (46:27‑28)
และผู้รบั ใชข้ องพระยาห์เวหท์ ่ีกลา่ วถึงในพระธรรมเอเสเคียลนัน้ หมายถึง
1) ยาโคบ บรรพบุรษุ ของคนอสิ ราเอล (28:25; 37:25)
2) กษตั รยิ ์ดาวิด ซึ่งเปน็ ภาพเล็งถงึ พระเมสสยิ าห์ (34:23‑24; 37:24‑25)
3) บรรดาผู้เผยพระวจนะในอดีต (38:17)
ดังนั้นจะเห็นว่า “ผู้รับใช้ของพระยาห์เวห์” อาจเป็นได้ทั้งบุคคลในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งยังอาจ
เป็นไดท้ ง้ั คนอิสราเอลและคนตา่ งชาติ แต่ผูท้ ่ีเป็นจดุ สนใจสำ� คัญท่สี ดุ คือ พระเมสสยิ าหท์ ่เี ป็นดัง่ ดาวดิ ผรู้ บั ใช้
ของพระเจ้าซึง่ จะเสดจ็ มาในอนาคต
ฉ) พระยาหเ์ วหจ์ อมทัพ (The Lord of Hosts)
คำ� ภาษาฮบี รคู อื ยาหเ์ วห์ เซบาโอท เปน็ พระนามหนง่ึ ของพระเจา้ ทเ่ี กา่ แกม่ าแตโ่ บราณ พระนามนป้ี ระกอบ
ด้วยคำ� ฮบี รูสองคำ� คอื ยาหเ์ วห์ และ เซบาโอท โดยพน้ื ฐ​านแลว้ คำ� วา่ เซบาโอท เปน็ ศพั ทท์​ าง​ทหารหมายถ​ ึง​
กองทัพหรอื ​การ​ทำ� ​สง​คราม และยังใช้หมายถงึ สิ่งทีม่ ีจ�ำนวนมากๆ ไดด้ ว้ ย เมือ่ ประกอบคำ� ​น้ีเข้ากับ​พระ​นาม
ยาหเ์ วห์ ก็​กลายเป็นพระนามวา่ “พระ​ยาหเ์­วห​์จอม​ทพั ” ซ่ึง​ส่ือ​ถงึ ​ฤทธาน­ ภุ าพ ความ​ยงิ่ ใหญ่ และการเปน็ ผู้
ครอบครองและพิพากษาโลกนี้ ดูคำ� อธิบายเพิม่ เติมท่ี “พระยาหเ์ วหจ์ อมทพั ” ในประมวลศพั ท์
พระนามนปี้ รากฏในหมวดผเู้ ผยพระวจนะ 139 ครง้ั (จากทงั้ หมด 259 ครงั้ ตลอดพนั ธสญั ญาเดมิ ) โดยอยู่
ในพระธรรมอิสยาห์ 62 ครั้ง และในเยเรมยี ์ 77 ครั้ง จะเห็นได้ว่าพระนามน้เี ป็นทน่ี ิยมและคุ้นเคยเป็นพเิ ศษ
ในชว่ งก่อนตกเป็นเชลย อาจเพราะบรรยากาศและสถานการณ์ในสมัยนนั้ เตม็ ไปดว้ ยความขัดแยง้ และแรง

10
กดดนั จากชาติมหาอำ� นาจ ดู “เบ้ืองหลงั ทางประวตั ศิ าสตร”์ พระธรรมทง้ั สองเลม่ นี้จึงเน้นยำ�้ พระลกั ษณะของ
พระเจ้าวา่ ทรงเป็นผนู้ �ำกองทพั แห่งฟ้าสวรรค์และทรงเป็นพระเจ้าสงู สุดผูก้ �ำหนดความเป็นไปของประชาชาติ
ทง้ั ปวงอย่างแท้จรงิ
ช) พนั ธสัญญา (Covenant)

ค�ำภาษาฮีบรูคอื เบอะรีท แปลวา่ “พนั ธ­สัญญา” ซ่ึงเป็นสิง่ ท่ผี ้คู นในตะวันออกกลางสมัยโบราณคุ้นเคย
ดี การทำ� พันธสัญญาคอื การท่สี องฝา่ ยให้สญั ญาหรือทำ� ขอ้ ตกลงในเร่ืองบางอย่างด้วยกนั โดยมกี ารกำ� หนด
เง่ือนไขของสัญญาหรือขอ้ ตกลงนน้ั ๆ ท่ที ั้งสองฝ่ายตอ้ งรกั ษาหรอื ปฏบิ ัติตามพร้อมกบั ระบผุ ลที่จะไดร้ ับเมอ่ื
ทั้งสองฝา่ ยตา่ งรักษาสญั ญาหรือขอ้ ตกลง และผลทจี่ ะเกดิ ขึ้นเม่อื ฝ่ายหนึง่ ฝา่ ยใดละเมดิ สัญญาหรือขอ้ ตกลง

ในพระคัมภีร์ก็มีบันทกึ เรื่องทีค่ นอสิ ราเอลสมยั โบราณทำ� พนั ธสัญญาท้ังกับกันและกันและกับคนตา่ งชาติ
(ยชว.9:6,11,15‑16; 1 ซมอ.18:3; 20:16) แต​่พนั ธส­ญั ญา​ทพ่ี ระเ​จา้ ​ทรงทำ� กบั ​มนษุ ยน์ น้ั มคี วามพเิ ศษคอื พระเจา้
ทรงมฐี านะทสี่ งู กวา่ และเปน็ ผปู้ ระทานพนั ธสญั ญาแตฝ่ า่ ยเดยี ว ขณะทม่ี นษุ ยม์ ฐี านะตำ่� กวา่ และเปน็ ผรู้ บั พนั ธ­
สญั ญาเทา่ นน้ั ตวั อยา่ งเชน่ พนั ธสญั ญากบั โนอาห์ (ปฐก.9:8‑17) และพนั ธสญั ญากบั อบั ราฮมั (ปฐก.15:7‑21)

ในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่มีพันธสัญญาอยู่สองชุดท่ีถูกกล่าวถึงมากท่ีสุด ชุดแรกคือพันธสัญญาท่ี
ซนี ายซง่ึ พระเจา้ ทรงทำ� กบั ชนชาตอิ สิ ราเอลในสมยั โมเสส (อพย.20; ฉธบ.4-11) โดยเงอ่ื นไขสญั ญาเกย่ี วขอ้ ง
กับการด�ำเนินชีวิตในฐานะประชากรของพระเจ้าเมื่อพวกเขาเข้าอาศัยในแผ่นดินที่พระองค์ทรงสัญญาไว้
กับบรรพบุรุษของพวกเขา และมีการระบถุ งึ พระพรกบั คำ� สาปแชง่ ทพ่ี วกเขาจะไดร้ บั ตามการกระทำ� ของพวก
เขาบนพืน้ ฐานความสัมพันธ์ทม่ี ีกบั พระเจ้า (ฉธบ.28‑30) สว่ นชดุ ทีส่ องคือพันธสญั ญาที่พระเจา้ ทรงท�ำกับ
ดาวิด (2 ซมอ.7; 1 พศด.17) โดยสญั ญาน้ีเก่ียวข้องกับการสถาปนาราชวงศ์และเช้อื สายของดาวดิ ซึ่งเปน็
การจดั เตรยี มไปถึงเร่ืองพระเมสสยิ าหด์ ว้ ย (ยรม.33:17‑22) เนอ้ื หาพันธสญั ญาท้งั สองชุดเป็นแนวคิดหลักใน
สารของหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่

นอกจากนี้ ในหมวดผเู้ ผยพระวจนะใหญย่ งั มกี ารกลา่ วถงึ “พนั ธสญั ญาใหม”่ (New Covenant) หรอื ทภ่ี าษา
ฮีบรเู รียกวา่ เบอะรีท ฆะดาชาห์ โดยคำ� นปี้ รากฏใน ยรม.31:31‑34 เกี่ยวขอ้ งกบั พระราชกจิ ที่พระเจา้ จะทรง
กระทำ� ในอนาคตภายหลงั ยคุ สมยั ของพวกเขา และสารเรอื่ งพนั ธสญั ญาใหมก​่ ็ไดส้ ำ� ­เรจ็ ค​ รบถว้ นในอ​ งคพ​์ ระเ​ยซ​ู
ครสิ ต์ ผทู้ รงเปน็ ทง้ั ผสู้ ถาปนาและเปน็ คนกลางของพระเจา้ กบั มนษุ ย์ในพนั ธสญั ญาน้ี (ลก.22:20; ฮบ.8:6‑13;
9:15) ดูค�ำอธิบายเพ่ิมเติมที่ “พนั ธสญั ญา” ในประมวลศพั ท์
ซ) จอกแห่งพระพโิ รธ (Cup of Wrath)

วลนี ี้ในภาษาฮบี รปู ระกอบดว้ ยคำ� สองคำ� ซง่ึ มรี ากจากคำ� วา่ โคส ทแี่ ปลวา่ “จอก” หรอื “ถว้ ย” (cup, goblet)
และค�ำวา่ เฆมาห์ ทีแ่ ปลว่า “พระพิโรธ” หรือ “ความโกรธ” (wrath, fury) โดยคำ� ว่าจอกหรือถ้วยนมี้ กี ารใช้ทง้ั
ในแบบความหมายตรงตวั (เชน่ ปฐก.40:11; ยรม.35:5) และในแบบทเ่ี ปน็ ภาพเปรยี บเทียบ

จอกหรือถ้วย เป็นท้ังภาชนะส�ำหรับใส่เครื่องด่ืมและใช้ในการตวง ส�ำนวนท่ีกล่าวถึงจอกหรือถ้วยจึงมี
ความหมายถงึ ส่วนแบ่ง (portion) ส�ำหรับผู้ทีร่ ับจอกหรอื ถ้วยนัน้ ๆ ไดด้ ว้ ย และการทผ่ี ใู้ ดมอบจอกหรอื ถ้วย
ให้อีกผ้หู นึง่ ด่ืม ยังเป็นภาพแสดงถงึ การจดั เตรยี ม (provision) ตามขนาดหรือปรมิ าณสว่ นแบ่งท่ีผมู้ อบเห็น
ว่าเหมาะสมหรือคคู่ วรแกผ่ ้รู ับ เชน่ ภาพของถ้วยทเี่ ตม็ จนล้นใน สดด.23:5 ซึ่งสือ่ ถึงการเลย้ี งดูอย่างบริบูรณ์
ของพระเจ้า หรอื ในบางกรณียังมีเจตนาทีเ่ จาะจงตอ่ ผ้รู บั ด้วย เช่น “ถ้วยแห่งการปลอบใจ” (ยรม.16:7) ดังน้ัน
จอกหรอื ถว้ ยจงึ เปน็ ภาพเปรยี บเทยี บหมายถงึ แผนการทพี่ ระเจา้ ทรงดำ� รแิ ละจดั เตรยี มไวแ้ ลว้ อนั เปน็ สว่ นแบง่
หรือส่งิ ทีเ่ หมาะสมคู่ควรแก่ผรู้ บั หรอื ผทู้ อ่ี ยู่ในแผนการนนั้ ๆ ตามพระทยั หรือพระประสงค์ของพระองค์ เช่น
“ถว้ ยแห่งความรอด” (สดด.116:13)

ในหมวดผ้เู ผยพระวจนะใหญ่มีส�ำนวนส�ำคัญคือ “จอกแห่งพระพิโรธ” (อสย.51:17) หรือ “ถว้ ยแห่งความ
พิโรธ” (อสย.51:22) นอกจากนี้ยงั มี “ถ้วย​แห่งความโซเซ” (อสย.51:17) “​จอกแห่งความโซเซ” (อสย.51:22)

11
“ถว้ ยเหลา้ องุ่นแห่งความโกรธ” (ยรม.25:15) “ถ้วยน่าสะพรึงกลวั และอา้ งว้าง” (อสค.23:33) และในบางตอน
อาจมีเพียงคำ� ว่า “ถว้ ย” (ยรม.25:17,28; 49:12; พคค.4:21; อสค.23:31‑33) สำ� นวนทง้ั หมดนหี้ มายถึง
พระพิโรธของพระเจ้าท่ีมาถงึ อาณาจกั รยดู าหห์ รือชนชาติต่างๆ ในการพิพากษาลงโทษตามความบาปผิดของ
พวกเขา ซ่งึ เป็นสิง่ ที่พวกเขาไม่อาจปฏิเสธหรอื หลกี เลยี่ ง แต่ตอ้ งรบั จนเต็มขนาดหรอื ตามแผนการทพ่ี ระเจา้
ทรงจดั เตรียมไว้แล้ว

นอกจากน้ีใน ยรม.51:7 กลา่ วว่า อาณาจกั รบาบโิ ลนนัน้ เคยเปน็ “ถว้ ยทองคำ� ” ในพระหัตถข์ องพระเจ้า
ทมี่ อบให้บรรดาประชาชาตดิ ม่ื ซงึ่ หมายถงึ การทีบ่ าบโิ ลนเคยเป็นเครอ่ื งมือทีพ่ ระองคท์ รงใชใ้ นการพิพากษา
ประชาชาตเิ หลา่ นั้น จนพวกเขามึนเมาหรือถูกลงโทษเต็มขนาด แต่ในทีส่ ดุ บาบิโลนเองกก็ ลายเปน็ ด่ังถ้วย
ท่ีแตก คอื ถกู พระเจา้ พิพากษาลงโทษดว้ ยเช่นกนั (ยรม.51:8)

ภาพเปรยี บเทยี บดงั กลา่ วยงั มปี รากฏในพนั ธสญั ญาใหมด่ ว้ ย พระเยซคู รสิ ตต์ รสั ถงึ “ถว้ ย” ทพ่ี ระองคจ์ ำ� เปน็
ต้องรับมาดื่มตามพระทัยของพระบิดา (มธ.20:22‑23; 26:39,42; มก.10:38‑39 ;14:36; ลก.22:42; ยน.
18:11) ซง่ึ หมายถงึ ภารกจิ ของพระองคท์ ี่พระบิดาได้ทรงด�ำรไิ วแ้ ลว้ คอื การเสด็จมาทนทุกข์และสน้ิ พระชนม์
บนไม้กางเขนเพื่อรับเอาพระพิโรธของพระบิดาไปและไถ่บาปให้ผู้เชื่อ ยังมีถ้วยเหล้าองุ่นในพิธีมหาสนิท
(มธ.26:27‑29; มก.14:23‑25; ลก.22:17‑18,20; 1 คร.11:25‑26) ซ่ึงเล็งถงึ พระโลหิตของพระเยซคู รสิ ต์ท่ี
หล่งั ออกเพอ่ื ช�ำระความบาป ท�ำใหผ้ ้ทู ี่เชอ่ื วางใจในพระองค์ไดเ้ ข้าสู่พนั ธสัญญาใหม่ของพระเจ้า หรอื เรียกได้
ว่าเป็นถว้ ยแหง่ พันธสญั ญาใหม่ท่ีพระเจา้ ทรงจัดเตรยี มใหแ้ ก่ประชากรของพระองค์ นอกจากน้ยี งั มีการกล่าว
ถงึ “เหลา้ อง่นุ แห่งความกรวิ้ ...ในถว้ ยแห่งพระพิโรธ” (วว.14:10) และ “ถ้วยเหลา้ องุ่นแหง่ พระพิโรธรุนแรง”
(วว.16:19) ซึ่งหมายถงึ การพิพากษาในขนั้ สุดท้ายของพระเจา้ สำ� หรับศัตรทู ้งั สนิ้ ของพระองค์ จึงอาจกลา่ วได้
วา่ ในพนั ธสญั ญาใหมม่ ภี าพเปรยี บเทยี บระหวา่ งถว้ ยสองแบบคอื ถว้ ยแหง่ พนั ธสญั ญาท่ีใหช้ วี ติ และถว้ ยแหง่
การพพิ ากษาที่น�ำสู่ความพนิ าศ โดยมีแนวคดิ มาจากพนั ธสญั ญาเดมิ น่ันเอง

เอ­เสเ­คยี ล

คำ� นำ�
พระธรรมเอเสเคยี ลเป็นหนังสือท่ีรวบรวมถ้อยคำ� ของผเู้ ผยพระวจนะเอเสเคียล ชอ่ื “เอเสเคียล” แปลวา่
“พระเจ้าทรงเสริมกำ� ลัง” เอเสเคียลเปน็ หนึง่ ในสามคนท่ีเขียนหนังสอื ผ้เู ผยพระวจนะใหญ่ เหมอื นกับอสิ ยาห์
และเยเรมีย์ เฉพาะอย่างย่ิงเยเรมีย์กับเอเสเคยี ลนนั้ เปน็ ผู้เผยพระวจนะและปโุ รหิตทีอ่ ยรู่ ว่ มสมัยเดยี วกัน (คือ
ในยคุ สดุ ทา้ ยของอาณาจกั รยดู าห)์ โดยเยเรมยี ร์ บั ใชท้ อ่ี าณาจกั รยดู าห์ สว่ นเอเสเคยี ลรบั ใชท้ บ่ี าบโิ ลน ทา่ นทง้ั
สองได้ฟน้ื ฟคู วามเช่อื ของประชาชนท่ลี ่มสลายหลังจากพระวิหารในกรุงเยรซู าเล็มถกู ท�ำลาย
ชีวประวัติของเอเสเคียล
เชอื่ กนั วา่ เมอ่ื เอเสเคยี ลอายุ 25 ปี ท่านถูกกวาดต้อนไปเปน็ เชลยในบาบโิ ลน ต่อมาในปี 592 กอ่ น ค.ศ.
(1:1) ท่านได้รบั การทรงเรยี กให้เป็นผเู้ ผยพระวจนะ เวลาน้นั ทา่ นมอี ายุ 30 ปี อนั เปน็ เวลาเดียวกับท่ที า่ นมี
สทิ ธเิ ปน็ ปโุ รหติ ได้ (กดว.4:23,30,35; 1 พศด.23:3) แมเ้ ราไมอ่ าจชชี้ ดั เรอ่ื งวนั เวลาการทรงเรยี ก แตท่ แี่ นน่ อน
คือ เอเสเคียลเป็นบุตรของบุซีซ่ึงเป็นปุโรหิตและตัวท่านเองก็เป็นปุโรหิต (1:3) ท่านได้เผยพระวจนะคร้ัง
สดุ ท้ายในปี 570 กอ่ น ค.ศ. ตอนนัน้ ท่านมอี ายุ 52 ปี ทา่ นไดร้ บั ใชพ้ ระเจ้าอยู่ 22 ปี (1:2; 29:17) พระธรรม
เอเสเคยี ลมรี ายละเอียดมากมายเก่ยี วกบั พระวิหารและศาสนพธิ ีต่างๆ แสดงว่าท่านเปน็ ผมู้ กี ารศึกษาสูง
ในพระธรรมเล่มนี้ พระเจ้าทรงเรียกเอเสเคียลว่า “บุตรมนุษย์” โดยตลอด (เช่น 2:1) เอเสเคียลภูมิใจ
ในฐานะปุโรหิต ท้ังท่ีความจริง ท่านต้องอาศัยอยู่ในดินแดนบาบิโลนท่ีถือว่าเป็นมลทิน เปรียบไปแล้วเอเส­
เคียลก็เหมือนชาวประมงที่อยู่ไกลทะเล ไม่มีอวนและเรือ เป็นคนไร้ประโยชน์ เป็นเพียงบุตรมนุษย์คนหน่ึง
อยา่ งไรก็ดี การทท่ี ่านได้พบกบั พระยาห์เวหท์ ่บี าบิโลนได้สร้างทา่ นให้เป็นผูเ้ ผยพระวจนะ
ผู้น�ำชุมชนยิวให้ความเคารพเอเสเคียลและมาขอค�ำปรึกษาจากท่านเสมอๆ (20:1) ท่านแต่งงานแล้ว
แตภ่ รรยาเสียชวี ิตตอนกษตั ริยเ์ นบคู ดั เนสซาร์ลอ้ มกรงุ เยรซู าเล็มในปี 589 กอ่ น ค.ศ. (24:16,18)
เอเสเคยี ลรบั ใช้พระเจ้าในฐานะผเู้ ผยพระวจนะเป็นเวลา 22 ปี คอื ตง้ั แต่ได้รบั การทรงเรียก (บทที่ 1–3)
จนกล่าวค�ำพยากรณ์สดุ ทา้ ย (29:17) หลงั จากนัน้ เราก็ไม่ทราบเร่อื งราวของท่านอีก โดยรวมแลว้ เอเสเคียล
เป็นผู้ประกาศการพิพากษาของพระเจ้าอย่างดุดัน แต่ในเวลาเดียวกันก็สอนศาสนพิธีแบบใหม่อย่างละเอียด
ดงั นนั้ การประกาศและการสอนของเอเสเคยี ลจงึ แสดงถงึ ความเปน็ ผ้เู ผยพระวจนะกบั ความเป็นปุโรหติ ในตวั
ทา่ นอยา่ งไมม่ ีผู้ใดในพระคมั ภีร์เสมอเหมอื น
วันเวลาในพระธรรมเอเสเคยี ล
พระธรรมเอเสเคียลแตล่ ะตอนขน้ึ ตน้ ดว้ ยวันที่ มที ั้งหมด 14 ครัง้ ซง่ึ ก็คอื 14 ตอน วนั เวลาเหลา่ นีเ้ รยี ง
ตามลำ� ดบั ยกเว้นเพียงตอนเดยี วคอื 29:17–30:19 การบนั ทกึ วันเวลาเป็นธรรมเนียมของปโุ รหติ แสดงว่า
เอเสเคยี ลเปน็ บุตรของปุโรหิต
เอเสเคียลเริ่มนับวันเวลาตั้งแต่ปีที่กษัตริย์เยโฮยาคีนตกเป็นเชลย คือปี 597 ก่อน ค.ศ. (1:2) ตัวอย่าง
เช่น “ในวันที่ 10 เดือนท่ี 10 ปีที่ 9” (24:1) หมายถึงปีที่ 9 ต้ังแต่กษัตริย์เยโฮยาคีนตกเป็นเชลย จึงตรง
กบั ปี 589 ก่อน ค.ศ.
ขอ้ พึงใส่ใจคอื เดือนกับวนั นับตามปฏิทินชาวยิวซงึ่ เปน็ ปฏิทินจันทรคตแิ บบหนงึ่ ดังน้ัน เดอื นที่ 10 ตาม
ปฏทิ นิ ของชาวยวิ จึงตรงกบั กลางเดอื นธันวาคมถงึ กลางเดือนมกราคมตามปฏทิ ินของเรา

13
ตามประเพณีชาวยิว การนับปีจะนับตามรัชสมัยของกษัตริย์องค์ปัจจุบัน เอเสเคียลจึงควรนับปีตาม
รชั สมยั ของเศเดคยี าห์ซง่ึ เป็นกษตั ริย์แห่งยูดาหเ์ วลานน้ั แตเ่ อเสเคียลจงใจนับปีตามรชั สมัยของกษตั รยิ เ์ ยโ­ฮ­
ยาคีน ท้ังนี้ด้วยเหตุผลสองประการคือ ก. เยโฮยาคีนตกเป็นเชลยในเวลาเดียวกันกับเอเสเคียล (1:3) และ
ข. เยโฮยาคนี มฐี านะสำ� คญั ในแดนเชลย ตามขอ้ มลู ของ 2 พกษ.25:27‑30 และ ยรม.52:31‑34 เอวลิ เมโรดกั
กษตั รยิ ์บาบโิ ลนทรงปล่อยเยโฮยาคนี จากการจองจำ� คืนฐานะกษัตริย์แก่ท่านแมจ้ ะยังไม่มีดนิ แดนให้ปกครอง
และให้ท่านเป็นพระสหายของกษัตริย์บาบิโลน บุตรห้าคนของเยโฮยาคีนก็ได้รับการดูแลจากคลังหลวง นั่น
หมายความว่า เยโฮยาคีนยอมรับเป็นกษัตริย์ของยูดาห์ในบาบิโลน ในสายตาของเอเสเคียล เศเดคียาห์ผู้
เป็นอาของเยโฮยาคีนไม่ใช่กษัตริย์โดยชอบธรรม แต่เป็นคนช่ัวรา้ ยและจะถูกพระเจ้าลงโทษอย่างแน่นอน
ด้วยเหตุนีเ้ อง เอเสเคียลจึงไม่นับเวลาตามเศเดคยี าห์

เบ้ืองหลังทางประวตั ิศาสตร์
เราจะเข้าใจพระธรรมเอเสเคียลอย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อเรารู้ประวัติศาสตร์ยุคสุดท้ายของอาณาจักรยูดาห์

และภมู ิหลังของผเู้ ผยพระวจนะเอเสเคียล
ในชว่ ง 20 ปหี ลงั กษตั รยิ ์โยสยิ าหส์ น้ิ พระชนม์ อาณาจกั รยดู าห์ไมไ่ ดม้ เี อกราชอยา่ งแทจ้ รงิ ในเวลานน้ั ผนู้ ำ�

อาณาจกั รแตกเปน็ สองฝ่าย ฝ่ายหน่ึงมีนโยบายใหผ้ กู มิตรกับบาบิโลน อีกฝ่ายหนง่ึ ให้ผูกมิตรกับอียิปต์ ทำ� ให้
บางเวลายดู าห์จึงมีความสัมพันธท์ ี่ดกี บั บาบโิ ลน และบางเวลาก็มีความสมั พันธ์ทีด่ กี บั อียปิ ต์

แต่เมื่ออาณาจักรยูดาห์เป็นมิตรกับมหาอ�ำนาจฝ่ายใด มหาอ�ำนาจอีกฝ่ายหน่ึงก็จะเข้ารุกราน เป็นเหตุ
ให้ยูดาหอ์ อ่ นแอลงเร่อื ยๆ และลม่ สลายไปในท่สี ดุ รายละเอียดของเหตกุ ารณ์ตามลำ� ดบั เวลาพอสรุปได้ดังนี้
ก) ยุคหลังกษัตริยโ์ ยสิยาห์ส้ินพระชนม์จนถงึ กอ่ นกรงุ เยรซู าเล็มแตก (ปี 609‑597 ก่อน ค.ศ.)

กษตั รยิ ์โยสิยาห์ไดป้ ฏิรูปศาสนาในปี 628 กอ่ น ค.ศ. (2 พกษ.22:8‑23:25) และส้นิ พระชนมอ์ ยา่ งกะทนั ­
หนั ในปี 609 ก่อน ค.ศ. ตอนน้นั ฟาโรหเ์ นโคแห่งอยี ิปตจ์ ะยกไปรบกับกองทัพบาบโิ ลน แต่โยสยิ าหย์ กทพั ไป
ขวางและถกู สังหาร ณ ท่รี าบเมกดิ โด (2 พกษ.23:29)

หลังกษัตริย์โยสิยาห์สิ้นพระชนม์ “ประชาชนในแผ่นดิน” (ได้แก่เจ้าเมืองท้ังหลายของอาณาจักรยูดาห์)
ได้ตั้งเยโฮอาหาสพระโอรสเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ (2 พกษ.23:30) แต่เม่ือฟาโรห์เนโคเดินทัพกลับอียิปต์
ก็ได้เข้าโจมตียูดาห์ และปลดเยโฮอาหาสซึ่งเป็นกษัตริย์ได้เพียงสามเดือนออก แล้วตั้งเอลียาคิม (ผู้เป็นพี่
น้องต่างมารดากับเยโฮอาหาส) ข้ึนเป็นกษัตริย์แทน พร้อมกับเปล่ียนชื่อให้เป็นเยโฮยาคิม ยูดาห์จึงตกเป็น
ประเทศราชของอียปิ ต์

ต่อมาฟาโรห์เนโคแพ้สงครามยับเยินท่ีเมืองคารเคมิชแคว้นซีเรียในปี 605 ก่อน ค.ศ. (2 พกษ.24:7;
ยรม.46:2) กษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์ได้ยกทัพมารุกรานอาณาจักรยูดาห์และยึดกรุงเยรูซาเล็มในปี 605 ก่อน
ค.ศ. ในครั้งน้ันกองทัพบาบิโลนยังไม่ได้ท�ำลายพระวิหาร แต่ได้ควบคุมตัวเยโฮยาคิมไว้ และกวาดเอา
ภาชนะกับเคร่ืองใช้บางช้ินแห่งพระนิเวศของพระเจ้า บรรดาคนที่เป็นเช้ือพระวงศ์ เชื้อสายขุนนาง และ
บุคคลส�ำคัญไปบาบิโลน ซึ่งในจ�ำนวนนี้มีดาเนียลอยู่ด้วย นี่คือการตกเป็นเชลยคร้ังที่หน่ึง (2 พศด.36:6‑7;
ดนล.1:1‑4)

ในช่วงแรกกษัตริย์เยโฮยาคิมได้ยอมสวามิภักดิ์ต่อบาบิโลน แต่หลังจากนั้นก็เปลี่ยนท่าทีกลับเป็น
กบฏต่อบาบิโลนอีก (2 พกษ.24:1‑2) กษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์จึงยกทัพมาล้อมกรุงเยรูซาเล็ม แต่กษัตริย์
เยโฮยาคิมสิ้นพระชนม์ก่อนท่ีกรุงจะถูกโจมตี (2 พศด.36:6) พระโอรสคือเยโฮยาคีนจึงได้ข้ึนครองราชย์ต่อ
ในปี 597 ก่อน ค.ศ. แตเ่ พยี งแคส่ ามเดอื นก็ยอมจ�ำนนตอ่ บาบิโลน และเนบคู ัดเนสซาร์ไดต้ ้งั นอ้ งของเยโฮ­
อาหาสคือมัทธานิยาห์ข้ึนเป็นกษัตริย์แทน และเปล่ียนช่ือให้ใหม่เป็นเศเดคียาห์ (2 พกษ.24:17) ในครั้งน้ี
เนบูคัดเนสซาร์ได้กวาดเอาทรัพย์สินในพระนิเวศและในพระราชวัง เจ้านายท้ังหมด นักรบกล้าหาญ

14
ทั้งหมด ช่างฝีมือและช่างเหล็กท้ังหมดไปบาบิโลน ซ่ึงในจ�ำนวนนี้มีกษัตริย์เยโฮยาคีนและเอเสเคียลอยู่ด้วย
นค่ี อื การตกเป็นเชลยครง้ั ทส่ี อง (2 พกษ.24:10‑16; 2 พศด.36:9‑10; อสค.1:3)
ข) เหตุการณ์กรงุ เยรูซาเลม็ แตกและการตกเป็นเชลยที่บาบโิ ลน (ปี 597‑586 ก่อน ค.ศ.)

กษัตริย์เศเดคียาห์ทรงปกครองท้ังสิ้น 11 ปี (ปี 597‑586 ก่อน ค.ศ.) ในช่วงแรกพระองค์เสด็จเยือน
อาณาจักรบาบิโลนแสดงความอ่อนน้อม (ยรม.51:59) แต่ต่อมาก็สมคบกับประเทศอื่นๆ รอบยูดาห์ต่อต้าน
บาบิโลน (ยรม.27:3) เม่ือบาบิโลนทราบจึงยกทัพมาล้อมกรุงเยรูซาเล็ม และในวันท่ี 9 เดือนอับ (ตรงกับ
กลางเดอื นกรกฎาคมถงึ กลางเดอื นสงิ หาคม) ปี 586 ก่อน ค.ศ. กรงุ เยรซู าเลม็ ก็ถูกตีแตก และพระวิหารถกู
ทำ� ลายในทีส่ ดุ และนค่ี อื การตกเป็นเชลยคร้งั ท่สี าม

กษัตริย์เศเดคียาห์ถูกจับไปยังค่ายทหารบาบิโลนเพื่อให้ดูการประหารบรรดาพระโอรสก่อนที่พระเนตร
ของพระองคจ์ ะถูกทำ� ลาย แลว้ พวกทหารนำ� พระองค์ไปเปน็ เชลยทบ่ี าบิโลนพร้อมกบั บุคคลสำ� คัญต่างๆ เรา
ไม่ทราบข่าวคราวของเศเดคยี าหอ์ กี นี่คือการตกเปน็ เชลยครัง้ ท่ีสามในปี 586 ก่อน ค.ศ. (2 พกษ.25:1‑21;
ยรม.39:1‑10) อาณาจกั รยดู าห์และราชวงศด์ าวดิ ก็สน้ิ สุดลงเชน่ นีเ้ อง

หลังจากน้ัน บาบิโลนตั้งเกดาลิยาห์ (คนในตระกูลชาฟานราชเลขาที่อยู่ฝ่ายสนับสนุนบาบิโลน) ขึ้น
ปก­ครองชาวยูดาห์ที่เหลือ ณ เมืองมิสปาห์ซึ่งอยู่ห่างกรุงเยรูซาเล็มไปทางเหนือ 12 กิโลเมตร (2 พกษ.
25:22‑24; ยรม.40:7‑12) แตต่ ่อมาเกดาลยิ าห์ถกู คนตระกลู เอลชี ามา ฝ่ายทส่ี นบั สนุนอยี ิปต์สงั หาร (2 พกษ.
25:25‑26; ยรม.40:13‑41:10) ท�ำให้บาบิโลนเข้าโจมตียูดาห์อีกคร้ัง และมีการจับคนไปเป็นเชลยครั้งท่ีสี่
ในปี 581 กอ่ น ค.ศ. (ยรม.52:30)

ในเวลานั้นผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์ถูกฝ่ายสนับสนุนอียิปต์บังคับเอาตัวไปอียิปต์ด้วย (ยรม.43:1‑7) หลัง
จากน้ันก็ไม่มีผู้ว่าราชการอีก ยูดาห์ถูกรวมเข้าเป็นมณฑลเดียวกับสะมาเรีย จ�ำนวนคนที่ตกเป็นเชลยถูก
บนั ทกึ แตกตา่ งกนั ไปตามแหลง่ ขอ้ มลู แตต่ ามขอ้ มลู ของเยเรมยี บ์ อกวา่ มคี นทถ่ี กู กวาดไปในปี 597 กอ่ น ค.ศ.
3,023 คน ในปี 586 กอ่ น ค.ศ. 832 คน และในปี 581 กอ่ น ค.ศ. 745 คน รวมทั้งส้ิน 4,600 คน (ยรม.
52:28‑30)
ค) สภาพชวี ิตของเชลย

เอเสเคียลกับพวกเชลยอาศัยอยู่ท่ีเทลอาบิบ ริมแม่น�้ำเคบาร์ (3:15) ในช่วงแรกพวกเขามีชีวิตที่ยาก
ล�ำบาก บาบิโลนอนญุ าตใหช้ าวยิวต้งั บา้ นเรอื นได้ แต่ห้ามเปน็ เจ้าของท่ีดิน ตามข้อมูลโบราณคดีพบวา่ ต่อมา
ชาวยิวบางสว่ นมฐี านะร่�ำรวยขนึ้ เป็นเหตใุ ห้พวกเขาไม่ยอมกลับเยรซู าเลม็ ในภายหลัง

ชาวยิวอาศัยอยู่รวมกันเป็นชุมชน จึงรักษาธรรมเนียมประเพณีของตนไว้ได้ พวกเขาไม่มีพระวิหาร จึง
มานมัสการท่ีธรรมศาลา (11:16) นักวิชาการส่วนใหญ่คิดว่า ในเวลานั้นเบญจบรรณห้าเล่มถูกเรียบเรียง
เป็นหนังสือธรรมบัญญัติหรือม้วนโทราห์แล้ว และเกิดศาสนายิวใหม่ท่ีเน้นการอ่านพระวจนะและรักษา
พระบัญญัติของพระเจ้าในชีวิตประจ�ำวัน โดยเอเสเคียลมีส่วนส�ำคัญในการสร้างศาสนายิวใหม่น้ีในฐานะ
ปโุ รหิตและผ้เู ผยพระวจนะ

ลกั ษณะพิเศษ
เมื่อเปรียบเทียบพระธรรมเอเสเคียลกับพระธรรมอิสยาห์และเยเรมีย์ เราพบว่าเอเสเคียลมีจ�ำนวนนิมิต

มากกวา่ และละเอียดกว่า อกี ทัง้ ค�ำเผยพระวจนะสว่ นใหญก่ เ็ ป็นร้อยแกว้
ในหนงั สือผู้เผยพระวจนะยคุ หลังเป็นเชลย เราพบนมิ ิตมากข้ึน เพราะผ้เู ขยี นไม่อาจวพิ ากษว์ ิจารณช์ าติ

ท่ีเป็นผู้ปกครองได้ตรงๆ จึงต้องท�ำอย่างอ้อมๆ นอกจากน้ี เรายังพบการแสดงกิจพยากรณ์มากมายท่ีผู้
เผยพระวจนะเอเสเคียลท�ำสิ่งแปลกๆ หรือลึกลับ เช่น กินหนังสือม้วน (3:1‑3) เอาเชือกมัดตัวแล้วนอน
น่ิงเปน็ เวลานาน (4:8) ไม่รอ้ งไห้เม่ือภรรยาเสียชวี ติ (24:17)

15
กิจพยากรณ์เหล่านี้อาจสะท้อนความรู้สึกของพระเจ้าท่ีทุกข์พระทัยจนไม่อาจบรรยายเป็นถ้อยค�ำ เนื่อง
จากอาณาจักรยูดาห์ใกล้จะถูกท�ำลายแล้ว นอกจากนี้การแสดงกิจพยากรณ์ หรือนิมิตโดยละเอียดน้ันอย่าง
น้อยกจ็ ะตราตรึงใจคนอิสราเอล กจิ พยากรณ์ในพระธรรมเอเสเคียลมดี ังน้ี

ขอ้ พระธรรม กจิ พยากรณ์ แสดงภาพหรอื สอื่ ถึง

3:22‑27 เอเสเคยี ลอย่ลู �ำพังและเปน็ ใบ้ การเรียกความสนใจให้ฟังค�ำเตอื น
4:1‑3 จากพระเจา้

เอเสเคยี ลทำ� แบบจำ� ลองการลอ้ มกรงุ เยรูซาเลม็ การล้อมกรงุ เยรซู าเลม็

4:4‑8 เอเสเคยี ลนอนตะแคง การแบกความผดิ บาปของชนชาตอิ สิ ราเอล

4:9‑17 อาหารของเอเสเคยี ล ความทุกข์ลำ� บากเมือ่ ตกเปน็ เชลย

5:1‑5,12 เอเสเคียลใช้ดาบฟันเสน้ ผม การบกุ พชิ ิตกรงุ เยรูซาเล็ม

12:1‑16 เอเสเคียลขนย้ายขา้ วของผ่านชอ่ งก�ำแพง การอพยพเมือ่ ตกเป็นเชลย

12:17‑19 เอเสเคียลกินด่ืมด้วยท่าทางหวาดกลัว ความรสู้ ึกหวาดกลวั เมอื่ ตกเป็นเชลย

21:18‑22 เอเสเคียลขดี เสน้ ทางสำ� หรับดาบ การบุกพิชิตของกษัตริยบ์ าบิโลน

24:15‑27 เอเสเคียลงดการไว้ทกุ ข์ให้ภรรยา ความทุกข์ใจในการตกเป็นเชลย

37:15‑22 เอเสเคียลใชไ้ ม้สองอนั การรวมชนชาตอิ ิสราเอลอกี คร้งั

โครงเรือ่ งและสาระส�ำคัญ
เนือ้ หาพระธรรมเอเสเคยี ลแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ภาค คือ 1. การพิพากษาลงโทษ และ 2. ความหวงั ใจความ

สำ� คัญของท้งั สองภาคนัน้ แตกต่างกันมาก จดุ พลิกผันของเนอ้ื หาอยทู่ ่เี หตุการณต์ อนกรงุ เยรูซาเลม็ แตก และ
ในแต่ละภาคยังอาจแบ่งเปน็ ตอนๆ ไดอ้ กี ดังนี้

1. การพพิ ากษาลงโทษ (บทท่ี 1–32)
1.1 การทรงเรียกเอเสเคียล (บทท่ี 1–3)
1.2 การล้อมยูดาห์และกรุงเยรูซาเลม็ (บทท่ี 4–24)
1.2.1 กิจพยากรณเ์ กยี่ วกบั การกลา่ วโทษ (บทท่ี 4–5)
1.2.2 ค�ำกล่าวโทษ (บทที่ 6–7)
1.2.3 การประณามบาปของกรงุ เยรซู าเลม็ ด้วยนิมิต (บทท่ี 8–11)
1.2.4 กิจพยากรณ์เก่ยี วกับการตกเปน็ เชลย (บทท่ี 12)
1.2.5 ความพินาศของกรุงเยรซู าเลม็ (บทท่ี 13–24)
1.3 การพิพากษาลงโทษบรรดาประชาชาติ (บทที่ 25–32)
1.3.1 การพพิ ากษาลงโทษประชาชาติโดยรอบ (บทท่ี 25)
1.3.2 การพิพากษาลงโทษไทระกบั ไซดอน (บทท่ี 26–28)
1.3.3 ค�ำเผยพระวจนะต่อฟาโรห์ (29:1‑16)
1.3.4 บำ� เหน็จของกษตั ริย์เนบคู ดั เนสซาร์ (29:17‑21)
1.3.5 การพิพากษาลงโทษอาณาจักรอียปิ ต์ (บทที่ 30–31)
1.3.6 บทครำ�่ ครวญเพอื่ ฟาโรหแ์ ละความพนิ าศของประชาชาติทง้ั หลาย (บทท่ี 32)

16
2. ความหวัง (บทที่ 33–48)

2.1 ค�ำสัญญาต่อยดู าห์เรื่องการฟนื้ ฟูอสิ ราเอลข้ึนใหม่ (บทท่ี 33–39)
2.2 พระวหิ ารและเขตแดนใหม่ (บทท่ี 40–48)

ภาคแรก สองหัวข้อแรก (บทที่ 1–24) เป็นค�ำเผยพระวจนะในช่วงห้าปี นับตั้งแต่พระเจ้าทรงเรียก
เอเสเ­คียลจนถึงปีก่อนกรุงเยรูซาเล็มแตก หัวใจของเร่ืองคือพระเจ้าจะทรงลงโทษอาณาจักรยูดาห์กับกรุง
เยรูซาเล็ม โดยเฉพาะบทท่ี 8­–­­ 19 เอเสเคียลเห็นนิมิตว่าพระสิริของพระเจ้าพรากจากกรุงเยรูซาเล็มมายัง
บาบิโลน ทา่ นประกาศว่าพระเจ้าจะทรงพพิ ากษาบรรดาผู้น�ำกับผู้เผยพระวจนะเท็จแห่งยูดาห์ผู้ยังเชื่อม่ันใน
สถานะพิเศษของกรุงเยรูซาเล็ม ท่านพยากรณ์ว่าพระเจ้าจะทรงท้ิงราชวงศด์ าวดิ และพระวหิ ารในเยรซู าเลม็
ในบทท่ี 20–23 เอเสเคียลทบทวนประวัติศาสตร์ของอิสราเอล แล้วบอกว่าบาปของอิสราเอลนั้นเร่ิมต้ังแต่
กอ่ นสมยั อพยพ และสรุปว่าประวตั ิศาสตรท์ ง้ั หมดนัน้ เตม็ ไปดว้ ยเรื่องของความบาป

ส่วนค�ำเผยพระวจนะพิพากษาประชาชาติต่างๆ (บทท่ี 25–32) อยู่ในช่วงสองปีที่กรุงเยรูซาเล็มถูก
ล้อม (ยกเว้น 29:17–30:19) กลุ่มแรกเป็นค�ำพิพากษาบรรดาประชาชาติท่ียินดีในความล่มสลายของกรุง
เยรซู าเล็ม (บทท่ี 25–28) และกลุ่มหลงั เปน็ คำ� พพิ ากษาอาณาจกั รอียปิ ต์ (บทท่ี 29–32)

ตอนท่ียูดาห์กบฏต่อบาบิโลนก็ได้หันไปเป็นมิตรกับอียิปต์ แต่อียิปต์ไม่ได้ช่วยอะไรเลย ในสายตา
เอเสเคียล อียิปต์เป็นตัวชักน�ำให้ยูดาห์หลงทาง ค�ำเผยพระวจนะสุดท้าย (29:17–30:19) เป็นตอนเดียวที่
ไม่ไดอ้ ยู่ในช่วงสองปีที่บาบโิ ลนลอ้ มกรุงเยรูซาเลม็ ต่างกับตอนอ่นื ๆ ที่เรยี งตามล�ำดบั เวลา คาดว่าเนอ่ื งจาก
เนื้อหาสอดคล้องกับส่วนน้ีจึงน�ำมาไว้ท่ีน่ี (ท้ังที่ผิดแบบแผน) ข่าวกรุงเยรูซาเล็มแตกมาถึงบาบิโลนช้าไป
ครึง่ ปี หลงั จากน้ันเอเสเคยี ลก็ไมไ่ ด้กล่าวถึงการพพิ ากษา (33:21)

ภาคสอง เป็นค�ำเผยพระวจนะหลังกรุงเยรูซาเล็มล่มสลายในปี 587 ก่อน ค.ศ. หัวใจของเร่ืองคือ
การฟื้นฟูอิสราเอลขึ้นใหม่ พระเจ้าทรงต้ังเอเสเคียลเป็นคนยามส�ำหรับพงศ์พันธุ์อิสราเอล (33:7) ส�ำหรับ
เอเสเคียลแล้ว พงศ์พันธุ์อิสราเอลไม่ใช่ชาวยูดาห์ตามเชื้อสาย แต่เป็นชุมชนอิสราเอลที่ได้รับชีวิตใหม่จาก
พระเจ้า (37:11‑14)

เอเสเคียลพยากรณ์เร่ืองโกกแห่งแผ่นดินมาโกกจะมาท้าทายชนชาติอิสราเอลใหม่ และพระเจ้าทรง
ชนะโกก (บทที่ 38–39) มนี กั วิชาการบางคนคิดว่าโกกอาจหมายถงึ อาณาจกั รบาบิโลนโดยอ้อม

เอเสเคียลเห็นพระวิหารในนครเยรูซาเล็มใหม่ อาคารพระวิหารใหม่มีขนาดใหญ่กว่าเดิม และพระสิริ
ของพระเจ้ากลับมาประทับท่ีนั่นอีกครั้ง นอกจากน้ี ท่านเห็นแผ่นดินพระสัญญาถูกแบ่งให้แก่คนอิสราเอล
12 เผา่ แตก่ ารแบง่ ไม่เหมอื นกับที่โยชวู าท�ำ เพราะศนู ย์กลางของแผน่ ดินใหม่คอื พระวหิ ารและปโุ รหติ แสดง
วา่ พงศพ์ ันธอุ์ ิสราเอลเปน็ ชนชาตปิ ุโรหติ (บทที่ 40–48)

17 เอเสเคยี ล 1:5

1 นมิ ิต​เกย่ี วก​ ับ​พระส​ิรข​ิ องพ​ ระเ​จ้า อยู​่เหนอื ⁠​ทา่ น
⁠ใน​วนั ​ท่ี 5 เดือน​ท่ี 4 ปี​ที่ 30⁠ ขณะ​เม่อื ​ขา้ พเ­จา้ ​ 4 ด⁠ ส​ู ิ เมอ่ื ข​ า้ พ­เจา้ ​มองด​ ู ลมพ​ าย​พุ ดั ม​ า​จาก​ทางเ​หนอื ⁠
อยท​ู่ า่ ม​กลาง​พวกเ​ชลยท​ ร​ี่ มิ ​แม​น่ ำ�้ เ​คบ­ าร์ ท⁠ อ้ งฟ​ า้ ​ มเ​ี มฆก​อ้ น​ใหญท​่ ​ม่ี ​คี วาม​สวา่ ง​โดยร​อบ และ​มไ​ี ฟล​กุ ​วาบ​
เปิดอ​ อก ก และข​ า้ พเ­จ้า​ไดเ้​หน็ ​พระเ​จ้าใ​นน​ มิ ิต⁠ 2 ในว​นั ​ ออกม​ าอ​ ยเ​ู่ สมอ ทา่ ม​กลาง​ไฟ​นนั้ ด​ เ​ู หมอื นท​ อง​สมั ­ฤทธ์ิ​
ที่ 5 เดอื น​น้ัน (คือ​ใน​ปี​ที่ 5 ท่ี​กษัตรยิ ์​เยโ­ฮย­าค­ นี ​ตก​ ท​แ่ี วบว​าบ⁠ 5 และท​ า่ ม​กลางไ​ฟ​นน้ั ​ม​รี ปู ล​กั ษณข​์ อง​สง่ิ ​มี​
เปน็ ​เชลย)⁠  ข 3 พระว​จนะ​ของพ​ ระ​ยาห­์เวหม​์ า​ยงั ​ป­ุโร­หติ ​ ชีวติ 4 ตน⁠ ค ลักษณะข​ อง​ส่งิ ม​ ​ีชีวติ เ​หล่าน​ น้ั ​เป็นเ​ชน่ น​ ี​้
เอเ­ส­เคยี ล​บุตร​บุ­ซี ใน​แผ่น​ดิน​ของ​คน​เคลเ­ดีย⁠​ริม​ ก วว.19:11 ข 2 พกษ.24:10‑16; 2 พศด.36:9‑10
แม​่น้ำ� ​เค­บาร์ ณ ที​่นั่น​พระ​หัตถ์​ของ​พระ​ยาห์­เวห​์มา​ ค วว.4:6

1:1‑32:32 เปน็ ภาคแรกของพระธรรม ยังผู้เผยพระวจนะเพื่อให้ท่านแจ้งแก่ หนง่ึ วา่ “แผน่ ดนิ บาบโิ ลน” ไดแ้ กด่ นิ แดน
เอเสเคียล สาระสำ� คัญคือการท่ีพระเจ้า ประชาชน น่ันแสดงให้เห็นว่าพระเจ้า เหนืออ่าวเปอรเ์ ซียรอบๆ แมน่ �้ำไทกริส
ทรงลงโทษอาณาจักรยูดาห์กับกรุง ทรงสถิตอยู่ด้วยกับประชากรของ และเเม่น้ำ� ยเู ฟรตสิ รวมถึงดินแดนท่อี ยู่
เยรซู าเลม็ ดู “โครงเรอื่ งและสาระสำ� คญั ” พระองค์เสมอแม้กระท่ังในต่างแดน ระหว่างแม่น�้ำสองสายน้ัน ดูแผนท่ี 1
ในคำ� นำ� พlระในอยงาคม์มทิช่ีไดวี ติ ้ทครรงสิ ทเตอยี ดนตทอ้้ิงงพเผวชกญิ เขกบัา​ (ตำ� แหน่ง D 4)
1:1‑28 พระเจ้าทรงส�ำแดงพระองค์แก่ 1:3 พระ​หัตถ์​ของ​พระ​ยาห์เ­วห์​มา​อยู่​
เอเสเคยี ล ท่นี า่ แปลกคอื เอเสเคยี ลไม่ได้ วิกฤตหรือปัญหา ขอให้ตระหนักและ​ เหนอื ไม่ได้มีความหมายตามตวั อักษร
พบพระเจ้าทีพ่ ระวิหารในกรงุ เยรูซาเล็ม เชื่อมั่นเสมอว่าพระเจ้าทรงประทับ​ แต่เป็นส�ำนวนพิเศษของเอเสเคียลเพือ่
แต่พบท่ีบาบิโลน และพระเจ้าทรงเรียก อยใู่ กล้ มไิ ดท้ รงอยู่หา่ งไกล โดยเฉพาะ อธบิ ายว่าท่านได้รับข่าวสารจากพระเจ้า
ทา่ นให้เป็นผเู้ ผยพระวจนะที่น่นั (ดบู ทท่ี ในสถานการณ์ท่ีดูน่าส้ินหวังหรือไม่มี โดยการเห็นนิมิต (1:3; 3:14,22; 8:1;
2‑3) เอเสเคยี ลเปน็ ปโุ รหติ ทถี่ กู กวาดตอ้ น ทางออกในสายตาของมนษุ ย์ แทจ้ รงิ แลว้ 33:22; 37:1; 40:1)
ไปเป็นเชลยในบาบโิ ลน ท่านไม่ไดร้ บั ใช้ ทกุ สง่ิ อยใู่ นแผนการของพระเจา้ ขอใหเ้ รา 1:4‑14 บรรยายเรื่องสิ่งมีชีวติ สต่ี น หรอื
พระเจา้ ในพระวหิ าร ทา่ นอาจเสยี ใจ แต่ใน สงบและรอคอยพระองคl์ เครูบ (10:1)
สภาพเช่นนี้ พระเจ้าทรงส�ำแดงนิมิต 1:1 ปี​ที่ 30 ยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่า 1:4 จาก​ทาง​เหนอื ทางเหนอื เปน็ ทปี่ ระทบั
ประหลาดแกท่ า่ น และจากประสบการณน์ ี้ หมายถึงอะไร แต่เข้าใจกันว่าเป็นอายุ ของพระเจ้า (อสย.14:13; สดด.48:2)
เอเสเคียลจึงรู้ว่าพระเจ้าจะทรงสร้าง ของเอเสเคยี ลในเวลานั้น ดู “ชีวประวตั ิ และในบางกรณีก็เป็นทิศที่นำ� หายนะมา
ประชากรของอสิ ราเอลใหมจ่ ากชมุ ชนท่ี ของเอเสเคียล” ในค�ำนำ� โดยปกตมิ หาอำ� นาจอสั ซเี รยี และบาบโิ ลน
ตกเป็นเชลยในบาบิโลน 1:1 แม่น​ ำ้� ​เคบ­ าร์ เปน็ คลองขุดท่บี รเิ วณ จะยกทพั มารกุ รานอสิ ราเอลจากทศิ เหนอื
เนอื้ หาของบทนแ้ี บ่งไดเ้ ป็น 4 ตอน คือ เมอื งนปิ ปรู เ์ พอ่ื ใชส้ ง่ นำ�้ จากแมน่ ำ้� ยเู ฟรตสิ (ยอล.2:20)
1. เร่ืองพระเจ้าทรงเรียกเอเสเคียลท่ี ไปยังที่ราบระหว่างแม่น้�ำยูเฟรติสและ 1:4 ทอง​สมั ฤ­ ทธ​์ิท่​ีแวบ​วาบ แปลตรงตวั
บาบโิ ลน (ข้อ 1‑3) แม่นำ้� ไทกริส (1:1,3; 3:15,23; 10:15, ว่า “ดวงตาของฆัชมัล” ค�ำว่า ฆัชมัล
2. เร่ืองส่ิงมีชีวิตประหลาด 4 ตน หรือ 20,22; 43:3) หมายถึงวัตถุท่ีเปล่งแสงเรืองรอง อาจ
เครูบ (ขอ้ 4‑14) 1:1 พระ​เจ้า​ในน​ มิ ิต แปลได้อกี วา่ “นิมิต เปน็ ทองสมั ฤทธห์ิ รอื อน่ื ๆ ชาวยวิ เขา้ ใจวา่
3. เร่ืองวงล้อข้างกายสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น ต่างๆ ของพระเจ้า” ซึ่งหมายความว่า เอเสเคยี ลใชค้ ำ� ฆชั มลั เพอ่ื สอื่ ความหมาย
(ขอ้ 15‑21) ตลอดพระธรรมนี้เอเสเคียลได้เหน็ นมิ ติ ถึงพระเจา้ ทท่ี ่านเหน็ (1:27)
4. เร่ืองพระเจ้าประทับบนพระบัลลังก์ มากมายจากพระเจ้า อย่างไรก็ดี ตาม 1:5 สิ่ง​มี​ชีวิต 4 ตน โดยทั่วไปเลข 4
เหนอื พ้นื ฟ้าและเหล่าเครูบ (ข้อ 22‑28) บริบทของบทนี้ ท่านได้เห็นนิมิตเกี่ยว หมายถงึ ความสมบรู ณ์ หรอื โลก แต่ในทน่ี ี้
1:1‑3 วนั ท่ี 5 เดอื นที่ 4 ปที ่ี 30 ปโุ รหติ กบั พระเจา้ หมายถงึ ความสมบรู ณ์ เพราะสง่ิ มชี วี ติ นน้ั
เอเสเคยี ลไดร้ บั พระวจนะจากพระยาหเ์ วห์ 1:2 ใน​ปี​ที่ 5 ที่​กษัตริย์​เยโ­ฮย­ าค­ ีน​ตก​ เปน็ ของพระเจา้ เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ฝา่ ยสวรรค์
ท่ีริมแม่น�้ำเคบาร์ในบาบิโลน พระเจ้า เป็นเ​ชลย คือนบั ตง้ั แต่ปี 597 กอ่ น ค.ศ. มลี กั ษณะประหลาดคอื เปน็ ทง้ั มนษุ ยแ์ ละ
ทรงเรียกทา่ นท่นี ัน่ คนอิสราเอลตกเปน็ เมอื่ กษัตริย์เยโฮยาคีนและเอเสเคียลถูก สัตว์ มีสี่หน้าและส่ีปีก เอเสเคียลเรียก
เชลยศึกในบาบิโลน ต้องเผชิญกับความ กวาดตอ้ นมาเปน็ เชลยทบี่ าบโิ ลน ซง่ึ หาก ส่ิงมีชวี ิตนั้นวา่ “เครบู ” (10:1)
ยากลำ� บาก ความทอ้ แท้ และความอบั อาย นับตอ่ มาอีก 5 ปกี ต็ กทปี่ ี 592 ก่อน ค.ศ.
ในภาวะเช่นน้ี พระเจ้าทรงส่งข่าวสารมา 1:3 แผ่น​ดนิ ​ของ​คน​เคลเ­ดยี เรยี กอีกชอื่

เอเสเคยี ล 1:6 18

คือ มี​รูป​ลกั ษณ์​ของ​มนุษย⁠์ 6 แต​่ละ​ตน​มี​หน้า 4 หนา้ ท้ัง​ส่ี​ก็​ได้​ทั้ง​น้ัน พวก​มัน​เคลื่อน​โดย​ไม่​ต้อง​หนั ​เลย
และม​ ​ีปกี 4 ปกี 7 สว่ น​ขา​นน้ั ต​ รง ฝ่าเ​ท้าเ​หมอื น​กีบ​ลกู ​ 18 ขอบว​ง​ลอ้ เ​หลา่ น​ น้ั ​สงู แ​ ละด​ ​นู า่ ​สะพ­ รงึ ก​ ลวั และข​ อบ​
โคแ​ ละเ​ปน็ ​ประ­กาย​เหมอื น​ทอง​สมั ­ฤทธข​⁠์ิ ดั ​เงา 8 ท​ี่ใต​ป้ กี ​ ลอ้ ​ทงั้ ​ส​เี่ ตม็ ​ดว้ ย​ดวง​ตาอ​⁠ ย​โู่ ดย​รอบ จ 19 เมอื่ ส​งิ่ ​ม​ชี วี ติ ​ทงั้ ​ส่ี​
ม​มี อื ​เหมอื นม​ อื ​มนษุ ย​อ์ ย​ขู่ า้ ง​ลำ� ต​ วั ท​ งั้ ​สี่ ทง้ั ​ส​ตี่ นต​ า่ ง​ม​ี บินไ​ป วง​ลอ้ ​เหลา่ น​ ั้น​ก็เ​คลอื่ นต​ ามไ​ป​ข้างๆ ดว้ ย เมือ่ ​
หลาย​หน้า​และ​ม​ีหลาย​ปีก 9 ปีก​ของ​สง่ิ ​มี​ชีวติ ​เหล่า​นน้ั สง่ิ ​ม​ชี วี ติ ​ลอย​ขนึ้ ​จากพ​ ภิ พ วง​ลอ้ ก​ ​ล็ อย​ขนึ้ ​ด⁠ ว้ ย 20 เมอ่ื ​
​ต่าง​ก็​จด​ปีก​ของ​กัน​และ​กัน ⁠ขณะ​ท​ี่บิน​ไป​ก็​ไม่​ต้อง​หัน วญิ ­ญาณจ​ะ​ไปท​ ไ​่ี หน สิ่ง​มีช​ วี ิตเ​หลา่ ​นนั้ ก​ ็​ไป​ดว้ ย และ​
แต่​ละ​ตน​สามารถ​บิน​ไป​ใน​ทิศ​ท่ี​ใบ​หน้า​นน้ั ๆ มุ่ง​ไป วง​ลอ้ ​นน้ั ก​ ​ล็ อยต​ ามไ​ป​อยา่ ง​ใกลช​้ ดิ เพราะ​วา่ ​วญิ ­ญาณ​
10 รปู ​ลกั ษณ​ใ์ บ​หนา้ ข​ องส​งิ่ ​ม​ชี วี ติ เ​หลา่ ​นนั้ ​คอื ด​ า้ นห​ นา้  ๑​ ของส​ง่ิ ม​ ​ชี วี ติ เ​หลา่ ​นน้ั อ​ ย​ใู่ น​วง​ลอ้ 21 เมอื่ ​สงิ่ ม​ ​ชี วี ติ ท​ งั้ ​สี่
เปน็ ​หนา้ ค​ น ดา้ นข​ วา​เปน็ ห​ นา้ ส​งิ โต ดา้ นซ​ า้ ย​เปน็ ห​ นา้ ​ ​บิน​ไป วง​ล้อ​ก็​เคลื่อน​ไป​ด้วย และ​เมื่อ​หยุด วง​ลอ้ ​ก็
โค และ​ด้าน​หลัง ๒​เป็น​หน้า​นก​อิน­ทร⁠ ีฆ 11 ใบ​หน้า​ของ​ หยุด​ด้วย เม่ือ​พวก​น้ัน​ลอย​ข้ึน​จาก​พิภพ วง​ล้อ​ก็​ลอย​
สิ่ง​มี​ชีวิต​เหล่า​นั้น​ก็​เป็น​เช่น​นี​้แหละ ส่วน​ปีก​ทงั้ ​หลาย​ ตาม​ไป​อย่าง​ใกล้​ชิด เพราะ​ว่า​วิญญ­ าณ​ของ​ส่ิง​มี​ชีวิต​
นั้น​กาง​ขึ้น​ข้าง​บน แต่​ละ​ตน​มี​สอง​ปกี ​ท​่ีจด​ปีก​ของ​กัน​ อยใ​ู่ นว​งล​้อ ฉ
และ​กัน ส่วน​อีก​สอง​ปีก​คลุม​กาย​ของ​ตัว​เอง 12 แต​่ละ​ 22 เ⁠ หนอื ​ศรี ษะข​ องส​ง่ิ ​ม​ชี วี ติ ​เหลา่ ​นน้ั ​มส​ี ง่ิ ท​ ​ม่ี ​รี ปู ​ลกั ษณ์​
ตนบ​ นิ ​ไปใ​น​ทศิ ท​ ใ​่ี บ​หนา้ ​มงุ่ ไ​ป วญิ ญ­ าณจ​⁠ ะไ​ปท​ างไ​หน คลา้ ย​พน้ื ฟ​ า้  ๔ ซง่ึ เ​หมอื น​ผลกึ ​พรา่ ต​า ๕ ช แผก​่ วา้ งอ​ย​เู่ หนอื
มันก​ ไ็​ป​ทาง​น้ัน​และไ​ป​โดย​ไม​่ตอ้ ง​หันเ​ลย 13 รปู ​ลกั ษณ์​ ศ​ รี ษะ​ของพ​ วกม​ นั 23 ทใ​่ี ต​พ้ น้ื ​ฟา้ น​  ้ี๖ ปกี ​ของ​พวก​มนั ก​าง​
และ​ลกั ษณะข​ องส​ง่ิ ม​ ​ชี วี ติ ​เหลา่ ​นน้ั ​เหมอื นถ​ า่ นล​กุ ​โชน ออก​ตรงเ​ขา้ ห​ า​กนั และแ​ ตล​่ ะ​ตนม​ ​ปี กี 2 ปกี  ๗​คลมุ กาย​
ลกั ษณะเ​หมอื นค​ บเ​พลงิ  งห​ ลาย​อนั เ​คลอื่ นไ​ป​มา​ระหวา่ ง​ ของต​ น​เอง 24 และ​เมอื่ ​สง่ิ ​มช​ี วี ติ เ​หลา่ ​นน้ั บ​ นิ ​ไป ขา้ พเ­จา้ ​
สงิ่ ​ม​ชี วี ติ ​เหลา่ ​นนั้ มค​ี วามส​วา่ งข​ อง​ไฟแ​ละ​มแ​ี สง​ฟา้ ​แลบ​ ไดย​้ นิ เ​สยี ง​ปกี เ​หมอื น​เสยี ง​ของน​ ำ�้ ไ​หลเ​ชย่ี ว ๘ ซ เหมอื น​
ออก​มา​จาก​ไฟ​นั้น 14 ส่ิง​มี​ชีวิต​เหล่า​น้ัน​พุ่ง​ไป​พุ่ง​มา พระ​สุร­เสียง​ของ​องค์​ผู้​ทรง​มหิทธิ­ฤทธ์ิ เสียง​โก­ลา­หล​
เหมือนล​กั ษณะส​าย​ฟา้ ​แลบ เหมอื นเ​สยี ง​กองท​ หาร เมอื่ ​พวกม​ นั ย​นื ​นงิ่ ปกี ​ก​จ็ ะห​ บุ ​ลง
15 ⁠เมื่อ​ข้าพเ­จ้า​มอง​ด​ูสงิ่ ​ม​ีชีวิต​เหล่า​นน้ั ด​ูสิ ม​ีวง​ล้อ​ ๑ ภาษาฮ​บี รไ​ู มม​่ ค​ี ำ� ​วา่ ดา้ นห​ นา้ ๒ ภาษา​ฮบี รไ​ู ม​ม่ ค​ี ำ� ว​า่ ดา้ น​หลงั
บนพ​ ้นื อ​ ย​่ขู ้างก​ ายส​ิ่ง​มช​ี วี ติ เ​หล่าน​ ัน้ ตน​ละห​ นงึ่ ว​ง​ล้อ​ ๓ ภาษา​ฮีบรู​แปล​ตรง​ตัว​ว่า ทั้ง​ส่ี​หน้า​ของ​เขา ๔ แปล​ได้​อีก​ว่า
ท้ัง​สี​ต่ น ๓ 16 ลักษณะแ​ ละ​โครงส​ รา้ ง​ของ​วงล​ อ้ เ​หล่าน​ นั้ คลา้ ย​โดม ๕ แปลไ​ด​อ้ กี ว​า่ เหมอื นน​ ำ้� แ​ขง็ ​ทน​ี่ า่ ก​ ลวั ๖ แปลไ​ด​อ้ กี ว​า่
​เหมอื นเ​บ­รลิ ⁠ วงล​อ้ ท​ งั้ ส​​ม่ี ร​ี ปู ล​กั ษณ​เ์ หมอื น​กนั มล​ี กั ษณะ​ ใตโ​้ ดมน​ ี้ ๗ ภาษา​ฮบี รม​ู ​กี าร​กลา่ ว​ถงึ ข​ อ้ ​ความน​ ​ซ้ี ำ้� ๘ ภาษาฮ​ บี ร​ู
และ​โครง​สรา้ ง​เหมอื น​วงล​อ้ ซ​ อ้ น​อย​กู่ ลางว​งล​อ้ ⁠ 17 เมอื่ ​ แปล​ตรงต​ วั ว​่า น�้ำม​ าก​มาย
ฆ อสค.10:14; วว.4:7 ง วว.4:5 จ วว.4:8 ฉ อสค.10:9‑13
เคลอื่ น​ท่ี สงิ่ ​ม​ชี วี ติ เ​หลา่ น​ น้ั จ​ะ​ไปท​ างด​ า้ นใ​ดข​ องใบหนา้ ​ ช วว.4:6 ซ วว.1:4‑15; 19:6

1:5 รูป​ลักษณ์​ของ​มนษุ ย์ เราไมท่ ราบ ของพระเจ้า 1:16 เบร­ิล เป็นอัญมณีที่มีเนื้อใสจนถึง
เหตุผลท่ีเอเสเคียลสรุปว่า สง่ิ มชี วี ิตน้นั 1:10 คน...สิงโต...โค...นก​อิน­ทรี มีผู้ ขุน่ มีสีเขียวและสนี ้�ำเงิน ดู “อญั มณีใน
มรี ปู ลกั ษณข์ องมนษุ ย์ ทงั้ ทป่ี ระกอบดว้ ย อธบิ ายวา่ ทงั้ สอ่ี ยา่ งนแี้ ทนมนษุ ย์ สตั วป์ า่ พระคมั ภรี ”์ ทที่ ้ายเล่ม
ลักษณะของส่ิงมีชีวิตทุกอย่างที่พระเจา้ สตั วเ์ ลย้ี ง และนก ซงึ่ เปน็ สงิ่ มชี วี ติ บนโลก 1:16 วง​ลอ้ ​ซ้อน​อย​ู่กลาง​วง​ล้อ คอื วงลอ้
ทรงสรา้ ง(ขอ้ 10) อยา่ งไรกต็ าม อาจอธบิ าย แตก่ ม็ คี ำ� อธบิ ายอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ คนแทน ขนาดเท่ากันสองอันซ้อนในลักษณะ
ได้ว่ามนุษย์ถูกสร้างตามพระฉายาของ ปญั ญา สงิ โตแทนอำ� นาจ โคแทนพละกำ� ลงั ต้ังฉากกัน จึงเคล่ือนไปได้ทุกทิศทาง
พระเจ้า เอเสเคียลจึงบรรยายสงิ่ มชี วี ติ และนกอินทรแี ทนเสรภี าพ ซง่ึ ทั้งส่ีอยา่ ง เหมอื นลูกบอล
ฝ่ายสวรรค์นั้นว่ามีรูปร่างคลา้ ยมนษุ ยท์ ่ี ลว้ นเป็นพระลกั ษณะของพระเจ้า 1:18 เตม็ ​ดว้ ย​ดวง​ตา หมายความวา่ มอง
ยืนตวั ตรง (ขอ้ 26) 1:12 วิญ­ญาณ แปลได้อีกว่า “ลม” แต่ เหน็ ได้ทกุ มมุ
1:7 ทอง​สมั ฤ­ ทธิ์ เปน็ คำ� ฮบี รคู นละคำ� กบั ในท่ีนี้ “วิญญาณ” เป็นสัญลักษณ์แทน 1:19 วง​ล้อ​ก็​ลอย​ขึ้น เหมือนเครอ่ื งบิน
“ทองสัมฤทธ”ิ์ ในข้อ 4 พระทยั หรือพระก�ำลังของพระเจา้ ในการ เก็บล้อขนึ้ ขณะจะเหนิ บนิ
1:9 จด​ปกี ข​ องก​ นั ​และ​กนั ปกี นนั้ กางออก ท�ำส่งิ ตา่ งๆ บนโลกนี้ (ขอ้ 20) 1:22‑28 พรรณนาเร่ืองพระเจ้าประทับ
และแผช่ ดิ กนั บงั หนา้ ตวั เองไวจ้ ากพระสริ ิ 1:15‑21 พรรณนาเรอ่ื งวงลอ้ ขา้ งกายเครบู บนพระบัลลงั ก์

19 เอเสเคยี ล 2:3

25 และ​ม​เี สยี ง​จาก​ขา้ ง​บน​พนื้ ​ฟา้  ๙​ท​อี่ ย​เู่ หนอื ​ศรี ษะ​พวก​มนั ลกั ษณะ​และ​รูป​ลักษณ์​ของ​พระ​สิริ​ของ​พระ​ยาห์­เวห์​
ขณะ​ที​ส่ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ​เหล่า​นน้ั ย​ืน​น่ิง ปีกท​ ้งั ห​ ลายก​ ห็​ บุ ล​ง เปน็ เชน่ น​ ​แี้ หละ และ​เมอ่ื ข​ า้ พ­เจา้ ​เหน็ แ​ ลว้ ขา้ พ­เจา้ ​กซ​็ บ
แ26  ละ​บน​พ้ืน​ฟ้า​ท่ี​อยู่​เหนอื ​ศรี ษะ​ของ​พวก​มนั มี​ หนา้ ล​ง​ถงึ ​ดนิ และ​ขา้ พ­เจา้ ​ไดย​้ นิ เ​สยี งผ​ ห​ู้ นงึ่ ก​ ำ� ลงั ​ตรสั
ส่ิง​ท่ีมี​รูป​ลักษณ์​ของ​พระ​ท่ี​น่ัง​ซ่ึง​มี​ลักษณะ​เหมอื น​
2ไพลิน และบน​สิ่ง​ท่ี​มี​รูป​ลักษณ์​ของ​พระ​ท่ีนั่ง​นั้น​ก​็ม​ี ทรงเ​รยี ก​เอเ­ส­เคยี ล
แ⁠ ลว้ พ​ ระอ​ งค​ต์ รสั ​กบั ข​ า้ พเ­จา้ ​วา่ “บตุ ร​มนษุ ย​เ⁠์ อย๋
ผู้​มี​ลักษณะ​เหมือน​มนุษย์⁠​อยู่​บน​น้ัน ฌ 27 และ​จาก จง​ยืน​ขน้ึ ⁠ เรา​จะ​พดู ​กับ​เจ้า” 2 ใน​ขณะ​ที่​พระ​องค​์
ส​ว่ น​ท​ม่ี ​ลี กั ษณะ​ของบนั้ เ​อวของผ​ น​ู้ น้ั ข​ นึ้ ​ไป ขา้ พเ­จา้ เ​หน็
ส​งิ่ ค​ ล้ายท​ องส​มั ฤ­ ทธ​์ิแวบ​วาบ ลกั ษณะ​คลา้ ยไ​ฟ​ถกู ​บงั ​ ตรสั ก​ บั ​ขา้ พ­เจา้ น​ นั้ พระ​วญิ ­ญาณ​ทรงเ​ขา้ ม​ า​ใน​ขา้ พ­เจา้
ไวโ​้ ดยร​อบ และจ​าก​สว่ น​ที่​มี​ลกั ษณะ​ของบ​ ั้น​เอว​ลงม​ า และ​ทรง​ตั้ง​ขา้ พเ­จ้า​ให้​ยืน​ขึ้น ขา้ พเ­จ้า​ได้​ยิน​พระ​องค์​
ขา้ พ­เจ้า​เห็น​สิ่ง​ท่ีมี​ลักษณะ​คล้าย​ไฟ​และ​มี​ความ​สุก​ใส​ ผู้๑​ตรัสกับ​ขา้ พ­เจ้า⁠ แ3  ละ​พระ​องค์​ตรัส​กับขา้ พ­เจ้า​
อยร​ู่ อบๆ ทา่ น​ผน​ู้ น้ั  ญ 28 ลกั ษณะ​ความ​สกุ ใ​ส​ท​อี่ ยร​ู่ อบๆ
น้ัน​เหมอื น​ลกั ษณะข​ อง​ร้งุ ​ท​่ีปรา­กฏ​ใน​เมฆเ​มื่อฝ​ น​ตก ๙ ในข​อ้ ​น​แี้ ละข​อ้ 26 แปลไ​ด​อ้ กี ว​า่ บนโ​ดม ๑ แปลไ​ดอ​้ กี ว​า่ ได​ย้ นิ ค​ ำ� ​ที่
ฌ อสค.10:1; วว.4:2‑3 ญ อสค.8:2

1:26 ผม​ู้ ล​ี กั ษณะเ​หมอื น​มนษุ ย์ เอเสเคยี ล การงานของเอเสเคียลไม่สูญเปลา่ หรอื ? 2:1 บุตร​มนุษย์ ดูบทความพเิ ศษ “บตุ ร
อาจนกึ ภาพพระเจา้ เหมอื นกษตั รยิ ป์ ระทบั แน่นอนพระเจ้าทรงประสงคใ์ หป้ ระชากร มนษุ ย์ในพระธรรมเอเสเคียล”
บนพระบลั ลงั ก์ แตข่ อ้ 27 แสดงลกั ษณะ ของพระองคท์ ราบขา่ วสารของพระองค์ 2:1 จง​ยืน​ขึ้น เอเสเคียลทรุดลงกับพ้ืน
อีกแบบหนึ่งของพระเจ้าซ่ึงไม่ใช่มนุษย์ เพ่ือพวกเขาจะมีโอกาสกลับใจ พระองค์ เพราะเหน็ พระสริ ขิ องพระเจา้ (1:28) ตอนน้ี
ธรรมดา ทรงรกั พวกเขาและไมต่ อ้ งการใหพ้ วกเขา​ ทา่ นต้องลุกขึ้นยนื ตรงเพื่อรบั พระบญั ชา
2:1‑3:27 เป็นตอนที่พระเจ้าทรงเรียก พินาศ ในสังคมไทยกเ็ ชน่ กัน คนจำ� นวน (2:2; 3:22‑24)
เอเสเคยี ลใหเ้ ปน็ ผเู้ ผยพระวจนะ พระองค์ มากไม่ยอมรับข่าวประเสริฐของพระ 2:2 ได้​ยิน​พระ​องค์​ผู้ตรัส​กับ​ข้าพ­เจ้า​
ตรัสล่วงหน้าว่าจะส่งเอเสเคียลไปหา เยซูคริสต์ แต่ผู้ประกาศข่าวประเสริฐก็ ความหมายตามภาษาฮีบรูแสดงความ
3ป:ร4ะ‑1ช1า)ชlนทท่ีจำ� ะไไมมพ่ยรอะเมจฟา้ ทังรทง่าทนำ� เช(2น่ :น3‑น้ั 5?; พยังระตเ้อจงา้ ตท่อ�ำหไปนl้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายจาก สนิทสนมมากกวา่ ข้อความใน 1:28 ว่า
“ได้ยินเสียงผ้หู นึง่ กำ� ลงั ตรสั ”

บตุ รมนุษยใ์ นพระธรรมเอเสเคียล
Son of Man in Ezekiel
คำ� ว่า บุตรมนษุ ย์ (Son of Man) หรอื ในภาษาเดมิ คือคำ� ว่า กับผเู้ ผยพระวจนะเอเสเคียลเม่อื ใด พระองค์จะทรงเรยี กทา่ น
เบน อาดัม นั้นปรากฏในพระธรรมเอเสเคียลท้ังหมด 93 คร้งั วา่ “บุตรมนุษย์” เสมอ อันเปน็ การบ่งบอกถงึ สถานภาพของ
โดยพบครั้งแรกท่ี 2:1 จัดว่าเป็นคำ� ศัพท์ส�ำคัญอีกค�ำหน่ึงใน ท่านว่าเป็นเพียงมนุษย์คนหนึ่งซ่ึงเป็นผู้เล็กน้อยและมีความ
พระธรรมเลม่ น้ซี ึ่งมีบริบทและการใชท้ เี่ ฉพาะเจาะจง จ�ำกดั เหมือนคนธรรมดาทั่วไปเมือ่ เทียบกบั พระเจ้าผู้ทรงฤทธ์ิ
คำ� วา่ มนษุ ย์ (Man) ในทน่ี ม้ี คี วามหมายครอบคลมุ ถงึ เผา่ พนั ธ์ุ อ�ำนาจไร้ขีดจ�ำกัดและบริบูรณ์ด้วยพระสิริ (1:4‑28) แต่ใน
หรือความเป็นมนุษย์ จึงหมายถึงมนุษยชาติ (Mankind) ขณะเดียวกนั แมเ้ ปน็ เช่นนน้ั พระองค์ก็ยงั ทรงเรียกและทรง
ส่วนค�ำว่า บุตร (Son) บ่งบอกถึงการก�ำเนิดจากหรือมีที่มา ใช้ท่านเป็นเคร่ืองมือของพระองค์ ความจ�ำกัดต่างๆ ท่ีผเู้ ผย
จากเผ่าพันธุ์น้ันๆ บุตรมนุษย์ (Son of Man) จึงหมายถึง พระวจนะเอเสเคียลมีอยู่นั้นไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อแผนการ
ผู้ถือก�ำเนิดจากเผ่าพันธุ์มนุษย์และเป็นเหมือนอย่างมนุษย์ ของพระองคเ์ ลย
หรือคนธรรมดาทั่วไป ด้วยเหตุน้ี พระคัมภีร์ภาษาอังกฤษ นอกจากน้ี เรายังพบค�ำว่า “บุตรมนุษย์” ในพระธรรม
ฉบับมาตรฐานบางฉบับจึงแปลค�ำนี้แบบเรียบง่ายเพียงว่า ดาเนียลด้วย แต่มีบริบทและการใช้ที่แตกต่างกัน โดยใน
Mortal man หรือ O Mortal (มนุษย์เอย๋ ) กรณนี นั้ ผเู้ ผยพระวจนะดาเนยี ลเปน็ ผเู้ หน็ นมิ ติ และบรรยายถงึ
ในพระธรรมเอเสเคียล มีข้อน่าสังเกตว่าเมื่อพระเจ้าตรัส “บตุ รมนุษย”์ (ดบู ทความพิเศษใน ดนล.7:13) 

เอเสเคียล 2:4 20

ว่า “บุตร​มนุษย์​เอ๋ย เรา​ส่ง​เจ้า​ไป​ยัง​คน​อิสรา­เอล 8 “⁠ สว่ นเ​จา้ บตุ รม​ นษุ ย​เ์ อย๋ จง​ฟงั ​สง่ิ ท​ ​เ่ี รา​กลา่ วก​ บั ​เจา้
ไป​ยงั ​ประ­ชาช​ าตท​ิ ม​ี่ กั ​กบฏ⁠ ผ​ซู้ ง่ึ ไ​ด​ก้ บฏต​ อ่ ​เรา ทง้ั ต​ วั ​เขา​ อย่า​เป็น​คน​มัก​กบฏ​เหมือน​พงศ์​พันธุ์​ท่ี​มัก​กบฏ​นั้น⁠
และ​บรรพบ­ ุรุษ​ของ​เขา​ได้​ละ­เมดิ ​ตอ่ ​เรา​จน​ถงึ ​ทกุ ​วนั ​น้ี จง​อา้ ​ปาก​ของเ​จา้ แ​ ละ​กนิ ส​ง่ิ ท​ เ​่ี ราใ​ห​เ้ จา้ ” 9 เมอ่ื ​ขา้ พ­เจา้ ​
4 เผ่า​พันธท์ุ​ ​ดี่ อื้ ด​ า้ นแ​ ละใ​จก​ระด­ ้าง เราใ​ชเ​้ จา้ ไ​ปห​ าเ​ขา​ มอง​ดู นี่​แนะ่ พระ​หัตถ์​ข้าง​หน่ึง​เหยียด​ออก​มา​ยัง​
ทั้ง​หลาย และ​เจ้า​จง​พดู ​กบั ​พวก​เขา​ว่า ‘พระ​ยาห­์เวห​์ ขา้ พเ­จา้ และด​ ส​ู ิ ในพ​ ระ​หตั ถ​น์ นั้ ม​ ​หี นงั ส­อื ​อย​มู่ ว้ นห​ นงึ่
องคเ​์ จา้ ​นาย​ตรสั ​ดงั ​น’⁠้ี 5 พวก​เขาจ​ะ​ฟงั ​หรอื ป​ ฏเ­ิ สธก​ ​ต็ าม 10 แลว้ พ​ ระอ​ งค​ท์ รง​คล​ห่ี นงั ส­อื น​ น้ั อ​ อกต​ อ่ ​หนา้ ​ขา้ พเ­จา้
(เพราะ​วา่ ​เขา​เป็น​พงศ์​พันธุ์​ท่ี​มัก​กบฏ⁠) พวก​เขา​จะ​ได​้ ม​ตี วั ห​ นงั ­สอื ​เขยี น​อย​ทู่ งั้ ​ดา้ น​หนา้ แ​ ละ​ดา้ นห​ ลงั  ฎ มบ​ี ท​

3รู้​วา่ ​มี​ผู้​เผย​พระ​วจนะ​คน​หน่ึง​ท่าม​กลาง​พวก​เขา​แลว้ คร่�ำค​ รวญ คำ� ไ​ว้ท​ กุ ข์ และค​ ำ� ว​­ิบตั เ​ิ ขียน​อยบู​่ น​นัน้

6 สว่ นเ​จา้ บตุ ร​มนษุ ย​เ์ อย๋ อยา่ ​กลวั พ​ วกเ​ขา​หรอื ค​ ำ� ​พดู ​ และ​พระ​องค​ต์ รสั ​กบั ​ขา้ พ­เจา้ ว​า่ “บตุ ร​มนษุ ยเ​์ อย๋
ของ​เขา ถงึ ​แมว​้ า่ ต​ น้ ห​ นาม​และห​ นามพ​ งุ ​ดอจ⁠​ะอ​ย​กู่ บั ​เจา้ จงก​ นิ ​สงิ่ ​ทเ​่ี จา้ ไ​ด​พ้ บ จง​กนิ ​หนงั ส­อื ม​ ว้ น​น⁠ี้ แลว้ จ​ง​
และ​เจา้ ​อาศยั อ​ ยู่ท​ ่าม​กลางแ​ มงป​ ่อง⁠ ก​็อย่า​กลัว​ค�ำพ​ ูด​ ไป​พดู ก​ บั พ​ งศ​พ์ นั ธ​อ์ุ สิ รา­เอล” 2 ขา้ พ­เจา้ จ​งึ อ​ า้ ​ปาก และ​
ของพ​ วก​เขา และอ​ ยา่ ท​ อ้ ถ​ อย​เพราะ​ส​หี นา้ ​ของพ​ วก​เขา พระ​องค์​ทรง​ให้​ขา้ พเ­จ้า​รับ​ประท­ าน​หนังส­อื ​ม้วน​นนั้
เพราะว​า่ ​เขา​เป็น​พงศ​พ์ นั ธุท์​ มี​่ กั ​กบฏ 7 แต​เ่ จ้าจ​งก​ ล่าว​ 3 และพ​ ระ​องค​ต์ รสั ​กบั ข​ า้ พ­เจา้ ว​า่ “บตุ รม​ นษุ ยเ​์ อย๋ จง​กนิ
ถอ้ ย​ค�ำ​ของ​เรา​ให้​พวก​เขา​ฟัง แม้​พวก​เขา​จะ​ฟัง​หรือ​ ​หนังส­อื ​ม้วน​น้ี​ซ่ึง​เรา​ให้​แก่​เจ้า และ​บรร­จุ​ให้​เตม็ ​ท้อง​
ปฏเ­ิ สธก​ ็​ตาม​เถอะ เพราะ​เขา​เปน็ พ​ งศพ​์ ันธท์ุ​ ม่​ี ักก​ บฏ ฎ วว.5:1

2:3 คนอสิ ราเอล หมายถึงคนอสิ ราเอล “ประชาชาตทิ ่ีมักกบฏ” ในขอ้ 3 จะต้องบอกข่าวสารของพระเจ้าแก่
ท้ังที่ตกเป็นเชลยในบาบิโลนและทีอ่ ยู่ใน 2:6 ต้น​หนาม​และห​ นามพ​ งุ ด​ อ เปน็ ภาพ ประชาชนแล้ว ยังต้องมีชีวิตท่ีเป็น​
อาณาจกั รยดู าห์ เปรยี บเทยี บถงึ พวกทป่ี ฏเิ สธหรอื ตอ่ ตา้ น แบบอยา่ งแกพ่ วกเขาดว้ ย เขาตอ้ งมชี วี ติ
2:3 ประ­ชา​ชาต​ิท่​ีมกั ​กบฏ โดยปกตจิ ะ เอเสเคยี ลและทำ� ร้ายท่าน ทแ่ี ตกต่างจากโลกl
หมายถงึ ชนชาติอื่นๆ ท่ีไม่ใชอ่ ิสราเอล 2:6 แมงป​ อ่ ง เปน็ ภาพเปรยี บเทยี บถงึ ศตั รู 3:1 จง​กิน​หนงั ส­ ือ​มว้ น​นี้ หมายถึงการ
ชนชาติเหล่านั้นไม่ใช่ประชากรของ ท่ีร้ายกาจกว่าต้นหนาม เพราะไมเ่ พยี ง เตรียมตัวให้พร้อมที่จะเผยพระวจนะ
พระเจา้ แต่ในบริบทน้ีนำ� มาใชเ้ รียกคน ปฏิเสธเอเสเคียลเทา่ นั้น แต่ยังมงุ่ รา้ ย เนื่องจากปากเป็นอวัยวะส�ำคญั ในการ
อสิ ราเอล เพอื่ สอื่ วา่ คนอสิ ราเอลไดป้ ฏเิ สธ หมายเอาชวี ติ ทา่ นดว้ ย เผยพระวจนะ ดู อสย.6:6‑7; ยรม.1:9
พระเจา้ พวกเขาจงึ ไมต่ า่ งจากชนชาตอิ น่ื ๆ 2:8‑3:15 พระเจา้ ทรงแตง่ ต้งั เอเสเคียล นอกจากนี้ยังอาจหมายถึงการรับ
2:4 พระยาห์เ­วห์​องค์​เจ้า​นาย​ตรัส​ดัง​นี้ เปน็ ผเู้ ผยพระวจนะ โดยใหท้ า่ นกนิ หนงั สอื เอาพระวจนะของพระเจ้าเข้าไปเป็น
เป็นส�ำนวนท่ีผู้เผยพระวจนะใช้ประจ�ำ มว้ นของพระองค์ ดู ยรม.15:16 ส่วนหนึ่งในชีวิตตัวเองกอ่ นจะถ่ายทอด
เมื่อจะกล่าวถ้อยคำ� ที่มาจากพระเจ้า ดู 2:8 อยา่ ​เปน็ ​คนม​ กั ก​ บฏ​เหมอื น​พงศ​พ์ นั ธ์​ุ สู่ผอู้ ่นื
ยรม.30:5,12,18; อมส.1:3,6,9 ประกอบ ที่​มัก​กบฏ​น้ัน เอเสเคียลเองต้องเปน็ เราไม่ทราบว่าการกินหนังสือม้วน
2:5 พงศ​์พนั ธ์ุ​ท่ี​มัก​กบฏ ปรากฏในขอ้ แบบอย่างแก่คนอิสราเอลในเร่ืองการ เปน็ การกระทำ� จรงิ หรอื เปน็ การกนิ สง่ิ อนื่
5,6,7,8; 3:9,26 ตามบริบทหมายถงึ คน เเชพอ่ื ียฟงงั ไพรรกะ็ตเจาา้ มไมlว่ า่ จะผเปู้ปน็ระเรกอื่ างศยานกอลกำ� จบาากก​ โดยสมมุตวิ ่าเป็นหนงั สือม้วน หรอื เปน็
อิสราเอลท่ีปฏิเสธพระเจ้า ดูค�ำอธิบาย เหตุการณ์ในนมิ ติ

บุตรมนุษยใ์ นพระธรรมเอเสเคียล (ตอ่ )

 ในพันธสัญญาใหม่ พระเยซูคริสต์ก็ได้ทรงรียก เอเสเคียลปุโรหิตผู้เผยพระวจนะท่ีพระเจ้าทรงใช้ และใน
พระองค์เองว่า “บุตรมนุษย์” อยู่หลายคร้ัง (เช่น มธ.8:20; ขณะเดียวกัน พระองค์ก็ทรงมาจากสวรรค์ เป็นดั่งเจ้านาย
9:6; 11:19; 16:13,27‑28; มก.8:31; 10:45; 14:21; ยน. หรือกษัตริย์ที่พระเจ้าไดท้ รงต้ังไวส้ งู สุด (ในความหมายแบบ
3:13‑15; 9:35‑38) โดยพระองค์อาจทรงรวมความหมาย ดาเนยี ล)
ของค�ำนี้ทั้งในบริบทของเอเสเคียลและดาเนียลเข้าด้วยกัน ดังน้ัน เม่ือรวมความหมายท้ังหมดเข้าด้วยกัน ก็จะเห็น
น่ันคือพระองค์ได้เสดจ็ มาเปน็ มนษุ ย์แท้ (ในความหมายแบบ ถึงฐานะท่ีแท้จริงของพระเยซูคริสต์ คือทรงเป็นทั้งพระเจ้า
เอเสเคียล) เพื่อท่ีจะเป็นตัวแทนของมนุษยชาติและเป็น และมนษุ ย์ ทรงดำ� รงฐานะปโุ รหติ ผเู้ ผยพระวจนะ และกษตั รยิ ์
ผรู้ บั ใชท้ ชี่ อบธรรมในสายพระเนตรของพระเจา้ พระบดิ า ดจุ ดงั่ นริ ันดร์ †

21 เอเสเคียล 3:15

ของ​เจ้า” แล้ว​ข้าพเ­จา้ ​ก็​รบั ​ประท­ าน และ​เม่ือ​หนัง­สอื ​ 11 จง​ไป​เถอะ เจ้า​จง​ไป​หา​พวก​ท่ี​เป็น​เชลย​คือ​ชน​ชาติ​
มว้ น​น้ันอ​ ย่​ูในป​ าก​ข้าพ­เจ้าม​ ันก​ ​็หวานเ​หมือนน​ ำ้� ผ​ ึ้ง⁠ ฏ ของ​เจา้ ⁠​นน้ั จง​พดู ก​ ับเ​ขา​ท้ัง​หลาย และก​ ล่าว​กบั ​พวก​
4 แ⁠ ลว้ ​พระ​องค​์ตรสั ​กบั ​ขา้ พ­เจ้า​ว่า “บุตร​มนุษย​์เอ๋ย เขา​วา่ ‘พระ​ยาห์­เวหอ์​ งคเ์​จ้า​นาย​ตรัสด​ ังน​ ี้’ ไม​่ว่า​พวก​
เจา้ จ​งไ​ปย​งั ​พงศ​พ์ ันธ์ุอ​ สิ รา­เอล และก​ ล่าว​ถ้อย​คำ� ​ของ​ เขา​จะฟ​ ังห​ รอื ​ปฏ­ิเสธก​ ต็​ าม”
เรา​แก​่พวกเ​ขา 5 เพราะเ​ราไ​ม​ไ่ ดใ​้ ช้เ​จา้ ​ไป​หาช​ น​ชาต​ทิ ี​่
พดู ​ภาษา​ตา่ งด​ า้ ว​หรอื ภ​ าษา​ท​เี่ ขา้ ​ใจ​ยาก⁠ แต​ไ่ ปห​ า​พงศ​์ เอเ­สเ­คียล​ที​ร่ มิ ​แม​่น�ำ้ เ​คบ­ าร์
พนั ธ์ุ​อิสราเ­อล 6 ไม่​ใช่​ให้​ไป​หา​ชน​ชาติ​จ�ำ­นวน​มาก​ที่​ 12 พระ​วิญญ­ าณ​ทรง​ยก​ข้าพ­เจา้ ​ขนึ้ ข้าพ­เจา้ ​ได​้ยนิ ​
พดู ​ภาษา​ต่าง​ดา้ ว​และ​เข้า​ใจ​ยาก ซึ่ง​เป็น​ภาษา​ที่​เจ้า​ เสียง​กระห­ ึ่ม​อยู่​ข้าง​หลัง​ข้าพ­เจา้ (สาธกุ าร​แด​่พระ​สิร​ิ
ไมเ​่ ขา้ ​ใจ ท​จ่ี รงิ ถ​ า้ เ​รา​ใช​เ้ จา้ ​ไป​หา​คน​พวก​นน้ั พวก​เขา ของ​พระ​ยาห์­เวห์​ใน​ที่​ประ­ทับ​ของ​พระ​องค์)⁠ 13 และ​มี​
​ก็​จะ​ฟัง​เจ้า 7 แต่​พงศ์​พันธ์ุ​อิสรา­เอล​จะ​ไม่​ยอม​ฟงั ​เจ้า เสยี ง​ปกี ​ของ​สง่ิ ​มช​ี วี ติ ​ท​ส่ี มั ผสั ก​ นั และ​เสยี งว​ง​ลอ้ ข​ า้ งๆ
เพราะเ​ขาไ​ม่​ยอม​ฟัง​เรา⁠ เพราะว​่าพ​ งศ์​พนั ธ์ุอ​ สิ รา­เอล​ ของ​สงิ่ ม​ ช​ี วี ติ ​นน้ั ⁠ เปน็ เ​สยี ง​กระห­ ม่ึ 14 แลว้ พ​ ระว​ญิ ญ­ าณ​
ทั้ง​หมด​เป็น​คน​หัว ๒​แข็ง​และ​ใจ​ดื้อ​ด้าน 8 ด​ูสิ เรา​ได้​ ทรงย​กข​ า้ พเ­จา้ ข​ นึ้ ​และน​ ำ� ​ขา้ พเ­จา้ ไ​ป ขา้ พเ­จา้ ​ก​ไ็ ปด​ ว้ ย​
ท�ำ​ให้​หน้า​ของ​เจ้า​ด้าน​เหมือน​พวก​เขา และ​ทำ� ​ให้​หัว​ ความ​ขม​ขืน่ วญิ ­ญาณ​จิต​ของ​ขา้ พ­เจ้า​เดือด​ดาล⁠ และ​
ของเ​จา้ ​แขง็ เ​ชน่ พ​ วก​เขา 9 เรา​ไดท​้ ำ� ใ​หห​้ วั ข​ องเ​จา้ ​แขง็ ​ พระ​หัตถ์​ของ​พระ​ยาห์เ­วห์​ก็​ทรง​พลัง​อยู​่บน​ข้าพเ­จ้า
แกร่ง​เหมือน​เพชร แข็ง​ยิ่ง​กว่า​หิน​เหล็ก​ไฟ⁠ อย่า​กลวั ​ 15 ขา้ พ­เจา้ จ​งึ ​มา​ถงึ ​พวก​เชลย​ทเ​่ี ทล­อา­บบิ ⁠ ผซ​ู้ งึ่ อ​าศยั อ​ ย​ู่
พวกเ​ขาเ​ลย อยา่ ​ทอ้ ​ถอย​ดว้ ยส​ห​ี นา้ ​ของเ​ขา เพราะเ​ขา​ รมิ แ​ ม​น่ ำ�้ ​เค­บาร์ และใ​นท​ ​ที่ ​พี่ วก​เขาอ​าศยั ​อย​นู่ นั้ ข​ า้ พ­เจา้
เป็น​พงศ์​พันธุ์​ที่​มัก​กบฏ” 10 พระ​องค์​ตรัส​กบั ​ข้าพเ­จา้ ​ ก​น็ ั่งด​ ว้ ยค​ วามต​ ะ­ลึงง­นั อ​ ย​ทู่ ่ามก​ ลาง​พวกเ​ขา​เจ็ด​วนั
อีก​ว่า “บุตร​มนุษย์​เอ๋ย จง​รับ​ถ้อย​คำ� ​ทั้ง​หมด​ของ​เรา​ ๒ คำ� ว​า่ หวั ในข​อ้ ​น้ี ขอ้ 8 และ​ขอ้ 9 ภาษาฮ​บี รแ​ู ปล​ตรงต​วั ว​า่ หนา้ ​ผาก
ที่​พูด​กับ​เจ้า​ไว้​ใน​ใจ​ของ​เจ้า และ​จง​ฟัง​ด้วย​หู​ของ​เจา้ ฏ วว.10:9‑10

3:3 หวาน​เหมอื นน​ ้�ำผ​ งึ้ หนงั สือม้วนนนั้ ของพระเจา้ ลกั ษณะประหลาดใน 1:5‑25
เตม็ ไปดว้ ยบทครำ�่ ครวญ คำ� ไวท้ กุ ข์ และคำ� 3:9 เพชร...หนิ เ​หลก็ ไ​ฟ วตั ถสุ องอยา่ งนม้ี ี 3:14 ไปด​ ว้ ยค​ วาม​ขม​ขน่ื วญิ ­ญาณ​จติ ​ของ​
วบิ ตั ิ(2:10) นา่ จะมรี สขม แตเ่ มอื่ เอเสเคยี ล ความแข็งเปน็ พเิ ศษสำ� หรับคนสมยั นนั้ ขา้ พเ­จา้ เ​ดอื ดด​ าล สะทอ้ นความรสู้ กึ ของ
กนิ เข้าไป กลับพบว่าหวานเหมือนน�้ำผึง้ จึงถูกน�ำมาเปรียบเทียบว่า พระเจ้าจะ เอเสเคียล ด้านหน่งึ ก็ตน่ื เต้นและสับสน
นน่ั อาจหมายความวา่ เอเสเคยี ลเหน็ ดว้ ย ทรงทำ� ใหเ้ อเสเคยี ลแขง็ แกรง่ เชน่ นนั้ เพอื่ เพราะได้เห็นพระสิริของพระเจา้ แต่อีก
กบั คำ� พพิ ากษาของพระเจา้ ตอ่ ประชาชน จะสามารถท�ำพันธกิจทที่ รงมอบหมาย ดา้ นหนึ่งก็อัดอั้นตันใจเพราะต้องกล่าว
ท่านต้องกล่าวโทษและเรียกร้องให้ ให้จนสำ� เรจ็ โทษเยรูซาเล็มทจ่ี วนจะถกู ท�ำลาย
ประชาชนกลบั ใจใหม่ ภารกจิ ของทา่ นเปน็ 3:11 ชนช​ าตข​ิ อง​เจา้ เนอื่ งจากอสิ ราเอล 3:15 เทล­อา­บิบ เป็นหมบู่ ้านเล็กๆ ริม
งานทยี่ ากลำ� บาก แตจ่ ะนำ� ไปสคู่ วามรอด ต่อต้านพระเจ้าตลอดมา พระองค์จึง แม่น้ำ� เคบาร์ เป็นท่ีอาศัยของเอเสเคียล
และความหวงั ที่หวานชืน่ (ยรม.15:16) ทรงเรียกพวกเขาวา่ “ชนชาติของเจา้ ” คำ� นี้แปลว่า “เนนิ เขาแห่งรวงขา้ ว” หรอื
3:4‑11 พระเจ้าทรงมอบพันธกิจแก่ ไม่ใช่ “ชนชาตขิ องเรา” นี่เปน็ ค�ำกลา่ ว “เนินเขาข้าวบารเ์ ลย์” แตค่ ำ� น้ีในภาษา
เอเสเคียล เชงิ เหนบ็ แนมหรือแดกดนั (อพย.32:7) อัคคาเดียนแปลว่า “เนินเขาน�ำ้ ทว่ ม”
3:5 ชน​ชาตท​ิ ​พ่ี ดู ภ​ าษาต​ า่ ง​ดา้ วห​ รอื ภ​ าษา​ 3:12 (สาธกุ ารแ​ด​พ่ ระ​สริ ข​ิ องพ​ ระ​ยาห­เ์ วห​์ นั่นหมายความว่าชนชาติอิสราเอลถกู
ท​เี่ ข้า​ใจ​ยาก หมายถึงคนตา่ งชาตทิ ี่ไม่ใช่ ใน​ที่​ประ­ทบั ​ของ​พระ​องค์) ประโยคนี้ไม่ นำ� มาอยู่ในเมืองที่ปรักหักพัง พวกเขา
คนอสิ ราเอล (อสย.33:19) เข้ากับบริบท จึงใส่ไว้ในวงเล็บ เพราะ จงึ ต้องซอ่ มแซมเมืองขึ้นใหม่เพอ่ื ใชเ้ ปน็
3:7 ไม่​ยอม​ฟัง​เจ้า...ไม่ยอมฟังเรา​ ไม่รูเ้ ปน็ คำ� พูดของใคร ฉบบั 1971 แปล ทอ่ี ยอู่ าศยั
เอเสเคยี ลเปน็ โฆษกของพระเจา้ ขา่ วสาร ข้อความนี้ว่า “และ​เมื่อ​พระ​สิร​ิของ​พระ​ นอกจากที่นี้แล้ว ยังมีสถานท่ีอื่นๆ
ที่ท่านประกาศจึงเป็นพระวจนะของ เจ้า​ข้ึน​มา​จาก​สถานท่ี​อยู่” โดยแกค้ �ำวา่ ในอาณาจักรบาบิโลนซ่งึ คนอสิ ราเอลพัก
พระเจา้ ดงั นน้ั การปฏเิ สธคำ� เผยพระวจนะ “สาธกุ าร” เป็น “ขึ้นมา” อาศัย ดู อสร.2:59; นหม.7:61
ของเอเสเคียลก็เป็นการปฏิเสธถ้อยคำ� 3:13 ส่ิงม​ ​ชี ีวติ น​ นั้ หมายถงึ สงิ่ มชี ีวิตที่มี

เอเสเคียล 3:16 22

16 ⁠พอ​ส้ิน​วัน​ท่ี​เจ็ด พระ​วจนะ​ของ​พระ​ยาห์เ­วห์​ก​็ อธรรม​ของ​เขา เขา​จะ​ตาย​เพราะ​ความ​ผดิ ​บาป​ของ​เขา
มา​ถึง​ข้าพ­เจา้ ​ว่า 17 “บตุ ร​มนุษย์​เอ๋ย เรา​ได​้ตัง้ ​เจ้า​ให้​ แต่​เจ้า​จะ​ช่วย​ชีวิต​ของ​เจ้า​ให้​รอด 20 อกี ​ประ­การ​หน่งึ
เปน็ ย​าม​ของพ​ งศพ​์ นั ธ​อ์ุ สิ รา­เอล เมอื่ ​เจา้ ไ​ดย​้ นิ ถ​ อ้ ย​คำ� ​ ถ้า​คน​ชอบ​ธรรม​หัน​กลับ​จาก​ความ​ชอบ​ธรรม​ของ​เขา
จาก​ปาก​ของ​เรา เจา้ ​จง​กล่าว​ค�ำ​ตกั ​เตือน​จาก​เรา​แก่​ และ​ท�ำ​การ​อยุติธ­รรม แล้ว​เรา​วาง​ส่ิง​สะดุด​ไว้​ตรง
พวกเ​ขา 18 ถ้า​เราจ​ะบ​ อกก​ บั ​คน​อธรรมว​า่ ‘เจ้า​จะต​ อ้ ง​ หน้า​เขา เขา​จะ​ต้อง​ตาย เขา​ตาย​เพราะ​บาป​ของ​เขา
ตาย​แน่’ และ​เจา้ ​ไม่​ได้​ตกั ​เตือน​เขา​หรอื ​ไม่​ได้​กล่าว​ เนื่อง​จาก​เจ้า​ไม่​ได้​ตัก​เตือน​เขา และ​จะ​ไม่​ม​ีใคร​จด​
ตกั ​เตือน​คน​อธรรม​ให้​ละ​จาก​ทาง​อธรรม​ของ​เขา จำ� ​ความ​ชอบ​ธรรม​ท่ี​เขา​เคย​ทำ� ​ไว้ แต่​โลหิต​ของ​เขา
เพอ่ื ​จะช​ ว่ ย​ชวี ติ ​เขา​ไว้ คน​อธรรมน​ นั้ จ​ะต​ายเ​พราะ​ความ​ เรา​จะเ​รยี ก​ร้อง​เอา​จาก​มอื เ​จา้ 21 แตถ่​ ้าเ​จา้ ไ​ด​ต้ ัก​เตือน​
ผิดบ​ าป​ของเ​ขา แต​่โลหิตข​ องเ​ขา เราจ​ะ​เรยี กร​อ้ ง​เอา​ คน​ชอบ​ธรรมไ​ม่​ให้​ท�ำ​บาป และเ​ขาไ​ม่​ทำ� ​บาป เขา​จะ​
จาก​มอื เ​จา้ ⁠ 19 แตถ​่ า้ ​เจา้ ​ได​ต้ กั ​เตอื น​คนอ​ ธรรม และเ​ขา​ มี​ชีวิต​อยู่​แน่​นอน เพราะ​ว่า​เขา​รับ​คำ� ​ตัก​เตือน​และ
ไม่​ได้​หัน​กลับ​จาก​การ​อธรรม​ของ​เขา หรือ​จาก​ทาง​ เจา้ ​กจ​็ ะช​ ว่ ยช​ วี ติ ข​ อง​เจ้าใ​หร​้ อด”

บันทึกสว่ นตัว

___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________

3:16‑21 หน้าท่ีและความรับผิดชอบ ตักเตือน แต่คนอิสราเอลปฏิเสธและ เอาจ​าก​มอื ​เจา้ ยามมคี วามรบั ผดิ ชอบสงู
ของผู้เผยพระวจนะเอเสเคียลคือ พlนิ าคศริสพเรตะียเจน้ากก็เ็จชะ่นไมก่ัทนรงเรเอาามผีหิดนท้า่าทน่ี หากเอเสเคยี ลไม่ไดเ้ ตอื นประชาชนเรอ่ื ง
เป็นยามระวังภัยให้พงศ์พันธ์ุอสิ ราเอล บาปและหายนะท่ีจะมาถึง เป็นเหตใุ ห้
ซงึ่ หมายความวา่ เอเสเคยี ลตอ้ งเตอื นภยั ประกาศขา่ วประเสรฐิ เพอื่ ใหค้ นรอด แตเ่ รา​ พวกเขาเสียโอกาสกลับใจและต้องตาย
คนอิสราเอล เพื่อพวกเขาจะไม่พินาศ ตดั สนิ ใจหรอื กลบั ใจแทนผอู้ น่ื ไมไ่ ด้ ดงั นนั้ ​ เอเสเคียลก็ต้องรับผิดชอบเรอ่ื งความ
หากเอเสเคียลไม่ทำ� หนา้ ท่ี คนอสิ ราเอล กพบัวกกเาขราตจดั ะสรนิอดใจหขรออื งจพะพวกบเหขาายเอนงะlกข็ นึ้ อยู่​ ตายของพวกเขา
ก็จะพินาศ แล้วพระเจ้าก็จะทรงเอา
โทษทา่ น แตห่ ากผเู้ ผยพระวจนะวา่ กลา่ ว 3:18 แต่โลหิตของเขา เรา​จะ​เรียก​รอ้ ง​

23 เอเสเคยี ล 4:3

เอเ­ส­เคียลอ​ ยล่​ู ำ� ­พัง​และเ​ปน็ ​ใบ้ กบั เ​จา้ เราจ​ะ​เปดิ ป​ ากเ​จา้ แลว้ เ​จา้ ​จะพ​ ดู ก​ บั เ​ขา​ทงั้ ห​ ลาย
22 ณ⁠ ทน​่ี นั่ พ⁠​ ระ​หตั ถข​์ องพ​ ระย​าหเ­์ วหม​์ าอ​ย​บู่ น​ขา้ พเ­จา้ ​ว่า ‘พระ​ยาห์­เวห์​องค์​เจ้า​นาย​ตรัส​ดัง​น้ี​ว่า’ ผู้​ที่​จะ​ฟงั ​
และ​พระ​องค์​ตรัส​กบั ​ข้าพเ­จา้ ​ว่า “จง​ลกุ ​ขึน้ ​ออก​ไป​ยัง​ ก็​ให้​เขา​ฟัง และ​ผู้​ที่​จะ​ปฏิเ­สธ​ก็​ให้​เขา​ปฏิเ­สธ เพราะ​
ท่ีร​าบ แล้วเ​รา​จะพ​ ดู ​กับ​เจ้าท​ น​่ี ่ัน” 23 ดัง​นน้ั ข​ า้ พ­เจา้ ​จึง เขาท​ งั้ ห​ ลายเ​ป็น​พงศพ​์ นั ธ​ม์ุ กั ​กบฏ”
ล​กุ ​ขนึ้ ​ออกไ​ป​ยงั ​ท​รี่ าบ และน​ แ​ี่ นะ่ พระ​สริ ข​ิ อง​พระย​าห­เ์ วห์
4ก​ ​อ็ ย​ทู่ น​่ี นั่ ​เหมอื น​กบั พ​ ระส​ริ ​ซิ งึ่ ​ขา้ พ­เจา้ ไ​ดเ​้ หน็ ท​ ​รี่ มิ ​แมน​่ ำ้� ​ การพ​ รรณน­ าใ​ห​้เห็นภ​ าพ​การล​ ้อม​กรุง​เย­รซ­ู า­เลม็

เคบ­ าร์ แลว้ ​ขา้ พ­เจา้ ​กซ​็ บ​หนา้ ​ลง​ถงึ ​ดนิ 24 แต​พ่ ระว​ญิ ­ญาณ “⁠ เจา้ บตุ รม​ นษุ ย​เ์ อย๋ จงเ​อาก​ อ้ นอ​ ฐิ ​ม⁠ าว​าง​ไวข​้ า้ ง​
​เสด็จ​เข้า​ใน​ข้าพ­เจ้า​และ​ท�ำ​ให​้ข้าพ­เจ้า​ยนื ​ข้ึน และ​ หนา้ ​เจา้ และแ​ กะ​รปู เ​มอื ง​หนง่ึ ​ไวบ​้ นน​ น้ั คอื ​นคร​
พระอ​ งคต​์ รสั ก​ บั ข​ า้ พเ­จา้ ​และ​ทรง​บอก​ขา้ พเ­จา้ ​วา่ “จง​ไป เยร­ซ­ู าเ­ลม็ 2 จง​ลอ้ ม​นครน​ นั้ ​ไว​แ้ ละก​ อ่ ก​ ำ� ­แพง​ลอ้ ม​รอบ​
แลว้ ​ขงั ​ตวั เ​อง​ไว​ภ้ าย​ในบ​ า้ นข​ องเ​จา้ 25 เจา้ บตุ ร​มนษุ ยเ​์ อย๋ นคร​น้นั ⁠​ด้วย และ​กอ่ ​เชิง​เทิน⁠​ไว้​สู้​นคร​นัน้ และ​ตั้ง​ค่าย​
ดส​ู ิ พวกเ​ขา​จะ​เอา​เชอื ก​พนั ​เจา้ และ​มดั ​เจา้ ​ดว้ ย​เชอื กน​ นั้ ⁠รอบ​นคร​ไว้ และ​ต้ัง​เครื่อง​ทะ­ลวง​ก�ำ­แพง⁠​ไว้​รอบ​นคร
เจา้ จ​งึ ​ออกไ​ปอ​ ย​ทู่ า่ ม​กลาง​พวกเ​ขา​ไม​ไ่ ด้ 26 และเ​ราจ​ะ​ 3 จงเ​อาเ​หลก็ ​แผน่ ม​ า และ​ทำ� ใ​หม​้ นั ​เปน็ ​เหมอื นก​ ำ� ­แพง​
ท�ำ​ให​้ลน้ิ ​ของเ​จา้ ต​ ิด​กบั เ​พดาน​ปาก​ของเ​จ้า ดัง​นัน้ ​เจ้า​ เหลก็ ร​ะหวา่ งเ​จา้ ก​ บั น​ ครน​ นั้ แลว้ ​หนั ห​ นา้ ไ​ปท​ างน​ คร​นน้ั ⁠
จะ​เปน็ ใ​บ้ เจา้ จ​ะไ​มส​่ ามารถว​า่ ก​ ลา่ วพ​ วก​เขา⁠ เพราะ​วา่ ใหน​้ คร​นนั้ ถ​ กู ​ลอ้ ม​ไว้ เจา้ ​จง​ลอ้ ม​นครน​ น้ั ​ไว้ น​เ่ี ปน็ ห​ มาย​
​เขาท​ ้ัง​หลาย​เป็นพ​ งศ​์พันธุท​์ ​มี่ กั ​กบฏ 27 แต​่เมื่อเ​ราพ​ ดู ​ สำ� คัญ​ตอ่ ​พงศพ​์ ันธ​อ์ุ ิสรา­เอล

3:22‑27 เปน็ กจิ พยากรณท์ เ่ี อเสเคยี ลขงั ความหมายบ่งถึงการล่มสลายของกรงุ แผน่ ดินเหนยี วขณะยงั เปียก แลว้ เอาไป
ตวั เองอย่ใู นบา้ นและเปน็ ใบ้ lความเ​งยี บ​ เยรูซาเล็มและอาณาจักรยดู าห์ ตากแดดใหแ้ หง้ เพอ่ื ใหอ้ กั ษรตดิ แนน่ ถาวร
น้ันเป็น​การ​ส่ือสาร​ที่​ทรง​พลัง​อย่าง​หน่งึ กจิ พยากรณ์ทัง้ หมดมี 4 ชุดไดแ้ ก่ 4:2 ล้อม​รอบ​นคร​นั้น ส่ิงแรกที่ทหาร
หาก​เรา​เป็น​ผู้บรรยาย​บน​เวที หรือเป็น 1. การแกะรูปนครเยรูซาเล็มจ�ำลอง บาบิโลนท�ำเพ่อื โจมตกี รงุ เยรซู าเลม็ คือ
ครส​ู อนใ​นช​ น้ั ​เรยี นท​ ​น่ี กั เรยี นห​ รอื ผ​ ฟู้ งั ไ​ม​่ (4:1‑3) การล้อมกรงุ (2 พกษ.25:1)
สนใจฟ​ งั ขณะทเ​ี่ ราพ​ ดู บางครงั้ ​การ​หยดุ ​พดู ​ 2. การนอนตะแคง (4:4‑8) 4:2 กอ่ ​เชงิ ​เทนิ คอื พนู ดนิ สงู เทา่ ความสงู
และน​ ง่ิ เงยี บสกั พ​ กั ห​ นง่ึ ก​อ็ าจชว่ ย​เรยี กค​วาม​ 3. การท�ำขนมปังป้ิงและดื่มนำ�้ (4:9‑17) ของกำ� แพงเพอื่ เฝา้ ดคู วามเคลอ่ื นไหวใน
สนใจ​ของพ​ วก​เขา​กลบั คืน​มา​ได้ พระ​เจ้า​ 4. การเอาดาบโกนหนวดเคราแล้วแบ่ง เมืองและใช้เปน็ จุดยิงธนจู ากท่สี ูง
ทรงหว่ งใย​ประชากรข​ องพ​ ระองค์ และ​ทรง​ เปน็ สามสว่ น (5:1‑4) 4:2 คา่ ย ตามภาษาฮบี รคู ำ� นเ้ี ปน็ พหพู จน์
ประสงค์จะตัก​เตือนพวกเขา​ให้​พ้น​จาก​ จากน้ันจึงเปน็ ค�ำอธบิ ายกิจพยากรณ์ คอื ทหารบาบโิ ลนตง้ั คา่ ยหลายๆ จดุ ลอ้ ม
อนั ตราย แตป​่ ระชากร​ของ​พระองคไ์ มฟ​่ งั (5:5‑17) กรงุ เยรูซาเลม็ ไว้
บางครั้ง​พระเจ้าจึง​ทรง​เงียบ​ไป​พัก​หนึ่ง​ lการสอ่ื สารนนั้ มหี ลายวธิ ี นอกจาก 4:2 เครื่อง​ทะล­ วง​ก�ำ­แพง มีโครงสร้าง
แลว้ จงึ ต​ รสั ​ใหม่ เมอ่ื ​พระองคต​์ รสั ​ใหมแ​่ ลว้ การพูดแล้ว การสื่อสารท่ีได้ผลอีกวิธี เปน็ หลงั คาทรงจวั่ คลมุ ดว้ ยหนงั สตั วเ์ พ่ือ
ใคร​ไม่​ฟัง พระองค์​ก็​ทรงปล่อย​ให้​เขา​ หนึ่งคือการแสดงภาพ ดงั น้นั ครสิ เตยี น ปอ้ งกนั ทหารทอ่ี ยูข่ ้างใต้ให้พ้นจากอาวธุ
ไดมำ� เ่ท​นรนิ ง​ช​บวีังติค​ตบั อ่ แไปต​ต​จ่ าะมทว​รถิงพ​ข​ี อพิ งาเ​กขษาาพแรนะl่ เ​จา้ ​ สามารถใช้ภาพและควรเพมิ่ ทักษะเกีย่ ว และไฟของฝา่ ยศตั รู ใตห้ ลงั คานนั้ ผกู เสา
กบั การแสดงภาพใหม้ ากขนึ้ เพอื่ สอื่ สารให้ ต้นใหญ่แขวนไวใ้ นแนวนอนใหป้ ลายเสา
3:22 ณ ที่​นั่น คือที่เทลอาบิบ ดูค�ำ คนไทยไดเ้ ขา้ ใจเรอื่ งราวในพระคมั ภรี ์l ท่ีเป็นเหล็กชี้ออกด้านนอกเพื่อกระทุ้ง
อธิบาย 3:15 4:1‑3 ในการแสดงชดุ แรก ผเู้ ผยพระวจนะ ทะลวงกำ� แพงโดยทหารช่วยกันออกแรง
3:26 เจ้า​จะ​ไม​่สามารถ​วา่ ​กลา่ ว​พวก​เขา เอเสเคียลแสดงเป็นศัตรูของเยรูซาเล็ม แกวง่ เสา ทฐ่ี านของเครอื่ งมอื มลี อ้ เพอื่ ให้
เมอื่ พระเจา้ เงยี บ เอเสเคยี ลกต็ อ้ งเงยี บ ใน โดยแสดงให้เหน็ วิธีการโจมตกี รงุ นน้ั เคล่อื นเข้าประชิดก�ำแพงได้
ขอ้ นพี้ ระเจา้ ไมม่ อี ะไรจะตรสั กบั ประชากร 4:1 ก้อน​อิฐ เป็นแผ่นดินเหนียวซึ่งคน 4:3 หนั ห​ นา้ ไ​ปท​ าง​นคร​นน้ั คอื เผชญิ หนา้
เพราะพวกเขากบฏตอ่ พระองค์เสมอๆ ท่ัวไปในแถบเมโสโปเตเมียสมัยโบราณ กบั นครน้ันเยย่ี งศัตรู ส่ือความหมายว่า
4:1‑5:17 ตอนนี้เป็นกิจพยากรณ์ที่มี ใชเ้ ขยี นตา่ งกระดาษ โดยใชต้ ะปจู ารกึ บน พระเจา้ เองทรงเป็นผ้โู จมตีเยรซู าเลม็

เอเสเคยี ล 4:4 24

4 “⁠ และจ​ง​นอนต​ ะแ­ คง​ขา้ งซ​ า้ ย⁠ แลว้ ​วางค​วาม​ผดิ ​บาป​ ก�ำ­หนด⁠ 11 และน​ ำ�้ ​ท​ี่เจ้าด​ ื่ม​ก​็ตอ้ งต​ วงด​ ่ืม คือป​ ระม­ าณ​
ของ​พงศพ​์ นั ธอ​์ุ สิ ราเ­อลไ​ว​เ้ หนอื ต​ วั ​เจา้ เจา้ น​ อนอ​ ย​กู่ ​วี่ นั ครง่ึ ​ลิตร⁠ เจ้า​จง​ด่ืม​นำ�้ ​ตาม​เวลา​กำ� ­หนด 12 และ​เจ้า​จะ​
เจา้ ​ก​จ็ ะแ​ บก​ความผ​ ดิ บ​ าปข​ องน​ ครน​ น้ั ​เทา่ น​ น้ั ว​นั 5 และ​ ต้องก​ นิ ด​ งั ข​ นมป​ งั ​ขา้ ว​บารเ­์ ลย⁠์ โดย​ปง้ิ บ​ นไ​ฟท​ ​กี่ อ่ ​จาก​
เรา​ได้​ก�ำ­หนด​จ�ำ­นวน​วัน​แก่​เจ้า​คอื 390 วนั ​⁠ซึ่ง​เท่า​กับ​ อจุ ­จาระม​ นษุ ยต​์ อ่ ห​ นา้ เ​ขาท​ งั้ ห​ ลาย” 13 แลว้ ​พระ​ยาห­เ์ วห์
จ�ำ­นวน​ปี​ของ​ความ​ผิด​บาป​พวก​เขา เป็น​วัน​ซง่ึ ​เจ้า​จะ​ ​ตรสั ​ว่า “ประ­ชา​ชน​อิสรา­เอล​จะ​ต้อง​กิน​ขนม​ปงั ​ของ​
ตอ้ ง​แบก​ความผ​ ดิ ​บาปข​ อง​พงศ​พ์ นั ธอ​์ุ สิ ราเ­อล 6 และ​เมอื่ ​ เขา​อยา่ ง​เปน็ ​มลทนิ ​เชน่ น​ ้ี ณ ทา่ ม​กลางบ​ รรด­ า​ประ­ชา​
เจา้ ท​ ำ� เ​ชน่ ​นจ​้ี นค​ รบ​จำ� ­นวน​วนั แ​ ลว้ เจา้ ​จะต​ อ้ ง​นอน​ลง​ ชาติซ​ ง่ึ ​เรา​จะข​ บั ไ​ล​่เขาไ​ป​อยู”่ 14 แล้ว​ขา้ พเ­จ้า​จงึ ​กลา่ ว​
เปน็ ​คร้ังท​ ีส​่ องโ​ดย​นอน​ตะแ­ คงข​ า้ ง​ขวา⁠​และแ​ บกค​วาม​ ว่า “ข้า​แต่​พระ​ยาห์­เวห์​องค์​เจ้า​นาย ดู​สิ ข้า​พระ​องค์
ผดิ บ​ าปข​ อง​พงศ​พ์ นั ธย​์ุ ­ูดาห์ เราก​ ำ� ­หนดแ​ ก​เ่ จา้ 40 วนั ⁠ ไ​มเ​่ คยท​ ำ� ​ตวั ​ใหเ​้ ปน็ ม​ ลทนิ ​เลย ตงั้ แ​ ต​ห่ นมุ่ ๆ มา​จนบ​ ดั น​ ี้
1 วัน​แทน 1 ปี 7 และ​เจ้า​ต้อง​หัน​หนา้ ​ไป​ยัง​การ​ล้อม​ ข้า​พระ​องค์​ไม่​เคย​รับ​ประท­ าน​สิ่ง​ที่​ตาย​เอง หรือ​ท่ี​ถูก​
กรงุ ​เยร­ซ­ู าเ­ลม็ ไ​ว้ และ​ดว้ ย​แขน​เปลอื ยเ​ปลา่ เจา้ จ​ง​เผย​ สตั ว์​ฉีก​กัด​ตาย⁠ ไม่​มี​เนื้อ​สัตว์​มลทิน⁠​เคย​เข้า​ไป​ใน​ปาก​
พระ​วจนะ​ต่อ​สู้​นคร​นั้น 8 และ​ดู​สิ เรา​จะ​เอา​เชือก​มดั ของ​ขา้ พ​ ระ​องค”์ 15 แลว้ ​พระอ​ งคจ​์ งึ ​ตรสั ก​ บั ​ขา้ พ­เจา้ ​วา่
เจา้ ไ​ว้ เจา้ จ​ะพ​ ลกิ ​จาก​ขา้ งน​ ​ไี้ ปข​ า้ ง​โนน้ ไ​มไ​่ ด​จ้ นก​วา่ จ​ะ​ “เอาเ​ถอะ เรา​จะย​อมใ​หเ​้ จา้ ใ​ช​ม้ ลู โ​คแ​ ทน​อจุ ­จาระม​ นษุ ย⁠์
ครบ​ตาม​กำ� ­หนด​วันใ​น​การล​้อมข​ อง​เจา้ ซึง่ ​เจ้า​จะ​ใช้​ป้ิง​ขนม​ปัง​ของ​เจ้า” พ16  ระ​องค์​ตรัส​กบั ​
9 ⁠“และ​เจ้า​จง​เอา​ข้าว​สาลี ขา้ ว​บารเ­์ ลย์ ถวั่ ถว่ั ​แดง ข้าพเ­จ้า​อีก​ว่า “บุตร​มนุษย์​เอ๋ย นี่​แน่ะ เรา​จะ​ทำ� ​ลาย​
ข้าว​ฟ่าง และ​ข้าวส​เ­ปลต์ มา​ใส่​ใน​ภาชนะอ​ นั เ​ดียวก​ ัน​ อาหารห​ ลกั ใ​⁠ น​เย­รซ­ู า­เลม็ พวก​เขาจ​ะต​ อ้ ง​ชงั่ ​ขนมป​ งั ​กนิ
ใชท​้ ำ� เ​ปน็ ข​ นม​ปงั ส​ำ� หรบั ​เจา้ เจา้ จ​ง​กนิ ​อาหาร​น​ร้ี ะหวา่ ง​ และ​กิน​ด้วย​ความ​กลัว และ​เขา​จะ​ตวง​นำ�้ ​ดื่ม ท้ัง​ดื่ม​
ท​เี่ จา้ น​ อน​ตะแคง​ตาม​กำ� ­หนด 390 วนั 10 และอ​าหารท​ ​ี่ ดว้ ย​ความ​อก​ส่ัน​ขวัญ​หาย 17 เมื่อ​ขาด​ขนม​ปัง​และ​น�้ำ
เจา้ ​กนิ จ​ะต​ อ้ งช​ ง่ั คอื ​วนั ​ละ 230 กรมั ⁠ เจา้ ​จงก​ นิ ​ตาม​เวลา​ ตา่ ง​คน​ต่าง​อก​สั่น​ขวัญ​หาย แล้ว​จะ​ซูบ​ผอม​ไป​เพราะ​

4:4‑8 ในการแสดงชุดท่ีสอง เอเสเคียล เลข 40 ท�ำให้ระลึกถึงความทุกข์ยาก 4:12 ขนม​ปงั ​ขา้ ว​บาร­์เลย์ เปน็ แป้งแผน่
แสดงเป็นชาวเยรูซาเล็ม โดยแสดงให้ ตอนท่ีชนชาติอิสราเอลเดินทางเร่ร่อน กลมๆ ไม่ใสเ่ ชอ้ื ทำ� อยา่ งรบี ๆ งา่ ยๆ ปง้ิ บน
เหน็ ความทุกข์ทรมานอันเกิดจากการ ในถ่ินทุรกันดาร 40 ปี เพราะไมเ่ ช่อื ฟัง แผน่ เหลก็ รอ้ น ในเวลาสงครามแป้งสาลี
พิพากษาของพระเจ้า พระเจ้า (กดว.14:34) อกี ค�ำอธิบายหน่งึ ซงึ่ เปน็ แปง้ อยา่ งดหี ายาก ตอ้ งใชแ้ ปง้ ขา้ ว
4:4 ข้างซ​ ้าย ในพระคัมภรี ์เดิม ขา้ งหน้า บอกว่า 390 + 40 ­ คือเวลาทชี่ นชาติ บารเ์ ลย์ทีเ่ ปน็ อาหารสำ� หรบั คนจนแทน
คอื ทิศตะวันออก ข้างซ้ายจึงหมายถึง อสิ ราเอลอาศัยในอียิปต์ (อพย.12:40) 4:14 สงิ่ ​ท​ต่ี าย​เอง หรอื ท​ ถ​่ี กู ​สตั ว​ฉ์ กี ​กดั ​ตาย
ทิศเหนอื ซง่ึ ก็คืออาณาจักรอิสราเอล จึงตีความได้ว่า การพิพากษาลงโทษ ดู อพย.22:31; ลนต.7:24; อสค.44:31
4:5 390 วัน ยังไม่ทราบความหมายท่ี นน้ั ก็คือการเป็นทาสในดินแดนต่างชาติ 4:14 เนอื้ ส​ ัตว​ม์ ลทนิ ดู ลนต.7:18; 19:7
แน่ชัดของตัวเลขน้ี มีผู้อธิบายว่า 1 วัน เหมอื นเม่อื ครง้ั อดตี 4:15 มลู ​โค​แทน​อุจ­จาระ​มนษุ ย์ ในสมยั
คอื 1 ปี โดยนบั ตง้ั แตป่ ที ก่ี ษตั รยิ ซ์ าโลมอน 4:9‑17 การแสดงชดุ ทสี่ าม แสดงใหเ้ หน็ พนั ธสญั ญาเดมิ มกี ารขายมลู สตั วผ์ สมฟาง
ทรงสรา้ งพระวหิ ารจนพระวหิ ารถกู ทำ� ลาย ความทุกข์ของชาวเยรูซาเลม็ จากการ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ แต่ในชว่ งทบี่ าบโิ ลน
(967‑586 ปี ก่อน ค.ศ.) อนั เปน็ เวลา กนั ดารอาหาร ล้อมกรุงนั้นหามูลโคไม่ได้ จึงต้องใช้
เกอื บ 390 ปี อีกค�ำอธิบายหนึ่งบอกวา่ 4:10 230 กรัม ตามภาษาฮีบรูคือ 20 อจุ จาระมนษุ ยแ์ ทน แมใ้ นพนั ธสญั ญาเดมิ
เป็นเวลาต้ังแต่อาณาจกั รเหนือแยกออก เชเขล เป็นจ�ำนวนอาหารท่ีน้อยมาก ไมม่ ีข้อห้ามเรอ่ื งการใช้อุจจาระมนษุ ย์
จากอาณาจักรใต้จนถึงตอนท่ียูดาห์ล่ม สำ� หรับหนง่ึ วนั แต่เอเสเคียลทเ่ี คยเป็นปุโรหิตซ่ึงเครง่
สลาย (922‑586 ปี กอ่ น ค.ศ.) 4:10 ตาม​เวลา​ก�ำ­หนด แปลตรงตัวว่า ครดั ในเรอื่ งสง่ิ มลทนิ ยอ่ มรบั พระบญั ชานี้
4:6 ขา้ งข​ วา ในพระคัมภรี เ์ ดิม ขา้ งหนา้ “เปน็ ครัง้ คราว” ไม่ได้อย่างแน่นอน
คอื ทิศตะวันออก ข้างขวาจงึ หมายถึง 4:11 ประม­ าณ​คร่งึ ​ลติ ร ตามภาษาฮบี รู 4:16 ทำ� ​ลาย​อาหาร​หลกั แปลตรงตวั ว่า
ทศิ ใต้ซงึ่ กค็ ืออาณาจกั รยดู าห์ คือ 1​6 ฮิน เปน็ ปริมาณเคร่อื งดื่มท่ีนอ้ ย “ทำ� ลายไมข้ นมปงั ” ในสมยั นนั้ ประชาชน
4:6 40 วนั ตวั เลข 40 อาจไม่ใชจ่ ำ� นวน มากโดยเฉพาะในภูมิประเทศที่อากาศ จะเอาขนมปงั ลกั ษณะเหมอื นหว่ งรอ้ ยไม้
ปจี ริงๆ แต่เป็นสัญลักษณ์ มีผอู้ ธิบายว่า ร้อนและแหง้ จดั ไวเ้ ปน็ แท่งๆ เพอื่ ส�ำหรบั เก็บหรอื ขาย

25 เอเสเคียล 5:8

ความผ​ ิดบ​ าปข​ องเ​ขาท​ ั้งห​ ลาย” ทงั้ ​หมด” 5 พ⁠ ระ​ยาหเ์­วห​์องคเ​์ จ้า​นายต​ รสั ​ดงั น​ ว​้ี า่ “นี่ค​ อื ​
เยร­ซ­ู า­เลม็ เรา​ตงั้ เ​ธอ​ไวท​้ า่ มก​ ลางป​ ระ­ชาช​ าต​ทิ ง้ั ​หลาย⁠
5 ดาบท​ ี่​ต่อ​ส​ู้กรงุ เ​ย­ร­ูซา­เล็ม และม​ ​หี ลาย​ประเ­ทศ​อย​ลู่ อ้ ม​รอบ 6 แตเ​่ ยร­ซ­ู าเ­ลม็ ​ไดก​้ บฏ​
“⁠ สว่ นเ​จา้ บตุ รม​ นษุ ย​เ์ อย๋ จงเ​อาด​าบ​คมเ​ลม่ ​หนงึ่ ม​ า ตอ่ ​กฎห​ มาย​ของ​เราอ​ ยา่ งช​ วั่ ร​า้ ย​ยง่ิ ​กวา่ ป​ ระช­ า​ชาตใ​ิ ดๆ
และ​ใช​้โกน​ศีรษะ​และ​เครา​ของ​เจา้ ​อย่าง​มดี ​โกน⁠​ และ​กบฏ​ต่อ​กฎ​เกณฑ์​ของ​เรา​⁠ยิ่ง​กว่า​ประเ­ทศ​ท่​ีอยู่​
ของ​ช่าง​ตดั ​ผม แลว้ ​เอา​ตา​ชั่ง​น้�ำ​หนกั ​⁠มา​แบ่ง​เสน้ ​ผม​ ลอ้ ม​รอบ คอื ​พวกเ​ขาป​ ฏ­เิ สธก​ ฎ​หมายข​ องเ​รา และ​ไม่​
เหล่า​นั้น 2 เจา้ ​จง​เอา​หนึ่ง​ส่วน​สาม​ไป​เผา​ไฟ⁠​ที่​กลาง​ ดำ� ­เนนิ ​ตาม​กฎ​เกณฑข​์ องเ​รา 7 เพราะฉ​ ะนนั้ พระย​าหเ­์ วห์
เมอื งใ​นว​นั ​ทก​ี่ ารล​อ้ มค​ รบถ​ว้ น⁠ และ​เอาอ​กี ห​ นงึ่ ​สว่ น​สาม ​องค์​เจ้า​นาย​ตรัส​ดัง​น้ี​ว่า เพราะ​วา่ ​เจ้า​ไม่​อย​ู่กับ​ร่อง​
ม​ า​ฟนั ​ดว้ ยด​ าบไ​ป​รอบๆ เมอื ง อกี ​หนงึ่ ส​ว่ นส​ามน​ น้ั จ​ง​ กบั ร​อย​ย⁠ งิ่ ก​วา่ ​ประช­ า​ชาต​ทิ ​อี่ ย​รู่ อบๆ เจา้ และ​พวกเ​จา้ ​
ปล่อย​ใหป้​ ลิว​กระจ­ายไ​ปต​ าม​ลม⁠ แล้วเ​รา​จะ​ชกั ด​ าบ​ไล่​ ไม​ไ่ ด​ด้ ำ� ­เนนิ ​ตามก​ ฎ​เกณฑ์ หรอื ​ทำ� ​ตาม​กฎห​ มายข​ องเ​รา
ตามไ​ป 3 แลว้ ​จง​เอา​เสน้ ​ผม​พวก​นนั้ ห​⁠ นอ่ ย​หนง่ึ ​มาห​ อ่ ​ไว​้ และ​ไม่​ได้​ทำ� ​ตาม​แม้​แต่ ๓​กฎ​หมาย​ของ​บรร­ดา​ประช­ า​
ในเ​สอ้ื ค​ ลมุ ​ข⁠ องเ​จา้ 4 และเ​จา้ จ​งเ​อาเ​สน้ ​ผมพ​ วก​นน้ั ม​⁠ า​ ชาตท​ิ อ​่ี ยร​ู่ อบ​เจา้ ⁠ 8 เพราะ​ฉะนนั้ พระย​าห­เ์ วห​อ์ งคเ​์ จา้ ​นาย
อกี ห​ นอ่ ยห​ นง่ึ แลว้ โ​ยนเ​ขา้ ไ​ป​ในไ​ฟ เจา้ ​จงเ​ผาเ​สยี ​ดว้ ย​ ​ตรัส​ดัง​นี้​ว่า ดู​สิ เรา​นี่​แหละ⁠​จะ​เป็น​ปฏิ­ปกั ษ์​กับ​เจา้ ⁠
ไฟ​น้ัน จะ​มี​ไฟ​จาก​ท่ี​นั่น​เข้า​ไป​ใน​พงศ์​พันธ์ุ​อิสราเ­อล​ ๓ สำ� เนาโ​บร­าณ​บาง​ฉบบั ​วา่ แตไ​่ ด​้ท�ำ​ตาม

5:1‑4 กิจพยากรณ์ชุดท่ีสี่ แสดงให้เห็น 5:3 ห่อ​ไว้​ใน​เสื้อ​คลุม หมายถึงชาว ที่ไรร้ ะเบยี บ สง่ เสยี งเอะอะวนุ่ วาย ตา่ งคน
ว่ากรงุ เยรูซาเล็มจะถกู ท�ำลายอย่างไร เยรูซาเล็มจ�ำนวนน้อยท่ีเหลือรอดจะถกู ตา่ งเรยี กรอ้ งเอาส่งิ ทีต่ นต้องการโดยไม่
5:1 ดาบ​คม...ม​ ดี ​โกน ในทน่ี ห้ี มายถงึ การ กวาดตอ้ นไปบาบโิ ลน สนใจพระประสงคข์ องพระเจา้ ฉบบั 1971
รกุ รานของกษตั รยิ เ์ นบคู ดั เนสซาร์ (เทยี บ 5:4 เอา​เสน้ ​ผม​พวก​นั้น กค็ อื พวกท่ีตก แปลค�ำนว้ี า่ “ดนั ทรุ งั ” ซ่ึงหมายความวา่
กบั อสย.7:20 แต่ในบริบทนั้นหมายถึง เป็นเชลย ด้อื รั้นเอาแต่ใจตัวเอง
มหาอำ� นาจอัสซีเรีย) บ่งบอกว่าทหาร 5:5‑17 เป็นค�ำอธิบายกิจพยากรณ์ใน 5:7 ไม่​ได้​ท�ำ​ตาม​แม้​แต่กฎ​หมาย​ของ​
บาบิโลนจะทำ� ลายทุกสิ่งจนเกล้ียงเกลา ขอ้ 1‑4 บรร­ดาป​ ระช­ า​ชาต​ทิ อ​่ี ย​รู่ อบเ​จา้ แต่ 11:12
เหมือนเวลาใช้มีดคมโกนหนวด 5:5 ท่าม​กลาง​ประช­ า​ชาติ​ท้ัง​หลาย บอกวา่ ชาวเยรูซาเล็มท�ำตามกฎหมาย
5:1 ตา​ช่ัง​น�้ำ​หนัก หมายถงึ ตราชูหรือ หมายความว่าเยรูซาเล็มเป็นศูนย์กลาง ของประชาชาติโดยรอบ ข้อความท่ี
ตาชัง่ สองแขนซ่ึงมีถาดห้อยอยู่สองข้าง ของโลก ไม่ใช่ในแง่ภูมิศาสตร์ แต่เป็น ขัดแย้งกันนีอ้ าจอธิบายด้วย 16:47 ได้
ถาดหนงึ่ สำ� หรบั ใสข่ องทจ่ี ะชงั่ อกี ถาดหนงึ่ ศูนย์กลางเร่ืองความรู้และความเช่ือ วา่ ชาวเยรูซาเล็มทำ� ตามชาวต่างชาติ
ใสต่ มุ้ นำ�้ หนกั มาตรฐานจนกวา่ คานจะอยู่ ในพระเจ้า ฉะน้ัน เมื่อเยรูซาเล็มกบฏ ทุกอย่างในเรื่องความชั่ว แต่ในเร่ือง
ในระนาบและตุ้มน�้ำหนักสมดุลกับของ หรือปฏิเสธพระเจ้าย่อมเป็นเรื่องใหญ่ จริยธรรมท่ีชาวต่างชาติยึดถือนั้น
ท่ีช่ัง ตาชั่งจึงเป็นสัญลักษณ์แทนความ ส�ำหรบั พระองคแ์ ละประชาชาติ พระเจ้า ชาวเยรูซาเล็มกลับไมท่ �ำตาม
ชอบธรรมหรือเท่ียงธรรม จงึ ตอ้ งทรงลงโทษชาวเยรูซาเล็มต่อหนา้ 5:8 เรา​น​แี่ หละ แปลตรงตวั วา่ “แมแ้ ตเ่ รา”
5:2 เผาไ​ฟ หมายถงึ ตายด้วยโรคระบาด ประชาชาตทิ ้ังหลาย หรอื “เรากเ็ ชน่ กนั ” นน่ั คอื ชาวเยรซู าเลม็
และความอดอยาก ดูขอ้ 12 5:6 กฎห​ มายข​ องเ​รา...ก​ ฎ​เกณฑข​์ องเ​รา เป็นฝ่ายกบฏต่อพระเจ้ามาโดยตลอด
5:2 วัน​ที่​การ​ล้อม​ครบ​ถ้วน หมายถงึ ชาวยิวอธิบายว่า กฎหมายเป็นหน้าท่ี บดั นถ้ี งึ เวลาแลว้ ทพี่ ระเจา้ จะทรงเปน็ ฝา่ ย
430 วนั ทเี่ อเสเคยี ลนอนตะแคงใน 4:4‑8 ของมนุษย์ต่อพระเจ้า ส่วนกฎเกณฑ์ ต่อสชู้ าวเยรูซาเล็ม
อันเป็นช่วงเตรียมโจมตีกรุงเยรูซาเลม็ เป็นหน้าที่ของมนษุ ยต์ อ่ มนุษย์ ชาวต่าง 5:8 เป็น​ปฏิ­ปักษ์​กับ​เจ้า แปลตรงตัวว่า
หลงั จากนนั้ จึงเป็นการโจมตจี รงิ ชาตทิ ำ� ชว่ั โดยไมร่ กู้ ฎหมาย (พระบญั ญตั )ิ “ตอ่ สกู้ บั เจา้ ” (นฮม.2:13) สำ� นวนนปี้ รากฏ
5:2 ปล่อย​ให้​ปลิว​กระจ­าย​ไป​ตาม​ลม ของพระเจ้า แต่ชาวเยรซู าเล็มทำ� ท้งั ท่ีรู้ ในพระธรรมเอเสเคียลเป็นส่วนใหญ่
หมายความวา่ ประชาชนจำ� นวนหนง่ึ ในสาม บาปของชาวเยรูซาเล็มจึงหนักกว่าของ โดยปกติค�ำวา่ “ปฏิปักษ”์ มกั จะหมายถึง
จะหนภี ัยจากกรุงเยรูซาเลม็ ไปต่างแดน ชาวตา่ งชาติ นอกจากน้ี ชาวเยรซู าเล็ม คนต่างด้าว แต่ในข้อนี้หมายถึงคน
แต่ก็ไม่พ้นถกู ลงโทษ (ยรม.9:16) ยังละเมิดกฎเกณฑ์ระหว่างมนุษย์กับ อิสราเอล แสดงว่าบาปของคนอิสราเอล
5:3 เส้น​ผม​พวก​น้นั ก็คือชาวเยรูซาเล็ม มนษุ ย์อกี ด้วย น้นั หนักมาก
จำ� นวนหนึง่ ในสามทหี่ นีภัยไปตา่ งแดน 5:7 ไม​อ่ ย​กู่ บั ร​อ่ ง​กบั ร​อย หมายถงึ ฝงู ชน

เอเสเคียล 5:9 26

เรา​จะ​ท�ำ​การ​พพิ ากษ­ า​ท่าม​กลาง​เจ้า​ตอ่ ​หนา้ ​ประช­ า​ หาย​จากค​วาม​เคอื ง​ใจ⁠ แลว้ ​พวกเ​ขา​จะร​​วู้ า่ ​เราค​ อื ย​าหเ­์ วห​์
ชาติ​ทั้ง​หลาย⁠ 9 และ​เพราะ​สิ่ง​น่า​สะ­อิด​สะ­เอียน​ทั้ง​สิน้ ​ ผู​ก้ ล่าวด​ ้วย​ความห​ วงแ​ หน⁠ เมื่อ​ความโ​กรธ​ของ​เราต​ ่อ​
ของ​เจ้า⁠ เรา​จะ​ทำ� ​กบั ​เจา้ ​อยา่ ง​ที่​เรา​ไม่​เคย​ทำ� ​มา​กอ่ น พวกเ​ขา​ถกู ​ระบายอ​ อกห​ มด 14 ยง่ิ ​กวา่ ​นน้ั เรา​จะป​ ลอ่ ย​
และ​เรา​จะ​ไม่​ท�ำ​เชน่ ​นน้ั ​อีก เ10  พราะ​ฉะนั้น บิดา​จะ​ ใหเ​้ จา้ ร​า้ ง​เปลา่ และถ​ กู ​ประณ­ ามท​ า่ ม​กลางป​ ระช­ าช​ าติ​
กิน​บุตร​ของ​ตน ฐ​ท่าม​กลาง​เจ้า​ทั้ง​หลาย และ​บุตร​จะ​ ทั้ง​หลาย​ที่​อยู่​ล้อม​รอบ​เจ้า​และ​ใน​สาย​ตา​ของ​ทุก​คน
กนิ ​บิดา​ของเ​ขา⁠ และเ​รา​จะ​ทำ� ก​ าร​พพิ ากษ­ า​เจ้า ใครท​ ​่ี ​ท่ี​ผ่าน​ไป 15แ  ล้ว​เจ้า​จะ​เป็น​ที่​คน​เขา​ประณ­ าม​และ​
เหลือ​อยู่​ใน​พวก​เจ้า เรา​จะ​ให้​กระจ­ดั ​กระจ­าย​ไป​ตาม​ เย้ย​หยัน ท้ัง​เป็น​คำ� ​เตือน​และ​เป็น​ท่ี​เกลียด​กลัว​ของ​
ลม​ใน​ทุก​ทิศ​ทาง 11 เพราะ​ฉะนัน้ พระ​ยาห์­เวห์​องค​์ ประ­ชาช​ าตท​ิ ​อ่ี ยล​ู่ อ้ มร​อบเ​จา้ เมอื่ เ​รา​นำ� ก​ ารพ​ พิ าก­ษา​
เจ้า​นาย​ตรัส​ว่า เรา​มี​ชีวิต​อยู่​แน่​ฉัน​ใด⁠ เพราะ​เจา้ ​⁠ได​้ มา​สู่​เจ้า​ด้วย​ความ​กริ้ว ด้วย​ความ​โกรธ และ​ด้วย​การ​
ท�ำ​ให้​สถาน​บริส­ุทธิ์​ของ​เรา​เป็น​มลทิน​ไป​ดว้ ย​สิ่ง​นา่ ​ ตส​ี อน​อนั เ​กรย้ี ว​กราด​ของ​เรา เราค​ อื ​ยาห­เ์ วห​ไ์ ดล​้ นั่ ​วาจา​
ขยะ​แขยง​ทง้ั ​หมด​ข⁠ อง​เจา้ ทงั้ ​ดว้ ย​สง่ิ น​ า่ ​สะอ­ ดิ ​สะเ­อยี น​ เชน่ น​ แ​้ี ลว้ 16 เมอื่ ​เรา​ยงิ ล​กู ​ธนแ​ู หง่ ​ความ​อด​อยาก​ร⁠ า้ ย​แรง
ทั้ง​หมด​ของ​เจ้า เพราะ​ฉะนั้น เรา​จะ​ลด​ทอน​เจา้ ​ลง⁠ คอื ​ลกู ​ธนแ​ู หง่ ​การท​ ำ� ​ลาย​ไป​ทา่ ม​กลาง​เจา้ ซงึ่ ​เรา​จะ​ยงิ ​
ตา​ของเ​ราจ​ะไ​มป​่ รา­นี และ​เราจ​ะไ​มก​่ รณุ าด​ ว้ ย 12 หนงึ่ ​ ไป​ท�ำ​ลาย​เจ้า​ทั้ง​หลาย แล้ว​เรา​จะ​เพิ่ม​ความ​อด​อยาก​
สว่ น​สาม​ของ​พวกเ​จา้ ​จะล​ม้ ต​ ายเ​พราะโ​รค​ระบาด หรอื ​ แก​เ่ จ้า และ​เราจ​ะท​ ำ� ล​ายอ​าหาร​หลัก⁠​ของพ​ วก​เจา้ เ​สยี
ถกู ​ผลาญด​ ว้ ย​ความอ​ ด​อยากท​ า่ ม​กลางพ​ วกเ​จา้ อกี ห​ นง่ึ ​ 17 เรา​จะส​ง่ ​ความอ​ ด​อยาก​และส​ตั วป​์ า่ ม​⁠ าย​งั เ​จา้ ​ทง้ั ​หลาย
สว่ น​สามจ​ะ​ลม้ ต​ ายด​ ว้ ย​ดาบ​อยร​ู่ อบๆ เจา้ และ​อกี ​หนง่ึ ​ และพ​ วก​มนั จ​ะเ​อา​ลกู ห​ ลาน​ของ​เจา้ ไ​⁠ ปเ​สยี โรคร​ะบาด​
สว่ นส​าม​น้ัน เรา​จะใ​หก​้ ระ­จัด​กระจ­ายไ​ปต​ ามล​มใ​นท​ กุ ​ และก​ ารห​ ลั่งเ​ลือด⁠จ​ะผ​ า่ น​ตัว​เจา้ และเ​ราจ​ะน​ �ำด​ าบม​ า​
ทิศท​ าง และ​เราจ​ะ​ชกั ​ดาบอ​ อก​ไล​ต่ ามเ​ขา​ท้งั ​หลาย​ไป เหนอื ​เจา้  ฑ เรา​คอื ​ยาหเ์­วห​ไ์ ด​ล้ ัน่ ​วาจา​เช่นน​ แ​้ี ล้ว”

13 “เชน่ น​ ​แ้ี หละ ความ​กรว้ิ ​ของเ​ราจ​งึ ​ระบายอ​อกไ​ด​ห้ มด
และค​ วามโ​กรธ​ของเ​รา​ต่อพ​ วก​เขา​จงึ จ​ะส​ งบ เราจ​งึ จ​ะ​ ฐ พคค.4:10 ฑ วว.6:8

5:8 ต่อ​หน้า​ประช­ า​ชาติ​ทงั้ ​หลาย ชาว สว่ นใหญ่ปรากฏในพระธรรมเอเสเคียล กลา่ วลว่ งหนา้ เปน็ จรงิ แลว้ ชาวเยรซู าเลม็
เยรูซาเล็มท�ำเส่ือมเสียพระนามพระเจา้ (เช่น 14:16,18,20; 16:48; 17:16,19) ก็จะรู้ว่าเหตุการณ์ท้ังหมดเกิดข้ึน
ไปทว่ั พระเจา้ จงึ ตอ้ งทรงลงโทษพวกเขา 5:11 เจ้า ตามภาษาฮบี รูเป็นสรรพนาม ตามพระประสงค์ ไม่ใชเ่ รือ่ งบงั เอญิ
ใหเ้ ปน็ เยย่ี งอย่างแก่ชาตอิ ่ืนๆ เพศหญิง หมายถึงเยรซู าเล็ม 5:16 ลูก​ธนู​แห่ง​ความ​อด​อยาก ก็คือภัย
5:9 สิ่ง​น่า​สะอ­ ิด​สะเ­อยี น​ทั้ง​สน้ิ ​ของ​เจา้ 5:11 ส่ิง​น่า​ขยะ​แขยง​ทง้ั ​หมด หมายถึง พบิ ตั ติ า่ งๆ เชน่ การกนั ดารอาหาร ความ
การท�ำชั่วของชาวเยรูซาเล็มนั้นเลวรา้ ย รูปเคารพ (2 พกษ.21:7) แหง้ แล้ง (ฉธบ.32:23‑25)
อย่างท่ีไม่เคยมีมาก่อน โดยเฉพาะการ 5:11 ลดท​ อน​เจา้ ล​ ง ในฉบบั ฮบี รูไมม่ คี ำ� 5:16 ทำ� ​ลาย​อาหาร​หลกั ดคู ำ� อธบิ าย 4:16
กราบไหวร้ ปู เคารพ พระเจา้ จงึ ทรงลงโทษ วา่ “เจ้า” อาจตีความไดว้ ่า พระเจ้าจะ 5:17 สัตว์​ป่า แปลตรงตัวว่า สัตว์ร้าย
หนกั อย่างที่ไม่เคยมเี ช่นกนั ทรงลดเกียรติของเยรูซาเล็มเพราะชาว (ลนต.26:6)
5:10 บุตร​จะ​กิน​บิดา​ของ​เขา เป็น เยรซู าเลม็ หลพู่ ระเกยี รตพิ ระเจา้ ดว้ ยการ 5:17 ลูก​หลาน​ของ​เจ้า ความอดอยาก
เหตุการณ์ท่ีเลวร้ายยิ่งกว่าสงิ่ ที่บนั ทกึ ไว้ ท�ำใหพ้ ระวหิ ารเป็นมลทิน และสัตว์ร้ายจะท�ำลายคนอ่อนแอที่สุด
ใน ลนต.26:29; ฉธบ.28:53; ยรม.19:9 5:13 หาย​จาก​ความ​เคือง​ใจ ส�ำนวนน้ี ก่อน ซงึ่ กค็ อื เดก็ ๆ
และ พคค.4:10 ปรากฏอีกใน 16:42; 21:17; 24:13 5:17 การ​หล่ัง​เลือด คือการตายเพราะ
5:11 เรา​มช​ี วี ติ ​อยแ​ู่ น​ฉ่ นั ใ​ด เปน็ สำ� นวนที่ 5:13 พวกเ​ขาจ​ะร​ว​ู้ า่ ​เราค​ อื ย​าหเ­์ วหผ​์ ​กู้ ลา่ ว​ เหตรุ า้ ยต่างๆ
ใชใ้ นการสาบานโดยอา้ งพระนามพระเจา้ ดว้ ย​ความ​หวง​แหน เม่ือคำ� พพิ ากษาที่

27 เอเสเคียล 6:12

6 พิพาก­ษาอ​ ิสรา­เอล​ทไี​่ หว้ร​ูปเ​คารพ 8 “แต่​เรา​จะ​ให้​บาง​คน​เหลือ​อยู่ คือ​พวก​เจ้า​บาง​คน​
⁠พระ​วจนะ​ของ​พระ​ยาห์­เวห์​มา​ถึง​ข้าพ­เจ้า​ว่า จะ​หนี​พ้น​ดาบ​ไป​ใน​ท่าม​กลาง​ประช­ า​ชาติ และ​ถูก​
2 “บตุ ร​มนษุ ยเ​์ อย๋ จงม​งุ่ ห​ นา้ ต​รง​ไป​ยงั ​ภเู ขาท​ งั้ ​หลาย​ กระจ­าย​ไป​ในด​ นิ แ​ ดน​ตา่ งๆ 9 แลว้ พ​ วกเ​ขา​ทห​่ี นร​ี อด​ไป​
ของ​อสิ ราเ­อล และ​จง​เผย​พระ​วจนะ​กลา่ ว​โทษ​ภูเขา​ นั้น​จะ​ระลึก​ถึง​เรา⁠​ใน​ท่าม​กลาง​ประช­ า​ชาติ ซึง่ ​เขา​
เหลา่ ​นน้ั 3 และ​กลา่ วว​า่ ภเู ขาท​ งั้ ห​ ลายข​ องอ​ สิ รา­เอลเ​อย๋ ท้ัง​หลาย​ถูก​กวาด​ไป​เป็น​เชลย​น้ัน และ​รู้​ว่า​เรา​
จง​ฟงั พ​ ระ​วจนะข​อง​พระ​ยาห­เ์ วห​อ์ งคเ​์ จา้ น​าย พระย​าห­เ์ วห์ ปวด​ร้าว​เพราะ​ใจ​แพศ­ยา​ของ​พวก​เขา​ท่ี​หัน​ไป​จาก
​องค์​เจ้า​นาย​ตรัส​ดัง​นี้​แก​่ภูเขา​ท้งั ​หลาย แก​่เนิน​เขา ​เรา และ​เพราะ​สาย​ตา​แพศย­ า​ท่ี​โหย​หา​รูป​เคารพ​
แก่​ห้วย​และ​หุบ​เขา​⁠ทงั้ ​หลาย​ว่า ดู​สิ เรา​จะ​นำ� ​ดาบ​มา​ ของเขา แล้วเขาทั้งหลายจะเกลียดตัวเองเนื่อง​จาก​
เหนือ​เจ้า​ท้งั ​หลาย และ​เรา​จะ​ทำ� ​ลาย​ปชู­ นียส­ถาน​สูง⁠​ ความช​ วั่ ซ​ งึ่ เ​ขา​ได​ท้ ำ� และ​เนอ่ื ง​ดว้ ยสง่ิ นา่ สะอดิ สะเอยี น
ของ​พวก​เจ้า​เสีย 4 แท่น​บูชา​ของ​พวก​เจ้า​จะ​ร้าง​เปล่า ท้ังสิ้นของเขาด้วย 10แ  ล้ว​พวก​เขา​จะ​ร้​ูวา่ ​เรา​คอื ​
และ​แท่น​เผา​เครื่อง​หอม​ของ​เจ้า​จะ​ถูก​พัง​ลง และ​คน​ ยาห์เ­วห์ เรา​ไม่​ได้​พูด​พล่อยๆ ว่า​เรา​จะ​นำ� ​ความ​วิบัติ​
ของเ​จ้าท​ ี​ถ่ กู ฆ​ า่ น​ ้นั เรา​จะเ​หว่ียงล​ง​ต่อห​ นา้ ร​ูปเ​คารพ​ มา​ยงั พ​ วกเ​ขา”
⁠ของ​พวก​เจ้า 5 และ​เรา​จะ​วาง​ศพ​คน​อิสรา­เอล​ไว​้หน้า​ 1 พ1  ระ​ยาห์เ­วห์​องค์​เจา้ ​นาย​ตรสั ​ดงั ​น้ี​วา่ “จง​ตบ​มอื ​
รปู ​เคารพ​ของ​พวก​เขา และ​เรา​จะ​กระ­จาย​กระ­ดูก​ของ​ และกระท­ ืบ​เท้า⁠​ของ​เจ้า และ​กล่าว​ว่า⁠ เพราะ​ส่ิง​นา่ ​
เจา้ ท​ ง้ั ​หลายร​อบแ​ ทน่ ​บชู าข​⁠ องเ​จา้ 6 ในท​ ​อ่ี าศยั ท​ กุ แ​ หง่ ​ สะอ­ ิด​สะเ­อียน​อัน​ช่ัว​ช้า​ทุก​อย่าง​ของ​พงศ์​พันธุ์​
ของพ​ วก​เจา้ เมอื ง​ตา่ งๆ จะ​รา้ ง​เปลา่ แ​ ละ​ป­ชู นยี ­สถาน​ อิสราเ­อล​หนอ เขา​ท้ัง​หลาย​จึง​ล้ม​ลง​ด้วย​ดาบ
สูง​จะ​พัง ดัง​นั้น​แหละ แท่น​บูชา​ของ​เจา้ ​จะ​ถูก​ท้ิง​ร้าง​ ด้วย​ความ​อด​อยาก​และ​ด้วย​โรค​ระบาด 12 ผู้​ท​ี่
และ​ถูก​ลง​โทษ รูป​เคารพ​ของ​พวก​เจ้า​จะ​หัก​และ​สูญ​ อยู่​ห่าง​ไกลจะ​ตาย​ด้วย​โรค​ระบาด ผู้​ท่ี​อยู่​ใกล้​⁠
สนิ้ แทน่ ​เผาเ​ครอ่ื ง​หอม​ของ​เจา้ ​จะ​ถกู ​โคน่ ​ลง และส​ง่ิ ท​ ​่ี ก​็จะ​ตาย​ด้วย​ดาบ และ​ผูท้ ่ีเหลืออยู่และ​ได​้รับ​การ​
เจา้ ท​ ำ� ข​ น้ึ ​จ⁠ ะ​ถกู ​กวาดท​ ง้ิ ​ไปห​ มด 7 คน​ทถ​่ี กู ฆ​ า่ จ​ะล​ม้ ​ลง ปก​ป้อง​จะ​ตายด้วยความอด​อยาก ดัง​น​้ีแหละ เรา​จงึ
​ทา่ มก​ ลาง​พวกเ​จา้ และ​เจ้า​จะร​​ู้ว่าเ​รา​คือ​ยาห์­เวห⁠์ ​ระบายความ​โกรธ​ของ​เรา​ต่อ​พวก​เขา​ได้​หมด​สิ้น

6:1‑14 เอเสเคยี ลประณามและกลา่ วโทษ กลายเป็นแท่นบูชารูปเคารพในท้องถิ่น บทนี้ (ขอ้ 7,10,13,14) ชาวยูดาห์จะเห็น
การท่ีชาวยูดาห์กราบไหว้รูปเคารพตาม ต่างๆ ในรัชสมัยของกษัตริย์เฮเซคียาห์ พระราชอำ� นาจของพระเจ้าอย่างชดั แจ้ง
ภูเขา เนินเขา ห้วย และหบุ เขาทงั้ หลาย และกษัตริย์โยสิยาห์ จึงมีการสั่งห้าม และยอมรับพระองค์ เม่ือพระองค์ทรง
6:3 ภูเขา​...เนิน​เขา...​ห้วย...​หุบ​เขา​ ใช้ปูชนียสถานสูงและได้ท�ำลายเสีย ลงโทษคนทน่ี มัสการรูปเคารพ
ตามสถานที่เหล่านี้มีต้นไม้เขียวสดและ (2 พกษ.18:4; 23:5,8) 6:9 พวก​เขาท​ ห​ี่ น​รี อด​ไป​นน้ั จ​ะร​ะลกึ ถ​ งึ ​เรา​
ต้นโอ๊กใหญ่ ซึ่งเปน็ ท่ีที่ประชาชนนยิ ม 6:4 รูป​เคารพ ภาษาฮีบรูคือ อุจจาระ ชาวยูดาห์ท่ีไปเป็นเชลยจะรู้ว่าพระเจ้า
ไปกราบไหว้รูปเคารพตามธรรมเนียม (4:12‑13) เป็นค�ำพเิ ศษของเอเสเคียล เศรา้ พระทยั เพยี งไรทก่ี อ่ นหนา้ นพ้ี วกเขา
ปฏิบัติของคนคานาอัน สถานที่เหล่านี้ ปรากฏ 36 ครงั้ ในพระธรรมน้ี ตามบรบิ ท มจี ติ ใจห่างเหนิ จากพระองค์
ไมม่ ชี วี ติ แตผ่ เู้ ขยี นใชโ้ วหารบคุ ลาธษิ ฐาน น้ีหมายถึงรูปป้ันเทพเจา้ ขนาดใหญซ่ ึง่ มี 6:11ตบม​ อื แ​ละ​กระ­ทบื ​เทา้ อากปั กริ ยิ าแสดง
(Personification) หรือการสมมุติใหเ้ ป็น ลักษณะเป็นคนหรอื สัตว์ การเยาะเย้ยศตั รทู ่เี ผชญิ ภยั พบิ ตั ิ (25:6)
บุคคล โดยให้เป็นตวั แทนของประชาชน 6:5 กระ­จาย​กระด­ กู .​..รอบแ​ทน่ ​บชู า กระดกู แต่เนื้อความตอนท้ายของข้อนี้ท�ำให้
ยูดาห์ท่ีพระเจ้าทรงกล่าวโทษเน่อื งจาก ของสัตว์ท่ีเป็นเคร่ืองบูชากระจัดกระจาย เขา้ ใจไดอ้ กี วา่ เปน็ การแสดงความทกุ ข์ใจ
การกราบไหว้รปู เคารพ อยรู่ อบแทน่ บชู ารปู เคารพฉนั ใด พระเจา้ ทชี่ นชาติของตนต้องพินาศไปพร้อมกบั
6:3 ปูช­ นียส­ ถาน​สูง ในภาษาฮีบรูมี ก็จะทรงกระจายกระดูกของชาวยูดาห์ รปู เคารพ
ความหมายว่า ที่สงู ซง่ึ ใช้เป็นแทน่ บูชา ไว้รอบแท่นบูชาของพวกเขาฉันน้ัน 6:11 กลา่ ว​ว่า ภาษาฮบี รแู ปลตรงตัววา่
ทำ� ขนึ้ จากหนิ ธรรมชาตหิ รอื ศลิ าสกดั วาง สำ� หรบั ชาวยวิ การทงิ้ กระดกู ไวโ้ ดยไมฝ่ งั “กล่าวว่า ‘อนิจจา!’ ” ซ่ึงเป็นค�ำอุทาน
ซ้อนกัน แต่เดิมใช้เป็นแท่นบูชาพระ ถือเปน็ เรอ่ื งอปั ยศอย่างยง่ิ แสดงความเสยี ใจหรอื ทกุ ข์ใจ
ยาห์เวห์ก่อนที่จะสร้างพระวิหารในกรุง 6:6 สงิ่ ​ท​เ่ี จา้ ท​ ำ� ​ขนึ้ กค็ อื รปู เคารพนน่ั เอง 6:12 ผ​ทู้ ​อ่ี ย​หู่ า่ งไ​กล.​..ผท​ู้ อ​ี่ ยใ​ู่ กล้ คอื ผทู้ ่ี
เยรูซาเล็ม (1 ซมอ.9:12‑14; 10:13; (ฮชย.14:3) อยู่ไกลและผู้ทีอ่ ยู่ใกลส้ นามรบ
1 พกษ.3:2‑4) แต่หลังจากนัน้ ก็กลบั 6:7 จะ​รว​ู้ า่ เ​ราค​ อื ​ยาห­เ์ วห์ ปรากฏสค่ี รงั้ ใน

เอเสเคียล 6:13 28

13 แลว้ ​เจา้ ​ท้งั ​หลาย​จะ​ร้​ูว่า​เรา​คอื ​ยาหเ­์ วห์ เมอื่ ​พวก​ที่​ อวสาน อวสาน​มาถ​ งึ
ถูก​ฆ่า​อย​ู่ทา่ ม​กลาง​รูป​เคารพ​ของ​เขา รอบ​แทน่ ​บชู า​ ท้งั ส​มี​่ มุ ​ของแ​ ผ่น​ดิน⁠
ของ​เขา บน​เนิน​เขา​สงู ​ทุก​แห่ง บน​ยอด​เขา​ทงั้ ​หมด 3 บดั ​นี​้อวสานม​ าถ​ ึงเ​จ้า
ทใ​ี่ ตต​้ น้ ​ไม​เ้ ขยี วท​ กุ ​ตน้ และใ​ตต​้ น้ ​โอก๊  ๔​ใบด​ กท​ กุ ต​ น้ ⁠ คอื ​ และ​เรา​จะ​ปลอ่ ยใ​หค​้ วาม​กรว้ิ ข​ องเ​รา​มา​เหนอื เ​จา้
สถาน​ท่ี​ซ่ึง​เขา​ถวาย​กลิ่น​ท​ี่พงึ ​ใจ⁠​แก่​รปู ​เคารพ​ท้ัง​หมด​ และเ​รา​จะพ​ พิ าก­ษา​เจา้ ต​ าม​วถิ ช​ี วี ิต​เจ้า
ของ​พวก​เขา แ14  ละ​เรา​จะ​ยื่น​มือ​ของ​เรา​ออก​ต่อ​สู้​ และ​เรา​จะล​ ง​ทณั ฑเ์​พราะส​ ่ิงน​ า่ ​สะ­อิด​สะ­เอยี น​
พวก​เขา แล้ว​ท�ำ​ให้​แผ่น​ดิน​ที​่เขา​อาศัย​ทุก​แห่ง​ร้าง​ ⁠ทั้ง​หมดข​ องเ​จ้า
เปลา่ ​และถ​ กู ท​ ง้ิ ​รา้ ง คอื ​ตงั้ ​แตถ​่ นิ่ ท​ รุ ­กนั ­ดารถ​ งึ ​รบิ ­ลาห ⁠์๕ 4 นยั น์ต​ า​ของเ​รา​จะ​ไมป​่ รา­นี​เจา้
แลว้ ​เขาท​ ง้ั ห​ ลาย​จะ​ร้​วู ่า เราค​ ือย​าห­์เวห”์ และ​เราก​ ​จ็ ะไ​ม​ก่ รณุ า
แต​่เรา​จะล​งท​ ณั ฑ​เ์ จ้าต​ าม​วิถช​ี วี ติ ​เจ้า
7 หายนะท​ ​่ใี กลจ​้ ะม​ า​ถึง ขณะ​เมอื่ ส​งิ่ น​ า่ ​สะ­อดิ ส​ะ­เอยี นย​งั ​อยท​ู่ า่ มก​ ลางเ​จา้
⁠พระ​วจนะ​ของ​พระ​ยาหเ์­วห​์มา​ถึง​ข้าพ­เจ้า​อกี ​ว่า แล้วเ​จ้า​จะร​ูว​้ ่า เรา​คอื ​ยาห­์เวห⁠”์
2 “เจ้า บุตรม​ นษุ ย​์เอ๋ย พระ​ยาหเ์­วหอ์​ งคเ​์ จ้า​นาย​
ตรสั ก​ ับแ​ ผน่ ​ดิน​อสิ ราเ­อล⁠​ดงั น​ ​ว้ี า่ ๔ คอื ตน้ ก​ อ่ ​ซง่ึ ​เปน็ ​ไม​ย้ นื ต​ น้ ข​ นาด​ใหญ่ ๕ ดู 2 พกษ.23:33 และ
ยรม.39:5 สว่ นภ​ าษาฮ​ ีบรว​ู ่า ดิบ­ลาห์

บันทึกส่วนตัว

___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________

6:13 ใต้​ต้น​โอก๊ ใบ​ดก​ทุก​ต้น ต้นโอก๊ มัก (2 พกษ.25:6‑7) 7:2 ทงั้ ส​​มี่ มุ ข​องแ​ผน่ ด​นิ ปกตมิ คี วามหมาย
เตบิ โตเป็นต้นไม้ใหญ่และคนชอบไปตง้ั 7:1‑27 บทน้ีเขียนเป็นร้อยกรองเกือบ วา่ “ทว่ั โลก” (ยรม.49:36; วว.7:1) แตต่ าม
แทน่ บชู าไวใ้ ตต้ น้ โอก๊ (ปฐก.12:6; 13:18; ท้ังหมด เน้ือหาบรรยายถึงหายนะของ บริบทนี้หมายถงึ แผ่นดินยูดาหท์ งั้ หมด
18:1; ยชว.24:26; ฮชย.4:13) แผน่ ดนิ อสิ ราเอล โดยข้อ 2‑9 พยากรณ์ 7:3 ส่ิง​นา่ ส​ ะอ­ ดิ ​สะ­เอยี น ปรากฏสคี่ รั้งใน
6:13 กลน่ิ ท​ พ​่ี งึ ​ใจ เปน็ กลนิ่ ควนั ของไขมนั ถึงความพินาศ และข้อ 10‑27 พูดถึง บทน้ี (7:3,4,8,9) หมายถึงความชั่วร้าย
สตั วห์ รอื เครอ่ื งหอมทเี่ ผาบนแทน่ บชู าซง่ึ ความสับสนของสงั คมนั้น หรือส่ิงพึงรังเกียจท่ีคนอิสราเอลกระท�ำ
ท�ำให้พระต่างๆ คลายความโกรธเกร้ียว 7:2 แผ่น​ดนิ ​อสิ รา­เอล วลฮี บี รูนป้ี รากฏ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การกราบไหวร้ ปู เคารพ
(ปฐก.8:21) 17 คร้งั เฉพาะพระธรรมเอเสเคยี ล (7:2; ดคู ำ� อธิบาย 5:9 ประกอบ
6:14 ริบ­ลาห์ เป็นชอ่ื เมืองชายแดนทาง 11:17; 12:19,22; 13:9; 18:2; 20:38,42; 7:4 เจ้าจ​ะ​ร​วู้ า่ เราค​ อื ย​ าหเ์­วห์ ดูข้อ 9
เหนือของอาณาจักรอิสราเอล (กดว. 21:2‑3; 25:3,6; 33:24; 36:6; 37:12; ประกอบ นี่เป็นการสรปุ ว่า หลังจาก
34:11) กษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์แห่ง 38:18,19) ในสมัยเอเสเคียล อาณา- พระเจ้าทรงพิพากษาบาปของคนยดู าห์
บาบิโลนตั้งค่ายทนี่ ่ันเม่ือยกทพั มาโจมตี จักรอิสราเอลล่มสลายแล้ว เหลือแต่ แลว้ โดยเฉพาะบาปเรือ่ งการกราบไหว้
อาณาจักรยูดาห์ และเมื่อยูดาห์พ่ายแพ้ อาณาจกั รยูดาห์ ดงั นนั้ แผ่นดินอิสราเอล รปู เคารพ พวกเขากจ็ ะรวู้ า่ รปู เคารพชว่ ย
กษัตริย์เศเดคียาห์ถูกจับตัวไปที่น่ันให้ดู ในที่ น้ีก็ คือช่ือเรีย กประ ชากรของ เขาไมไ่ ด้ และพระยาหเ์ วหเ์ ทา่ นน้ั ทรงเปน็
การประหารชวี ติ บรรดาโอรสของพระองค์ พระเจ้าในอุดมคติ พระเจ้าท่แี ทจ้ ริง

29 เอเสเคยี ล 7:14

5 พระ​ยาห์เ­วห์อ​ งคเ​์ จ้า​นายต​ รัสด​ งั ​น​้ีว่า 11 ความ​รนุ ​แรงไ​ด​เ้ จรญิ ข​ นึ้ เ​ปน็ ​ไมพ​้ ลองข​ อง​ความ​ชวั่
“ด​ูสิ วบิ ัติ วบิ ัตทิ​ ่ไ​ี มเ่​คยม​  ี๖ ได​ม้ า​ถงึ ​แล้ว ไม่​มใี​ครเ​หลอื อ​ ยู่เ​ลย⁠
6 อวสาน​มาถ​ งึ อวสาน​นนั้ ​มา​ถึง​แลว้ ไม​ม่ ​ีสง่ิ ใ​ดเ​หลอื ​จาก​ความม​ ั่งค​ ่งั  ๙ข​ องพ​ วกเ​ขา
มันต​ ื่น​ขึ้น⁠​มา​ตอ่ ​สูเ้​จา้ ดสู​ิ มนั ม​ า​ถงึ แ​ ล้ว ไมม่​ ีเ​สยี งอ​ กึ ทกึ ​ครึกโ​ครม ๑​ในพ​ วก​เขา
7 ชาว​แผ่น​ดินเ​อ๋ย ไม่​ม​ีคน​ส�ำคญั  ๒ใ​นพ​ วก​เขา
ความห​ ายนะ ๗ข​ อง​เจา้ ม​ าถ​ งึ แ​ ล้ว 12 เวลา​น้ัน​มา​แล้ว วัน​นนั้ ​มา​ถงึ ​แลว้
เวลา​นนั้ ม​ าถ​ งึ แ​ ลว้ วัน​นน้ั ​ก​็ใกล้เ​ขา้ ม​ า อย่า​ใหค​้ นซ​ ้ือด​ ใ​ี จ อย่า​ให้ค​ น​ขายเ​สีย​ใจ⁠
ม​ีแต่​ความโ​ก­ลาห­ ล และไ​รค้​วาม​ยินดีบ​ นภ​ ูเขา⁠ เพราะ​พระพ​ ิโรธ​อยเู่​หนอื ป​ ระ­ชา​กรท​ งั้ ​หมด​
8 บดั ​น้ี ใกล​เ้ วลา​ท​เี่ รา​จะเ​ทค​วาม​โกรธ​ของเ​ราบ​ น​เจา้ ของ​แผน่ ด​ นิ  ๓
และ​ระบายค​ วาม​กรว้ิ ​ของ​เราต​ ่อเ​จ้าจ​น​หมด​สน้ิ “13  เพราะ​คน​ขาย​จะ​ไม​่ได​้กลบั ​ไป​ยัง​สิง่ ​ที​่เขา​ขาย​ไป⁠
และเ​ราจ​ะพ​ ิพาก­ษา​เจา้ ​ตามว​ิถชี​ ีวิต​เจ้า ขณะ​เมื่อ​เขา​ยัง​มี​ชีวิต​อยู่ เพราะ​ว่า​นิมิต​น้ัน​เกี่ยว​ข้อง​
และ​เรา​จะล​งท​ ณั ฑเ​์ พราะส​ง่ิ น​ ่าส​ะ­อดิ ​สะ­เอยี น​ กบั ​ประ­ชา​กร​ท้ัง​หมด​และ​จะ​ไม​่หัน​กลับ และ​เพราะ​
ทงั้ ห​ มดข​ อง​เจ้า ความผ​ ดิ ​บาป​ของเ​ขา จงึ ​ไม่ม​ ใ​ี ครอ​าจร​ักษาช​ ีวติ ​ไว​้ได้
9 นัยนต์​ า​ของเ​ราจ​ะไ​ม​่ปรา­นี 14 “เขา​ได​้เป่าแ​ ตร⁠ และ​เตรียมท​ กุ อ​ ยา่ ง​ไว​พ้ ร้อม
และเ​ราก​ จ็​ะไ​ม่ก​รณุ า แต่​ไม​ม่ ​ผี ใ​ู้ ดเ​ข้าส​ง­คราม
แต่เ​รา​จะล​ง​ทัณฑ์เ​จา้ ​ตาม​วถิ ชี​ วี ติ เ​จา้ เพราะว​่า​ความโ​กรธข​ อง​เรา​อยเ​ู่ หนอื ป​ ระ­ชา​กร​
ขณะ​เมอื่ ​สงิ่ น​ า่ ​สะ­อดิ ส​ะเ­อยี น​ยงั ​อยท​ู่ า่ ม​กลาง​เจา้ ท้ังห​ มดข​ องแ​ ผ่นด​ นิ
แล้วเ​จ้า​จะร​ว​ู้ า่ เราค​ อื ย​าห­์เวหผ์​ ้​โู บยต​ ี
10 นี่​แนะ่ วันน​ น้ั ด​สู ิ มา​ถึงแ​ ล้ว ๖ แปล​ได้​อกี ​ว่า วบิ ัติ​แลว้ ​วบิ ัติ​เลา่ ๗ ความ​หมาย​ใน​ภาษา​ฮีบรู​
ไม่​ชัด​เจน ๘ ความ​หมาย​ภาษา​ฮบี ร​ูไม​่ชดั ​เจน ๙ แปล​ได​้อีก​วา่
ความห​ ายนะ ๘ข​ องเ​จา้ อ​ อกม​ าแ​ ลว้ ไม่​เหลือ​ใคร​จาก​มวล​ชน ๑ แปล​ได​้อีก​วา่ ไม่​ม​ีสมบตั ิ​เหลอื ​อยู่
ไมพ​้ ลองก​ เ​็ บ่ง​บาน ๒ แปล​ได้​อีก​วา่ ไม​่เหลือ​ส่ิง​มี​คา่ หรือ​ว่า ไม​่ม​ีศักดิ​์ศรี ๓ ค�ำ​ว่า​
ความ​เยอ่ ห​ ย่ิงก​ ​ผ็ ล​ิดอก ของ​แผน่ ​ดนิ ในข​ อ้ ​นแ​ี้ ละ​ขอ้ 14 ภาษาฮ​ บี ร​แู ปล​ตรงต​ วั ว​า่ ของน​ าง

7:6 อวสาน​...ต่ืน​ข้ึน ตรงน้ีเป็นการ จงึ อาจเข้าใจได้ว่า ข้อความนี้หมายถึง ขายทด่ี นิ ยอ่ มเสียใจ สว่ นคนซ้อื ได้ครอบ
เล่นค�ำท่ีมีเสียงคล้ายกันในภาษาฮีบรู พระเจา้ ทรงเลอื กชนชาตอิ สิ ราเอลใหเ้ ปน็ ครองที่ดินเพ่ิมก็ย่อมดีใจ แต่ในวัน
หมายความวา่ จดุ จบของอาณาจกั รยดู าห์ ชนชาติที่ถกู ลงโทษ นอกจากนี้ ยังมีคำ� พิพากษา สังคมจะวุ่นวายสบั สน จึงไม่
มาใกลแ้ ลว้ อธบิ ายอกี ว่า ความเย่อหย่งิ ของราชวงศ์ อาจเห็นภาพปกติเช่นน้ัน การซ้ือขาย
7:7 ความ​ยินด​ีบน​ภูเขา หมายถงึ เสยี ง ดาวิดเบ่งบานให้เหน็ เต็มท่ีจากการกบฏ จะไม่มีความหมายและหยุดชะงักไป
โหร่ อ้ งดว้ ยความยนิ ดตี อนเกบ็ เกยี่ วไมผ้ ล ตอ่ บาบิโลน หรอื อีกค�ำอธบิ ายหนึ่งซง่ึ มี (อสย.24:1‑3)
บนภเู ขา หรือเสียงโห่ร้องอยา่ งครืน้ เครง ความหมายไปในทางตรงขา้ มคอื ไมพ้ ลอง 7:13 คน​ขาย​จะ​ไม่​ได​้กลบั ​ไป​ยัง​สิ่ง​ท่​ีเขา​
ตอนฉลองเทศกาลต่างๆ ของรปู เคารพ หมายถึงกษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์แห่ง ขาย​ไป ปกติคนขายท่ดี นิ มีสิทธิ์ได้ที่ดนิ
7:10 ไมพ​้ ลอง​ก​เ็ บง่ บ​ าน ความเ​ยอ่ ​หยงิ่ ก​ ​็ บาบิโลน พระเจ้าจะทรงใชก้ ษัตรยิ ์ทเ่ี ยอ่ คนื ในปีอสิ รภาพ (ลนต.25:28) แต่ในวนั
ผลิ​ดอก ยังไม่ทราบความหมายท่ีแน่ชัด หยง่ิ องค์นี้ (ยรม.50:31) มาโจมตยี ูดาห์ พพิ ากษา กฎเกณฑป์ กติใชไ้ มไ่ ด้ คนขาย
อาจหมายความวา่ ความอยุติธรรมและ 7:11 ไมม​่ ​ใี ครเ​หลอื อ​ ยเ​ู่ ลย หมายความวา่ จึงไม่อาจได้ท่ีดินกลับคืน
ความหยงิ่ ผยองของประชาชนทวมี ากขนึ้ คนทั้งหมดถ้าไม่ถูกฆ่าก็ถูกจับไปเป็น 7:14 เปา่ ​แตร เสยี งแตรเปน็ การเตอื นภยั
แต่มีผู้อธบิ ายอีกอย่างหนึ่งว่า เน่ืองจาก เชลย วา่ ศตั รมู าใกลแ้ ล้ว ใหห้ ลบภยั (ยรม.4:5;
ไม้เท้าของอาโรนผลิดอกเปน็ สัญลักษณ์ 7:12 อยา่ ​ให​้คน​ซอื้ ​ด​ีใจ อย่า​ให​้คน​ขาย​ ฮชย.8:1) หรือเป็นสัญญาณให้ระดม
ยืนยันว่าพระเจ้าทรงเลือกเลวีเป็นเผ่า เสีย​ใจ ขอ้ นบ้ี รรยายดว้ ยภาพการค้าขาย ไพรพ่ ลเพ่ือรบกบั ศัตรู
ท่ีรับใช้พระองค์โดยตรง (กดว.17:2‑5) ท่ีดิน ตามปกติคนขายซึ่งจ�ำเป็นต้อง

“เราจะใหใ้ จใหมแ่ กพ่ วก‍เจา้
และเราจะบรรจ‌วุ ญิ ‌ญาณใหมไ่ วภ้ าย‍ในของเจา้ ทง้ั ‍หลาย
เราจะน�ำ ใจหนิ ออกจากเนอ้ื ของเจา้ และใหใ้ จ‍เนอ้ื แกเ่ จา้ ”

เอเสเคยี ล 36:26

สมาคมพระครสิ ตธรรมไทย ราคา 170 บาท

319/52-55 ถ.วิภาวดีรังสิต ISBN : 978-616-339-143-8
สามเสนใน พญาไท กรงุ เทพฯ 10400
โทรศพั ท์ 0-2279-8341 โทรสาร 0-2616-0517
http : //www.thaibible.or.th, www.thaibible.net
e-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version