The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยประเด็นท้าทาย 5 steps

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kittima.mm2520, 2022-09-04 07:02:42

รายงานวิจัยประเด็นท้าทาย 5 steps

รายงานวิจัยประเด็นท้าทาย 5 steps

การพฒั นาทกั ษะการคิดวเิ คราะห การคดิ อยางมีจารณญาณ
และแกไขปญ หา รายวชิ าวิทยาศาสตร (ว22101)

ขน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ดว ยวิธกี ารสอนแบบ GPAS 5 Steps
นางสาวกติ ตมิ า ฤกษหราย
ตาํ แหนง ครู

โรงเรยี นนครไตรตรงึ ษ

สงั กดั สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากาํ แพงเพชร
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

การพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห การคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ และแกไ ขปญ หา รายวชิ าวทิ ยาศาสตร
(ว22101) ขนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ดว ยวธิ ีการสอนแบบ GPAS 5 Steps
นางสาวกิตตมิ า ฤกษห ราย
Miss Kittima Rurkrai

โรงเรียนนครไตรตรึงษ 9 หมูที่ 1 ตําบลไตรตรงึ ษ อําเภอเมอื ง จงั หวัดกําแพงเพชร
Nakorntritrung School 9 Village No. 1, Tritrung Subdistrict, Mueang District, KamphaengPhet
E-mail : t302@nakorntritrung.ac.th

บทคัดยอ
การวิจัยคร้งั นี้มวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื เปรยี บเทยี บทกั ษะการคดิ วิเคราะห การคิดอยางมวี จิ ารณญาณและ
แกไขปญหาไดของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 2 ระหวางกอนเรียน (การจัดการเรียนรูดวยวิธีสอนปกติ) กับ
หลังเรียน โดยใชการจัดการเรียนรูดว ยกระบวนการ เรยี นรู GPAS 5 Steps โดยเลือกลุมตวั อยางดวยวธิ ีการสุม
อยางงาย และมีเครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก แผนการจัดการเรียนรูดวย กระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps
และวธิ สี อนปกติอยางละจํานวน 2 แผน พรอ มยงั มีแบบวดั ทักษะการคิดวิเคราะห การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ
และแกไ ขปญ หาได จํานวน 20 ขอ และทาํ การเปรยี บเทยี บขอมูลท่ไี ดโดยใชสถิติแบบ t-test

ผลการวจิ ัยพบวา
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีทักษะการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณและแกไขปญหา
ไดส งู ขน้ึ อยางมีนยั สําคัญทมี่ ีความเชือ่ มน่ั รอยละ 95 หลงั ไดรบั การจัดการเรยี นรดู วยกระบวนการเรยี นรู GPAS
5 Steps สูงกวา กอ นเรยี น
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีทักษะการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณและแกไขปญหา
ไดส ูงขน้ึ อยางมีนยั สําคัญท่ีมีความเช่อื ม่ัน รอยละ 95 หลังไดรบั การจัดการเรียนรดู วยกระบวนการเรียนรู GPAS
5 Steps เมื่อเทยี บกบั การจดั การเรยี นรดู วยวธิ ีสอนปกติ
คําสําคัญ: การจัดการเรียนรู, กระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps, การคิดวิเคราะห การคิดอยางมีจารณญาณ
และแกไขปญ หาได

1

บทนํา
ทามกลางสงั คมแหงความกา วหนาและการเปล่ียนแปลง บุคคลสามารถรับรขู าวสารไดใน เวลารวดเร็ว
ดังน้ันขอมูลขาวสารวัฒนธรรมตลอดจนแนวความคิดตางๆจึงถายถอดสูคนไทยอยาง 2 รวดเร็วเชนกัน สังคมไทย
ที่เคยมีความเอ้ืออาทร เศรษฐกิจตามแนวเกษตรเร่ิมเปล่ียนไป หากไมมีการ สอนใหนักเรียนเกิดทักษะการคิด
คิดไมเปนอาจทําใหป ระชาชน เยาวชนหรอื ผใู หญในอนาคตขาด ทักษะการคิด ตกเปนเหย่อื ของสังคม เหย่ือของ
เศรษฐกิจ เหยื่อของนโยบายเหย่ือของการ เปล่ียนแปลงที่กาวหนาอยางรวดเร็ว ไมสามารถอยูรอดในสังคมยุค
ดิจิตอลได (แซจิว, 2558) การศึกษาจึงเปนเคร่ืองมือสําคัญในการพัฒนาประชากรในประเทศไทยใหเปนคนมี
คุณภาพและ ประสิทธิภาพอยางครบถวน ชวยสรางการพัฒนากรในประเทศอยางครบถวน ท้ังในดานรางกาย
จติ ใจ และสติปญ ญา ใหส ามารถนําไปปรบั ปรุงแกไ ขพฤตกิ รรมของประชาชนใหอ ยใู นวถิ ที างทถ่ี กู ท่ีควร
ปจจุบันมีเหตุการณหลายเหตุการณท่ีสะทอนใหเห็นวา เด็กไทยจํานวนมากขาดทักษะการแกปญหาชีวิต อาทิ เด็ก
วยั รุนผิดหวังในความรกั หรอื เรอ่ื งเรยี นหาทางออกโดยการฆาตวั ตาย โครงการ Child watch โดยสถาบนั รามจิต
ติ ไดสรุปสภาวการณเด็กไทยดานตาง ๆ ไวในชวงป 2548-2549 ดานภาวะสุขภาพจิตของเด็กไทย พบวา
เยาวชนอายตุ าํ่ กวา 25 ป พยายามฆาตัวตายเพ่มิ ข้ึนจาก 30 เปน 40 คนตอ แสนคน หรือคิดเปนจํานวนเยาวชน
ทพ่ี ยายามฆาตวั ตายปละ 7,800 คน หรอื เฉลี่ยวันละ 21 คน และทีฆ่ าตัวตายสาํ เรจ็ ปละ 800 หรือเฉลีย่ วนั ละ 2
คน ซึง่ กรมสขุ ภาพจิตไดอธิบายสาเหตุการฆาตัวตายวา เกิดจากอาการซมึ เศรา ซ่ึงมาจากความวิตกกังวล และไม
สามารถจัดการกับปญหาตนเองได (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักดิ,์ 2007) ปจจบุ ัน “การคิด” และ “การสอนคิด”
เปนเร่ืองที่สําคัญในการจัดการศึกษาเพื่อใหไดผูเรียน ที่มีคุณภาพการคิดขั้นสูงไมวาจะเปนสังคมโลกหรือ
สังคมไทย โดยเฉพาะสังคมไทยเม่ือมี พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติเกิดข้ึน ในปพุทธศักราช 2542 ซึ่งถือ
เปนกฎหมายการศกึ ษาฉบับ แรกที่มุง เนนพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ทจี่ ะตอ งทําความเขาใจคือ หมวดที่ 4
แนวทางการจัด การศกึ ษามที ง้ั หมด 9 มาตราโดยเฉพาะมาตราท่ี 24 “การจัดกระบวนการเรียนรใู หส ถานศกึ ษา
และ หนวยงานท่ีเก่ียวของด าเนินการฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการ
ประยุกตค วามรมู าใชเ พือ่ ปอ งกันและแกไขปญหา “ในดานการสอนไดม แี นวความคิดเรือ่ งการสอนให “คดิ เปน ท
าเปนและแกปญหาได” และแนวคิดทางยทุ ธศาสตร “การคิดอยางถกู วธิ ีตามหลกั โยนิโส มนสิการ” เปนตน แต
แนวคิดเหลาน้ีก็ยังไมไดถูกน าไปใชอยางกวางขวางและการสรางรูปแบบการ เรียนการสอนท่ีจะสามารถ
นําไปใชไดจริงยังมีไมมากนัก ดังน้ัน ปญหาดานคุณภาพ การคิดข้ันสูงก็ยัง มีอยูเรื่อยมา (แขมมณี, 2559)
ทักษะการแกปญหา เปนทักษะท่ีจําเปนตองสรางในเดก็ ไทย เพ่ือใหเด็กไทยมีความสามารถในการเผชิญปญหา
มิใชเพิกเฉยตอปญหา หนีปญหา หรือแกป ญหาดว ยวิธกี ารไมเหมาะสม จนเกดิ ผลเสียตอตนเองหรือสวนรวมได
ซึง่ จะสงผลดีในอนาคตคอื ประเทศจะมคี นรุน ใหมที่มีความสามารถในการแกปญ หาใหก ับประเทศ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผูเรียนตองมีสมรรถนะสําคัญของผูเรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีใช เปนกรอบในการประเมินประกอบดวย 5 สมรรถนะ ซ่ึง

2

2 ใน 5 สมรรถนะนั้นคือ ความสามารถในการคิด และความสามารถในการแกปญหา ซึ่งสอดคลองกับทักษะใน
ศตรวรรษท่ี 21 ในหัวขอ Critical thinking and problem solving : ทักษะการคิดวิเคราะห อยางมี
วิจารณญาณและสามารถแกปญหาได การสอนการคิดเปนเรื่องท่ีสําคัญอยางย่ิงในการจัดการศึกษาเพ่ือให
ประชากรมีคุณภาพสูง สอดคลองกับ วัชรา เลาเรียนดี (2555 : 1) กลา วถึงความสําคัญของทกั ษะการคิดในยุค
ศตวรรษที่ 21 วาทักษะท่สี ําคัญท่ีสุดคือ ทักษะการคดิ ของบคุ คลและทกั ษะชวี ติ เพ่อื จะสามารถ ดาํ รงชวี ิตอยูได
อยางสันติสุขในสังคมโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกดาน นอกจากน้ี (พิมพันธ เดชะคุปต และ
พเยาว ยินดีสุข, 2557 : 44) ไดกลาววาเปาหมายการศึกษาของประเทศไทย ในปจจุบันเนนทักษะการคิดเพ่ือ
สรา งความรู คนหาความรจู ากแหลง ตา งๆ มีความคิดอยาง มวี ิจารณญาณในการเลือก การตัดสินใจในเรือ่ งตางๆ
อยางถูกตองและเปนประโยชนตอสวนรวม การปฏิรูปการเรียนรูเปนหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นจึง
กลาวไดวา กระบวนการคิดวิเคราะหมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับการแกปญหาตางๆของมนุษย การคิด
วิเคราะหจะชวยใหเรามองเห็นปญหาทําความเขาใจปญหา รูจักปญหาอยางแทจริง และสุดทายจะสามารถ
แกปญหาท่ีพบเจอได (นองนาง ปรืองาม, 2554 : 38) ปญหาการคิดและการคิดวิเคราะหน้ัน เกิดมาจาก
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูที่ยังไมไดเนนการจัดกิจกรรมการอานการคิดวิเคราะหและการเขียน
โดยเฉพาะการคิดวิเคราะห อาจกลาวไดวาแมแตตัวครูผูสอนเองก็ยังไมเขาใจถึงหลักการคิดวิเคราะหที่แทจริง
สงผลใหการจัด กิจกรรมการเรียนรูใหกับเด็กไมไดเนนในทักษะดานการคิดวิเคราะห รวมท้ังความสามารถในการ
แกปญ หา

จากปญ หาดงั กลาวผสู อนจึงไดพัฒนาดา นทักษะในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ
และแกไ ขปญหาได ดว ยการสอนแบบ GPAS 5 Steps เปนข้ันตอนและจดุ เนนในการจัดกระบวนการเรยี นรู
เพื่อใหผเู รยี นสรา งความรดู วยตนเอง จากนนั้ นาํ ไปใชใ นการปฏบิ ัตจิ รงิ ใชในการแกปญ หาในสถานการณต างๆ
สิง่ ทไ่ี ดจากกระบวนการเหลานี้ จะตกผลึกภายในตวั ของผูเรียน จะกลายเปนตวั ตนเปน บุคลกิ ภาพของผูเรยี น
และสะทอนออกมาในภาระงานหรือการปฏิบัติที่ครูมอบหมาย ผลก็คือ ผูเรียนจะสามารถคิดวิเคราะปญหา
เกบ็ รวบรวมขอ มลู สังเคราะหว ธิ กี ารแกป ญหา เรยี นรทู ่ีจะอยรู ว มกบั สงั คมอยา งมคี วามสขุ

สมมุตฐิ าน
1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาได เร่ือง วิธีการ

คุมกําเนิด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการ GPAS 5 Steps หลัง
เรยี นสงู กวากอ นเรียน

2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาเร่อื ง วิธกี ารคมุ กําเนดิ
ที่จัดการเรียนรูดวยกระบวน GPAS 5 Steps ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 สูงกวานักเรียที่ท่ีเรียนดวย
วิธีการสอนแบบปกติ

3

วัตถุประสงคก ารวิจัย
1. เพ่ือเปรยี บเทยี บความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ และแกไ ขปญหา

เรอื่ ง วธิ ีการคมุ กําเนดิ กอน เรียนและหลังเรียนดว ยการจดั การเรียนรูดวยกระบวน GPAS 5 Steps ของ
นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 2

2. เพอ่ื เปรียบเทยี บความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ และแกไ ขปญ หา
เรอื่ ง วธิ กี ารคุมกําเนดิ ทีจ่ ดั การเรยี นรูด วยกระบวน GPAS 5 Steps ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 กับ
วิธกี ารสอนแบบปกติ

วัสดุ อุปกรณและวธิ กี าร
การวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการจัดการเรียนรูดวย กระบวนการ

GPAS เพ่อื ความสามารถในการคิดวเิ คราะห การคิดอยา งมีวิจารณญาณ และแกไขปญหา เรอื่ ง วธิ คี ุมกาํ เนดิ ซ่ึง
ผูวิจัยไดศึกษา ทฤษฎี และแนวคิดเพื่อนํามาพัฒนาเปนแนวทางในการกําหนดกรอบวิจัยในคร้ังน้ี รูปแบบการ
จัดการเรียนรูดวยกระบวนการ GPAS 5 Steps กระบวนการคิดขั้นสูงเชิงระบบ ซึ่งเปนเคร่ืองมืออยางหน่ึงใน
การเรียนรูแบบ Active Learning โดยเปนการเรียนรูผานชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC) ซึ่ง GPAS นั้นนับวาเปนเครื่องมือที่ชวยใหนักเรียนมีวิธีการเรียน ซึ่งจะชวย
ผเู รียนสามารถนําไปเรียนรดู ว ยการปฏบิ ัติจรงิ ได จึงนับวาเปน เครื่องมอื สําคัญในการเพ่ิมพูนทกั ษะในการเรียนรู
ใหกับผูเรียน และทําใหผูเรียนมีวิธีการเรียนรูท่ีดีข้ึน รวมถึงชวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตัวเองไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพมากขึน้ โดยประกอบดว ยโครงสรางทกั ษะกระบวนการคิด 5 ขน้ั ตอน ทีม่ คี วามสาํ คัญ อนั ไดแ ก

ข้ันท่ี 1 การรวบรวมและเลือกขอ มลู (GATHERING)
เปนข้ันท่ีผูเรียนสามารถรวบรวมและเลือกเฟนขอมูลสําคัญที่จะนํามาใชในการพัฒนานวัตกรรมหรือ
ดาํ เนินโครงการตาง ๆ ซึ่งในข้ันนี้ครูผูสอนจะตองสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูที่จะการรวบรวมขอมูลผานประสาทสัมผัส
ตามเปาหมาย โดยมีการเลอื กเฟนขอ มูลทีส่ อดคลอง มกี ารบันทึกขอมูล และสามารถที่จะดึงขอมลู เดมิ มาใชไ ด
ขน้ั ที่ 2 การจดั กระทําขอ มูล (PROCESSING)
คอื การจัดขอมูลใหเกดิ ความหมายผานการเลือกเฟน เพ่มิ คณุ คา คุณธรรม คา นิยม ออกแบบสรา งสรรค
และตดั สินใจเลือกเปาหมายแนวทางทีน่ าํ ไปสูค วามสําเรจ็ ได โดยครผู สู อนจะตอ งออกแบบกิจกรรมการสอน ให
ผูเรียนอยางหลากหลาย เพื่อใหผูเรียนแยกแยะหรือเฟนหาขอมูลที่จําเปนได เชน การจําแนกเปรียบเทียบ
การเชอื่ มโยง และไตรต รองอยา งมเี หตุผล เปนตน
ข้นั ที่ 3 - 4 การประยกุ ตใ ชค วามรู (APPLYING)
สามารถแบงไดเปน 2 ข้ัน คือ ขั้นแรก (Applying 1) เปนขั้นท่ีผูเรียนรวมกัน วางแผนและลงมือทํา
รวมถงึ ตรวจสอบแกปญหาตาง ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนรไู ปสรู ะดับของนวัตกรรม สวนขน้ั สอง (Applying 2) คือ

4

ข้ันที่ผูเรียนสามารถสรุปเปนความรูระดับตาง ๆ จนถึงระดับหลักการ และสามารถนําเสนอไดอยางมีแบบแผน
โดยการดําเนินการน้นั ครูผูส อนจะตอ งสง เสรมิ ใหผ ูเรียนรจู ักเลอื กขอ มลู ที่สอดคลอ ง รูจ ักความรทู ไี่ ดอยา ง
สรา งสรรค ขยายขอบเขตความรู การวิเคราะหการสังเคราะห ตัดสินใจ และการนําความรไู ปปรับใช ตลอดจนมี
การวิเคราะหว จิ ารณแ ละแกปญ หาอยางเหมาะสม

ขัน้ ที่ 5 การกํากบั ตนเอง หรือ การเรียนรูไดเอง (SELF–REGULATING)
เปนการประเมนิ ภาพรวมของนวตั กรรมหรือโครงการเพื่อกํากับความคิดและขยายคา นยิ มสสู งั คมและ
สงิ่ แวดลอมใหกวางขวางขน้ึ เพ่ือใหผ ูเรยี นเกิดการเรยี นรไู ดดว ยตัวเอง โดยครูผสู อนจะตองดาํ เนนิ การเพื่อให
ผเู รยี นนน้ั มกี ารตรวจสอบและควบคุมกระบวนการการคิดของตวั เอง การสรางคา นยิ มการคดิ ของตวั เอง และ
การสรา งนสิ ยั การคดิ ท่ีเปนรปู แบบของตวั เอง เปน ตน
1. แผนการจัดการเรยี นรูดวยกระบวนการเรยี นรู 5 ขัน้ ตอน เรอ่ื ง วธิ กี ารคุมกาํ เนดิ เพอื่ ศกึ ษา
ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาไดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปท ี่ 2 จํานวน 2 แผน ใชเวลาในการจดั การเรียนรู 4 ช่ัวโมง
2. แผนการจดั การเรียนรูดวยวธิ ีสอนปกติ เรอื่ งวธิ ีการคมุ กําเนดิ กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
เพ่ือศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาไดของนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 จํานวน 2 แผน ใชเ วลาในการจัดการเรยี นรู 4 ชัว่ โมง

ขอบเขตของการวิจัย
ผวู ิจยั ไดกาํ หนดขอบเขตของการวิจยั ดังนี้
1. ประชากร ไดแ ก นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรยี นนครไตรตรงึ ษ อําเภอเมือง จงั หวดั

กาํ แพงเพชร จํานวน 4 หองเรยี น
2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/2 โรงเรียนนครไตรตรึงษ อําเภอเมือง จังหวัด

กําแพงเพชร ไดมาจากการสุม อยางงา ยแบบเจาะจง กลุมทดลองและกลุมควบคุม อยา งละ 1 หอง ซึ่งนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2/2 จํานวน 33 คน เปนกลุมทดลองซ่ึงไดรับการจัดการเรียนรูดวย GPAS 5 Steps สวน
นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษา ปที่ 2/1 จาํ นวน 39 คน เปน กลมุ ควบคุม จะไดร ับการจดั การเรียนรูดว ยวธิ สี อนปกติ

3. ตวั แปร ไดแ ก
3.1 ตัวแปรอสิ ระ คือ รปู แบบการจัดการเรยี นรู 2 แบบ คือ กระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps และ
วธิ สี อนปกติ
3.2 ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ และแกไ ขปญ หาได
ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

5

วิธกี ารดาํ เนนิ การรวบรวมขอมูล การวิจัยในครงั้ นมี้ ีวธิ กี ารดําเนนิ การรวบรวมขอ มลู ดังน้ี
ทดสอบความรกู อ นเรียนของนกั เรยี นโรงเรียนนครไตรตรึงษ อําเภอเมอื ง จังหวดั กําแพงเพชร

ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565 ช้ันมัธยมศกึ ษา ปที่ 2/2 จํานวน 33 คน และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2/1
จํานวน 39 คน โดยใชแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหา
เรื่อง วิธกี ารคมุ กําเนิด

1. ดําเนนิ การสอนกลุม ทดลองคอื นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษา ปที่ 2/2 ตามแผนการจัดการเรียนรู
ดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps และดําเนินการสอนกลุมควบคุม คือนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2/1
ตามแผนการจดั การเรียนรูดวยวธิ กี ารสอน ปกติ อยางละ 2 แผนการจดั การเรยี นรู

2. เมอื่ ดําเนนิ การสอนเสร็จส้นิ ทําการทดสอบหลังเรยี น กับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2/2
จํานวน 33 คน และชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2/1 จํานวน 39 คน โดยใชแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห
การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ และแกไ ขปญหา ฉบบั เดิม แลว รวบรวมผลคะแนนไว

3. นาํ ผลคะแนนที่ไดจากการทดสอบวดั ความสามารถในการคิดวเิ คราะห การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ
และแกไขปญหา กอนเรียนและหลังเรียน ตามแผนการจัดการ เรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps
และผลคะแนน ทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาหลัง
เรียนของการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps กับการจัดการเรียนรูดวยวิธีการสอนปกติ
มาวเิ คราะหค าทางสถิติตอ ไป

การวเิ คราะหขอ มลู และสถติ ทิ ี่ใชใ นการวิเคราะหข อมลู

การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณทําโดยวิเคราะหหาคาเฉล่ียเลขคณิต (X) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
และอัตราสวนรอยละจากแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไข
ปญหาซง่ึ นําขอ มูลท่ีไดม าวิเคราะหใ หสอดคลองตาม วัตถปุ ระสงคดังนี้

1. นาํ คะแนนเฉลี่ยจากแบบวัดความสามารถในการคิดวเิ คราะห การคิดอยา งมีวิจารณญาณ และ

แกไ ขปญ หาในแตละขอ กอนเรยี นและหลงั เรยี น มาเปรยี บเทยี บกนั เพือ่ วเิ คราะห ความแตกตางของคา เฉลีย่

คาเฉลีย่ ทไ่ี ดจากการทําแบบทดสอบโดยใช สตู ร t-test แบบ dependent samples t-test

2. นําคะแนนเฉลี่ยจากวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห การคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ และ

แกไขปญหาหลังเรยี น มาเปรยี บเทยี บระหวางรูปแบบการจัดการเรยี นรูดว ยกระบวนการเรียนรู GPAS 5

Steps กบั การจดั การเรยี นรูด ว ยวธิ ีการ สอนปกตโิ ดยใชส ตู ร t-test แบบ independent samples t-test

6

ผลการศกึ ษา

ผูว จิ ัยขอนําเสนอผลการวิจัยดงั น้ี

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนทักษะความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคิดอยางมวี ิจารณญาณ

และแกไ ขปญ หา กอ นเรยี นและหลงั เรยี นของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 หอง 2/2 (กลุมทดลอง) ท่ี

ไดรับการจดั การเรยี นรู ดว ยกระบวนการเรยี นรู GPAS 5 Steps

กระบวนการเรยี นรู GPAS 5 Steps ทกั ษะความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคิดอยา งมี
วิจารณญาณ และแกไ ขปญหา

n X S.D. t

กอนเรียน 33 6.64 0.96

หลงั เรยี น 33 16.24 1.46 34.08*

* มีนัยสาํ คัญทางสถิติที่ระดบั .05

จากตารางท่ี 1 พบวา การทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2/2 มี
คะแนนเฉลี่ยเทากับ 6.64 คะแนน และ 16.24 ตามลําดับ และเม่ือเปรียบเทียบระหวา งคะแนนกอนเรยี นและ
หลังเรียน พบวา คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
แสดงวาการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps ข้ันตอนทําใหนักเรียนเกิดทักษะ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ และแกไ ขปญ หาสงู ข้ึน

ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบคะแนนทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมวี ิจารณญาณ และแกไข
ปญหากอ นเรยี นและหลงั เรียน ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 2 ท่ไี ดจากการจดั การเรียนรูด วยวิธสี อนปกติ

หลังเรยี น ทกั ษะความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคดิ อยา งมี
วจิ ารณญาณ และแกไขปญ หา

n X S.D. t

กอ นเรยี น 39 5.31 1.32

หลงั เรยี น 39 11.21 1.92 22.98*

* มีนยั สําคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05

7

จากตารางที่ 2 พบวา การทดสอบกอ นเรยี นและหลงั เรียนของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 2/1 มี
คะแนนเฉลย่ี เทากบั 5.31 คะแนน และ 11.21 ตามลําดับ และเม่ือเปรยี บเทยี บระหวางคะแนนกอนเรยี น
และหลังเรยี น พบวา คะแนนสอบหลงั เรยี นของนกั เรียนสงู กวา กอ นเรยี นอยางมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนทักษะความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ และแกไข
ปญ หาหลงั เรียน ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดจ ากการ จัดการเรยี นรูดว ยกระบวนการเรียนรู GPAS 5

Steps กบั การจัดการเรยี นรดู วยวธิ ีสอนปกติ

หลังเรยี น ทกั ษะความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคิดอยา งมี
วจิ ารณญาณ และแกไ ขปญหา

n X S.D. t

กระบวนการเรยี นรู GPAS 5 Steps 33 16.24 1.46

จัดการเรยี นรดู ว ยวธิ สี อนปกติ 39 11.20 1.92

* มนี ยั สาํ คญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05

จากตารางท่ี 3 เห็นไดวา นักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps มี
คะแนนเฉลี่ย เทากับ 16.24 ± 1.46 คะแนน และนักเรียนที่ไดรับการ จัดการเรียนรดู วยวิธีสอนปกติมีคะแนน
เฉลี่ยเทากับ 11.21 ± 1.92 คะแนน พบวาคะแนนเฉล่ียของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปที่ 2 มีระดับทักษะ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาสูงขึ้นอยา ง มีนัยสําคัญทม่ี ีความ
เช่ือม่ันรอยละ 95 หลังไดรับการจัดการ เรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps เม่ือเทียบกับการ
จัดการเรียนรูดวยวิธีสอนปกติแสดงวาการจัดการเรียนรูดวย กระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps สามารถ
พฒั นานักเรียนใหเกดิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรไ ดด กี วา การจดั การเรยี นรดู ว ยวธิ ีสอนปกติ

อภปิ รายผลการศึกษา
1. นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 มีระดบั ทกั ษะความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยา งมี
วิจารณญาณ และแกไขปญหาสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญท่ีมีความ เชื่อมั่นรอยละ 95 หลังไดรับการจัดการเรียนรู
ดวยกระบวนการ เรียนรู GPAS 5 Steps เม่ือเทียบกับการจัดการเรียนรูดวยวิธีสอน ปกติซ่ึงเปนไปตาม
สมมติฐานท่ีต้ังไวเนื่องจากการจัดการ เรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps จะทําใหนักเรียนเกิด
ทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหามากขึ้นอาจเปนเพราะ
นักเรียนจะไดทํากิจกรรมกลุม รวมกันระดมสมอง จึงสามารถ เขาใจปญหาและหาคําตอบของปญหาถึงวิธีการ

8

คุมกําเนิดไดดีขึ้น โดยมีกระบวนการเริ่มตนจากการระบุปญหา รวบรวมขอมูลสรางองคความรูดวยตนเอง
นําขอ มลู ทไี่ ดม า นําเสนอสอื่ สารในรปู แบบตา งๆ และนาํ ความรูที่ไดมาตอบแทนสงั คมตอ ไป

2. นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 2 ท่ไี ดร บั การจัดการเรียนรดู ว ยกระบวนการเรยี นรู GPAS 5 step
มีทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาสูงกวานักเรียนท่ีไดรับ
การ จัดการเรียนรูดวยวิธีสอนปกติมีอยาง มีนัยสําคัญที่มีความเช่ือมั่นรอยละ 95 หลังไดรับการจัดการ เรียนรู
ดวยกระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps เมื่อเทียบกับการจัดการเรียนรูดวยวิธีสอนปกติแสดงวาการจัดการ
เรียนรูดวย กระบวนการเรียนรู GPAS 5 Steps สามารถพัฒนานักเรียนใหเกิด ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรไดดกี วา การจดั การเรยี นรู ดว ยวิธีสอนปกติ

จากผลการจัดการเรียนรูดวยวิธีนี้สามารถเนนผูเรียนเปนสําคัญ ทําใหผูเรียนเกิดทักษะการคิด
การปฏิบัติได แสวงหาความรูและสรางองคความรูดวยตนเอง จนเกิดทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห
การคิดอยางมีวิจารณญาณ และแกไขปญหาไดคือ ข้ันสรางความสนใจ (Engagement) ข้ันสํารวจและคนหา
(Exploration) ข้ันอธิบาย และลงขอสรุป (Explanation) ข้ันขยายความรู (Elaboration) ข้ันประเมิน
(Evaluation) ซึ่งครอบคลมุ อยูในกระบวนการ เรียนรู 5 ข้ันตอนท้งั หมด (พมิ พันธ เดชะคุปต, 2557) จาก 171
วารสารศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยทักษิณ ปท ่ี 17 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2560 การเปรียบเทียบ
วิธีการจัดการเรียนรูจึงทําใหรูวาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนของผูเรียนท่ีไดรับการ จัดการ
เรยี นรูดวยกระบวนการเรียนรู 5 ขน้ั ตอน สูงกวาการ จัดการเรียนรูดวยวธิ ีสอนปกติ จากการจัดการเรียนรดู วย
กระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน ในแตละขั้นนั้นจะมีการสงเสริมใหผูเรียนไดเกิดการคิดอยาง เปนระบบ
คดิ แกปญหา คิดวิเคราะหจนเกิดเปนความคิด สรา งสรรคในท่สี ุด สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคไดครบ ทั้ง
4องคป ระกอบ คอื ความคิดคลองแคลวความคดิ ยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ ซึ่งสอดคลอง
กับ แนวคิดของ ทอแรนซ Torrance (2002: 25) ; กิลฟอรด Guilford (1998:145-151) และอารี พันธมณี
(2557:37-45) สามารถสรปุ ไดวา ความคิดสรา งสรรคส ามารถเกดิ ขึ้นไดเมื่อ ผเู รียนไดร ับการจัดการเรียนรูทีเ่ นน
ใหคิดและปฏิบตั ิดวย ตนเอง จึงเห็นไดว านกั เรียนมีความคิดคลองแคลวสามารถ คิดไดอ ยา งรวดเรว็ ท้ังทางดา น
ถอยคาํ การโยงสัมพนั ธ การแสดงออก และการคิดดานความคิดยืดหยุนเปนการคดิ ไดอยางหลากหลาย เชน มี
การคิดยืดหยุนท่ีเกิดขึ้นดวยตัวเอง และความคิดยืดหยุนทางดานการดัดแปลง สวนความคิดริเริ่ม นักเรียนจะ
สนุกกับส่ิงแปลกใหมหรือไมซ้ํากับความคิดของ คนอื่น สุดทายคือความคิดละเอียดลออ ทั้งแบบความคิดใน
เรื่องรายละเอยี ดเปน ขนั้ ตอน และสามารถอธบิ ายใหเ ห็นภาพ ชัดเจน จงึ เห็นไดวา กระบวนการเรยี นรู 5 ขน้ั ตอน
สามารถ พัฒนาความคิดสรา งสรรคไดอยางแทจริง และสงผลใหผูเรียน มองสิ่งรอบตวั เปล่ียนไปและมีประกาย
ความคิดใหเรงพัฒนา โดยกลาที่จะคิด กลาที่จะทํามากขึ้น และควรเรงใหมีการคิด แบบระดมสมอง เพ่ือชวย
แกปญหาและทําใหสงเสริมการ ทํางานรว มกนั ไดม ากข้ึน ผูเรียนมคี วามสนุกในการคดิ มากกวา การคดิ คนเดียว
และมีแรงจงู ใจทจี่ ะพยายามคดิ ในประเดน็ อืน่ ๆ ตอไป

9

สรปุ ผลการศึกษา

ผวู จิ ยั ขอนาํ เสนอสรุปผลการวจิ ัยดงั นี้
1. นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 มที ักษะความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ

และแกไ ขปญ หาสงู ข้นึ อยางมีนัยสาํ คัญท่ีมคี วาม เชอื่ ม่ันรอยละ 95 หลังไดร ับการจัดการเรยี นรดู ว ยกระบวนการ
เรยี นรู GPAS 5 Steps

2. นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2 มที ักษะความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยางมีวิจารณญาณ
และแกไขปญหาสงู ข้ึนอยางมีนัยสําคญั ที่มีความ เชือ่ มั่นรอ ยล 95 หลังไดรบั การจัดการเรียนรูดวยกระบวนการ
เรียนรู GPAS 5 Steps เม่ือเทียบกับการจดั การเรียนรูดว ยวิธสี อนปกติ

เอกสารอางองิ

เกรยี งศักด์ิ เจรญิ วงศศ ักด์ิ. (2007). ทักษะการแกปญ หา เรอื่ งจําเปนสาํ หรบั เดก็ ไทย, สบื คน เมือ่ 10 สงิ หาคม
2565. จาก. http://www.kriengsak.com/node/1006

แซจิว, ว. (2558). การพฒั นาความสามารถในการคิดวเิ คราะห เรอ่ื งระบบเศรษฐกจิ ของนกั เรียน
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 การจดั การเรียนรูตามทฤษฎีการสรางสรรคค วามรู. (วทิ ยานพิ นธป รญิ ญา
ศึกษาศาสตรม หาบณั ฑติ สาขาวิชาการสอนสงั คมศกึ ษา ). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทศิ นา แขมมณี. (2559). ศาสตรก ารสอน: องคความรเู พอ่ื การจดั กระบวนการเรยี นรทู มี่ ีประสทิ ธภิ าพ (พิมพ
ครงั้ ที่ 20 ed.). โรงพมิ พ แหง จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั .

นอ งนาง ปรอื งาม. (2554). "การพัฒนาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายวิชา
เคมี เร่ือง กรด-เบส ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 โดยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู แบบใชป ญ หา
เปนฐาน".วิทยานิพนธปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน.

พมิ พนั ธ เดชะคปุ ต และพเยาว ยินดีสขุ . (2557). การจัดการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั .

วชั รา เลา เรียนด.ี (2555). รูปแบบและกลยุทธก ารจดั การเรยี นรเู พื่อพฒั นาทักษะการคดิ (พิมพค รง้ั ท่ี 9).
นครปฐม: คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร.

อารี พันธม ณี. (2557). ฝก ใหค ดิ เปน คดิ ใหสรางสรรค. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั .
อลิสา เลี้ยงรน่ื รมย . (2020). จบั มอื ทาํ วจิ ัยในชนั้ เรยี น, สบื คน เมื่อ 15 สิงหาคม 2565. จาก

https://www.facebook.com/105771958053642/posts/112685580695613/
Torrance, E.P. (2002). Guiding creative talent. New York: Prentice Hall.
Guilford, J.P. (1998). The Nature of Human Intelligence. McGraw-Hill : Book Company.

10

แผนการจัดการเรยี นรูว ชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรียนรู

กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร 3 รหัสวชิ า ว22101
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565
หนวยการเรียนรทู ี่ 1 ชื่อหนว ย ระบบรา งกายมนษุ ย
ช่ือแผน การคมุ กำเนดิ (1) เวลา 2 ชั่วโมง
ผจู ดั การเรยี นรู นางสาวกิตตมิ า ฤกษห รา ย โรงเรยี นนครไตรตรงึ ษ
จัดการเรียนรวู นั ที่ 22 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565
**********************************************************************************
1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การคุมกำเนิดเปน การปอ งกนั เพ่ือไมใ หเกิดการต้งั ครรภข นึ้ โดยปอ งกนั ไมใ หเกิดการปฏสิ นธหิ รือไมใหม ี
การฝงตัวของเอ็มบริโอ
2. มาตรฐานการเรยี นรู
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออก
จากเซลล ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยที่ทำงานสัมพันธกัน
ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธกัน รวมทั้งนำความรูไปใช
ประโยชน
1. เลือกวธิ ีการคมุ กำเนดิ ทเี่ หมาะสมกบั สถานการณทก่ี ำหนด (ว 1.2 ม. 2/16)
2. ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภกอนวัยอันควร โดยการประพฤติตนใหเหมาะสม (ว 1.2 ม.
2/17)
3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายการคุมกำเนิดได (K)
2. ตระหนกั ถึงผลกระทบของการตง้ั ครรภก อนวยั อนั ควร (A)
3. สอื่ สารและนำความรเู รื่องการคมุ กำเนดิ ไปใชในชวี ิตประจำวันได (P)

4. สาระการเรียนรู
ระบบสบื พนั ธุ
– การคมุ กำเนิด

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
1. ใฝเ รียนรู

7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R, 8C)

(W)Riteing คอื สามารถเขยี นได
Critical Thinking and Problem Solving : มีทกั ษะในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ
และแกไขปญหาได

แผนการจัดการเรียนรวู ิชาวิทยาศาสตร ม. 2

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
ข้นั นำเขา สูบ ทเรียน

1) ครูใหน กั เรยี นทบทวนความรูเดมิ ที่ไดเ รียนรูมาแลว โดยใชค ำถามตอ ไปน้ี
– ทารกที่คลอดออกมามากกวา 1 คนในคราวเดยี วเรยี กวาอะไร (แนวคำตอบ แฝด)
– เพราะอะไรจึงควรเลี้ยงทารกดวยน้ำนมแมมากกวาน้ำนมวัว (แนวคำตอบ เพราะน้ำนมแมมี

สารอาหารครบถวนและเพียงพอตอความตองการของทารก ทารกที่ดื่มน้ำนมแมจะไดรับโปรตีน กรดไขมัน
จำเปน และภมู ิตานทานเช้อื โรค ทำใหท ารกเจริญเตบิ โต มพี ัฒนาการของสมอง และสุขภาพท่ดี ี)

2) นักเรียนรว มกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับคำตอบ เพื่อเชอื่ มโยงไปสกู ารเรยี นรเู รอื่ ง
การคมุ กำเนิด
ขนั้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู
การจัดการเรียนรโู ดยใชก ระบวนการเรยี นรตู ามแนว GPAS 5 Steps
1) ขน้ั การสังเกต รวบรวมขอมลู (Gathering : G)

1) นักเรยี นชมคลิปขา วจาก https://www.youtube.com/watch?v=gaHdFlnis6w
นักเรียนบันทกึ สง่ิ ทีน่ กั เรยี นสงั เกตไดลงในสมุด

2) ครูถามคำถามเพื่อเชื่อมโยง/ทบทวนความรูเดิมเกี่ยวกับการตั้งครรภ โดยใชคลิปในขอ 1) เปนสื่อ
ประกอบการถาม ตวั อยา งการถามเชน

แนวการตัง้ คำถาม
(1) ปญหาดงั กลา วเกิดจากสาเหตใุ ด https://www.menti.com/uh1fpumwsp

(Critical Thinking and Problem Solving )
(2) นักเรยี นมีวธิ ปี องกนั หรือวธิ ีแกป ญ หาดังกลาวอยางไรถาเหตกุ ารณดงั กลา วเกิดข้นึ กบั

นักเรียน https://www.menti.com/v91777vhc3 (Critical Thinking and Problem Solving )
(3) ในกรณที ย่ี ังไมพ รอ มจะมบี ุตร หรือมีบุตรเพยี งพอตอ ความตองการแลว สามารถปองกนั

เพื่อไมใ หเ กดิ การตงั้ ครรภข ้นึ ไดด ว ยวธิ ใี ด https://www.menti.com/7mvgaiphfp
(Critical Thinking and Problem Solving )

คำถามท่ี 1 คำถามท่ี 2 คำถามที่ 3

แนวคำตอบ
(1) พจิ ารณาคำตอบตามดลุ ยพนิ ิจ
(2) พิจารณาคำตอบตามดลุ ยพนิ จิ
(3) พจิ ารณาคำตอบตามดลุ ยพินจิ

3) ครตู ั้งคำถามสำคญั ของการเรียนในชั่วโมงน้ีเพ่ือนำนักเรยี นเขา สูข้นั วิเคราะหและสรุปความรู หรือการ
จัดกระทำขอมลู วา “วธิ ีการคมุ กำเนดิ ” นกั เรยี นคดิ วาหมายถงึ อะไร (ครเู ช่อื มโยงนำเขาสูขนั้ ที่ 2)

แผนการจัดการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร ม. 2

2) ขน้ั วิเคราะหและสรปุ ความรู หรือการจดั กระทำขอ มลู (Processing : P)
1) ครูใหนักเรียนศึกษาเรื่องการคุมกำเนิด จากใบความรูหรือในหนังสือเรียน โดยครูชวยอธิบายให

นักเรียนเขาใจวา การคุมกำเนิด หมายถึง การปองกันเพื่อไมใหเกิดการตั้งครรภขึ้น มีหลายวิธี ไดแก วิธี
ธรรมชาติ การคุมกำเนิดโดยใชอปุ กรณ การคมุ กำเนิดโดยใชสารเคมี และการผา ตัดทำหมนั

2) ครแู บงนักเรียนกลมุ ละ 4 – 6 คน ปฏบิ ัติกจิ กรรม สืบคนขอมูลการคมุ กำเนดิ ตามขน้ั ตอน ดงั นี้
– สบื คนขอ มูลเกีย่ วกับการคมุ กำเนดิ โดยคนควาในประเดน็ ตา งๆ ตอ ไปนี้
• วิธธี รรมชาติ
• การคุมกำเนดิ โดยใชอปุ กรณ
– นำขอ มูลทีไ่ ดมาอภปิ รายรวมกัน แลวนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนาหอ งเรยี น

3) ขน้ั ปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรหู ลงั การปฏิบตั ิ (Applying and Constructing the Knowledge : A1)
1) ตัวแทนนักเรยี นจำนวน 1-2 กลุม (ครพู ิจารณาตามความเหมาะสม) ออกมานำเสนอสรุปความรู

รูปแบบ ผังมโนทัศนต ามทส่ี มาชกิ กลมุ รวมกนั ทำ (นักเรยี นที่รบั ฟง จดบันทึกความรลู งในสมดุ งานประจำวชิ า)
2) นำภาพทีส่ อื่ ถึงวธิ ีการคมุ กำเนดิ นำมาถามนกั เรียนวาภาพดงั กลาว ตรงกับ วิธกี ารคมุ กำเนดิ แบบใด

และมขี อ จำกัดหรอื ขอดขี อ เสยี อยางไร
4) ขัน้ สอื่ สารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill : A2)

1) ครนู ำอภิปรายถึงความสำคญั ของการคมุ กำเนดิ ในทางบวก เพ่ือให นกั เรียนไดตระหนกั ถงึ
ความสำคญั และความจำเปน ของการคมุ กำเนิด โดยถามคำถามนำการคิด ตัวอยางเชน

แนวการต้งั คำถาม
(1) นักเรียนคดิ วา การคมุ กำเนดิ มีประโยชนอ ยางไร
(2) การคุมกำเนดิ วธิ ใี ดปอ งกนั โรคทเ่ี กิดจากการมเี พศสัมพนั ธไดห รอื ไม
(3) การคมุ กำเนิดวธิ ใี ดทป่ี องกนั โรคทีเ่ กดิ จากการมีเพศสมั พนั ธไ ด

แนวคำตอบ
(1) ชว ยปอ งกนั การต้ังครรภ และปอ งกันโรคตดิ ตอ
(2) ชวยปอ งกันโรคท่เี กิดจาการมเี พศสัมพนั ธไ ด
(3) การสวมถงุ ยางอนามัย

2) ครูมอบหมายใบงาน “รูป ญ หาสวู ิธีแก” https://bit.ly/3cmp9E5
อาจมกี ารสมุ นกั เรียน 2-3 คน มานำเสนอผลงานแลว อภปิ รายรว มกันในช้นั เรยี นอกี ครั้ง
5) ขน้ั ประเมนิ เพอื่ เพม่ิ คณุ คา (Self - regulating)

1) ครูและนกั เรยี นรว มกันอภปิ รายถงึ วธิ ีการเผยแพรความรูซง่ึ เก่ยี วของกบั การนำเสนอวิธกี าร
คมุ กำเนดิ ใหแกผ อู น่ื ซง่ึ จะเปน การขยายความรแู ละบริการวิชาการสสู งั คม เชื่อมโยงไปสกู ารผลิตงานเขียน
คำคมเตือนใจเชงิ สรา งสรรค

2) นักเรียนผลติ งานเขียนเชิงสรางสรรคคำคมเตือนใจ ในหวั ขอ ทค่ี รูกำหนดให ซ่งึ เก่ียวของกับ
การนำเสนอวธิ ีการการคุมกำเนดิ หรือการปอ งกนั การต้ังครรภท ีไ่ มพ งึ ประสงคโดยครคู อยใหค ำแนะนำอยาง
ใกลช ิดและคอยอำนวยความสะดวกใหกับนักเรียน ((W)Riteing คอื สามารถเขยี นได)

3) ครูสมุ เลอื กตัวแทนนักเรียนจำนวน 2-3 คน ตามความเหมาะสม ออกมานำเสนองานเขียนคำคม
เตอื นใจ ในหวั ขอท่ีครูกำหนดให ซึ่งเก่ียวขอ งกับการนำเสนอวธิ กี ารคมุ กำเนดิ หรอื การปอ งกันการตง้ั ครรภที่ไม
พงึ ประสงคหนาชัน้ เรยี น เพอ่ื ใหนักเรยี นและคุณครไู ดร วมกันประเมนิ งานเพอ่ื ใหเกดิ การพัฒนา (งานเขียนที่
นำเสนอแลว นัน้ นกั เรยี นสามารถนำมาตดิ ไวท ี่ บอรด ความรเู พอื่ ใหเ พอื่ นในชั้นเรียนไดม โี อกาสมาแลกเปลยี่ น

แผนการจัดการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร ม. 2

เรยี นรอู ยา งละเอยี ดได เปน การสง เสริมใหน กั เรียนสรา งความรู ดวยตนเองตามแนวสรรคนิยม) พรอ มทง้ั ใหนกั
เรียนถา ยภาพผลงานโพสตผลงานของตนลงในสอ่ื สาธารณะทางใดกไ็ ดตามความสะดวกของผเู รยี นโดยใหอ ยกู ับ
คำแนะนำและดลุ ยพนิ ิจของครผู สู อน
9. สือ่ การเรยี นรู

1. คลิปขาว https://fb.watch/efdEHmByJ3/
2. ตอบคำถามผา น https://www.menti.com
3. สอื่ การเรยี นรู PowerPoint
4. ใบงาน “รปู ญหาสวู ธิ ีแก” https://bit.ly/3cmp9E5

10 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ
จุดประสงค ผา นเกณฑ
อธบิ ายการคุมกำเนิดได (K) ตรวจใบงาน ใบงาน รอ ยละ70
ผา นเกณฑ
ตระหนักถงึ ผลกระทบของการ สังเกตการตอบ คำถาม ระดบั 2 ขนึ้ ไป
ตั้งครรภก อนวยั อนั ควร (A) คำถาม ผานเกณฑ
ใฝเ รยี นรู สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ระดบั 2 ขึ้นไป
ผา นเกณฑ
ความสามารถในการส่ือสาร สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินดา นสมรรถนะสำคัญของ ระดบั 2 ขึ้นไป
ความสามารถในการใช สงั เกตพฤติกรรม ผเู รยี น ผา นเกณฑ
เทคโนโลยี ตรวจใบงาน แบบประเมนิ ดา นสมรรถนะสำคัญของ ระดบั 2 ข้นึ ไป
สื่อสารและนำความรเู รอ่ื ง ผเู รียน ผา นเกณฑร อ ยละ
การคมุ กำเนดิ ไปใชใน ตรวจคำคม ใบงาน “รปู ญ หาสวู ธิ แี ก”
ชวี ิตประจำวนั ได (P) เตือนใจ 70
- ตรวจคำตอบ แบบประเมนิ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3R, 8C) (W)Riteing สามารถเขยี นได ผานเกณฑระดับ
- ตรวจใบงาน https://www.menti.com/547m8sfey7 2 ข้นึ ไป
(W)Riteing คอื สามารถเขียน “รูป ญหาสวู ธิ ีแก” https://www.menti.com/wfup7mnabs
ได (https://www.menti.com/7mvgaiphfp ผา นเกณฑร อ ยละ
Critical Thinking and - ใบงาน “รปู ญหาสวู ธิ แี ก” 70
Problem Solving : มีทกั ษะ แบบประเมินทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3R,
ในการคดิ วเิ คราะห การคิด 8C) Critical Thinking and Problem ผานเกณฑ
อยางมีวจิ ารณญาณ และ Solving ระดบั 2 ข้นึ ไป
แกไขปญ หาได

แผนการจัดการเรียนรูว ิชาวิทยาศาสตร ม. 2

11. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู
การจดั กิจกรรมการเรียนรเู ปน ไปตามแผนทว่ี างไว นกั เรยี นมคี วามกระตอื รอื รน ใน

การเรยี น สามารถอธบิ ายการคุมกำเนิดได การตรวจใบงาน “รปู ญหาสวู ธิ แี ก” นักเรยี นมคี วามตระหนกั ถงึ
ผลกระทบของการต้ังครรภกอ นวัยอนั ควร ประเมินจากการสังเกตการตอบคำถาม และสามารถสื่อสารและนำ
ความรูเรอ่ื งการคมุ กำเนิดไปใชใ นชวี ติ ประจำวันได ซง่ึ ผลการวดั ประเมินผล และสงั เกตคุณลกั ษณะอันพงึ
ประสงค ไดแก ใฝเ รยี นรู ประเมินดา นสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ประเมินทกั ษะในศตวรรษที่ 21
(3R, 8C) (W)Riteing สามารถเขยี นได และ ประเมนิ ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R, 8C) Critical Thinking and

1. ผลการทำใบงาน “รปู ญ หาสูวิธแี ก” นกั เรียนผา นเกณฑก ารประเมิน 33 คน คิดเปน รอ ยละ 100
2. ผลสังเกตการตอบคำถาม คะแนนเตม็ 3 คะแนน ไดค ะแนนเฉลยี่ 2.58 คดิ เปน รอยละ 86.00
3. ผลการสังเกตสมรรถนะสำคัญของผเู รยี นทกั ษะความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการ
ใชเ ทคโนโลยพี บวา นักเรียนทกุ คนผานเกณฑก ารประเมนิ ท่ีตง้ั ไว
4. ผลการสงั เกตทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3R, 8C) (W)Riteing สามารถเขียนได พบวา นักเรียนทุก
คนผา นเกณฑการประเมินทต่ี ง้ั ไว
5. ผลการสังเกตทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R, 8C) Critical Thinking and Problem พบวานักเรียน
ทกุ คนผานเกณฑก ารประเมนิ ทตี่ ง้ั ไว
11.2 ปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………….
11.3 ขอเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลลงชอื่ ..................................................
(นางสาวกติ ตมิ า ฤกษห ราย)
ตำแหนง ครู

แผนการจัดการเรียนรวู ชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

ความเหน็ ของหวั หนาสถานศกึ ษา/ผูท ีไ่ ดร ับมอบหมาย
ไดท ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรูของ................................................................แลวมคี วามเห็นดงั น้ี
1. เปนแผนการจัดการเรยี นรทู ี่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกิจกรรมไดนำเอากระบวนการเรียนรู
 เนนผเู รียนเปน สำคญั มาใชในการสอนไดอ ยา งเหมาะสม
 ยังไมเ นนผเู รยี นเปน สำคญั ควรปรับปรุงพฒั นาตอ ไป
3. เปน แผนการจดั การเรียนรทู ี่
 นำไปใชไดจรงิ
 ควรปรบั ปรุงกอ นนำไปใช
4. ขอเสนอแนะอนื่ ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

ตำแหนง............................................

แผนการจัดการเรียนรูวชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

แบบประเมิน

ตระหนกั ถึงผลกระทบของการต้ังครรภกอ นวยั อนั ควร (A)
คำช้แี จง ใหสงั เกตการตอบคำถามของนกั เรยี นแลว เขียนเคร่อื งหมาย  ลงในชอ งวา งทีต่ รงกับความเปน จริง

เลขท่ี ชื่อ - สกลุ ตอบไดถ กู เปน ตอบไดถกู ตอบไมถ ูก สรปุ ผล
สวนใหญ บาง เลย การประเมนิ
1 ด.ช.กิตติภมู สมมนสั ผา น ไมผ าน
2 ด.ช.ณัฐนันท ศรีสภตั รกิ านนท (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)
3 ด.ช.ตะวนั สามา   
4 ด.ช.ธนภัทร รนื่ รวย  
5 ด.ช.ธนาธปิ โพธวิ ฒั น   
6 ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง 
7 ด.ช.พรรณนา ทองดี   
8 ด.ช.วายุ สุวาท   
9 ด.ช.อภชิ จั จ ทองยศ 
10 ด.ช.อานภุ าพ เอ่ยี มจำนงค   
11 ด.ช.เอกบรรพต นลิ สิต   
12 ด.ช.อิสรานุวัฒน สีแตง  
13 ด.ญ.กัญญาวีร กริสชอ  
14 ด.ญ.ชจาริน แสงจนั ทร   
15 ด.ญ.ญาณาธปิ แจม ใส   
16 ด.ญ.ญาณศิ า แซกวาง  
17 ด.ญ. ณ พดั แกว ศรี  
18 ด.ญ.ดลพร กวางแกว  
19 ด.ญ.ดวงกมล สนธศิ รี 
20 ด.ญ.นภสั สรณ ศรีสรอ ย  
21 ด.ญ.บณั ฑติ า โกนจา 
22 ด.ญ.ปณติ า ดวงบุบผา 
23 ด.ญ. ปย ะภรณ แกว คลา ย 



แผนการจัดการเรียนรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

เลขท่ี ชื่อ - สกุล ตอบไดถูกเปน ตอบไดถกู ตอบไมถกู สรปุ ผล
สว นใหญ บาง เลย การประเมิน
24 ด.ญ. พรพมิ ล หม่นั อตุ สาห ผาน ไมผาน
25 ด.ญ.รพีพรรณ กลาการนา (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)
26 ด.ญ. ศภุ กรณ พรมพทิ กั ษ  
27 ด.ญ.สรนั ยา หามเห้ียม  
28 ด.ญ.สุชารัตน เจรญิ รส   
29 ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต  
30 ด.ญ.อรพรรณ ยมนา  
31 ด.ญ.ไอรดา เขง ตุน   
32 ด.ญ.บุศรินทร อินตะสาย  
33 ด.ช.อลงกรณ รอดทอน 14 
 42.43 
สรปุ 
คดิ เปน รอ ยละ 19
57.57 33
100

แผนการจัดการเรียนรวู ชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค 8 ประการ
โรงเรียนนครไตรตรงึ ษ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร

ภาคเรยี นท่ี....................ปก ารศึกษา...............................

ช่ือ-สกุลนกั เรยี น.......................................................................หอง.................................เลขท่.ี .....................
คำชแ้ี จง : ใหผูสอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด /

ลงในชอ งท่ีตรงกบั ระดับคะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงค 3 2 10
1. รักชาติ ศาสน 1.1 มคี วามรกั และภมู ใิ จในความเปนชาติ
กษัตริย 1.2 ปฏบิ ตั ิตนตามหลักของศาสนา
1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดตี อ สถาบันพระมหากษัตริย
2.ซ่ือสตั ยส ุจรติ 2.1 ปฏิบตั ิตามระเบียบการสอน และไมล อกการบา น
2.2 ประพฤติ ปฏิบตั ิ ตรงตอ ความเปน จรงิ ตอตนเอง
2.3 ประพฤติ ปฏบิ ัตติ รงตอ ความเปน จริงตอ ผอู ่นื
3. มวี นิ ยั 3.1 เขาเรียนตรงเวลา
3.2 แตง กายเรียบรอ ยเหมาะสมกบั กาลเทศะ
3.3 ปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของหอง
4. ใฝหาความรู 4.1 แสวงหาขอ มูลจากแหลง เรียนรตู างๆ
4.2 มกี ารจดบันทึกความรอู ยา งเปน ระบบ
4.3 สรุปความรูไ ดอ ยา งมีเหตผุ ล
5.อยอู ยางพอเพยี ง 5.1 ใชทรพั ยส นิ และส่ิงของของโรงเรียนอยางประหยัด
5.2 ใชอ ปุ กรณการเรียนอยางประหยัดและรูคณุ คา
5.3 ใชจ ายอยางประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ
6. มุงมัน่ ในการ 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร ับมอบหมาย
ทำงาน 6.2มีความอดทนและไมท อ แทต ออปุ สรรคเพอ่ื ใหงานสำเรจ็
7.รักความเปน ไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษว ฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย
7.2 เหน็ คณุ คา และปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8.1 รจู กั การใหเพอื่ สว นรวม และเพอื่ ผูอ่ืน
8.มีจิตสาธารณะ 8.2 แสดงออกถงึ การมนี ำ้ ใจหรอื การใหความชว ยเหลือผอู น่ื

8.3 เขารว มกิจกรรมบำเพ็ญตนเพ่ือสวนรวมเม่อื มีโอกาส

ลงชอ่ื ......................................................................ผปู ระเมนิ
(......นางสาวกิตติมา...........ฤกษหรา ย.....)
.......... /......................../...................

แผนการจัดการเรยี นรวู ชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

สรปุ ผลการประเมนิ
เขยี นเครอื่ งหมาย  ลงในวงกลม
เกณฑก ารใหคะแนน
- พฤตกิ รรมท่ีปฏิบตั ชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน
- พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบอ ยคร้งั ให 2 คะแนน
- พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ิบางคร้งั ให 1 คะแนน
- พฤติกรรมทีไ่ มไ ดปฏิบตั ิ ให 0 คะแนน
เกณฑการตดั สินคุณภาพ
 ควรปรบั ปรุง (0.00–0.49) หมายเหตุ การหาระดับคุณภาพหาไดจากการนำคะแนน
 พอใช (0.45–1.44) รวมในแตละชอ งมาบวกกัน แลว หารดวยจำนวนขอ จะได
 ดี (1.45–2.44) รวมในแตละชอ งมาบวกกัน แลว หารดว ยจำนวนขอ จะได
 ดีมาก (2.45–3.00) คะแนนเฉล่ีย แลว นำมาเทยี บกบั เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ

คดิ คา เฉลย่ี เฉพาะขอท่ปี ระเมนิ เทา น่นั

แผนการจัดการเรยี นรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ใฝเ รียนรู
โรงเรียนนครไตรตรงึ ษ สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษากำแพงเพชร

ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565

ช่ือ-สกลุ แสวงหาขอมลู จาก มกี ารจดบนั ทกึ สรุปความรูไดอยา ง สรุปผล
แหลงเรียนรูต างๆ ความรอู ยา งเปน มเี หตุผล การ
1. ด.ช.กิตตภิ มู สมมนัส 3 2 10 ประเมิน
2. ด.ช.ณัฐนันท ศรสี ภตั ริกานนท ระบบ 3210
3. ด.ช.ตะวนั สามา / 3210 3
4. ด.ช.ธนภทั ร ร่นื รวย / / 2
5. ด.ช.ธนาธปิ โพธวิ ัฒน / / 2
6. ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง / / / 2
7. ด.ช.พรรณนา ทองดี / / 2
8. ด.ช.วายุ สุวาท / / / 3
9. ด.ช.อภชิ ัจจ ทองยศ / / / 2
10. ด.ช.อานุภาพ เอี่ยมจำนงค / 3
11. ด.ช.เอกบรรพต นลิ สิต / / / 3
12. ด.ช.อิสรานุวฒั น สีแตง / / / 3
13. ด.ญ.กญั ญาวรี  กริสชอ / / 3
14. ด.ญ.ชจารนิ แสงจันทร / / / 2
15. ด.ญ.ญาณาธิป แจม ใส / / / 2
16. ด.ญ.ญาณศิ า แซก วาง / / 3
17. ด.ญ. ณ พดั แกวศรี / / 3
18. ด.ญ.ดลพร กวางแกว / / / 3
19. ด.ญ.ดวงกมล สนธศิ รี / / / 2
20. ด.ญ.นภสั สรณ ศรีสรอย / / 3
21. ด.ญ.บณั ฑติ า โกนจา / / / 3
22. ด.ญ.ปณติ า ดวงบุบผา / / / 2
23. ด.ญ.ปย ะภรณ แกวคลาย / / / 2
24. ด.ญ.พรพิมล หมน่ั อุตสาห / / / 3
25. ด.ญ.รพพี รรณ กลา การนา / / / 2
26. ด.ญ.ศภุ กรณ พรมพทิ กั ษ / / / 3
27. ด.ญ.สรนั ยา หามเหี้ยม / / / 2
28. ด.ญ.สุชารตั น เจรญิ รส / / / 2
/ / / 2
/ / / 3
/ / /
/ /
/ /
/ /
/
/

แผนการจัดการเรยี นรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

ชอ่ื -สกุล แสวงหาขอ มูลจาก มกี ารจดบนั ทกึ ความรู สรปุ ความรูไดอยางมี สรปุ ผล
แหลงเรยี นรตู างๆ อยางเปน ระบบ เหตุผล การ
29. ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต 3 2 10 ประเมนิ
30. ด.ญ.อรพรรณ ยมนา 3 2 10 3 2 10
31. ด.ญ.ไอรดา เขง ตุน / 3
32. ด.ญ.บศุ รนิ ทร อนิ ตะสาย / / / 3
33. ด.ช.อลงกรณ รอดทอน / / 2
/ / 3
สรปุ รวม / / 3
คิดเปน รอ ยละ / / /
15 18 / /
23 10 19 14

45.45
54.54
69.70
30.30
57.58
42.42

แผนการจัดการเรยี นรูว ิชาวิทยาศาสตร ม. 2

แบบประเมินดานสมรรถนะสำคัญของผูเรยี น
โรงเรียนนครไตรตรงึ ษ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร

ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช สรุปผล
เทคโนโลยี การ
ประเมนิ

บอกความคิด ความรู ึสกของตนกับ ูผ ่ือนเก่ียวกับ ขอ ูมลและ
ประสบการ ณของตนเอง
อ ิธบายเห ุตผลของการเ ืลอก ี่ทจะรับและไ มรับ ขอ ูมล ขาวสาร
เ ืลอกใ ช ิว ีธการ ื่สอสาร ่ีท ีมประ ิสท ิธภาพและคำ ึนง ึถงผลกระทบ ี่ท
ีม ตอตนเองและ ัสงคม
รู ัจกเ ืลอกใ ช ัวส ุด ุอปกร ณ ประเภทซอฟ ตแวรและฮารดแวรใน
การพัฒนาตนเองและ ัสงคมเพ่ือการเรียนรู การ ื่สอสาร การ
ทำงาน การแกปญหา และการอยูรวมกับ ูผอื่น
รู ัจกเ ืลอกใ ชแนวคิดทางเทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองและ
ัสงคมเพื่อการเรียนรู การ ่ืสอสาร การทำงาน การแกปญหาและ
การอยูรวมกับ ูผ ื่อน
รู ัจกเ ืลอกใ ช ิว ีธการทางเทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองและ ัสงคม
เพ่ือการเรียนรู การ ื่สอสาร การทำงาน การแกปญหา และการ
อยูรวมกับ ูผ ่ือน

321321321321321321
1. ด.ช.กติ ตภิ มู สมมนัส / ///// 2/2
2. ด.ช.ณัฐนนั ท ศรสี ภตั รกิ านนท / / / // / 2/2
3. ด.ช.ตะวนั สามา / ///// 2/2
4. ด.ช.ธนภัทร รื่นรวย / / / / // 2/2
5. ด.ช.ธนาธิป โพธวิ ัฒน // //// 2/2
6. ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง // //// 2/2
7. ด.ช.พรรณนา ทองดี / // /// 2/2
8. ด.ช.วายุ สุวาท / ///// 2/2
9. ด.ช.อภิชัจจ ทองยศ / // // / 2/2
10. ด.ช.อานุภาพ เอย่ี มจำนงค / // // / 2/3
11. ด.ช.เอกบรรพต นลิ สติ 3/3
12. ด.ช.อิสรานวุ ัฒน สแี ตง / // // / 2/2
13. ด.ญ.กญั ญาวีร กริสชอ // //// 3/2
14. ด.ญ.ชจารนิ แสงจันทร / // // / 3/2
15. ด.ญ.ญาณาธิป แจม ใส // / // / 2/2
16. ด.ญ.ญาณศิ า แซกวาง / / / // / 3/2
17. ด.ญ. ณ พดั แกวศรี // / /// 2/3
18. ด.ญ.ดลพร กวางแกว // / // / 2/2
19. ด.ญ.ดวงกมล สนธิศรี / // /// 3/2
20. ด.ญ.นภสั สรณ ศรสี รอย // / // / 2/2
/ /////

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการใช สรปุ ผล
เทคโนโลยี การ
ประเมนิ

บอกความคิด ความ ูร ึสกของตนกับ ูผอื่นเก่ียวกับ ขอ ูมลและ
ประสบการ ณของตนเอง
อ ิธบายเห ุตผลของการเ ืลอก ี่ทจะรับและไ มรับ ขอ ูมล ขาวสาร
เ ืลอกใ ช ิว ีธการ ื่สอสาร ่ีท ีมประ ิสท ิธภาพและคำ ึนง ึถงผลกระทบ ี่ท
ีม ตอตนเองและ ัสงคม
รู ัจกเ ืลอกใ ช ัวส ุด ุอปกร ณ ประเภทซอฟ ตแวรและฮารดแวรใน
การพัฒนาตนเองและ ัสงคมเพ่ือการเรียนรู การ ื่สอสาร การ
ทำงาน การแกปญหา และการอยูรวมกับ ูผอ่ืน
รู ัจกเ ืลอกใ ชแนวคิดทางเทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองและ
ัสงคมเพื่อการเรียนรู การ ่ืสอสาร การทำงาน การแกปญหาและ
การอยูรวมกับ ูผ ื่อน
รู ัจกเ ืลอกใ ช ิว ีธการทางเทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองและ ัสงคม
เพ่ือการเรียนรู การ ื่สอสาร การทำงาน การแกปญหา และการ
อยูรวมกับ ูผอื่น

321321321321321321
21. ด.ญ.บณั ฑติ า โกนจา // / // / 2/2
22. ด.ญ.ปณติ า ดวงบบุ ผา /// / // 3/2
23. ด.ญ.ปย ะภรณ แกว คลาย / / // // 2/3
24. ด.ญ.พรพมิ ล หมนั่ อุตสาห // // // 2/2
25. ด.ญ.รพพี รรณ กลา การนา // / / // 3/2
26. ด.ญ.ศภุ กรณ พรมพทิ กั ษ / / // // 2/2
27. ด.ญ.สรนั ยา หามเห้ียม / ///// 2/2
28. ด.ญ.สุชารตั น เจรญิ รส / ///// 3/3
29. ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต / // // / 3/2
30. ด.ญ.อรพรรณ ยมนา / / // // 2/2
31. ด.ญ.ไอรดา เขงตนุ / / // // 2/2
32. ด.ญ.บศุ รินทร อนิ ตะสาย / ///// 2//2
33. ด.ช.อลงกรณ รอดทอน / // /// 3/2

สรปุ

คดิ เปน รอยละ
สงั เกตพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก * ปฏบิ ตั ิเปน ประจำ (3 คะแนน)
* นานๆ ครั้ง (2 คะแนน)
* ไมเ คยปฏิบตั ิ (1 คะแนน)
สรปุ ผลการประเมนิ
เขยี นเครอื่ งหมาย  ลงในวงกลม
เกณฑก ารตัดสินคุณภาพ
 ควรปรบั ปรงุ (1.00–1.66) หมายเหตุ การหาระดับคณุ ภาพหาไดจ ากการนำคะแนน
 พอใช (1.67–2.33) รวมในแตละชอ งมาบวกกนั แลว หารดว ยจำนวนขอ จะได
 ดีมาก (2.34–3.00) คะแนนเฉล่ีย แลว นำมาเทยี บกบั เกณฑก ารตดั สนิ คณุ ภาพ

แผนการจัดการเรียนรวู ชิ าวิทยาศาสตร ม. 2

แบบประเมนิ ดา นสมรรถนะสำคัญของผูเรยี น
โรงเรยี นนครไตรตรงึ ษ สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากำแพงเพชร

ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2565

คำช้ีแจง ใหน ักเรียนเขียนเครอื่ งหมาย  ลงในชองวางท่ีตรงกับความเปนจริง ไมเ คย
ปฏบิ ตั ิ นานๆ ปฏบิ ตั ิ
ความ พฤตกิ รรมที่แสดงออก เปนประจำ ครง้ั
สามารถดา น (1 คะแนน)
(3 คะแนน) (2 คะแนน)
1. การสอ่ื สาร 1. บอกความคิด ความรูสึกของตนกับผูอ ่นื
เกย่ี วกบั ขอ มลู และประสบการณของตนเอง
2. อธิบายเหตผุ ลของการเลอื กทีจ่ ะรับและไมรบั
ขอ มูลขาวสาร
3. เลอื กใชวธิ กี ารสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและ
คำนงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอตนเองและสังคม
2. การคดิ 4. ใชก ารคดิ วเิ คราะหเพอื่ นำไปสูการสรา งองค
ความรูห รอื สารสนเทศ
5. ใชก ารคดิ สงั เคราะหเ พอ่ื นำไปสูการสรา งองค
ความรูหรอื สารสนเทศ
6. ใชการคิดอยา งมีวิจารณญาณเพอ่ื นำไปสูก าร
สรางองคความรหู รอื สารสนเทศ
7. ใชก ารคดิ อยา งเปน ระบบเพ่ือนำไปสูก ารสรา ง
องคความรหู รอื สารสนเทศ
3. การ 8. ใชข อ มลู หลกั การ เหตผุ ล และคณุ ธรรมใน
แกปญ หา การแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ
9. เขาใจความสมั พันธแ ละการเปลี่ยนแปลงของ
เหตุการณต างๆ ในสงั คม
10.นำความรูท ม่ี อี ยูม าใชใ นการแกไขและปอ งกนั
ปญหา
11.ตดั สินใจเรอ่ื งตา งๆ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่
เกดิ ขน้ึ ตอตนเอง สงั คม และสง่ิ แวดลอ ม
4. การใช 12.รูจักใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู
ทักษะ 13.รูจ ักนำกระบวนการตางๆ ไปใชใ นการดำเนิน
กระบวน ชีวิตประจำวนั
การและ 14.มีความสมั พนั ธท ด่ี กี บั ผอู นื่ ในการทำงานและ
ทกั ษะใน การอยรู ว มกันในสงั คม
การดำเนนิ 15.รูจักการปรับตัวใหท ันกับการเปล่ียนแปลงของ
ชีวติ สงั คมและสภาพแวดลอ ม

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

ความ พฤติกรรมที่แสดงออก ปฏบิ ตั ิ นานๆ ไมเคย
สามารถดาน 16.รูจักหลีกเลย่ี งพฤติกรรมท่ไี มพงึ ประสงคซงึ่ จะ เปน ประจำ ครง้ั ปฏบิ ตั ิ

สงผลกระทบตอตนเองและผอู ื่น (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)

5. การใช 17.รูจักการจัดการและหาทางออกท่เี หมาะสม
เทคโนโลยี ดานความขดั แยงและความแตกตา งระหวาง
บคุ คล

18.รูจักเลอื กใชว ัสดุ อปุ กรณ ประเภทซอฟตแวร
และฮารด แวรใ นการพฒั นาตนเองและสงั คม
เพ่ือการเรยี นรู การสอื่ สาร การทำงาน การ
แกปญ หา และการอยรู ว มกับผูอ น่ื

19.รูจักเลอื กใชแนวคิดทางเทคโนโลยใี นการ
พฒั นาตนเองและสงั คมเพอ่ื การเรยี นรู การ
ส่ือสาร การทำงาน การแกปญหาและการอยู
รว มกับผอู น่ื

20.รจู ักเลอื กใชว ธิ กี ารทางเทคโนโลยใี นการ
พัฒนาตนเองและสงั คมเพอื่ การเรยี นรู การ
ส่ือสาร การทำงาน การแกปญ หา และการอยู
รวมกบั ผอู ่นื
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

สรปุ ผลการประเมนิ
เขียนเครอื่ งหมาย  ลงในวงกลม

เกณฑการตดั สนิ คุณภาพ หมายเหตุ การหาระดบั คณุ ภาพหาไดจากการนำคะแนน
 ควรปรบั ปรงุ (1.00–1.66) รวมในแตละชอ งมาบวกกนั แลว หารดว ยจำนวนขอ จะได
 พอใช (1.67–2.33) คะแนนเฉลี่ย แลว นำมาเทยี บกับเกณฑการตัดสนิ คณุ ภาพ
 ดีมาก (2.34–3.00)

แผนการจัดการเรยี นรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

แบบประเมินทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3R, 8C) (W)Riteing สามารถเขียนได

1. เขียนถา ยทอดความรคู วามเขา ใจ 2. เขยี นถา ยทอดความคดิ ความรสู ึกและ
จากสารท่ีอานฟงหรือดดู ว ยภาษาของ ทัศนะของ ตนเองจากสารทอ่ี า น ฟงหรอื
ตนเองได ดูดว ยภาษาของตนเองได
ชอ่ื - สกลุ ผลการ
ดีเ ่ียยม (3) ประเมนิ
ดี (2)

พอใช (1)
ควรปรับปรุง

(0)
ดีเ ่ียยม (3)

ดี (2)
พอใช (1)
ควรปรับปรุง

(0)

1. ด.ช.กิตตภิ มู สมมนัส / / 2
2
2. ด.ช.ณัฐนนั ท ศรสี ภัตริกานนท / / 3
/ 2
3. ด.ช.ตะวนั สามา / / 2
3
4. ด.ช.ธนภทั ร รื่นรวย / / 2
/ 2
5. ด.ช.ธนาธปิ โพธิวัฒน / / 3
3
6. ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง / / 2
/ 2
7. ด.ช.พรรณนา ทองดี / / 3
3
8. ด.ช.วายุ สวุ าท / / 2
/ 3
9. ด.ช.อภิชัจจ ทองยศ / / 3
2
10. ด.ช.อานภุ าพ เอย่ี มจำนงค / / 3
11. ด.ช.เอกบรรพต นิลสติ / / 3
/ 2
12. ด.ช.อสิ รานวุ ัฒน สแี ตง / / / 3
2
13. ด.ญ.กญั ญาวีร กรสิ ชอ / / / 2
/ / 2
14. ด.ญ.ชจาริน แสงจนั ทร / 2
/ 2
15. ด.ญ.ญาณาธปิ แจม ใส / / 3
/ 2
16. ด.ญ.ญาณศิ า แซกวาง / / 2
2
17. ด.ญ. ณ พดั แกวศรี / / 2
/ 3
18. ด.ญ.ดลพร กวางแกว / /
/
19. ด.ญ.ดวงกมล สนธศิ รี / /
/
20. ด.ญ.นภัสสรณ ศรีสรอ ย /

21. ด.ญ.บณั ฑติ า โกนจา /

22. ด.ญ.ปณิตา ดวงบบุ ผา /

23. ด.ญ.ปย ะภรณ แกว คลาย /

24. ด.ญ.พรพมิ ล หมน่ั อุตสาห /

25. ด.ญ.รพพี รรณ กลา การนา /

26. ด.ญ.ศภุ กรณ พรมพทิ ักษ /

27. ด.ญ.สรนั ยา หามเหยี้ ม /

28. ด.ญ.สุชารตั น เจริญรส /

29. ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต /

30. ด.ญ.อรพรรณ ยมนา /

31. ด.ญ.ไอรดา เขงตุน /

32. ด.ญ.บศุ รนิ ทร อนิ ตะสาย /

33. ด.ช.อลงกรณ รอดทอน /

แผนการจัดการเรียนรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

แบบประเมนิ ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R, 8C)

Critical Thinking and Problem Solving : มที ักษะในการคดิ วิเคราะห การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ และแกไ ขปญ หาได

1. คิดอยางมวี ิจารญาณเพอ่ื 2. สามารถระบสุ าเหตุของ 3. สามารถแกป ญหาจาก ผลการ
ตดั สนิ ใจเลือกทางเลอื กที่หลาก ปญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ สถานการณท เ่ี กดิ ขึน้ ไดอ ยาง ประเมิน
หลายโดยใชเ กณฑท ีเ่ หมาะสม เหมาะสม

ช่อื - สกลุ ดีเ ่ียยม (3)
ดี (2)

พอใช (1)

ควรป ัรบป ุรง (0)

ดีเ ี่ยยม (3)
ดี (2)

พอใช (1)

ควรป ัรบป ุรง (0)

ดีเ ี่ยยม (3)
ดี (2)

พอใช (1)

ควรป ัรบป ุรง (0)

1. ด.ช.กิตตภิ มู สมมนัส / / / / 2 (ด)ี
2. ด.ช.ณัฐนันท ศรสี ภตั รกิ านนท / / / 2 (ดี)
3. ด.ช.ตะวัน สามา / / / / 2 (ด)ี
4. ด.ช.ธนภทั ร ร่ืนรวย / / / 2 (ด)ี
5. ด.ช.ธนาธปิ โพธิวฒั น / / / 2 (ด)ี
6. ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง / / / / 2 (ด)ี
7. ด.ช.พรรณนา ทองดี / / / / 2 (ดี)
8. ด.ช.วายุ สุวาท / / / / 2 (ดี)
9. ด.ช.อภชิ จั จ ทองยศ / / / 2 (ดี)
10. ด.ช.อานุภาพ เอ่ียมจำนงค / / / / 3 (ดีมาก)
11. ด.ช.เอกบรรพต นลิ สิต / / / 3 (ดีมาก)
12. ด.ช.อสิ รานุวฒั น สแี ตง / / 2 (ด)ี
13. ด.ญ.กญั ญาวรี  กรสิ ชอ / / / 3 (ดมี าก)
14. ด.ญ.ชจาริน แสงจนั ทร / / / / 3 (ดมี าก)
15. ด.ญ.ญาณาธิป แจม ใส / 3 (ดีมาก)
16. ด.ญ.ญาณศิ า แซก วาง / / / 3 (ดมี าก)
17. ด.ญ. ณ พดั แกวศรี / / 3 (ดีมาก)
18. ด.ญ.ดลพร กวางแกว / / / 3 (ดีมาก)
19. ด.ญ.ดวงกมล สนธิศรี / / 3 (ดีมาก)
20. ด.ญ.นภัสสรณ ศรีสรอ ย / / / 3 (ดีมาก)
21. ด.ญ.บณั ฑติ า โกนจา / / / 2 (ด)ี
22. ด.ญ.ปณติ า ดวงบบุ ผา / / / 3 (ดมี าก)
23. ด.ญ.ปย ะภรณ แกว คลา ย / / / 2 (ด)ี
24. ด.ญ.พรพิมล หมน่ั อุตสาห / / 2 (ด)ี
25. ด.ญ.รพพี รรณ กลา การนา / / / 2 (ด)ี
26. ด.ญ.ศภุ กรณ พรมพทิ ักษ / / / 2 (ด)ี
27. ด.ญ.สรนั ยา หามเห้ียม / / / 2 (ดี)
28. ด.ญ.สุชารตั น เจรญิ รส / / / 3 (ดมี าก)
29. ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต / / 3 (ดีมาก)
30. ด.ญ.อรพรรณ ยมนา / / 3 (ดมี าก)
31. ด.ญ.ไอรดา เขงตุน / / 2 (ดี)
32. ด.ญ.บศุ รินทร อนิ ตะสาย / / 2 (ด)ี
33. ด.ช.อลงกรณ รอดทอน / / 2 (ด)ี
/
/
/
/

(W)Riteing สามารถเขยี นได แบบประเมินทักษะใน

พฤติกรรมท่ีบง ช้ี ดเี ยี่ยม (3)

(W)Riteing คือ สามารถเขยี นได เขียนถายทอดความรู เขยี นถ
1. เขยี นถายทอดความรู ความเขา ใจจากสารท่อี า น ฟง ดู ความเ
ความเขาใจจากสารทอ่ี า น ดวยภาษาของตนเองไดใจความ ดวยภา
ฟงหรอื ดูดว ยภาษา ครอบคลมุ ครบถว นและถูกตอ ง สำคญั
ของตนเองได ตามหลักการใช ครบถว
ขอบกพ
2. เขียนถา ยทอดความคดิ เขยี นถา ยทอดความคิด ความ วรรคต
ความรสู ึกและทัศนะของ ตนเอง รูสึก และทศั นะของตนเอง จาก ไมเกิน
จากสารท่ีอาน ฟง หรอื ดู สารท่ีอาน ฟง หรอื ดูดว ยภาษา เขยี นถ
ดว ยภาษาของตนเองได ของตนเองไดใจความครอบคลุม รูสกึ แล
ครบถว นและถกู ตองตามหลักการ สารทอี่
ใชภ าษา ของตน
เปน สว
สมบูรณ
ในการ
การเข

แผนการจัดการเรียนรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

นศตวรรษที่ 21 (3R, 8C)

ระดบั คณุ ภาพ พอใช (1) ควรปรบั ปรุง
ดี (2) (0)

ถายทอดความรู เขียนถายทอดความรู เขียนถายทอดความรู
เขาใจจากสารท่ีอา น ฟง ดู ความเขาใจจากสารทอี่ า น ฟง ดู ความเขา ใจจากสารท่อี าน
าษาของตนเองไดใ จความ ดวยภาษาของตนเองไดใ จความ ฟง หรอื ดูตามแบบ
ญเปน สวนใหญแตไม สำคัญเปน บางสว นและมี
วนสมบูรณ และมี ขอ บกพรองในการใชภ าษา
พรอ งในการใชภ าษา วรรคตอน และการเขยี นคาํ
ตอนและการเขยี นคํา ต้งั แต 3 แหง แตไมเ กนิ
น 2 แหง
ถา ยทอดความคิด ความ เขยี นถา ยทอดความคดิ ความ เขียนถา ยทอดความคดิ ความ
ละทศั นะของตนเองจาก รูสกึ และทัศนะของตนเอง จาก รสู ึกและทศั นะของตนเองจาก
อา น ฟง หรือดู ดว ยภาษา สารทอี่ าน ฟง หรือดู สารท่ีอาน ฟง หรอื ดูตามแบบ
นเองไดใ จความสำคญั ดว ยภาษาของตนเอง ไดใจ
วนใหญแตไมครบถวน ความสำคญั เปนบางสว นและมี
ณแ ละมีขอบกพรอ ง ขอ บกพรอ งในการใชภ าษา
รใชภ าษา วรรคตอนและ วรรคตอน และการเขยี นคาํ
ขยี นคาํ ไมเ กนิ ตง้ั แต

แบบประเมนิ ทักษะใน

Critical Thinking and Problem Solving : มที ักษะในการคิดวิเคราะห การค

พฤติกรรมทีบ่ งชี้ ดีเย่ยี ม (3)

Critical Thinking and Problem Solving
1. คิดอยา งมวี ิจารญาณ คิดแบบองครวม รอบดาน คิดแบบ
เพื่อ ตัดสนิ ใจเลอื ก มีเหตุผลเชงิ ตรรกะ ตดั สินใจ มเี หตผุ
ทางเลอื กท่หี ลากหลาย เลือก บนพ้ืนฐานของขอ มลู เลือก บ
โดยใชเกณฑที่เหมาะสม ท่ีนาเชอ่ื ถอื โดยใชเ กณฑที่ ทน่ี า เช
ถูกตองเหมาะสมตอตนเอง ถูกตอง
และสังคม หรอื สงั
2. สามารถระบสุ าเหตขุ องปญ หา ระบสุ าเหตขุ องปญ หาตา ง ๆ ที่ ระบุสา
ทเี่ กิดขน้ึ เกดิ ขึ้นไดส อดคลอ งกบั ปญ หา เกดิ ขน้ึ
มากกวา 2 สาเหตุ 2 สา
3. สามารถแกปญ หาจาก ตัดสินใจเลือกวธิ ีการแกปญหาโดย ตดั สนิ ใ
สถานการณท ีเ่ กิดขนึ้ ไดอยา ง พิจารณาขอ ดีและขอจำกัดซ่งึ ไม โดยพิจ
เหมาะสม เกิดผลกระทบในทางลบแกตนเอง และมผี
และผอู ่ืน ตนเอง
ประเด

แผนการจัดการเรียนรวู ิชาวิทยาศาสตร ม. 2

นศตวรรษท่ี 21 (3R, 8C)

คิดอยา งมวี ิจารณญาณ และแกไขปญ หาได

ระดับคณุ ภาพ ควรปรบั ปรงุ
ดี (2) พอใช/ ผา นเกณฑ (1) (0)

บองครวม รอบดา น คดิ แบบองครวม รอบดา น คดิ แบบองครวมรอบดา น
ผลเชิงตรรกะ ตดั สินใจ มเี หตุผลเชงิ ตรรกะ ตัดสินใจ มีเหตุผลเชงิ ตรรกะ และ
บนพ้ืนฐานของขอ มูล เลอื กบนพนื้ ฐานของขอ มูล ตดั สินใจเลือกบนพนื้ ฐาน
ช่อื ถอื โดยใชเ กณฑท ี่ ทีน่ าเชือ่ ถอื โดยใชเ กณฑท ่ี ของขอ มลู ทน่ี า เชือ่ ถอื
งเหมาะสมตอตนเอง ถูกตอ งได โดยใชเ กณฑทถี่ ูกตอ งไมไ ด
งคม
าเหตขุ องปญ หาตา ง ๆ ท่ี ระบุสาเหตุของปญ หาตา ง ๆ ที่ ระบุสาเหตขุ องปญ หาตา ง ๆ
นไดสอดคลองกับปญหา เกดิ ขึ้นไดส อดคลอ งกบั ปญหา ที่เกิดขึน้ ไมไ ดห รือระบสุ าเหตุ
าเหตุ 1 สาเหตุ ได แตไมสอดคลอ ง กบั ปญหา
ใจเลอื กวธิ ีการแกปญหา ตดั สนิ ใจเลือกวธิ กี ารแกป ญหา ตัดสนิ ใจเลอื กวธิ กี ารแกป ญ หา
จารณาขอดแี ละขอจำกดั โดยพิจารณาขอ ดแี ละขอ จำกัด โดยไมพจิ ารณาขอ ดีและ
ผลกระทบในทางลบแก และมผี ลกระทบในทางลบแก ขอจำกัดทำใหเกดิ ผลกระทบ
งและผอู นื่ ไมเ กนิ 1 ตนเองและผอู นื่ 2 ประเด็น ในทางลบแกตนเองและผูอ่นื
ดน็ มากกวา 2 ประเด็น



แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

เลขท่ี ช่ือ-สกลุ อธิบายการจดุ ประสงคก ารเรยี นรู
คุมกำเนิดได (K)39
27
ตระห ันก ึถง27
ผลกระทบของ39
การต้ังครรภ27
กอนวัย ัอนควร38
38
(A)2 10
ื่สอสารและนำ28
ความ ูรเ ื่รองการ39
คุมกำเนิดไปใ ช38
38
1 ด.ช.กติ ตภิ มู สมมนสั 9 28
2 ด.ช.ณัฐนนั ท ศรสี ภตั รกิ านนท 7 27
3 ด.ช.ตะวนั สามา 7 3 10
4 ด.ช.ธนภัทร ร่ืนรวย 9 38
5 ด.ช.ธนาธปิ โพธวิ ฒั น 7 38
6 ด.ช.ปณวตั ร ดาทอง 8 39
7 ด.ช.พรรณนา ทองดี 8 3 10
8 ด.ช.วายุ สุวาท 10 27
9 ด.ช.อภิชจั จ ทองยศ 8
10 ด.ช.อานภุ าพ เอ่ยี มจำนงค 9
11 ด.ช.เอกบรรพต นลิ สติ 8
12 ด.ช.อิสรานวุ ฒั น สีแตง 8
13 ด.ญ.กญั ญาวรี  กรสิ ชอ 8
14 ด.ญ.ชจารนิ แสงจันทร 7
15 ด.ญ.ญาณาธิป แจม ใส 10
16 ด.ญ.ญาณศิ า แซก วาง 8
17 ด.ญ. ณ พดั แกว ศรี 8
18 ด.ญ.ดลพร กวางแกว 9
19 ด.ญ.ดวงกมล สนธศิ รี 10
20 ด.ญ.นภสั สรณ ศรีสรอ ย 7

แผนการจัดการเรยี นรูว ชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

สมรรถนะสำคญั ของ คุณลักษณะ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 (3R, 8C) หมาย
ผเู รยี น อันพงึ ประสงค เหตุ
ใน ีชวิต
ประจำวันได (P)
ความสามารถใน

การ ่ืสอสาร
ความสามารถ

ในการใ ช
เทคโนโลยี
ใ ฝเ ีรยน ูร
(W)Riteing
สามารถเขียน

ได
Critical
Thinking and
Problem
Solving

2 2 2 2 2 (ด)ี
2 2 3 2 2 (ดี)
2 2 2 3 2 (ดี)
2 2 3 2 2 (ด)ี
2 2 3 2 2 (ด)ี
2 2 3 3 2 (ด)ี
2 2 3 2 2 (ด)ี
2 2 2 2 2 (ด)ี
2 2 2 3 2 (ดี)
2 3 3 3 3 (ดมี าก)
3 3 3 2 3 (ดมี าก)
2 2 3 2 2 (ดี)
3 2 2 3 3 (ดีมาก)
3 2 3 3 3 (ดมี าก)
2 2 3 2 3 (ดีมาก)
3 2 2 3 3 (ดมี าก)
2 3 2 3 3 (ดมี าก)
2 2 3 2 3 (ดีมาก)
3 2 3 3 3 (ดีมาก)
2 2 2 3 3 (ดีมาก)

เลขท่ี ชือ่ -สกุล อธิบายการจุดประสงคการเรยี นรู
คุมกำเนิดได (K)27
28
ตระห ันก ึถง38
ผลกระทบของ27
การต้ังครรภกอน28
วัย ัอนควร (A)39
ื่สอสารและนำ39
ความ ูรเ ่ืรองการ3 10
คุมกำเนิดไปใ ช27
38
21 ด.ญ.บณั ฑิตา โกนจา 7 38
22 ด.ญ.ปณติ า ดวงบบุ ผา 8 27
23 ด.ญ. ปย ะภรณ แกว คลา ย 8 39
24 ด.ญ. พรพิมล หมั่นอตุ สาห 7
25 ด.ญ.รพีพรรณ กลา การนา 8
26 ด.ญ. ศภุ กรณ พรมพทิ กั ษ 9
27 ด.ญ.สรนั ยา หามเหี้ยม 9
28 ด.ญ.สชุ ารัตน เจริญรส 10
29 ด.ญ.อนญั ญา ไชยชนต 7
30 ด.ญ.อรพรรณ ยมนา 8
31 ด.ญ.ไอรดา เขง ตนุ 8
32 ด.ญ.บุศรนิ ทร อนิ ตะสาย 7
33 ด.ช.อลงกรณ รอดทอน 9

แผนการจัดการเรียนรูว ิชาวทิ ยาศาสตร ม. 2

สมรรถนะสำคญั ของ คณุ ลกั ษณะ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3R, 8C) หมาย
ผูเ รียน อันพึงประสงค เหตุ
ใน ีชวิต
ประจำวันได (P)
ความสามารถใน

การ ่ืสอสาร
ความสามารถ

ในการใ ช
เทคโนโลยี
ใ ฝเ ีรยน ูร
(W)Riteing
สามารถเขียน

ได
Critical
Thinking and
Problem
Solving

2 2 2 2 2 (ด)ี
3 2 3 3 3 (ดีมาก)
2 3 2 2 2 (ดี)
2 2 3 2 2 (ดี)
3 2 2 2 2 (ด)ี
2 2 2 2 2 (ด)ี
2 2 2 2 2 (ดี)
3 3 3 3 3 (ดมี าก)
3 2 3 2 3 (ดมี าก)
2 2 3 2 3 (ดีมาก)
2 2 2 2 2 (ด)ี
2 2 3 2 2 (ด)ี
3 2 3 3 2 (ดี)



แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2

แผนการจัดการเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตร ม. 2


Click to View FlipBook Version