The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 12 ซม. 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ps.chanatda, 2022-01-17 05:16:15

หน่วยที่ 1 จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 12 ซม. 1

หน่วยที่ 1 จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 12 ซม. 1

โครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ 3 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลที่

เกิดข้นึ จากการดาเนนิ การสมบตั ิของการดาเนินการและนาไปใช้

ตวั ชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 อา่ นและเขยี นตวั เลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตวั หนังสือแสดงจานวนนบั ไม่เกิน

100,000 และ 0

ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0

ค 1.2 ป.3/1 บอกจานวนทีห่ ายไปในแบบรปู ของจานวนท่เี พิ่มขน้ึ หรือลดลง ทีละเทา่ ๆ กนั

หนว่ ย ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ / แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา
ที่ (ชัว่ โมง)

จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 12

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การเตรยี มความพร้อม 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง จานวนนบั ไมเ่ กิน 10,000 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เรอื่ ง จานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 1

1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง 1
หลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บจานวน(1) 1
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เรือ่ ง การเปรยี บเทยี บจานวน(2) 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การเรยี งลาดับจานวน(1) 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8 เรื่อง การเรยี งลาดับจานวน(2) 1

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 เรื่อง 1

แบบรปู ของจานวนท่ีเพิ่มขน้ึ หรอื ลดลงทีละเทา่ ๆ กนั (1)

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 เร่ือง 1

แบบรูปของจานวนทเ่ี พิ่มขนึ้ หรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กัน(2)

รว่ มคดิ ร่วมทา “กจิ กรรมสนามกฬี าน่ารู้” 1

แบบทดสอบทา้ ยหนว่ ย 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3
เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000
เรอื่ ง การเตรยี มความพร้อม

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน

ผลท่ีเกดิ ข้ึนจากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และการนาไปใช้

ตวั ช้วี ดั : -

ทักษะพ้ืนฐานของนักเรยี น

1.การนับและการบอกจานวนนับไมเ่ กิน 1,000
2.การอ่านและการเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวนนับไมเ่ กนิ 1,000
3.หลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนับไมเ่ กิน 1,000
4.การเขยี นในรูปกระจายของจานวนนับไม่เกนิ 1,000
5.การเปรียบเทยี บและเรียงลาดบั จานวนนบั ไมเ่ กิน 1,000
6.แบบรูปของจานวนที่เพ่ิมข้ึนทีละ 2 ทลี ะ 5 ทีละ 10 ทีละ 100
7.แบบรูปของจานวนทล่ี ดลงทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 ทลี ะ 100
คาสาคัญ

การนบั จานวนนับ หลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั การเขยี นในรูปกระจาย การเปรียบเทยี บจานวน การ
เรยี งลาดบั จานวน แบบรปู ของจานวนท่ีเพิ่มขนึ้ แบบรูปของจานวนที่ลดลง
สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

จานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

1.การส่ือสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเช่อื มโยง

3.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1.มวี นิ ยั

2.ใฝ่เรียนรู้

3.มุ่งม่ันในการทางาน

ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
1. ทกั ษะในสาระวิชาหลกั (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
2. ทักษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และแกป้ ัญหา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเป็นทมี ภาวะผู้นา)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การส่ือสารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี)
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และการเรยี นรู้)
2.8  Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวนิ ยั

ช้นิ งานหรอื ภาระงาน

ใบงานที่ 1 เรื่อง การเตรยี มความพร้อม

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้

1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากน้ันใช้ข้อมูลในหนังสือเรยี นหน้าเปดิ บทเพ่ือกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกบั
การแข่งขันกีฬาที่มีผู้เข้าชมเป็นจานวนมากและเชื่อมโยงไปถึงเร่ืองจานวนท่ีมีค่ามากตามจานวนผู้เข้าชมการ
แข่งขนั ฟุตบอลโดยใช้คาถาม เชน่

− มีใครเคยไปชมกีฬาท่มี ผี ูเ้ ข้าชมจานวนมากบ้างไหม

− นกั เรียนคิดวา่ สนามกฬี าทจี่ ดั แข่งขันฟุตบอลของทมี ชาตจิ ะจคุ นได้เทา่ ไร

− จากภาพเป็นการแข่งขันฟุตบอลกระชับมิตรที่มีทีมเหย้าและทีมเยือน นักเรียนคิดว่าทีมสีอะไรเป็น

ทมี เหยา้ ทมี สอี ะไรเป็นทีมเยือน (ครูสามารถถามและใหค้ วามรู้

จากกรอบเกร็ดความรใู้ นเร่ืองทมี เหย้าและทีมเยอื น)

− จานวนผูเ้ ข้าชมของทมี เหยา้ และทีมเยอื นทีมใดมผี ู้เขา้ ชมมากกว่า ทีมใดมีผเู้ ข้าชมนอ้ ยกวา่

− นักเรียนทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าจานวนใดมากกว่า หรือ จานวนใดน้อยกวา่

2.ครใู ห้นักเรยี นสงั เกตจานวนผเู้ ขา้ ชมของฝงั่ ทมี เหยา้ และทีมเยอื นท่ปี รากฏบนจอในสนามและนาไปสู่

การทบทวนคา่ ประจาหลักของเลขโดดในหลกั หน่วย หลักสบิ หลกั ร้อย และหลกั พนั เพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียน

3.ครูใช้หนังสือเรียนหน้าเตรียมความพร้อมเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน เร่ืองการเขียน

แสดงจานวนและการเปรียบเทียบจานวนไม่เกิน 1,000 โดยในส่วนแรกให้นักเรียนทบทวนการแสดงจานวน

ด้วยรูปแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย โดยให้เขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ

ตวั หนังสือ และครูสามารถอธิบายเพิม่ เติมหรือตั้งคาถามให้นักเรียนได้ทบทวนเรอ่ื งการเขียนในรูปกระจาย เชน่

1) จากรปู แผน่ ตารางแสดงจานวน 147 ซึง่ เขยี นในรูปกระจายได้ 147 = 100 + 40 + 7

ในส่วนที่ 2 ใช้ตรวจสอบและทบทวนความรู้ เรื่องการเปรียบเทียบจานวนโดยใชส้ ถานการณ์ ร้านค้าขายของท่ี

ระลึก โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบ ราคาของส่ิงของในแต่ละข้อพร้อมกับการอธิบาย เช่น ครูอาจถามที่ละข้อ

ด้วยคาถาม 1) “ร่ม กับ หมวก ส่ิงใดมีราคามากกว่า นักเรียนทราบได้ อย่างไร” นักเรียนอาจตอบว่า ร่มราคา
มากกว่า หมวก เพราะ 285 มากกว่า 199 หากมีนักเรียนที่มีความรู้พ้ืนฐานไม่เพียงพอ ในเร่ืองการอ่านและ
การเขยี นแสดงจานวน ครูสามารถใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เตรยี ม ความพรอ้ มในหนังสือแบบฝึกหดั หน้า 2 - 4

4.ตรวจความเขา้ ใจของนกั เรยี นครูให้ทาใบงานเพ่มิ เติม
สอ่ื การเรียนรู้

1.หนงั สือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ ม

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคก์ าร วธิ วี ดั เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน

เรยี นรู้ ใบงาน 50% ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
การประเมิน
1.ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
ดา้ นทกั ษะ คุณภาพดีข้นึ ไป
2.ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน กระบวนการ
แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ด้านคุณลักษณะ คณุ ภาพดีข้นึ ไป
ที่พงึ ประสงค์
3.ด้านคุณลกั ษณะท่ี สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์

บันทึกหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผลการจัดกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแกไ้ ข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………………………………….ครูผู้สอน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานที่ 1 เตรียมความพรอ้ ม

เขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวน

เลขฮนิ ดูอารบกิ
ตวั เลขไทย
ตวั หนงั สือ

เลขฮนิ ดูอารบกิ
ตัวเลขไทย
ตวั หนังสอื

3.หกหม่นื สามพนั หกรอ้ ยหา้ สิบสาม
ตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ
ตวั เลขไทย

4.หม่ืนสามพันหกรอ้ ยหา้ สบิ สี่
ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก
ตัวเลขไทย

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3
เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000
เรอื่ ง จานวนนับไม่เกนิ 10,000

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนนิ การของจานวนผลที่

เกิดขึ้นจากการดาเนินการสมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวช้ีวัด : ค 1.1 ป.3/1 อา่ นและเขยี นตัวเลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตัวหนังสือแสดงจานวนนบั ไม่เกนิ

100,000 และ 0

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตวั ช้ีวดั

1.บอกวิธีอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตวั หนังสือแสดงจานวนนบั ไม่เกิน 10,000 (K)

2.อ่านและเขียนตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนงั สือแสดงจานวนนับไม่เกิน 10,000 (P)

3.นกั เรยี นมคี วามมุ่งในการทางานและสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปตอ่ ยอดในการเรียนเร่ืองต่อไป (A)

สาระสาคญั

สามารถเขียนตวั เลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทยและตวั หนังสอื แสดงจานวน

สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้

จานวนนับไมเ่ กนิ 10,000

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

1.การสอ่ื สารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเชอื่ มโยง

3.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1.มวี นิ ัย

2.ใฝ่เรยี นรู้

3.มุ่งมน่ั ในการทางาน

ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
1. ทักษะในสาระวิชาหลกั (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขยี น) 1.3  (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
2. ทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวจิ ารณญาณ และแกป้ ญั หา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม)

2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเปน็ ทมี ภาวะผู้นา)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การสื่อสารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลย)ี
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และการเรียนรู)้
2.8  Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวนิ ยั
ชิ้นงานหรอื ภาระงาน
ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง จานวนนบั ไมเ่ กนิ 10,000
กิจกรรมการจดั การเรียนรู้
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากน้ันแนะนาแผ่นตารางร้อย แผ่นตารางสิบ และแผ่นตารางหน่วย และ
แสดงให้เหน็ วา่ เมื่อนาแผ่นตาราง - รอ้ ยมา 10 แผน่ ชวนนกั เรียนนับไปทีละแผ่นพร้อมกัน 100 200 300 400
500 600 700 800 900 และ1,000 เพื่อจะแนะนาว่ารูปลูกบาศก์เกิดจากการซ้อนกัน ของแผ่นตารางรอ้ ย 10
แผ่น ไดร้ ปู ลกู บาศกพ์ ัน 1 รูป

จากนั้นชวนให้นักเรียนดูรูปขบวนพาเหรดในหนังสือเรียนหน้า 5 มีจานวนผู้เข้าร่วมขบวนพาเหรด
เทา่ กบั หนึ่งพันสองร้อยสสี่ ิบแปดคน ซ่งึ แสดงดว้ ยรปู ลูกบาศก์พัน 1 รปู แผ่นตารางร้อย 2 แผ่น แผ่นตารางสิบ
4 แผ่น และแผน่ ตารางหนว่ ย 8 แผน่ โดยครูสามารถตดิ สอ่ื รปู ภาพบนกระดาน และถามให้นักเรียนเขียนแสดง
จานวนในรูปตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ

2.ครูยกตัวอย่างเพม่ิ อีก 2-3 ตัวอยา่ ง เพ่ือฝกึ ใหน้ ักเรยี นได้อ่านและเขียนแสดงจา นวนไม่เกนิ 10,000
ในรปู ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื จากนนั้ ให้นักเรียนจับคู่ หรอื กลมุ่ ละ 2-3 คน ทา
แบบฝึกหัด 2 ข้อ ในกรอบทา้ ยหนังสือเรยี นหนา้ 5

3.จากภาพในหนงั สอื เรียนหน้า 6 ให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบวา่ รปู ด้านบนแสดงจานวนอะไร เม่อื นกั เรียน
ตอบและเขยี นไดถ้ กู ตอ้ ง ครแู นะนาว่าหากเราต้องใชภ้ าพแสดงจานวนทม่ี คี ่ามาก เช่น 9,021

ครูอาจวาดภาพให้นักเรียนดูเพื่อแสดงให้เห็นว่าการใช้ภาพแสดงจานวนท่ีมีค่ามากนั้นอาจไม่สะดวก
เนื่องจากใช้เวลาและพ้ืนที่มากในการเขียนและเพ่ือความรวดเร็วในการอ่าน ครูจึงแนะนาส่ือชุดลูกคิดซึ่ง
ประกอบด้วยหลักลูกคิดและลูกคิด และแนะนาการใช้หลักลูกคิดทีละหลัก แล้วให้นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดให้
ตรงหลักตามจานวนในรูปภาพในหนังสือเรียนหน้า 6 ในกรณีที่มีชุดลูกคิดเพียงพอ อาจให้นักเรียนจับกลุ่มกัน

และใส่ลูกคิดให้ตรงตามจานวนท่ีกาหนดให้พร้อมทง้ั ให้บอกจานวนที่แสดงในหลักลูกคิดจากนน้ั ให้เขียนตัวเลข
ฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจานวน

4.ครูถามนักเรียนว่าการใช้หลักลูกคิดแสดงจานวนแต่ละจานวนน้ัน จะมีลูกคิดที่ใส่ในแต่ละหลักมาก
ท่ีสุดกี่ลูก (9 ลูก) นักเรียนบางคนอาจจะยังตอบไม่ได้ ครูควรแสดงให้นักเรียนเห็นโดยการใช้หลักลูกคิดแสดง
จานวน 9,999 ซงึ่ จะเหน็ วา่ เลขโดดในแตล่ ะหลักของจานวนนี้เป็น 9 ดังน้ัน จงึ ใส่ลกู คิดในแต่ละหลกั ได้ 9 ลกู

จากนัน้ ครูถามนักเรยี นว่าถ้าใสล่ ูกคิดในหลักหนว่ ยเพิ่มอีก 1 ลูก จะเกดิ อะไรขึ้นนักเรยี นสามารถบอกได้หรือไม่
วา่ เมื่อเพ่มิ ลูกคิด 1 ลกู ดงั กล่าวแล้วหลักลูกคิดแสดงจานวน ครอู ธบิ ายเพิม่ เติมว่าเม่ือเพ่ิมลูกคดิ ในหลักหน่วย
เป็น 10 หน่วย จะมคี ่าเทา่ กบั 1 สิบ ครูใส่ลูกคิดเพิม่ ในหลกั สิบเป็น 10 สบิ และ 10 สบิ มีค่าเทา่ กบั 1 ร้อย ครู
ใส่ลูกคดิ เพิ่มในหลักร้อยเป็น 10 ร้อย และ 10 ร้อย มคี า่ เท่ากบั 1 พัน ครูใสล่ กู คิดเพ่ิมในหลักพัน เปน็ 10 พนั
และ 10 พนั มีค่าเท่ากับ 1 หม่นื ครูแนะนา 10 พัน คือ 1 หม่นื และให้นักเรยี นเขียนตวั เลขฮินดูอารบิกตัวเลข
ไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนหนึ่งหม่ืน จากน้ันร่วมกันเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแสดงจานวนตามภาพ
ลกู คิดในกรอบทา้ ยหนงั สอื เรยี นหน้า 7

5.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเปน็ รายบุคคลโดยให้นักเรยี นเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
และตัวหนังสือแสดงจานวนตามหนังสอื เรียนหน้า 8 ครูอาจถามนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้ออกมาเขียนบน
กระดานหนา้ ชัน้ เรียนและทุกคนมสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้น ครูอาจตั้งคาถามวา่ นักเรียน
บอกจานวนจากหลักลกู คิดได้อย่างไร และถ้าในหลักลูกคดิ ใดไม่มีลูกคดิ จะบอกจานวนนัน้ ได้อย่างไรซึ่งนกั เรียน
อาจตอบว่า บอกจานวนนั้นตามจานวนลูกคิดและหลักลูกคิดในแต่ละหลัก เช่น มีลูกคิดในหลักพัน 3 ลูกบอก
จานวนเป็น 3 พัน และถ้าหลักใดไม่มีลูกคิดจะไม่บอกจานวนในหลักน้ัน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีได้
เรยี นร้จู ากนั้นใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัด 1.1 หน้า 5 – 7 และทาใบงานเพิม่ เติม
สอื่ การเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรยี นคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง จานวนนบั ไมเ่ กิน 10,000

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การ วิธวี ดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน

เรยี นรู้ ใบงาน 50% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
การประเมิน
1.ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
ดา้ นทักษะ คุณภาพดีข้ึนไป
2.ด้านทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น กระบวนการ
แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ทพี่ งึ ประสงค์
3.ดา้ นคุณลักษณะท่ี สังเกตพฤติกรรมดา้ น
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์

บันทึกหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผลการจัดกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแกไ้ ข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………………………………….ครูผู้สอน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง จานวนนบั ไมเ่ กนิ 10,000

เขียนตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจานวน

พัน ร้อย สบิ หน่วย

ตวั เลขฮินดูอารบิก
ตวั เลขไทย
ตวั หนงั สอื

หม่นื พัน ร้อย สิบ หน่วย

ตัวเลขฮนิ ดูอารบิก
ตัวเลขไทย
ตัวหนงั สอื

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง จานวนนับไม่เกนิ 100,000
เรอ่ื ง จานวนนับไม่เกนิ 100,000

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนนิ การของจานวนผลท่ี
เกดิ ขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตัวชว้ี ัด : ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขยี นตวั เลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกนิ
100,000 และ 0
จุดประสงค์การเรียนร้สู ่ตู วั ช้ีวัด
1.บอกวธิ ีอา่ นและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยและ ตวั หนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 (K)
2.อา่ นและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยและ ตวั หนังสอื แสดงจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 (P)
3.นักเรยี นมีความมงุ่ ในการทางานและสามารถนาความรู้ท่ไี ดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสาคญั

การอ่านจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 อา่ นตามคา่ ประจาหลักจากซ้ายไปขวาการเขียนแสดงจานวนอาจ
เขียนเป็นตัวเลข ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย หรือตัวหนังสือ จานวนสี่หลักมีจานวนที่อยู่หลักหน่วยหลักสิบหลัก
รอ้ ยและหลักพัน
สาระการเรียนรู้

1.ความรู้
จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
1.การสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง

3.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1.มวี นิ ัย
2.ใฝ่เรยี นรู้
3.ม่งุ มนั่ ในการทางาน

ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
1. ทกั ษะในสาระวิชาหลัก (3Rs)
1.1  Reading (อา่ น) 1.2  (W)Riting (เขยี น) 1.3  (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
2. ทักษะการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม (8Cs)

2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคดิ วจิ ารณญาณ และแก้ปัญหา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเป็นทมี ภาวะผ้นู า)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การส่ือสารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลย)ี
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และการเรยี นร)ู้
2.8  Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวนิ ัย
ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน
ใบงานที่ 3 เร่ือง จานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000
กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
1.ครูนาชุดลูกคิดมาแสดงจานวนเพ่ือให้นักเรียนบอกจานวนจากหลักลูกคิดและเขียนตัวเลขฮินดูอา
รบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ครูใช้ลูกคิดแสดงจานวน 34,286 และ46,007 ตามหนังสือเรียนหน้า 9 เพ่ือให้
นักเรียนอ่านและเขียนตัวเลขแสดงจานวน และให้ครูกาหนดตัวเลขแสดงจานวน แล้วให้ตัวแทนนักเรียน
ออกมาแสดงจานวนลกู คิดในแตล่ ะหลกั

2.ครใู ชห้ ลักลกู คดิ ท่ีมลี ูกคดิ 9 ลูกในหลกั หม่นื แล้วถามวา่ หลักลูกคิดนแ้ี สดงจานวนใด (เก้าหมื่น) และ
ถ้าครูใส่ลูกคิดเพิ่มอีก 1 ลูก แล้วถามนักเรียนว่าหลักลูกคิดน้ีแสดงจานวนใด นักเรียนบางคนอาจตอบว่า 10
หมื่น บางคนอาจตอบว่า 1 แสน บางคนอาจตอบไม่ได้ ซึ่งครูและนักเรียนสามารถสรุปร่วมกันได้ว่า 10 หม่ืน
เทา่ กับ 1 แสน จากนนั้ ใหน้ ักเรียนรว่ มกันเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวนหนึ่ง
แสนตามหนังสือเรียนหน้า 10 แล้วให้นักเรียนร่วมกันเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแสดงจานวนในกรอบท้าย
หนงั สือเรยี นหน้า 10 พรอ้ มทัง้ เฉลย และตรวจคาตอบรว่ มกัน

3.ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 2 - 4 คน ทั้งนี้ข้ึนกบั จานวนชุดลกู คิดที่เพยี งพอสาหรบั ทุกกลุ่ม ครู
ทบทวนการแสดงจานวนด้วยหลักลูกคิด โดยใส่ลูกคดิ เพยี ง 1 ลูกในหลกั แสน ให้นกั เรยี นบอกจานวนและเขียน
ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจานวน จากนั้นให้นักเรียนทากิจกรรมลูกคิดบอกจานวน

พรอ้ มท้งั แจกชุดลูกคิด 1 ชุด แบบบนั ทกึ กิจกรรม 3 แผ่น และภาพเร่อื งราวของการแข่งขันฟตุ บอลระหว่างทีม
หมาป่า ทมี หมขี าว และทีมอนิ ทรี ตามหนังสือเรียนหนา้ 11

4.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คลโดยใหน้ ักเรยี นเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
และตัวหนังสือแสดงจานวนจากภาพลกู คิด และเขียนตัวเลขแสดงจานวนจากตัวหนังสือที่กาหนดตามโจทยใ์ น
หนังสือเรียนหน้า 12 โดยครูเน้นย้า ให้นักเรียนคิดด้วยตนเองก่อนเม่ือนักเรียนทุกคนทาเสร็จแล้วครูสุ่ม
นกั เรียนออกมาเขียนคาตอบหน้าชน้ั และให้นกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องท้ังของตนเองและของเพื่อน
จากนัน้ ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด 1.2 หนา้ 8 – 9 และให้ทาใบงานเพ่ิมเตมิ
สอ่ื การเรียนรู้

1.หนังสอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.3

2.ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง จานวนนบั ไม่เกนิ 100,000

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

จุดประสงคก์ าร วธิ วี ดั เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การประเมิน

เรียนรู้

1.ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 50% ข้ึนไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน

2.ด้านทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทักษะ คณุ ภาพดีข้นึ ไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลกั ษณะท่ี สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
พึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีข้นึ ไป
ที่พงึ ประสงค์

ผลการจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแก้ไข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………………………………………….ครผู ูส้ อน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานที่ 3 เรือ่ ง จานวนนับไม่เกิน 100,000

เขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน

หม่ืน พนั รอ้ ย สบิ หน่วย

เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตวั เลขไทยแสดงจานวน
1.เจด็ หม่ืนสองพันหกรอ้ ยหกสิบสาม

2.แปดหม่นื เกา้ พนั สองร้อยเก้าสิบ

3.สี่หมื่นสามรอ้ ยเอ็ด

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เร่ือง จานวนนับไมเ่ กิน 100,000
เรือ่ ง หลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไม่เกนิ 100,000

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวนระบบจานวน การเนินการของจานวนผลที่
เกดิ ขนึ้ จากการดาเนินการ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตัวช้ีวัด : ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขียนตวั เลข ฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตัวหนังสือแสดงจานวนนับ ไมเ่ กิน
100,000 และ 0
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สตู่ วั ช้ีวดั
1.บอกหลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย (K)
2.เขียนหลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจานวนในรูปกระจาย (P)
3.นักเรียนมคี วามมุ่งในการทางานและสามารถนาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเร่ืองต่อไป (A)
สาระสาคัญ

จานวนสี่หลัก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อยู่ในหลักหน่วยมีค่าเป็น 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้า
อยู่ในหลักสิบมีค่าเป็น 0 10 20 30 … 90 ถ้าอยู่ในหลักร้อยมีค่าเป็น 0 100 200 300 … 900 และเลขโดด 1
2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้าอยู่ในหลักพนั มีคา่ เป็น 1,000 2,000 3,000 … 9,000 ตามลาดับ

จานวนห้าหลัก ถ้าเลขโดด 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อยู่ในหลักหน่วยมีค่าเป็น 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถ้า
อยใู่ นหลกั สบิ มีคา่ เปน็ 0 10 20 30 … 90 ถา้ อยใู่ นหลกั ร้อยมคี ่าเปน็ 0 100 200 300 … 900 ถ้าอยู่ในหลักพัน
มีค่าเป็น 0 1,000 2,000 3,000 … 9,000 และเลขโดด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ถา้ อยใู่ นหลกั หมนื่ มีคา่ เปน็ 10,000
20,000 30,000 … 90,000 ตามลาดับ

100,000 เป็นจานวนหกหลัก เลขโดด 0 ในหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน และ หลักหมื่น มี
คา่ เปน็ 0 เลขโดด 1 ในหลกั แสน มีคา่ 100,000

การเขียนแสดงจานวนในรูปกระจายเป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดด ในหลักต่าง ๆ ของ
จานวนนั้น
สาระการเรียนรู้

1.ความรู้
หลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
1.การสื่อสารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเช่ือมโยง

3.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวนิ ัย

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
1. ทกั ษะในสาระวิชาหลกั (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คดิ เลขเป็น)
2. ทกั ษะการเรียนรแู้ ละนวตั กรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคดิ วิจารณญาณ และแกป้ ัญหา)
2.2  Creativity and Innovation (การสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเปน็ ทมี ภาวะผูน้ า)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การส่อื สารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลย)ี
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และการเรียนรู้)
2.8  Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวินัย

ช้นิ งานหรอื ภาระงาน

ใบงานท่ี 4 เรื่อง หลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้

1.ใช้ลูกคิดและหลักลูกคิดเริ่มต้นแนะนาหลักและค่าประจาหลัก โดยเขียนตัวเลขบนกระดาน และให้

นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดในหลักลูกคิดแต่ละหลักให้ถูกต้อง เช่น 3,523 ซ่ึงเป็นจานวน 4 หลัก ประกอบด้วย

เลขโดด 4 ตัวแล้วใส่ลูกคิดตามตาแหน่งหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย และหลักพัน ตามลาดับ ครูแนะนาว่า

จากลกู คิดมี 3 พันกับ 5 รอ้ ย กับ 2 สิบ กบั 3 หน่วย ซ่ึงทา ใหร้ ู้คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั ดังน้ี

3 อย่ใู นหลักหนว่ ย มีค่า 3

2 อยู่ในหลกั สบิ มคี ่า 20

5 อยใู่ นหลักร้อย มีค่า 500

3 อยใู่ นหลกั พัน มคี า่ 3,000

และเขียนในรูปกระจาย 3,523 = 3,000 + 500 + 20 + 3

2.ครูอาจใชล้ ูกคิดและหลกั ลูกคิดประกอบการถามค่าของเลขโดดในหลักตา่ ง ๆ โดยอาจเร่ิมจาก หลัก
หน่วย หลักสิบ หลักร้อย และหลักพัน แสดงค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนในรูปกระจายของ
6,066 และถามนกั เรยี นว่าจานวนน้มี ีเลขโดด 6 อยใู่ นหลกั ใดบ้าง คา่ ของเลขโดด 6 เหมอื นกนั หรอื ไม่ นกั เรยี น
อาจตอบว่า 6 อยู่ในหลักหน่วย หลักสิบ และหลักพัน และมีค่าไม่เท่ากัน 6 ในหลักหน่วยมีค่า 6 6 ในหลักสิบ

มีค่า 60 6 ในหลักพัน มีค่า 6,000 ครูให้นักเรียนเขียน 6,066 ในรูปกระจาย 6,066 = 6,000 + 0 + 60 + 6
หรอื 6,066 = 6,000 + 60 + 6

ครูแนะนาว่า ในการเขียนจานวนในรูปกระจายหลักใดที่เป็น 0 ไม่จาเป็นต้องเขียน 0 ในหลักน้ันก็ได้
จากนั้นให้นกั เรียนชว่ ยกันบอกค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และเขยี นจานวนในรูปกระจายในกรอบท้ายหนังสือ
เรียนหน้า 13

3.ครูใช้ลูกคิดและหลักลูกคิดแนะนาจานวน 5 หลัก เช่น 52,402 ตามหนังสือเรียนหน้า 14 โดยใส่
ลูกคิดตามตาแหน่งหลักหนว่ ยหลักสิบ หลักร้อย หลกั พัน และหลกั หม่นื ตามลาดับ ครแู นะนาว่า จากลกู คิดมี5
หมืน่ กับ 2 พัน กบั 4 รอ้ ย กบั 0 สิบ กบั 2 หน่วย ซง่ึ ทาใหร้ คู้ า่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ดังนี้

2 อยู่ในหลักหนว่ ย มีคา่ 2

0 อยูใ่ นหลักสิบ มีคา่ 0

4 อย่ใู นหลักร้อย มีคา่ 400

2 อยู่ในหลกั พนั มีค่า 2,000

5 อยู่ในหลักหมื่น มีค่า 50,000

แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันเขียนในรูปกระจาย โดยเขียนเรียงไปทลี ะหลกั

จะได้ 52,402 = 50,000 + 2,000 + 400 + 0 + 2 หรอื 52,402 = 50,000 + 2,000 + 400 + 2

จากนน้ั ใหน้ ักเรียนช่วยกันบอกคา่ ของเลขโดดใน แตล่ ะหลักและเขยี นแสดงจานวนในรูปกระจาย ใน

กรอบท้ายหนงั สอื เรียนหนา้ 14

4.ครูแนะนาจานวน 100,000 ซงึ่ เปน็ จานวน 6 หลกั โดยครูสามารถถามไปทลี ะหลัก เช่น
− เลขโดดอะไรอยใู่ นหลักหนว่ ยและมคี ่าเท่าไร
− เลขโดดอะไรอยใู่ นหลักสบิ และมคี ่าเท่าไร
− เลขโดดอะไรอยู่ในหลักรอ้ ยและมคี ่าเท่าไร
− เลขโดดอะไรอยู่ในหลักพนั และมคี ่าเทา่ ไร
− เลขโดดอะไรอยใู่ นหลักหม่ืนและมคี ่าเท่าไร
− เลขโดดอะไรอยใู่ นหลักแสนและมีค่าเทา่ ไร

เลขโดดที่อยู่ในหลักแสน คือ 1 มีค่า 100,000 จากนั้นให้นักเรียนบอกค่าของเลขโดด ในแต่ละหลัก
และเขียนแสดงจานวน ในรูปกระจายและบอกเลขโดดท่ีขีดเส้นใต้ อยู่ในหลักใดและมีค่าเท่าไรในกรอบท้าย
หนังสือเรียนหนา้ 15 ในการรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งครอู าจใช้คาถาม เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากขน้ึ เช่น

− เลขโดดเดียวกัน อยู่ในหลักตา่ งกนั มีค่าเทา่ กนั หรอื ไม่

(เลขโดดเดียวกนั อยู่ในหลัก ต่างกันมีค่าไมเ่ ทา่ กัน)

− 0 อย่ใู นหลักสบิ มีคา่ เท่ากับ 0 ทีอ่ ย่ใู นหลกั พนั หรอื ไม่

(0 อยู่ในหลกั สิบมีค่า เท่ากับ 0 ในหลักพัน)

5.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเปน็ รายบคุ คลโดยครูอาจนาภาพข่าวการวิง่ มาราธอนโดยเลือกรูป

ที่มีจานวนคนเข้าร่วมเป็นจานวนมากพร้อมระบุจานวนผู้เข้าร่วมโดยเขียนเป็นตัวเลขบนกระดานแล้วให้

นักเรียนบอกค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและเขียนแสดงจานวนในรูปกระจายหรืออาจตรวจสอบความเข้ าใจ

โดยใชภ้ าพการวิง่ มาราธอนการกศุ ลตามหนังสือเรียนหน้า 16 จากนนั้ ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.3 หน้า 10 –

11 และทาใบงานเพม่ิ เตมิ

สือ่ การเรียนรู้

1.หนังสอื เรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3

2.ใบงานท่ี 4 เรือ่ ง หลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจานวนนับไมเ่ กิน 100,000

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

จุดประสงคก์ าร วธิ วี ดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ
เรยี นรู้ ตรวจใบงาน
1.ด้านความรู้ (K) ใบงาน 50% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั
ด้านทกั ษะ คุณภาพดีข้นึ ไป
กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ กระบวนการ

3.ดา้ นคณุ ลกั ษณะที่ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดับ
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ดา้ นคุณลกั ษณะ คณุ ภาพดีขึ้นไป

ทีพ่ งึ ประสงค์

ผลการจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแก้ไข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………………………………………….ครผู ูส้ อน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง หลักและค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนบั ไม่เกนิ 100,000
เลขโดดท่ขี ีดเสน้ ใตอ้ ยใู่ นหลักใดและมคี ่าเทา่ ไร

20,705 ตอบ

95,925 ตอบ

ตอบ

30,995
84,137 ตอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง จานวนนบั ไม่เกิน 100,000
เรื่อง การเปรยี บเทียบจานวน(1)

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนนิ การของจานวนผลท่ี
เกดิ ข้ึนจากการดาเนินการ สมบัตขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้
ตัวชี้วดั : ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนนับไมเ่ กิน 100,000 และ 0
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ตู่ วั ชี้วัด
1.บอกวิธีเปรยี บเทียบจานวนสองจานวนทม่ี จี านวนหลักเท่ากันและเปรยี บเทียบจานวนสองจานวนทม่ี ีจานวน
หลักไม่เท่ากนั (K)
2.เปรียบเทียบจานวนสองจานวนท่มี ีจานวน หลักเท่ากนั และเปรยี บเทียบจานวนสองจานวน ท่ีมจี านวนหลกั ไม่
เท่ากนั (P)
3.นกั เรียนมคี วามม่งุ ในการทางานและสามารถนาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเร่ืองต่อไป (A)
สาระสาคัญ
จานวนหลักไม่เทา่ กนั จานวนท่ีมจี านวนหลกั มากกว่าจะมากกวา่
จานวนหลักเทา่ กัน จานวนที่คา่ ของเลขโดดในหลกั ทอ่ี ยู่ซ้ายสุดมากกวา่ จะมากกวา่ หากเลขโดด
ในหลกั ทอ่ี ยู่ซา้ ยสุดมีค่าเท่ากันให้พิจารณาค่าของเลขโดดท่ีอยถู่ ดั ไปทางขวาทลี ะหลักถ้าพบวา่ คา่ ของเลขโดด
ของจานวนใดมากกวา่ จานวนนนั้ จะมากกว่า
สาระการเรียนรู้

1.ความรู้
การเปรยี บเทียบจานวน

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การแก้ปัญหา
2 .การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์
3.การเชอื่ มโยง
4.การใหเ้ หตุผล

3.คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1.มวี นิ ยั
2.ใฝเ่ รยี นรู้
3.มุ่งมน่ั ในการทางาน

ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1. ทกั ษะในสาระวิชาหลกั (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คดิ เลขเปน็ )
2. ทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคดิ วจิ ารณญาณ และแกป้ ัญหา)
2.2  Creativity and Innovation (การสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การส่อื สารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลย)ี
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและการเรยี นรู้)
2.8  Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวินัย

ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานท่ี 5 เรือ่ ง การเปรยี บเทยี บจานวน

กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้
1.ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับการ ไปชมกีฬาในสนามกีฬาขนาดใหญ่ อาจนารูปตัวอย่างตั๋วเข้าชม

กีฬาทบ่ี อกเลขทน่ี ัง่ เชน่

ต๋วั ใบนี้ไดท้ ่ีนั่งในโซน A ซึง่ อยใู่ กล้สนามที่สุด ซึง่ การเล่าทมี่ าของการแบ่งโซนทนี่ ่งั จะทาให้นักเรียนเข้าใจเหตุผล
ของการแบง่ โซนท่นี ่งั จากนน้ั ใหน้ ักเรียนดูรปู โซนทีน่ ง่ั ในหนงั สือเรียนหนา้ 17 และเปรยี บเทยี บจานวนทน่ี ั่งของ
โซน A กับโซน C นกั เรียนบางคนอาจตอบไดถ้ ้ามีนักเรียนตอบได้ ครอู าจถามคาถามว่าหาคาตอบได้อย่างไร ถ้า
นักเรยี นยงั ตอบไมไ่ ดค้ รูอาจยกตวั อยา่ งจานวนไม่เกนิ 1,000 มาให้นักเรียนเปรียบเทยี บก่อนเพื่อทบทวนความรู้
พ้นื ฐานกอ่ นการเรียนในบทเรียนย่อยน้ี จากนน้ั ครูอธบิ ายการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนท่ีมีจานวนหลักไม่
เท่ากัน โดยยกตัวอย่างจานวน ที่น่ังของโซน A กับโซน C เปรียบเทียบ 8,505 กับ 12,245 ครูอาจใช้การถาม-
ตอบ ดงั น้ี

− 8,505 กับ 12,245 มจี านวนหลักเท่ากันหรอื ไม่ (ไมเ่ ทา่ กนั )
− 8,505 เปน็ จานวนกี่หลัก (8,505 เป็นจานวนสห่ี ลกั ) เลขโดดท่ีอยซู่ ้ายสุดคอื จานวนใดและ
มีคา่ เทา่ ไร (8 มีคา่ 8,000)
− 12,245 เป็นจานวนกหี่ ลัก (12,245 เปน็ จานวนหา้ หลกั ) เลขโดดทีอ่ ยซู่ ้ายสุดคือจานวนใด

และมคี ่าเท่าไร (1 มีคา่ 10,000)
− 8,505 มากกว่า หรือ นอ้ ยกว่า 12,245 (8,505 น้อยกวา่ 12,245)
2.จากนั้นครูเขียนบนกระดานโดยใช้เคร่ืองหมาย < ได้ 8,505 < 12,245 หรือ บอกการ
เปรียบเทียบไดอ้ ีกแบบ คอื 12,245 มากกว่า 8,505 และเขยี นโดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย > ได้ 12,245 > 8,505 และ
อธิบายว่า 8,505 เป็นจานวนส่ีหลัก โดยมีเลขโดด 8 อยู่ในหลักพัน มีค่า 8,000 ส่วน 12,245 เป็นจานวนห้า
หลักโดยมีเลขโดด 1 อยู่ในหลักหม่ืน มีค่า 10,000 หรือเท่ากับ 10 พัน ดังน้ัน 8,505 จึงน้อยกว่า 12,245
จากน้นั ครู ใหน้ ักเรียนช่วยกันเปรยี บเทยี บจานวนทีน่ ั่งของโซน B กับ โซน C ซึง่ จะได้ 3,600 นอ้ ยกวา่ 12,245
(3,600 < 12,245) หรือ 12,245 มากกว่า 3,600 กับ 12,245 > 3,600) แล้วครูให้นักเรียนสังเกตว่า การ
เปรียบเทียบจานวนสองจานวนที่มีจานวนหลัก ไม่เท่ากัน จะพิจารณาอย่างไร (การเปรียบเทียบจานวนสอง
จานวนที่มีจานวนหลักไมเ่ ทา่ กันจานวนทีม่ จี านวนหลกั มากกว่าจะมากกวา่ )
3.ครยู กตัวอยา่ งการเปรยี บเทียบจานวนสองจานวน คือ 100,000 กบั 98,789 แลว้ ให้นักเรยี นใช้แนวทาง
ข้างต้นในการเปรียบเทียบจานวนท่ีจานวนหลักไม่เทา่ กนั ซ่งึ นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ 100,000 มากกวา่ 98,789
(100,000 > 98,789) หรือ 98,789 น้อยกว่า 100,000 (98,789 < 100,000)
ครูอธิบายว่า 100,000 เป็นจานวนหกหลักหลักที่อยู่ซ้ายสุดคือหลักแสน 1 ในหลักแสน มีค่า 100,000 หรือ
10 หม่ืน 98,789 เป็นจานวนห้าหลัก หลักท่ีอยู่ซ้ายสุดคือ หลักหม่ืน 9 ในหลักหมื่นมีค่า 90,000 ดังนั้น
100,000 > 98,789 หรือ 98,789 < 100,000 จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกนั เปรียบเทยี บจานวนสองจานวน ใน
กรอบทา้ ยหนังสอื เรียนหนา้ 18
4.ครสู มุ่ นักเรียนมาเฉลยคาตอบและอธิบายเหตผุ ลของคาตอบทีไ่ ด้ ครเู น้นยา้ การใชเ้ ครือ่ งหมาย > และ
< ให้ถูกต้อง จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หัด 1.4.1 หน้า 12 – 13
สอ่ื การเรียนรู้
1.หนังสอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.3

2.ใบงานท่ี 5 เร่ือง การเปรียบเทยี บจานวน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคก์ าร วิธวี ดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน
เรยี นรู้
ใบงาน 50% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน การประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น ดา้ นทักษะ คุณภาพดีข้ึนไป
กระบวนการ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
3.ด้านคณุ ลกั ษณะที่ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น ทพี่ งึ ประสงค์
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์

ผลการจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแก้ไข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………………………………………….ครผู ูส้ อน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานท่ี 5 เรื่อง การเปรยี บเทยี บจานวน
คาชีแ้ จง : เปรยี บเทยี บจานวนโดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย < หรอื >

2,899 21,888

5,579 704
20,999 909
5,125 4,639
41,200 5,002
3,001 10,707

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เร่อื ง จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000
เรื่อง การเปรียบเทยี บจานวน(2)

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนนิ การของจานวนผลที่
เกดิ ข้ึนจากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชี้วดั : ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรียงลาดับจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ู่ตวั ชี้วดั
1.บอกวธิ ีเปรียบเทยี บจานวนสองจานวนทมี่ จี านวนหลักเท่ากันและเปรียบเทยี บจานวนสองจานวนที่มีจานวน
หลักไมเ่ ท่ากนั (K)
2.เปรียบเทียบจานวนสองจานวนทีม่ จี านวน หลกั เทา่ กันและเปรยี บเทยี บจานวนสองจานวนท่มี ีจานวนหลกั ไม่
เท่ากนั (P)
3.นกั เรยี นมีความมงุ่ ในการทางานและสามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเร่ืองต่อไป (A)
สาระสาคญั
จานวนหลกั ไม่เท่ากนั จานวนที่มจี านวนหลกั มากกว่าจะมากกวา่
จานวนหลักเท่ากัน จานวนท่ีค่าของเลขโดดในหลักที่อยู่ซ้ายสดุ มากกวา่ จะมากกวา่ หากเลขโดด
ในหลกั ทอ่ี ยู่ซา้ ยสุดมคี ่าเทา่ กันใหพ้ ิจารณาค่าของเลขโดดที่อย่ถู ดั ไปทางขวาทีละหลักถ้าพบวา่ ค่าของเลขโดด
ของจานวนใดมากกวา่ จานวนนนั้ จะมากกว่า
สาระการเรียนรู้

1.ความรู้
การเปรยี บเทยี บจานวน

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
1.การแกป้ ญั หา
2.การสอ่ื สารและการสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชอื่ มโยง
4.การให้เหตุผล

3.คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝเ่ รียนรู้
3.มุ่งม่นั ในการทางาน

ทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
1. ทกั ษะในสาระวิชาหลกั (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คดิ เลขเปน็ )
2. ทกั ษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม (8Cs)
2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวจิ ารณญาณ และแกป้ ญั หา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเป็นทมี ภาวะผู้นา)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การสอื่ สารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี)
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและการเรียนร้)ู
2.8  Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวนิ ัย

ช้นิ งานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 6 เร่ือง การเปรยี บเทียบจานวน

กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
1.ครกู ล่าวทักทายนกั เรียนจากนนั้ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกบั กีฬาซีเกมสโ์ ดยให้ เกร็ดความรู้วา่ การแข่งกีฬา
ระหว่างประเทศนี้เป็นการแข่งขัน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาจให้ข้อมูลเพ่ิมเติม เช่น ซีเกมส์คร้ัง
ล่าสุดในปี2019 ประเทศฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพ เจ้าเหรียญทองหรือประเทศท่ีได้เหรียญทองมากที่สุดคือ
ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศท่ีได้เหรียญทองมาเป็นอันดับสองคือประเทศเวียดนาม และอันดับสาม คือประเทศ
ไทย และขอ้ มูลเหรียญรางวัลในอดีต ตามตารางในหนงั สือเรยี นหน้า 19 ดงั น้ี

ครูถามนักเรียนว่า ประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซยี ประเทศใด ได้จานวนเหรยี ญรางวลั รวมมากกวา่ นัน่
คือต้องเปรยี บเทียบ 5,558 และ 4,852 โดยใช้การถาม-ตอบ ดังนี้

− 5,558 และ 4,852 มจี านวนหลักเทา่ กนั หรือไม่ (เทา่ กนั )
− 5,558 และ 4,852 เปน็ จานวนกห่ี ลกั (5,558 และ 4,852 เปน็ จา นวนสห่ี ลกั )
− 5,558 เลขโดดที่อยู่ซ้ายสุดคอื จานวนใดและมีคา่ เท่าไร (5 มคี ่า 5,000)
− 4,852 เลขโดดทอี่ ยู่ซ้ายสุดคอื จานวนใดและมีค่าเท่าไร (4 มคี ่า 4,000)
− 5,558 มากกวา่ หรือ น้อยกว่า 4,852 (5,558 มากกวา่ 4,852)
ครูอธิบายว่า 5,558 เป็นจานวนสี่หลัก หลักทางซ้ายสดุ คือหลกั พัน 5 ในหลักพัน มีค่า 5,000 และ 4,852 เป็น
จานวนสี่หลกั หลกั ทางซา้ ยสดุ คือหลักพัน 4 ในหลักพัน มคี า่ 4,000 จะได้5,558 > 4,852

ดังนนั้ จานวนเหรยี ญรวมของประเทศไทยมีมากกวา่ จานวนเหรยี ญรวมของประเทศอนิ โดนีเซีย
2.ครูเลอื กสองประเทศใหน้ ักเรยี นไดฝ้ ึกเปรยี บเทยี บเพิ่มเติม โยงไปหาข้อสรปุ (การเปรียบเทียบจานวน
สองจานวนท่มี จี านวนหลกั เท่ากนั จานวนท่คี ่าของเลขโดดในหลกั ท่ีอยซู่ ้ายสุดมากกว่าจะมากกว่า)
3.ครูยกตวั อยา่ งให้นักเรยี นเปรยี บเทยี บจานวนสองจานวนทม่ี ีจานวนหลกั เท่ากันและคา่ ของเลขโดด
ทอ่ี ยซู่ า้ ยสดุ มีค่าเท่ากนั เชน่ 43,230 กับ 43,195 โดยใชก้ ารถาม-ตอบ ดังน้ี

− 43,230 และ 43,195 มจี านวนหลกั เท่ากันหรือไม่ (เทา่ กัน)
− 43,230 และ 43,195 เปน็ จานวนกีห่ ลัก (43,230 และ 43,195 เปน็ จานวนหา้ หลกั )
− 43,230 และ 43,195 เลขโดดที่อยูห่ ลักหมื่นคือจานวนใดและมีค่าเทา่ ไร (4 มีคา่ 40,000)
− 43,230 และ 43,195 เลขโดดที่อยูห่ ลักพนั คือจานวนใดและมคี ่าเทา่ ไร (3 มีคา่ 3,000)
− 43,230 และ 43,195 เลขโดดท่อี ยู่หลกั ร้อยคือจานวนใดและมีค่าเท่าไร (43,230 มี2 ในหลกั ร้อย มี
คา่ 200 และ 43,195 มี 1 ในหลักรอ้ ย มีคา่ 100)
− 43,230 มากกว่า หรอื น้อยกว่า 43,195 (43,230 มากกว่า 43,195)
ซง่ึ ในการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนน้ีครูควรเขยี นเลขโดดที่อยหู่ ลกั เดียวกันให้ตรงกันเพอ่ื ง่ายใน
การนามาเปรียบเทียบกัน เม่ือคา่ ของเลขโดดของหลกั ที่อยู่ซ้ายสุดทม่ี ีคา่ เท่ากนั ใหพ้ จิ ารณาค่า ของเลขโดดใน
หลักถัดไปทางขวาทลี ะหลกั ดงั น้ี

43,230 และ 43,195 มี 4 ในหลักหมืน่ มคี า่ 40,000 เทา่ กัน และ 3 ในหลักพัน มีค่า 3,000 เท่ากนั 43,230
มี 2 ในหลักร้อย มีคา่ 200 และ 43,195 มี 1 ในหลักรอ้ ย มคี ่า 100

ดังน้ัน 43,230 > 43,195 แล้วครูให้นักเรียนสังเกตว่าการเปรียบเทียบจานวนสองจานวนที่มีจานวน
หลกั เท่ากันและคา่ ของเลขโดดทีอ่ ยูซ่ ้ายสุดมีค่าเท่ากนั จะพิจารณาอยา่ งไร (การเปรียบเทยี บจานวนสองจานวน
ท่ีมีจานวนหลัก เท่ากันและเลขโดดในหลักซ้ายสุดมีค่าเท่ากันให้พิจารณาค่าของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวา
ทีละหลัก คา่ ของเลขโดดของจานวนใดมากกว่าจานวนนนั้ จะมากกวา่ )
จากนัน้ ครใู หน้ ักเรียนชว่ ยกนั เปรียบเทยี บจานวน สองจานวนในกรอบทา้ ยหนงั สือเรียนหน้า 20 และใช้คาถาม
ชีแ้ นะวา่ คา่ ของเลขโดดในหลกั ใดที่ทาใหน้ กั เรยี นสามารถเปรียบเทยี บสองจานวนน้ันได้
4.ครแู บง่ นักเรียนเปน็ กลุม่ กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วใหน้ ักเรยี นทากิจกรรม มากกวา่ หรอื น้อยกว่า

5.ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนเติมเคร่ืองหมาย > หรือ < และเติมตัวเลข
แสดงจานวนทีส่ อดคล้องกบั เง่ือนไขในโจทย์ทีก่ าาหนดให้ ตามหนงั สือเรยี นหนา้ 22 จากนั้นให้นักเรียนทา
แบบฝึกหัด 1.4.2 หน้า 14 – 16 จากน้นั ให้ทาใบงานเพิม่ เติม

สือ่ การเรยี นรู้
1.หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3

2.ใบงานที่ 6 เรือ่ ง การเปรียบเทียบจานวน

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การ วิธวี ัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การประเมิน
เรียนรู้
50% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
1.ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน การประเมนิ
นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม คุณภาพดีขนึ้ ไป
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ
กระบวนการ นกั เรียนได้คะแนนระดบั
3.ด้านคณุ ลกั ษณะท่ี สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม คุณภาพดีข้นึ ไป
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค์

ผลการจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแก้ไข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………………………………………….ครผู ูส้ อน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานที่ 6 เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บจานวน 2,879
เปรียบเทยี บจานวนโดยใชเ้ คร่อื งหมาย < หรอื >
5,704
2,899 20,909
5,579 4,639
20,999 1,002
5,125 707
1,200
1,001

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3
เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000
เรอ่ื ง การเรียงลาดับจานวน(1)

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนินการของจานวนผลท่ี
เกดิ ข้นึ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชีว้ ดั : ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0
จดุ ประสงค์การเรียนรูส้ ตู่ ัวช้ีวดั
1.บอกวิธีเรียงลาดับจานวนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย (K)
2.เรยี งลาดับจานวนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย (P)
3.นักเรียนมีความมุง่ ในการทางานและสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปตอ่ ยอดในการเรยี นเร่ืองต่อไป (A)
สาระสาคัญ
การเรียงลาดับจานวนอาจทาได้โดยหาจานวนที่มากที่สุดและน้อยท่ีสุดก่อน จากน้ันนาจานวนมาเรียงลาดับ
จากมากไปน้อย หรือจากนอ้ ยไปมาก
สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้
การเรยี งลาดบั จานวน

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
1.การแกป้ ญั หา
2.การส่อื สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
4.การใหเ้ หตผุ ล

3.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มั่นในการทางาน

ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
2. ทกั ษะการเรียนร้แู ละนวัตกรรม (8Cs)

2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และแก้ปญั หา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวตั กรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเป็นทีม ภาวะผนู้ า)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การสอ่ื สารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลย)ี
2.7 Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และการเรียนร)ู้
2.8  Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวนิ ยั
ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
ใบงานท่ี 7 เร่ือง การเปรียบเทียบจานวน
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
1.ครูสนทนากับนักเรยี นเก่ยี วกับการนาความรเู้ รื่องการเปรียบเทยี บและเรียงลาดบั จานวนมาใช้ใน
ชีวติ จริงโดยยกตัวอย่างสถานการณก์ ารเลอื กซื้อรถจักรยานของขนุ จากร้านค้าทต่ี ิดราคาไว้ต่างกัน 3 รา้ น ดงั นี้

ร้าน A ตดิ ราคาไว้ 5,990 บาท ร้าน B ติดราคาไว้ 6,090 บาท และ ร้าน C ติดราคาไว้ 5,890 บาท
ครูถามนักเรียนว่า จะเลือกซ้ือร้านใดจึงจะได้ราคาถูกที่สุด จะหาคาตอบได้อย่างไร นักเรียนอาจตอบ

ว่า นาราคาท่ีแตล่ ะร้านติดไว้มาเปรียบเทียบกันวา่ รา้ นใดติดราคาไว้น้อยทสี่ ดุ ครูอธิบายเก่ยี วกับการเรียงลาดับ
จานวนโดยใชก้ ารเปรยี บเทยี บหาจานวนที่มากทส่ี ุดหรือจานวนท่ีน้อยทีส่ ดุ ในสถานการณ์น้ี ราคาจักรยานของ
ทง้ั สามรา้ นเปน็ จานวนสหี่ ลกั พจิ ารณาจากหลกั ที่มีค่ามากท่สี ุด ก็คือ หลกั พัน จะเห็นว่าราคาจากรา้ น B มี 6 ใน
หลักพัน มีค่า 6,000 ส่วนราคาจากร้าน A และร้าน C มี 5 ในหลักพัน มีค่า 5,000 ดังน้ัน จะได้ว่า ร้าน B ติด
ราคาขายไว้มากที่สุด จึงเปรียบเทียบราคาร้าน A และ ร้าน C จะพบว่า ค่าของเลขโดด ในหลักพันเท่ากัน จึง
เปรียบเทียบค่าของเลขโดดในหลักร้อย ร้าน A มี 9 ในหลักร้อย มีค่า 900 และ ร้าน C มี 8 ในหลักร้อย มีค่า
800 ดังนั้นร้าน A ติดราคาไว้มากกว่า ร้าน C ซ่ึงเรียงลาาดับ ราคาจักรยานที่ติดไว้จากน้อยไปมาก จะได้
5,890 5,990 6,090 ดังน้ัน ร้าน C ติดราคาจักรยาน ไว้น้อยท่ีสุด ขุนน่าจะเลือกซ้ือจักรยานที่ร้าน C เพราะมี
ราคาถกู ท่ีสุด

2.ครูติดบัตรตัวเลขบนกระดาษ 4 บัตร ตามหนังสือเรียนหน้า 24 แล้วให้นักเรียนเรียงลาดับ จานวน
จากน้อยไปมาก จากบัตรตัวเลข 16,990 6,890 42,670 46,782 ครูให้นักเรียนสังเกตจานวนท้ังสี่จานวนก่อน
ว่า แต่ละจานวนเป็นจานวนกี่หลัก แล้วถามนักเรียนว่า บอกได้หรือไม่ว่า จานวนใด มากท่ีสุด และจานวนใด
นอ้ ยที่สุด นกั เรียนควรตอบได้ว่า 16,990 42,670 และ 46,782 เป็น จานวนห้าหลกั และ 6,890 เป็นจานวนส่ี
หลัก ดังน้นั 6,890 เปน็ จานวนท่ีนอ้ ยท่สี ุด

จากนัน้ พจิ ารณา 16,990 42,670 และ 46,782 ครูถามนักเรยี นวา่ สามจานวนน้ีมจี านวนหลัก เท่ากัน
เลขโดดท่อี ยู่ซา้ ยสดุ ของแตล่ ะจานวนมคี ่าเทา่ ไร นกั เรียนควรตอบได้วา่ 16,990 มี 1 ในหลักหมน่ื มีคา่ 10,000
42,670 มี 4 ในหลกั หม่นื มีค่า 40,000 และ 46,782 มี 4 ในหลักหมนื่ มีคา่ 40,000 จะได้ 16,990 เป็นจานวน
ท่ีนอ้ ยท่ีสดุ ซง่ึ ในขัน้ ตอนนี้ ครูอาจเขียนผลท่ไี ด้จากการ พจิ ารณาโดยใชบ้ ตั รตัวเลขติดบนกระดาน ดงั น้ี

6,890 16,990
จากนัน้ พิจารณา 42,670 และ 46,782 ครูถาม นักเรียนวา่ จานวนใดมากกกว่าคดิ ไดอ้ ย่างไร นกั เรยี นควรตอบ
ไดว้ ่า 46,782 มากกว่า 42,670 เพราะ เลขโดดในหลกั พนั ของ 46,782 มคี า่ มากกวา่ 42,670 ดงั นั้นเรยี งลาดับ
จานวนจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้ 6,890 16,990 42,670 46,782
ครูถามนักเรียนว่า ถ้าต้องการเรียงลาาดับจานวนสี่จานวนน้ีจากมากไปน้อยทาาได้อย่างไร โดยสุ่ม ตัวแทน
นักเรยี นออกมาตดิ บตั รตวั เลขบนกระดาน จะได้ 46,782 42,670 16,990 6,890

3.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกล่มุ ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันเรียงลาดับจานวนจากมากไปน้อย และ จาก
น้อยไปมาก ตามหนังสือเรียนหน้า 25 และสุ่มให้นักเรียน ออกมาช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง โดยครู
ชี้ให้เห็นหลักการเรียงลาดับจานวน คือต้องหาจานวนท่ีน้อยที่สุด หรือจานวนที่มากที่สุดก่อนแล้วนาจานวนที่
เหลือ มาเขียนเรียงลาาดับ โดยในการหาจานวนที่มากที่สุด หรือจานวนที่น้อยที่สุดน้นั ใชห้ ลักการเดียวกับการ
เปรียบเทียบ จานวน คือพิจารณาที่จานวนหลักหากจานวนหลักเท่ากัน จึงพิจารณาท่ีค่าของเลขโดดในหลัก
ซ้ายสดุ และถ้าเลขโดด ในหลกั ซ้ายสุดมคี า่ เท่ากนั กใ็ หพ้ จิ ารณาเลขโดดในหลักถัด ไปทางขวาทลี ะหลกั และ ใน
การเรียงลาาดับอาจสร้างตาแหน่งการเรียงลาดับตามจานวนที่นามาเรียงลาดับ เช่น เรียงลาดับจานวน 4
จานวนจากนอ้ ยไปมาก ซ่ึงหากไดจ้ านวนทมี่ ากท่ีสุดหรือจานวนที่น้อยที่สดุ แลว้ ให้เขียนลงในตาแหนง่ แรกและ
ตาแหน่งสุดท้าย ท่ีเหลือตรงกลางจะได้ทราบว่า ต้องนาจานวนท่ีเหลือมาเติมให้ครบ จากน้ันให้นักเรียนทา
แบบฝึกหดั 1.5.1 หนา้ 17 – 18 และทาใบงานเพ่ิมเตมิ
ส่อื การเรยี นรู้

1.หนังสอื เรยี นคณิตศาสตร์ ป.3

2.ใบงานที่ 7 เร่ือง การเรยี งลาดบั จานวน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคก์ าร วิธวี ดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน
เรยี นรู้
ใบงาน 50% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน การประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ
2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น ดา้ นทักษะ คุณภาพดีข้ึนไป
กระบวนการ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ
ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
3.ด้านคณุ ลกั ษณะที่ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น ทพี่ งึ ประสงค์
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์

ผลการจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปัญหา/ อุปสรรค
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
แนวทางในการแก้ไข
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………………………………………….ครผู ูส้ อน
(นางสาวชณฐั ฎา ปรางสขุ )
ตาแหนง่ ครู
............./............/.............

ความเห็นฝ่ายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................
………………………...................................................................................................................................................
…………………...................................................................................................................................................... ...

ลงชื่อ.............................................
(นางสาวประทมุ ภกั ด)ี

ตาแหน่ง ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นวชิ าการ
........../............/............

ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….
………………………...................................................................................................................................................
………………….........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
(นายพงษศ์ กั ด์ิ เสคุคมุ พัตถ์)

ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลบา้ นบงึ (อานาจคณูปถัมภ์)
........../............/............

ใบงานที่ 7 เร่ือง การเรียงลาดบั จานวน 26,248
เรียงลาดบั จานวนจากมากไปน้อย

1. 5,264 5,217 5,239

2. 68,792 68,453 68,476 68,654

3 27,650 40,983 56,354 61,085

เรียงลาดับจานวนจากน้อยไปมาก 64,832

1. 26,784 36,495 17,396

2. 46,825 43,982 41,674 42,058

3. 53,069 53,064 53,068 53,062

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3
เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000
เรอ่ื ง การเรียงลาดับจานวน(2)

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การเนินการของจานวนผลท่ี
เกดิ ข้นึ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้
ตัวชีว้ ดั : ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0
จดุ ประสงค์การเรียนรูส้ ตู่ ัวช้ีวดั
1.บอกวิธีเรียงลาดับจานวนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย (K)
2.เรยี งลาดับจานวนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย (P)
3.นักเรียนมีความมุง่ ในการทางานและสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปตอ่ ยอดในการเรยี นเร่ืองต่อไป (A)
สาระสาคัญ
การเรียงลาดับจานวนอาจทาได้โดยหาจานวนที่มากที่สุดและน้อยท่ีสุดก่อน จากน้ันนาจานวนมาเรียงลาดับ
จากมากไปน้อย หรือจากนอ้ ยไปมาก
สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้
การเรยี งลาดบั จานวน

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ
1.การแกป้ ญั หา
2.การส่อื สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
4.การใหเ้ หตผุ ล

3.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มั่นในการทางาน

ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3Rs)
1.1  Reading (อ่าน) 1.2  (W)Riting (เขียน) 1.3  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
2. ทกั ษะการเรียนร้แู ละนวัตกรรม (8Cs)

2.1  Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวจิ ารณญาณ และแก้ปญั หา)
2.2  Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวตั กรรม)
2.3  Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม)
2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (การทางานเปน็ ทีม ภาวะผูน้ า)
2.5  Communications, Information, and Media Literacy (การสอ่ื สารสารสนเทศ)
2.6  Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี)
2.7 Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและการเรียนร้)ู
2.8  Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวินยั
ช้นิ งานหรอื ภาระงาน
ใบงานท่ี 8 เรื่อง การเปรยี บเทียบจานวน
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
1.ครกู ล่าวทักทายนักเรยี นตดิ บตั รตัวเลขบนกระดาน 5 บตั ร ตามหนังสอื เรยี นหนา้ 26 แลว้ ใหน้ กั เรียน
เรยี งลาดบั จานวนจากมากไปนอ้ ย จากบัตรตวั เลข 80,078 67,355 6,819 67,957 100,000 โดยครูวาง
ตาแหนง่ การเรียงลาดบั จากมากไปน้อยบนกระดาน ดงั น้ี

ครูให้นักเรียนสังเกตจานวนท้ังห้าจานวนก่อนว่า แต่ละจานวนเป็นจานวนก่ีหลัก แล้วถามนักเรียนว่า
บอกไดห้ รอื ไมว่ า่ จานวนใดมากทีส่ ดุ และจานวนใดนอ้ ยทส่ี ุด นกั เรียนควรตอบได้ว่า 100,000 เป็น จานวนหก
หลัก ดังน้ัน 100,000 เป็นจานวนท่ีมากท่ีสุด 6,819 เป็นจานวนสี่หลัก ดังนั้น 6,819 เป็นจานวนที่น้อยที่สุด
ครูใหน้ กั เรยี นนาบตั รตวั เลข 100,000 และ 6,819 มาติดให้ตรงตาแหนง่ จะได้ ดงั น้ี

จากน้ันพิจารณา 80,078 67,355 และ 67,957 ครูถามนักเรียนว่าสามจานวนนี้มีจานวนหลักเท่ากัน
เลขโดดทอ่ี ยซู่ ้ายสดุ ของแตล่ ะจานวนมคี ่าเท่าไร นกั เรียนควรตอบได้ว่า 80,078 มี 8 ในหลักหมืน่ มคี ่า 80,000
67,355 มี 6 ในหลักหมืน่ มีคา่ 60,000 และ 67,957 มี 6 ในหลักหมน่ื มคี า่ 60,000 จะได้ 80,078 เปน็ จานวน
ทมี่ ากทส่ี ุด ซงึ่ ในขั้นตอนน้ี ครูใหน้ กั เรียนนาาบตั ร 80,078 มาเติมในตาแหน่ง ดังน้ี

จากน้ันพิจารณา 67,355 และ 67,957 ครูถามนักเรียนว่า จานวนใดมากกกว่า คิดได้อย่างไร นักเรียน
ควรตอบได้ว่า 67,957 มากกว่า 67,355 เพราะ เลขโดดในหลักร้อยของ 67,957 มีค่ามากกว่า 67,355 ครูให้
นกั เรยี นนาบตั ร 67,355 และ 67,957 มาเตมิ ในตาแหน่ง ดงั น้ี

ดังน้ัน เรียงลาดับจานวนจากมากไปน้อยไดด้ งั นี้ 100,000 80,078 67,957 67,355 6,819
2.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มให้นักเรียน แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงลาดับจานวนจากมาก ไปน้อย และจากน้อยไป
มากตามหนังสือเรียน หน้า 27 สาหรับโจทย์ในข้อ 3 ท่ีเป็นบริบทของจานวนเที่ยวบินในเมืองท่องเท่ียวใน


Click to View FlipBook Version