The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพือสร้างภูมิคุ้มกันฉบับสมบรูณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papawee83, 2021-11-11 01:33:32

โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพือสร้างภูมิคุ้มกันฉบับสมบรูณ์

โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพือสร้างภูมิคุ้มกันฉบับสมบรูณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภูมคิ ุ้มกนั

ประจาปี การศึกษา 2564

สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสุราษฏร์ธานี

รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภูมิค้มุ กนั

ประจาปี การศึกษา 2564

ของ
นางสาววภิ าวดี ไวฤทธ์ิ 6216209001150
นางสาวสโรชา หบี แก้ว 6216209001171
นางสาวปภาวี ศรีโมรา 6216209001180

กลุ่มเรียน 62037.164 รปศ

เสนอ
อาจารย์อยับ ซาคดั คาน

สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุราษฏร์ธานี



คานา

โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภูมิคุม้ กนั จดั ทาข้ึนโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือพฒั นา
คุณภาพชีวิตของตนใหม้ ีความเป็ นอยู่ท่ีดีข้ึน ในช่วงสถานการณ์โควิด -19 เพ่ือสร้างความมนั่ คงทางอาหาร
และ เพอื่ ใหร้ ู้จกั การแบ่งปันใหแ้ ก่ผอู้ ่ืนทีมีความตอ้ งการ

โดยดาเนินโครงการอย่างเป็ นระบบ นบั ต้งั แต่การศึกษาสภาพปัจจุบนั ปัญหาและความตอ้ งการ
การกาหนดจุดพฒั นา การวางแผน การปฏิบตั ิงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และประเมินโครงการ
เพ่ือนาผลการประเมินโครงการไปใชใ้ นการพฒั นางานอยา่ งต่อเนื่อง และเป็นระบบ ผลการดาเนินงานช่วย
ใหน้ กั ศึกษาไดพ้ ฒั นาคุณภาพชีวิตความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน ในช่วงสถานการณ์โควิด -19 มีความมน่ั คงทางอาหาร
ไดพ้ ฒั นาต่อยอดองค์ความรู้ท่ีไดร้ ับ ต่อตนเอง คนในครอบครัวและชาวบา้ น เพื่อการพฒั นาท่ียง่ั ยืนต่อไป
ส่งผลใหน้ กั ศึกษามีคุณภาพตามจุดหมายของหลกั สูตร

ขอขอบคุณอาจารยอ์ ยบั ซาคัดคาน ( ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ) ท่ีให้ความร่วมมือในการดาเนิน
โครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภมู ิคุม้ กนั และประเมินโครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้
เพื่อสร้างภูมิคุม้ กนั ทาใหก้ ารดาเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กาหนด ซ่ึงประประโยชน์ท่ีไดร้ ับคือ รู้จกั
คุณคา่ ของการลงมือทาและไดผ้ ลผลิตตามตอ้ งการและปลอดภยั และผเู้ ก่ียวขอ้ ง สาหรับใชใ้ นการพฒั นางาน
ใหม้ ีความกา้ วหนา้ ต่อไป

วภิ าวดี ไวฤทธ์ิ

(นางสาววภิ าวดี ไวฤทธ์ิ)

ตาแหน่งหวั หนา้ โครงการ

สารบัญ ข

เร่ือง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
สารบญั (ตอ่ ) ค
สารบญั (ต่อ) ง
สารบญั รูปภาพ จ
สารบญั ตาราง ฉ
บทคดั ยอ่ ช
บทที่ 1 บทนา 1
1
ความเป็ นมาของโครงการ 1
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1
ขอบเขตดาเนินเดินงานโครงการ 1
นิยามศพั ท์ 2
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 2
เป้าหมายของโครงการ 2
งบประมาณ 3
ปัจจยั ในการดาเนินโครงการ 3
กิจกรรมในการดาเนินงานโครงการ 4
ปฏิทินปฏิบตั ิงานตามโครงการ 5
ข้นั ตอนวธิ ีการดาเนินการ

สารบัญ (ต่อ) ค

เรื่อง หน้า
บทที่ 2 เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ ง 6
6
แนวคดิ ดา้ นมนุษยสมั พนั ธ์ 7
ทฤษฎีมาสโลว์ ลาดบั ข้นั ความตอ้ งการ 9
หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 11
ทฤษฎีการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื 13
แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวกบั การพฒั นาตนเอง 18
หลกั การแนวคิดเก่ียวกบั การประเมินผลโครงการ 19
วงจรบริหารงานคณุ ภาพ PDCA 22
การประเมินตามแบบซิปโมเดล (CIPP Model) 25
กรอบแนวคิด 26
บทที่ 3 วิธีการประเมินโครงการ 26
รูปแบบการประเมินโครงการ 27
วธิ ีการการประเมินโครงการ 27
ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง 27
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมินโครงการ 30
บทที่ 4 ผลการประเมินโครงการ 31
ผลการประเมินดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม 33
ผลการประเมินดา้ นปัจจยั 35
ผลการประเมินดา้ นกระบวนการ

สารบญั (ต่อ) ง

เร่ือง หน้า
ผลการประเมินดา้ นผลผลิต 37
40
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 40
ผลการประเมินโครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม 40
ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั 40
ผลการประเมินโครงการดา้ น 40
ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต 40
ขอ้ เสนอแนะ 41
39
บรรณนุกรม 43
ภาคผนวก 46

ภาคผนวก ก. รูปภาพ
ภาคผนวก ข. แบบประเมินโครงการ

สารบญั รูปภาพ จ

เร่ือง หน้า

รูปภาพท่ี 2.1 วงจร PDCA 21

สารบญั ตาราง ฉ

เรื่อง หน้า

ตารางที่ 1.1 ตารางปฏิทินงานตามโครงการ 4
ตารางท่ี 1.2 ข้นั ตอนตามกระบวนการ PDCA 5
ตารางท่ี 4.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปผปู้ ระเมิน 30
ตารางท่ี 4.2 คาถามขอ้ ท่ี 1 31
ตารางท่ี 4.3 คาถามขอ้ ที่ 2 32
ตารางท่ี 4.4 คาถามขอ้ ที่ 3 32
ตารางท่ี 4.5 คาถามขอ้ ท่ี 4 33
ตารางท่ี 4.6 คาถามขอ้ ท่ี 5 34
ตารางท่ี 4.7 คาถามขอ้ ที่ 6 34
ตารางที่ 4.8 คาถามขอ้ ท่ี 7 35
ตารางท่ี 4.9 คาถามขอ้ ที่ 8 36
ตารางท่ี 4.10 คาถามขอ้ ท่ี 9 36
ตารางท่ี 4.11 คาถามขอ้ ที่ 10 37
ตารางที่ 4.12 คาถามขอ้ ท่ี 11 38
ตารางที่ 4.13 คาถามขอ้ ที่ 12 38



บทคดั ย่อ

ช่ือเรื่อง การประเมินโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภมู ิคุม้ กนั
ผู้รับผิดชอบ

นางสาววิภาวดี ไวฤทธ์ิ
นางสาวสโรชา หีบแกว้
นางสาวปภาวี ศรีโมรา
ระยะเวลาการประเมินโครงการ
ระยะเวลาการประเมินโครงการโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภมู ิคุม้ กนั เร่ิม
ดาเนินโครงการต้งั แตว่ นั ที่1 กนั ยายน 2564 – 25 พฤศจิกายน 2564
วตั ถปุ ระสงค์โครงการ
1. เพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตของตนใหม้ ีความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน ในช่วงสถานการณ์โควิด -19
2. เพอ่ื สร้างความมน่ั คงทางอาหาร
3. เพอ่ื ใหร้ ู้จกั การแบง่ ปันใหแ้ ก่ผอู้ ื่นทีมีความตอ้ งการ
วธิ ดี าเนนิ โครงการ
การประเมินโครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภูมิคุม้ กันดาเนินในระหว่างวนั ท่ี1
กนั ยายน 2564 – 25 พฤศจิกายน 2564 โดยใชก้ ลุ่มตวั อย่างประกอบดว้ ยจานวน สมาชิกในครอบครัวและ
ญาติพนี่ อ้ งของคณะผจู้ ดั ทาโครงการ จานนวน 10 คน
เคร่ืองมือทใี่ ช้ประเมนิ โครงการ
เครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมินโครงการ ใชร้ ูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model



ผลการประเมนิ โครงการ
ผลการประเมินโครงการในแตล่ ะดา้ นดงั น้ี

1.ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม

2.ประเมินการปัจจยั เบ้ืองตน้
3.ประเมินกระบวนการ
4.การประเมินผลผลิต

1

บทท่ี 1

บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญของโครงการ

ในปัจจุบนั มีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 อย่างแพร่หลาย ซ่ึงเป็นการแพร่ระบาดทวั่ โลก
และแพร่ระบาดอยา่ งรุนแรง ทาให้คนไทยส่วนมากหรืออาจจะเป็นทุกบา้ นที่ศึกษาแนวทางการป้องกันเชื่อ
โรคโควิด-19น้นั แต่ก็ไม่สามารถที่จะป้องกนั ได้ 100% ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่มีการหันมาทานอาหาร
หรือผกั ตา้ นโควดิ -19 ซ่ึงกจ็ ะมีฟ้าทะลายโจร ตะไคร้ หรือผกั อ่ืนๆ ท่ีมีผลตา้ นโควิด-19 ทาใหพ้ ชื ผกั ขาดตลาด
และมีราคาแพงมากข้นึ

ตะไคร้ ฟ้าทะลายโจร เป็นพืชผกั ท่ีมีผลตา้ นโควิด-19 เน่ืองจากตะไคร้ มีสรรพคุณคือ มีวิตามินอี บี
ซี สูงช่วย เเก้เหวดั ปวดศีรษะ ขบั เหง่ือได้ดี และมีแร่ธาตุสูง และฟ้าทะลายโจร มีสรรพคุณ คือ บรรเทา
อาการไขห้ วดั ไอ เจบ็ คอ เเกอ้ าการปวดหวั ตวั ร้อน มีฤทธ์ิขบั เสมหะ ช่วยขบั น้าลาย ทาใหช้ ุ่มคอ ช่วยฆ่าเช้ือ
เเบคทีเรียที่นามาซ่ึงปัญหาระบบทางเดินหายใจ

พวกเราจึงเล็งเห็นท่ีจะปลูกพืชสองชนิดน้ี และยงั เป็นการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ใชใ้ นการดาเนินชีวิตเป็นทางออกใหพ้ น้ วิกฤติได้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การสร้างความมน่ั คงทางอาหารให้กบั
ตนเอง และผอู้ ื่นโดยการแจกจ่าย ฟ้าทะลายโจรและตะไคร้ ใหก้ บั ผทู้ ี่ไมม่ ี และมีความตอ้ งการพืชสองชนิดน้ี
เพราะเป็นประโยชนใ์ นการทานเพอื่ รักษาหรือตา้ นโรคโควิด -19 ได้

วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินโครงการ

1. เพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิตของตนใหม้ ีความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน ในช่วงสถานการณ์โควดิ -19

2. เพื่อสร้างความมนั่ คงทางอาหาร
3. เพ่อื ใหร้ ู้จกั การแบง่ ปันใหแ้ ก่ผอู้ ่ืนทีมีความตอ้ งการ

ขอบเขตของโครงการ

โครงการจะเร่ิมดาเนินงาน วนั ที่ 1 กนั ยายน 2564 – 25 พฤศจิกายน 2564

นยิ ามศัพท์

การวจิ ยั คร้ังน้ีใชค้ าศพั ทต์ า่ งๆ ในความหมายดงั น้ี

2

ภมู ิคุม้ กนั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ที่จะเกิดข้ึน
โดยคานึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีคาดวา่ จะ เกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

ตะไคร้ ตะไคร้เป็ นพืชลม้ ลุก อายุหลายปี สูงประมาณ 1 เมตร ลาตน้ ต้งั ตรงมีขอ้ และ ปลอ้ งส้ัน
ค่อนขา้ งแข็ง มีใบเรียงซ้อนสลบั กนั แน่นมาก กาบใบสีขาวนวลหรือม่วงอ่อนแผ่เป็นกาบ เป็นแผน่ ยาวโอบ
ซ้อนกนั จนดูแขง็ ใบเป็นใบเดี่ยว รูปเรียวยาว ปลายใบเรียวแหลม กวา้ ง 1-2 ซ.ม.ยาว 70-120 ซ.ม.ผิวใบสาก
มือท้งั สองดา้ น ขอบใบมีขนข้ึนอยู่เล็กนอ้ ย ขยายพนั ธุ์โดยการแตกหน่อ ช่วยในการขบั ลม ขบั เหง่ือ ทาให้
กลา้ มเน้ือคลายตวั แกอ้ าเจียน แกอ้ าการปวดกระดูก แกต้ าลาย หนา้ มืด ป้องกนั โรคไต โรคนิ่ว อาการทอ้ งอืด
เบาหวาน ลดคอเลสเตอรอล ลดความดนั

ฟ้าทะลายโจร ไมล้ ม้ ลุก ลาตน้ ต้งั ตรง สูงประมาณ 30 – 60 เซนติเมตร ส่วนตรงปลายกิ่งเป็นเหล่ียม
แตกกิ่งเลก็ ดา้ นขา้ งจานวนมากลกั ษณะเป็นพุ่ม ก่ิงกา้ นมีสีเขียว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงขา้ มกนั ลกั ษณะ
ใบรูปไข่รียาว แคบโคนใบ และปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผน่ ใบเรียบเกล้ียงมีสีเขียว ดอก ออกดอกเป็น
ช่อ ตามซอกใบและปลายก่ิง ดอกมีขนาดเล็ก สีขาว ผล คลา้ ยฝักตอ้ ยต่ิงแต่ผอมและมีขนาดเลก็ เม่ือฝักแก่จะ
แตกออกเป็น 2 ซีกอยบู่ นตน้ ใชบ้ รรเทาอาการไขห้ วดั แกไ้ อและเจ็บคอ

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ

ไดพ้ ฒั นาคุณภาพชีวิตความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน ไดม้ ีการพฒั นาตนเอง มีความมนั่ คงดา้ นอาหาร รู้จกั คุณค่าของ
การลงมือทาและไดผ้ ลผลิตตามตอ้ งการและปลอดภยั

เป้าหมายของโครงการ

ไดพ้ ฒั นาคณุ ภาพชีวิตความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน ในช่วงสถานการณ์โควิด -19 มีความมน่ั คงทางอาหาร ได้
พฒั นาตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ท่ีไดร้ ับ ตอ่ ตนเอง คนในครอบครัวและชาวบา้ น เพือ่ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ต่อไป

ด้านปริมาณ ในการทาโครงการคร้ังน้ี ไดใ้ ชต้ น้ กลา้ ฟ้าทะลายโจร 20 ตน้ และ ตะไคร้ 20 ตน้

ด้านคณุ ภาพ การปลูกพืชท้งั 2ชนิดน้ีใหไ้ ดต้ ามท่ีตอ้ งการและแจกจ่ายใหแ้ ก่เพอ่ื นบา้ นหรือบุคคลอ่ืน
ท่ีตอ้ งการ

งบประมาณ

งบประมาณโดยรวม 150 บาท มีดงั น้ี

1. ถุงดิน (ขนาด 4*8) 1กก. 30 บาท

3

2. ดิน กระสอบละ 40 บาท 3 กระสอบ 120บาท
ปัจจัยในการดาเนินโครงการ

วัสดุอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ จอบ , มูลสตั ว์ , ดิน , เสียม , พลวั่ , ตน้ กลา้ ฟ้าทะลายโจร และ ตน้ กลา้ ตะไคร้
บคุ คลทรี่ ่วมดาเนินโครงการ ไดแ้ ก่

- นางสาววภิ าวดี ไวฤทธ์ิ
- นางสาวสโรชา หีบแกว้
- นางสาวปภาวี ศรีโมรา
เอกสาร แหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ google และงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง
อาคารสถานที่ บา้ นของสมาชิกในกลุ่ม ไดแ้ ก่
- ตาบลบา้ นสอ้ ง อาเภอเวยี งสระ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
- ตาบลวงั หิน อาเภอบางขนั จงั หวดั นครศรีธรรมราช
- ตาบลกเุ เหระ อาเภอทุง่ ใหญ่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
กจิ กรรมในการดาเนนิ งานโครงการ
กิจกรรม การแจกจ่ายฟ้าทะลายโจรและตะไคร้ใหก้ บั ประชาชนที่มีตอ้ งการ
รายละเอียดกิจกรรมการดาเนินโครงการ
1. กิจกรรม การแจกจ่ายฟ้าทะลายโจรและตะไคร้ใหก้ บั ประชาชนท่ีมีความตอ้ งการ
1.1 วตั ถุประสงค์
1.1.1 เพ่ือเพือ่ ใหร้ ู้จกั การแบง่ ปันใหแ้ ก่ผอู้ ่ืน
1.1.2 เพ่อื สร้างความมนั่ คงทางอาหาร
1.2 การดาเนินโครงการ
1.2.1 การนาตน้ กลา้ มาเพาะในถงุ ดา
1.2.2 มีการดูแล รดน้า ทกุ วนั ทกุ เวลา เชา้ - เยน็

4

1.2.3 คอยสงั เกตตน้ กลา้ อยา่ งสม่าเสมอ

1.2.4 เม่ือต้นกล้าโตเต็มที่ ก็สามารถนาไปแจกให้กับประชาชนท่ีมีความต้องการ เพ่ือให้
ประชาชนไดม้ ีการปลูกพชื ท้งั 2 ไวท้ ี่บา้ นของตนเอง

1.3 เครื่องมือในการประเมินผล

1.3.1 แบบสอบถาม

1.3.2 แบบสมั ภาษณ์

1.4 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ

1.4.1 ไดพ้ ฒั นาคณุ ภาพชีวติ ความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน

1.4.2 ไดม้ ีการพฒั นาตนเอง การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์

1.4.3 มีความมน่ั คงทางดา้ นอาหาร

1.4.4 การรู้จกั แบง่ ปันผอู้ ื่น

โดยมีปฏิทินปฏิบตั ิงานตามโครงการดงั น้ี

ระยะเวลา กิจกรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ

1 กนั ยายน – 4 กนั ยายน เริ่มปลูกนาตน้ กลา้ ลงดิน สมาชิกในกลมุ่

5 กนั ยายน – 20 พฤศจิกายน หมั่นรดน้ าทุกวันและมีการจด สมาชิกในกลมุ่
บันทึกการเปล่ียนแปลงหรื อ
ถ่ายภาพไว้

ตรวจเช็คว่าพืชพกั เติบโตเต็มท่ี
21 พฤศจิกายน – 25 พฤศจิกายน หรือไม่ พร้อมแจกจ่ายหรือไม่ สมาชิกในกล่มุ

ตารางที่ 1.1 ตารางปฏิทินงานตามโครงการ

5

ข้นั ตอน / วธิ ีการดาเนิน (ตามกระบวนการ PDCA)

ข้นั ตอน รายละเอยี ดกจิ กรรม

P = Plan ระยะท่ี 1 ( ตุลาคม 2564)
การวางแผน - สมาชิกในกลุม่ มีการประชุมวางแผน
- มีการคิดริเร่ิมที่จะปลกู ผกั ชนิดใด
D = Do - สมาชิกในกลมุ่ มีการศึกษาการปลกู ผกั แตล่ ะชนิด
การปฏิบตั ิ - มีการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ และ กลมุ่ เป้าหมาย
ระยะที่ 2 ( ตลุ าคม -พฤศจิกายน 2564)
C = Check - สมาชิกในกลุ่มมีการจดั หาพ้นื ท่ีในการเพาะปลกู
การตรวจสอบ - ลงมือปลูกตะไคร้และฟ้าทะลายโจร มีการรดน้าอยา่ งสม่าเสมอ
- จดั ทาเอกสารโครงการ
A = Action ระยะที่ 3 ( พฤศจิกายน 2564 )
การปรับปรุงพฒั นา - สมาชิกในกลุ่มมีการสงั เกตและจดบนั ทึกหรือถา่ ยภาพการเจริญเติบโต
- สมาชิกในกลุ่มมีการตรวจสอบข้นั ตอนการดาเนินงานแต่ละข้นั ตอน วา่ มี
จุดบกพร่องหรือไม่ แลว้ ดาเนินการแกไ้ ข
ระยะท่ี 4 ( พฤศจิกายน 2564 )
- พฒั นาต่อยอดการปลกู พืชผกั
- ขยายพ้นื ท่ีในการเพาะปลกู ใหม้ ีมากข้นึ
- แจกจ่ายพืชผกั ใหแ้ ก่บคุ คลท่ีมีความตอ้ งการ
- ส่งตอ่ ความรู้เก่ียวกบั การเพาะปลูกพชื ผกั ใหแ้ ก่บุคคลที่ตอ้ งการ

ตารางท่ี 1.2 ข้นั ตอนตามกระบวนการ PDCA

6

บทที่ 2

เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎที ีเ่ กย่ี วข้อง

แนวคดิ การประเมินโครงการ

หลกั การแนวคิด และทฤษฎีที่เก่ียวกบั การประเมินโครงการ

1. แนวคดิ ดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์

2. ทฤษฎีมาสโลว์ ลาดบั ข้นั ความตอ้ งการ
3. หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง

4. ทฤษฎีการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื
5. แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวกบั การพฒั นาตนเอง

6. หลกั การแนวคิดเก่ียวกบั การประเมินผลโครงการ

7. วงจรบริหารงานคณุ ภาพ PDCA

8. การประเมินตามแบบซิปโมเดล (CIPP Model)

แนวคิดด้านมนุษยสัมพนั ธ์

มนุษยสัมพนั ธ์เป็ นสิ่งสาคญั ต่อการอยู่ร่วมกนั ของทุกสังคม มนุษยสัมพนั ธ์น้นั เป็ นท้งั ศาสตร์และ
ศิลป์ ท่ีช่วยให้มนุษย์อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข ถึงแม้ว่ามนุษยสัมพนั ธ์น้ันจะเกิดข้ึนมาบนโลกน้ีโดย
ธรรมชาติพร้อมกบั การกาเนิดของมนุษย์ แต่ศาสตร์แห่งมนุษยสัมพนั ธ์ที่มีการศึกษาและเรียนรู้อยา่ งจริงจงั
น้ันก็เพิ่งเกิดข้ึนเมื่อไม่ก่ีร้อยปี มาน้ีน่ีเอง ปัจจุบนั แนวคิดดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์เกิดข้ึนมากมายบนโลกต้งั แต่
แนวคิดด้งั เดิมมาจนถึงแนวคิดสมยั ใหม่ แนวคิดดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์ (เฉลิมชยั ไวยชิตา,2018)

แนวคิดของ Robert Owen น้ีคือผูท้ ่ีมีบทบาทสาคญั ในการปรับปรุงการทางานที่เก่ียวขอ้ งกับมนุย
สัมพนั ธ์อยา่ งเป็นจริงเป็นจงั เป็นคนแรกๆ ของโลกเลยก็วา่ ได้ จนไดร้ ับการยกย่องว่าเป็ นปฐมบิดาแห่งการ
ปรับปรุงสิ่งแวดลอ้ มทางอุตสาหกรรมเลยทีเดียว ซ่ึงเขาเองเป็ นเจา้ ของโรงงานส่ิงทอขนาดใหญ่ท่ีต้งั อยู่ที่
เมือง New Lanark ในสก็อตแลนด์ โดยเมื่อราวปี ค.ศ.1800 เขาไดเ้ ริ่มใหค้ วามสาคญั กบั แรงงาน และนบั เป็น
นายจา้ งคนแรกๆ ท่ียอมรับฟังความคิดเห็นตลอดจนความตอ้ งการในดา้ นมนุษยธรรมของลูกจา้ ง รวมไปถึง
ปรับปรุงสิ่งแวดลอ้ มที่ดีในการทางานใหด้ ีข้นึ และการดูแลสวดั ิภาพของแรงงาน เป็นตน้ ถึงแมว้ า่ การกระทา

7

ของ Robert Owen จะไม่ได้เป็ นการมุ่งสร้างมนุษยสัมพนั ธ์โดยตรงนัก แต่เขาก็ไดร้ ับการยกย่องว่าเป็ นผู้
บุกเบิกในดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์ในองคก์ รเป็ นคนแรกๆ ของโลกเลยก็ว่าได้ ท้งั บางทีก็ยงั ไดร้ ับยกย่องว่าเป็น
บิดาแห่งการบริหารงานบุคคลเลยทีเดียว ซ่ึงนี่ถือเป็นหลกั ฐานของศาสตร์ดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์น้ีที่เกิดข้ึนใน
ยคุ แรกๆ ของโลก

แนวความคิดของ Elton Mayo หากพูดถึงแนวความคิดดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์จะไม่พูดถึง Elton Mayo
เลยไม่ได้ เพราะเขาคนน้ีไดร้ ับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งการจดั การแบบมนุษยสัมพนั ธ์” ท่ีทวั่ โลกรู้จกั กนั
เป็ นอย่างดีทีเดียว ผลงานท่ีโดดเด่นของเขาน้ันก็คือการทางานกบั คณะวิจยั พนกั งานท่ีโรงงาน Hawthorne
Plant ของบริษทั Western Electric ในชิคาโก รัฐอิลินอยด์ สหรัฐอเมริกา ช่วงปี ค.ศ.1927-1932 ซ่ึงเนน้ ไปท่ี
การวิจยั 3 เร่ืองใหญ่ไดแ้ ก้ ศึกษาสภาพหอ้ งทางาน (Room Studies), การสัมภาษณ์ (Interview Studies) และ
การสังเกตการณ์ (Observation Studies) จนเกิดเป็นกรณีศึกษาสาคญั อย่าง Hawthorne Effect ที่เป็นตน้ แบบ
การศึกษาเร่ือง Employee Motivation หรือ Theory of Motivation นั่นเอง รวมถึงการเป็ นตน้ แนวคิดท่ีว่า
มนุษยไ์ ม่ใช่เคร่ืองจกั ร และนี่คอื ตวั แปรใหร้ ะบบอุตสาหกรรมเกิดประสิทธิภาพไดม้ ากนอ้ ยเพยี งไรนน่ั เอง

ทฤษฎมี าสโลว์ ลาดบั ข้นั ความต้องการ

ทฤษฎีมาสโลว์ หรือ ลาดบั ข้นั ความตอ้ งการ (Maslow’s Hierarchy of Needs) เป็นทฤษฎีจิตวิทยาที่
อบั ราฮัม เอช. มาสโลว์ คิดข้ึนเมื่อปี ค.ศ. 1943 ในเอกสารชื่อ “A Theory of Human Motivation” Maslow
ระบุวา่ มนุษยม์ ีความตอ้ งการท้งั หมด 5 ข้นั ดว้ ยกนั ความตอ้ งการท้งั 5 ข้นั มีเรียงลาดบั จากข้นั ต่าสุดไปหา
สูงสุด มนุษยจ์ ะมีความตอ้ งการในข้นั ต่าสุดก่อน เมื่อไดร้ ับการตอบสนองจนพอใจแลว้ กจ็ ะเกิดความตอ้ งการ
ข้นั สูงต่อไป ความตอ้ งการของบุคคลจะเกิดข้นึ 5 ข้นั เป็นลาดบั (Thanatporn,2021)

1. ความตอ้ งการพ้ืนฐานทางดา้ นร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความตอ้ งการลาดบั ต่าสุดและ
เป็นพ้ืนฐานของชีวิต ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการเพ่ือตอบสนองความหิว ความกระหาย ความตอ้ งการเพ่ือความอยู่
รอดของชีวิต เรียกง่ายๆ ก็คือ ปัจจยั ส่ี อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค ที่พกั อาศยั รวมถึงส่ิงที่ทาให้การ
ดารงชีวิตสะดวกสบาย นนั่ เอง

ในข้นั น้ีสิ่งที่ลูกคา้ ตอ้ งการ หนีไม่พน้ สินคา้ และบริการ อุปโภค บริโภค ทวั่ ไปๆ เช่น ร้านอาหาร
ร้านขายยา บา้ น รถยนต์ มือถือ

2. ความตอ้ งการความมน่ั คงปลอดภยั (Safety Needs) เป็นความตอ้ งการที่จะเกิดข้ึนหลงั จากที่ความ
ตอ้ งการทางร่างกายไดร้ ับการตอบสนองจนเป็ นท่ีพอใจแลว้ ความตอ้ งการข้นั น้ีถึงจะเกิดข้ึน ไดแ้ ก่ ความ
ตอ้ งการความปลอดภยั มีท่ียดึ เหน่ียวทางจิตใจ ปราศจากความกลวั การสูญเสียและภยั อนั ตราย เช่น สภาพ

8

สิ่งแวดลอ้ มบา้ นปลอดภยั การมีงานท่ีมนั่ คง การมีเงินเก็บออม ความตอ้ งการความมนั่ คงปลอดภยั รวมถึง
ความมน่ั คงปลอดภยั ส่วนบุคคล สุขภาพและความเป็นอยู่ ระบบรับประกนั -ช่วยเหลือ ในกรณีของอบุ ตั ิเหตุ/
ความเจ็บป่ วย

ในข้นั น้ีสิ่งท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ ก็คือ สินคา้ และบริการที่ตอบโจทยใ์ นดา้ นการสร้างความปลอดภยั ใน
ชีวิตและทรัพยส์ ิน เช่น กลอ้ งวงจรปิ ด การลงทุน การออม การทาประกนั ชีวิต หรือ การยา้ ยบา้ นที่อยู่อาศยั
ปรับเปล่ียนสิ่งแวดลอ้ มท่ีมีการดูแลรักษาความปลอดภยั เป็นอยา่ งดี

3. ความตอ้ งการความรักและสังคม (Belonging and Love Needs) เมื่อมีความปลอดภยั ในชีวิตและ
มน่ั คงในการงานแลว้ คนเราจะตอ้ งการความรัก ความสัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ่ืน มีความตอ้ งการเป็ นเจา้ ของและมี
เจา้ ของ ความรักในรูปแบบต่างกนั เช่น ความรักระหว่าง คู่รัก พ่อ แม่ ลูก เพื่อน สามี ภรรยา ไดร้ ับการ
ยอมรับเป็นสมาชิกในกลมุ่ ใดกลุม่ หน่ึงหรือหลายกลมุ่

ในข้นั น้ีส่ิงท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ ก็คือ สินคา้ และบริการท่ีสามารถตอบสนองอารมณ์ ความรู้สึก ของเขา
ได้ เช่น บริการจดั หาคู่ บริการจดั งานแต่งงาน บริการทวั ร์ท่องเที่ยว หรือหากเป็นสินคา้ ตวั อยา่ งง่ายๆท่ีทาให้
เห็นภาพชดั เจน เช่น ความตอ้ งการเป็ นเจา้ ของรถยนต์ BENZ BMW เพื่อให้เพื่อนหรือคนรอบขา้ ง ชื่นชม
ยอมรับ เป็นสมาชิกในกลุ่ม

4. ความตอ้ งการการไดร้ ับการยกย่องนบั ถือในตนเอง (Esteem Needs) เมื่อความตอ้ งการความรัก
และการยอมรับได้รับการตอบสนองแลว้ คนเราจะตอ้ งการสร้างสถานภาพของตวั เองให้สูงข้ึน เด่นข้ึน มี
ความภูมิใจและสร้างความนบั ถือตนเอง ชื่นชมในความสาเร็จของงานท่ีทา ความรู้สึกมนั่ ใจในตนเองและมี
เกียรติ ความตอ้ งการเหล่าน้ี เช่น ยศ ตาแหน่ง ระดบั เงินเดือนที่สูง งานที่ทา้ ทาย ไดร้ ับการยกยอ่ งจากผอู้ ื่น มี
ส่วนร่วมในการตดั สินใจในงาน โอกาสแห่งความกา้ วหนา้ ในงานอาชีพ ฯลฯ

ในข้ันน้ีส่ิงที่ลูกค้าต้องการ ก็คือ สินค้าและบริการที่ส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเอง เช่น
อสังหาริมทรัพย์ เคร่ืองเพชรราคาแพง บริการระดบั พรีเมี่ยม เครื่องบินส่วนตวั โรงแรม 5 ดาว

5. ความตอ้ งการพฒั นาศกั ยภาพของตน (Self-actualization) เป็นความตอ้ งการข้นั สูงสุดของมนุษย์
และความตอ้ งการน้ียากต่อการบอกไดว้ ่าคอื อะไร เราเพียงสามารถกล่าวไดว้ ่า ความตอ้ งการพฒั นาศกั ยภาพ
ของตนเป็ นความตอ้ งการที่มนุษยต์ อ้ งการจะเป็ น ตอ้ งการที่จะไดร้ ับผลสาเร็จในเป้าหมายชีวิตของตนเอง
และตอ้ งการความสมบูรณ์ของชีวติ (ธนทั พร สุทธิสารนีย์ ,2564)

สินคา้ และบริการท่ีตอบโจทยค์ นในข้นั น้ีอาจมองหาไดย้ าก เพราะความตอ้ งการสูงสุดของคนกลุ่มน้ี
จะมาจากแรงบนั ดาลใจ หรือ Passion ดา้ นจิตใจท่ีตอ้ งการมากกวา่ ดา้ นวตั ถทุ ่ีจบั ตอ้ งได้

9

การนาทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ (Maslow’s Hierarchy of Needs) ลาดับข้ันของมาสโลว์มาใช้ใน
การตลาด หรือการทาธุรกิจ สามารถช่วยให้คุณเขา้ ใจแรงจูงใจ และความตอ้ งการของลูกคา้ เมื่อคุณทราบ
แลว้ ว่าสินคา้ หรือบริการของคุณสามารถตอบโจทยค์ วามตอ้ งการดา้ นไหน คุณสามารถสร้างกลยุทธ์และ
วธิ ีการขายสินคา้ และบริการของคุณไดใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการในดา้ นต่างๆของลูกคา้ ของคุณ การขาย
สินคา้ ก็จะไม่ใช่เร่ืองยากอีกตอ่ ไป

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัส
แก่ชาวไทยนบั ต้งั แต่ พ.ศ. 2517 เป็นตน้ มา และถูกพดู ถึงอยา่ งชดั เจนในวนั ท่ี 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 เพ่ือเป็น
แนวทางการแกไ้ ขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ใหส้ ามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คงและยง่ั ยนื ใน
กระแสโลกาภิวตั น์และความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ( มลู นิธิชยั พฒั นา,2017)

นกั วิชาการไทยหลายคนร่วมแสดงความคิดเห็น อยา่ งเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี , ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.
อภิชยั พนั ธเสน, และศ.ฉตั รทิพย์ นาถสุภา เชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ กบั วฒั นธรรมชุมชน ดา้ น
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไดเ้ ชิญผูท้ รงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและ
สาขาอื่น ๆ มาร่วมกนั ประมวลเพอ่ื บรรจุในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 9

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ีไดร้ ับการเชิดชูจากองคก์ ารสหประชาชาติ วา่ เป็นปรัชญาท่ีมีประโยชน์
ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนบั สนุนให้ประเทศสมาชิกยดึ เป็นแนวทางสู่การพฒั นาแบบยงั่ ยนื
โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นดว้ ยกบั แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกนั
บางส่ือต้งั คาถามถึงการยกยอ่ งขององคก์ ารสหประชาชาติ รวมท้งั ความน่าเช่ือถือของรายงานศึกษาและท่าที
ขององคก์ าร

องคป์ ระกอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ยคุณลกั ษณะ 3 ประการ และเงื่อนไข 2 ประการ หรือท่ีเรียกวา่ 3 ห่วง
2 เง่ือนไข คอื

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจาเป็ น และเหมาะสมกบั ฐานะของตนเอง สังคม
สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั วฒั นธรรมในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน ไม่มากเกินไป ไม่นอ้ ยเกินไป และตอ้ งไม่เบียดเบียนตนเอง
และผอู้ ่ืน

10

ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจดาเนินการเร่ืองต่าง ๆ อยา่ งมีเหตุผลตามหลกั วิชาการ หลกั
กฎหมาย หลกั ศีลธรรมจริยธรรม และวฒั นธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจน
คานึงถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบรู้และรอบคอบ

ระบบภูมิคมุ้ กนั ในตวั ที่ดี หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงใน
ดา้ นต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม เพอื่ ใหส้ ามารถปรับตวั และรับมือ
ไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที

เง่ือนไขสาคญั ที่จะทาใหก้ ารตดั สินใจ และการกระทาเป็นไปพอเพยี ง จะตอ้ งอาศยั ท้งั คุณธรรมและ
ความรู้ ดงั น้ี

เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งสร้างเสริมใหเ้ ป็ นพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบดว้ ย ดา้ นจิตใจ
คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชวั่ ดี ซ่ือสัตยส์ ุจริต ใชส้ ติปัญญาอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมในการ
ดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คือมีความขยนั หมนั่ เพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหน้ี รู้จกั แบ่งปัน และ
รับผดิ ชอบในการอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คม

เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ยการฝึกตนใหม้ ีความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบ
ดา้ น มีความรอบคอบ และความระมดั ระวงั ที่จะนาความรู้ต่าง ๆ เหล่าน้นั มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกนั เพ่ือ
ประกอบการวางแผน และในข้นั ปฏิบตั ิ

การนาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ ตอ้ งคานึงถึง 4 มิติ ดงั น้ี

ดา้ นเศรษฐกิจ

ลดรายจ่าย / เพ่ิมรายได้ / ใชช้ ีวิตอย่างพอควร / คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมิคุม้ กนั / ไม่
เส่ียงเกินไป / การเผื่อทางเลือกสารอง

ดา้ นสังคม

ช่วยเหลือเก้ือกูล / รู้รักสามคั คี / สร้างความเขม้ แขง็ ใหค้ รอบครัวและชุมชน

ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

รู้จกั ใชแ้ ละจดั การอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรู้ค่าและเกิดประโยชน์
สูงสุด / ฟ้ื นฟูทรัพยากรเพ่ือใหเ้ กิดความยงั่ ยนื สูงสุด

11

ดา้ นวฒั นธรรม

รักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลกั ษณ์ไทย / เห็นประโยชนแ์ ละคมุ้ ค่าของภมู ิปัญญาไทย ภมู ิ
ปัญญาทอ้ งถ่ิน / รู้จกั แยกแยะและเลือกรับวฒั นธรรมอ่ืน ๆ

ทฤษฎีการพฒั นาอย่างย่ังยืน

ปรัชญาและอดุ มการณ์ในการพฒั นาจะตอ้ งอยใู่ นพ้ืนฐานหลกั การที่เรียกวา่ “ ความยตุ ิธรรมระหว่าง
คน 2 ยุค “ หรือแนวคิดของ การพฒั นาท่ียง่ั ยืน มุมมองของมนุษยจ์ ะตอ้ งปรับเปลี่ยน ให้เปิ ดกวา้ งยอมรับ
ความจริงถึงผลกระทบทางส่ิงแวดลอ้ ม ท่ีจะติดตามมาจาก การกระทา ของตน มนุษยจ์ ะตอ้ งประสานแนวคิด
ทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ จริยศาสตร์ เขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือสร้างเป็นขอ้ กาหนด ทวั่ ไปข้ึน
โดยเริ่มตน้ จากการปูพ้ืนฐานความรู้ทางดา้ นนิเวศวิทยา และระบบนิเวศสร้างความ เขา้ ใจถึงปฏิสัมพนั ธ์ใน
ระหวา่ งส่ิงมีชีวิตดว้ ยกนั เอง และปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ ต่อจากน้นั จึงช้ีใหเ้ ห็นถึง หลกั การ
ถา่ ยทอดพลงั งาน โดยการกินต่อกนั เป็นทอดๆ และวฏั จกั รของสสาร ซ่ึงเป็นกระบวนการสาคญั ในการทาให้
สสาร และพลงั งาน สามารถหมุนเวียน ในระบบนิเวศ ก็จาเป็นจะตอ้ งสร้างให้เกิดเป็นความคิดรวบยอดข้ึน
ในระบบความคิดพร้อมจะนาไปเช่ือมโยงกับ ประสบการณ์ต่างๆ เพื่อให้การดาเนินการพฒั นาที่ยง่ั ยืน
ประสบผลสาเร็จความหมายของ การพฒั นาที่ยง่ั ยนื โดยทวั่ ไปหมายถึง การพฒั นาเพ่ือบรรลถุ ึงความตอ้ งการ
ของมนุษยชาติในปัจจุบนั (โดยเฉพาะคนยากจน) ขณะเดียวกนั ก็ จะตอ้ งไม่เป็นลดทอน หรือเบียดบงั โอกาศ
ท่ีจะบรรลุความตอ้ งการพ้ืนฐานของมนุษยใ์ นรุ่นต่อ ๆ ไปดว้ ย

ความจาเป็นในการพฒั นาพลงั งานท่ียง่ั ยนื

1. ในฐานะที่เป็ นประเทศท่ีมีพ้ืนฐานดา้ นเกษตรกรรม ประเทศไทยเคยมีอตั ราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจท่ีสูงมาก ซ่ึงมีความเก่ียวขอ้ งท้งั ทางตรงและทางออ้ มกบั ปัญหาความตอ้ งการพลงั งาน และเป็ น
สาเหตขุ องการทาลายสภาพแวดลอ้ ม ในขณะท่ีรูปแบบการบริโภคพลงั งานของคนไทยในปัจจุบนั กน็ าไปสู่
ความไม่ยง่ั ยนื จะเห็นไดจ้ ากในภาคอีสาน การเพิ่มข้ึนของความตอ้ งการพลงั งานนามาซ่ึงปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
และความขดั แยง้ ทางสงั คมที่รุนแรง เช่น การต่อตา้ นโครการเข่ือนปากมูล ในจงั หวดั อุบลราชธานี เนื่องจาก
ผลกระทบของโครงการทาให้จานวน และพนั ธ์ปลาในแมน่ ้ามูลซ่ึงทาใหแ้ หลง่ อาหารท่ีสาคญั มากของคนใน
ภาคอีสานใตล้ ดต่าลงอยา่ งมาก

2. แมว้ ่าจะมีการประสบการณ์ที่เป็ นปัญหาในหลายด้าน ภาคอีสานยงั คงอยู่ในสถานะที่มีความ
เป็ นไปไดใ้ นการพฒั นาระบบพลงั งานและรูปแบบการใช้พลงั งานอย่างยงั่ ยืน ซ่ึงคานึงถึงวฒั นธรรม และ
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ฟื นพบไดใ้ นหมู่บา้ นต่าง ๆ ทวั่ ภาคอีสาน และพลงั งานทดแทนอ่ืน ๆ ควรจะ

12

ไดร้ ับการพิจารณาและศึกษาอย่างจริงจงั หากสามารถพฒั นาระบการจดั การให้มีประสิทธิภาพแลว้ แหล่ง
พลงั งานทดแทนจะเป็นแนวทางสาคญั สาหรับความยง่ั ยนื ในภาคอีสาน

แนวคิดและการปฏิบตั ิของการพฒั นาพลงั งานอยา่ งยงั่ ยนื

การพฒั นาพลงั งานท่ียง่ั ยืนประกอบด้วยหลกั 3 ดา้ น คือ เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม และสังคม โดย
สามารถสรุปไดด้ งั น้ี

ในแง่มุมทางเศรษฐกิจ การพฒั นาพลงั งานยง่ั ยนื หมายถึง การสร้างผลประโยชน์จากพลงั งานใหมาก
ท่ีสุดโดยจะตอ้ งรักษาทนุ ของสงั คมไว้ (ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย)์ ในแงม่ ุมดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
การพฒั นาท่ียง่ั ยนื จะเนน้ การรักษาเสถียรภาพของระบบนิเวศน์ท้งั ทางชีวภาพ และกายภาพ จากการผลิตและ
การใชพ้ ลงั งาน และในแง่มมุ ดา้ นสังคม การพฒั นาท่ียงั่ ยนื จะตอ้ งรักษาความมนั่ คงของสังคมและวฒั นธรรม
รวมท้งั การลดความขดั แยง้ ในสังคมท่ีมีสาเหตุมาจาก การผลิตและการใช้พลงั งาน โดยสรุปแผนพฒั นา
พลงั งานยง่ั ยืนจะครอบคลุมหัวขอ้ ท้งั สาม โดยเน้นการสร้างผลประโยชน์จากพลงั งานที่มากที่สุด โดยคง
ระดบั ทรัพยากรที่มีอยู่ และก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มสังคมและวฒั นธรรมนอ้ ยท่ีสุด

นอกจากน้ี ภายใตแ้ นวคิดท้งั สามประการของพลงั งานยง่ั ยนื ควรจะพิจารณามุมมองหา้ ประการน้ีดว้ ย
ไดแ้ ก่

1) การพฒั นาพลงั งานยง่ั ยืน ควรอยู่บนพ้ืนฐานของการใช้เทคโนโลยี และระบบการจดั การท่ีมี
ประสิทธิภาพมากที่สุด ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดผลประโยชนแ์ ก่สังคมมากท่ีสุด

2)การพฒั นายง่ั ยนื ควรอยบู่ นพ้นื ฐานของการใชพั ลงั งานทดแทนจากแหลง่ ทรัพยากรภายในประเทศ
ซ่ึงสามารถมน่ั ใจในแหล่งทรัพยากรและส่งผมให้เกิดการบารุงรักษาแหล่งทรัพยากรอีกดว้ ย นอกจากน้ี
โดยทว่ั ไปแลว้ การใชพ้ ลงั งานทดแทนทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มนอ้ ยกวา่

3)การผลิตและการใชพ้ ลงั งาน ซ่ึงครอบคลุมถึงเทคโนโลยีและระบบการจดั การ จะตอ้ งไม่ทาลาย
ระบบนิเวศน์ สังคมและวฒั นธรรม

4)ถา้ ในอนาคตไม่สามารถหลีกเล่ียงผมกระทบเหล่าน้ีได้ ผูท้ ี่ก่อมลพิษก็ตอ้ งเป็ นผูจ้ ่ายเงินเนื่องจาก
ตนเองไดร้ ับผลประโยชน์ โดยใชห้ ลกั การผกู้ ่อมลพษิ ตอ้ งเป็นผจู้ ่าย

มุมมองท้งั 4 ขอ้ น้ี จะชลอหรือแมก้ ระทง่ั สามารถลดอตั ราการเจริญเติบโตของการผลิตพลงั งาน การ
เปลี่ยนรูปพลงั งาน เทคโนโลยีของการใช้พลงั งาน และการลงมือปฏิบตั ิที่ไม่พึงปรารถนา ย่ิงไปกว่าน้ัน
กระบวนการจ่ายค่าชดเชยจากผูท้ ่ีไดร้ ับประโยชน์ไปสู่ประชาชน ครัวเรือน ชุมชนหรือระบบนิเวศน์ ซ่ึง

13

ไดร้ ับผลกระทบจากการผลิตและการใชพ้ ลงั งาน จะช่วยลดผลกระทบที่เกิดข้ึนกบั บุคคลหรือกลุ่มบุคคล
เหล่าน้ี รวมถึงรักษาความเท่าเทียมกนั ในสงั คมไทยดว้ ย

5)การจดั ต้งั กลไกลเพื่อแกไ้ ขความขดั แยง้ ที่อยู่บนพ้ืนฐานของความเท่าเทียมกนั และเป็นท่ียอมรับของ
สังคม ซ่ึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งในการรักษาความมนั่ คงของสังคมและวฒั นธรรมในสถานการณ์ท่ีมีความ
ขดั แยง้ ที่มีสาเหตมุ าจากการผลิต การเปลี่ยนรูป และการบริโภคพลงั งาน

แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกย่ี วกบั การพฒั นาตนเอง

ความหมายของการพฒั นาตนเอง

ไพศาลไกรสิทธ์ิ (2541, หนา้ 20) ไดใ้ ห้ความหมายของคาว่าการพฒั นาตน หมายถึง การที่บุคคล
พยายามท่ีจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตน ด้วยตนเอง ให้ดีข้ึนกว่าเดิม เหมาะสมกว่าเดิม ทาให้สามารถดา
กิจกรรม แสดงพฤติกรรมเพ่ือสนองความตอ้ งการ แรงจูงใจหรือเป้าหมายที่ตนต้งั ไว้ การพฒั นาตนด้วย
ตนเอง ตามศักยภาพของตนให้ดีข้ึนท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อให้ตนเป็ นสมาชิกท่ีมี
ประสิทธิภาพของสงั คม เป็นประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่ืน ตลอดจนเพอ่ื การดารงชีวิตอยา่ งสันติสุขของตน

วิภาพร มาพบสุข (2543, หนา้ 113) ไดใ้ หค้ วามหมายของการพฒั นาตนเอง หมายถึง การท่ีบคุ คลแต่
ละคนใชค้ วามพยายามในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตนเองท้งั ในดา้ นสุขภาพร่างกาย ดา้ นอารมณ์และจิตใจ
ดา้ นความสามารถและสติปัญญา และดา้ นการมีมารยาทในสังคมของตนให้ดีข้ึน อนั จะนามาซ่ึงความผาสุก
และการสร้างมิตรภาพที่ดีใหเ้ กิดข้นึ ท้งั ในระดบั บุคคล ระดบั สงั คม และประเทศชาติ

สมใจลกั ษณะ (2548, หนา้ 81) ไดใ้ หค้ วามหมายของการพฒั นาตนเอง หมายถึงการเปลี่ยนแปลง
ปรับปรุง แกไ้ ข สร้างสรรค์ เกี่ยวกบั ตนเอง เพื่อน าไปสู่ความดี ความงามความเจริญในตนเอง โดยมีความมุ่ง
หมายสูงสุด คอื การมีชีวิตท่ีมีคุณภาพ มีความสาเร็จในการปฏิบตั ิหนา้ ที่การงาน และมีความสุข

เกศรารักชาติ (2554อา้ งถึงใน ทศพร พสี ะระ, 2554, หนา้ 9)ไดใ้ หค้ วามหมายของการพฒั นาตนเอง
(Self-devlopment) วา่ หมายถึง การพฒั นาตนเอง ลงมือท าดว้ ยตวั คณุ เอง โดยผา่ นกระบวนการการเรียนรู้
จากประสบการณ์ท่ีเราออกแบบท าข้ึนมาดว้ ยความจงใจ ต้งั ใจ และเตม็ ใจของเราเอง การพฒั นาตนเองของ
คณุ จะตอ้ งมาจากทศั นคติในตวั คุณ มาจากแรงปรารถนาในตวั คุณโดยตอ้ งสอดคลอ้ งกบั พฤติกรรม และการ
กระทาที่สื่อออกมาภายนอกดว้ ยการลงมือทาดว้ ยตวั คุณเอง หวั ใจการพฒั นาตนเองอยตู่ รงท่ีเราตอ้ งลงมือทา
เอง เรารับผิดชอบการพฒั นาดว้ ยตวั เราเอง

เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ (2544, หน้า 113อ้างถึงใน ชลิตา เทพวรสุข2552, หน้า 22) ได้ให้
ความหมายของการพฒั นาตนว่า หมายถึง การรับรู้และการยอมรับตนเอง รู้ว่าตวั เราแยกจากคนอื่น ๆ มี

14

คุณภาพ ความสามารถ ความรู้สึก ความคดิ การรู้ดงั กลา่ วเป็นผลมาจากกระบวนการเรียนรู้ต้งั แตว่ ยั เดก็ จนถึง
ปัจจุบนั การพฒั นาตนจะเกิดพร้อม ๆ กบั การประเมินตนเอง บุคคลจะรู้ว่าตนเป็ นใคร น่าสนใจเพียงใด
เฉลียวฉลาดเพยี งใด เหมือนใคร ท างานไดด้ ีเพยี งใด การตอบค าถามต่าง ๆ เก่ียวกบั ตนเองจะเป็นส่ิงก าหนด
ความนบั ถือตนเอง (Self esteem) หรือคุณคา่ ของบุคคลท่ีจะมีส่วนในการสร้างเอกลกั ษณ์ของบคุ คล

Ulschak (1983อา้ งถึงใน สริญญาแพทยพ์ ิทกั ษ์, 2553, หนา้ 21) ใหค้ วามหมายของ ความตอ้ งการใน
การพฒั นาว่าเป็ นเครื่องมืออย่างหน่ึงสาหรับตดั สินอย่างมีเหตุผลในการคน้ หาปัญหาและสภาพการณ์
เกี่ยวกบั บุคคลที่ตอ้ งการแกไ้ ขดว้ ยการพฒั นา

สมิต อาชวนิจกุล (2543อา้ งถึงใน รัชนีเกิดดี, 2554, หนา้ 5) ไดใ้ หค้ วามหมายของ การพฒั นาตนเอง
หมายถึง การพฒั นาตนเองดว้ ยตนเองหรือการสอนใจตนเองในการสร้างอปุ นิสัยท่ีดีเขา้ ทดแทนอุปนิสัยที่เลว
อนั จะยงั ประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองในการอยภู่ ายในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบสุข และมีความกา้ วหนา้ ในอาชีพการงาน

การพฒั นาบุคคลจะประสบความสาเร็จไม่ได้เลย หากผูท้ ี่จะรับการพฒั นาไม่ให้ความสนใจใฝ่
พฒั นาตนเองอยู่เสมอ ฉะน้นั การพฒั นาตนเองจึงเป็นปัจจยั สาคญั อย่างหน่ึงที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการ
พฒั นาบคุ คล

สรุป จากความหมายดงั กล่าวขา้ งตน้ การพฒั นาตนเอง หมายถึง ความพยายามพฒั นาตนเองในการที่
จะปรับปรุงเปล่ียนแปลงตนเอง ดว้ ยตนเอง เพื่อพฒั นาศกั ยภาพของตนเองในดา้ นต่าง ๆ ใหด้ ีข้ึน เช่น ดา้ น
การศึกษาต่อ ดา้ นการฝึกอบรม และดา้ นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ ความช านาญงาน และ
ทัศนคติที่ดี ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
หน่วยงาน
แนวคดิ พ้ืนฐานในการพฒั นาตนเอง

ความเชื่อพ้ืนฐานของบุคคลในการพฒั นาตนเองเป็ นส่ิงสาคญั ที่ช่วยส่งเสริมให้การพฒั นาตนเอง
ประสบความสาเร็จ ประกอบดว้ ย (เรียม ศรีทอง, 2542, หนา้ 144)

1. มนุษยท์ ุกคนมีเอกลกั ษณ์ มีศกั ยภาพที่มีคณุ ค่าเป็นของตนเอง และทุกคนสามารถ

ฝึกหดั พฒั นาไดใ้ นทุกเรื่อง

2. ไมม่ ีใครที่มีความสมบรู ณ์ไปหมดทุกดา้ น จนไม่สามารถจะพฒั นาไดอ้ ีก

3. แมจ้ ะไม่มีใครรู้จกั ตวั เองไดด้ ีเท่าตวั เอง แต่ในบางเรื่องตนเองก็ไม่สามารถจดั การปรับเปลี่ยนได้
ดว้ ยตนเอง

15

4. การควบคุมส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คม กบั การควบคุมความคิดความรู้สึกและการกระทา
ของตนเอง มีผลกระทบซ่ึงกนั และกนั

5. อุปสรรคสาคญั ของการปรับปรุงและพฒั นาตนเอง คือ การที่บุคคลไม่ยอมปรับเปลี่ยนวิธีคิด
วธิ ีการปฏิบตั ิไมส่ ร้างนิสยั และฝึกทกั ษะใหม่ ๆ ท่ีจาเป็น

6. การพฒั นาตนเองดาเนินการไดท้ ุกเวลา เม่ือตอ้ งการหรือพบปัญหาขอ้ บกพร่องหรือพบอุปสรรค
ยกเวน้ คนท่ีประกาศวา่ ตนมีความสมบรู ณ์ไปหมดทุกดา้ นแลว้ นอกจากน้ีไพศาล ไกรสิทธ์ิ(2541, หนา้ 76-77)
กลา่ ววา่ การพฒั นาตน จะดาเนินไปไดด้ ว้ ยดี จะตอ้ งอาศยั ความเช่ือ ความมนั่ ใจ และความรู้ความเขา้ ใจที่เป็น
พ้ืนฐานท่ีสาคญั 2 ประการ คอื

1. ความเชื่อมนั่ ในธรรมชาติของมนุษยว์ ่าเป็ นสัตวท์ ่ีฝึ กฝนพฒั นาได้ มีศกั ยภาพของการพฒั นาได้
สูงสุด พฒั นาไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ

2. การทาใหแ้ ต่ละบคุ คลรู้จกั ตนเอง เพ่ือเสริมความพร้อมความสามารถที่ตอบรับต่อสิ่งภายนอก การ
รู้จกั ตน จะตอ้ งรู้จกั ตามความเป็นจริงว่า มีรากฐานเป็นอย่างไร มีความถนดั ในดา้ นใด ควรจะลด เสริม หรือ
ฝึ กฝนพิเศษในดา้ นใด การรู้จกั ตนท าให้เกิดความมนั่ ใจในตวั เอง มีความมน่ั ใจในการที่จะพฒั นาตนให้
กา้ วหนา้ ต่อไป

หลกั การพฒั นาตนเอง

หลกั การพฒั นาตนเองมีดงั น้ี(Hodgson, 1981 อา้ งถึงใน ไพศาล ไกรสิทธ์ิ, 2541, หนา้ 22)

1. การพฒั นาตน คือการกา้ วไปขา้ งหนา้ สู่ศกั ยภาพระดบั ใหม่

2. การพฒั นาตน เป็ นการปฏิบตั ิที่ไม่ต่อเน่ือง ซ่ึงหมายถึงว่า การพฒั นาไปสู่ศกั ยภาพระดับใหม่
จะตอ้ งเอาชนะพลงั ขดั ขวาง ท่ีขวางก้นั ระหว่างศกั ยภาพแต่ละระดบั การพฒั นาจะถูกต่อตา้ นโดยอุปสรรค
ภายใน ซ่ึงตอ้ งการจะเอาชนะการพฒั นา ทาใหเ้ กิดความไม่ต่อเนื่อง

3. การพฒั นาตน จะตอ้ งเอาชนะความยากลาบากท่ีขวางก้นั ถา้ บคุ คลสามารถเอาชนะอุปสรรคไดจ้ ะ
ทาใหม้ ีการปลดปล่อยศกั ยภาพระดบั ใหม่ออกมา

4. การพฒั นาตน จาเป็นตอ้ งมีการทา้ ทายจากภายนอกที่เหมาะสม

5. การพฒั นาตน จาเป็นตอ้ งมีการรับรู้ท่ีถูกตอ้ งเก่ียวกบั สิ่งท่ีทา้ ทาย

6. การพฒั นาตน เป็นการริเริ่มของตน

16

7. ผพู้ ฒั นาตน จะตอ้ งยอมรับส่ิงทา้ ทายดว้ ยตนท้งั หมด (Total self)
8. การพฒั นาตน ตอ้ งการการมีวินยั ในตนเอง

9. การพฒั นาตน ตอ้ งการการหยง่ั รู้ท่ีสร้างสรรคซ์ ่ึงเกิดข้นึ ในตน
10. การพฒั นาตน ตอ้ งการการเรียนรู้ และวิธีการเรียนรู้เก่ียวกบั ตน ซ่ึงจะช่วยใหส้ ามารถเผชิญความ
จริงเก่ียวกบั ตน

11. การพฒั นาตน แรงจูงใจอนั ดับแรกคือ ผลสัมฤทธ์ิของตน และความสมปรารถนาแห่งตน
แรงจูงใจอนั ดบั รองลงไป คอื การไดร้ ับรางวลั และการถูกลงโทษ

12. การพฒั นาตน ผพู้ ฒั นาต้งั ใจท่ีจะยอมรับการเสี่ยงของตน
13. การพฒั นาตน ผพู้ ฒั นาสามารถตดั สินไดว้ ่า ความต้งั ใจของตนมน่ั คงพอที่จะพฒั นาไปไดต้ ลอด
รอดฝ่ังหรือไม่
14. การพฒั นาตน สมรรถนะในการพฒั นา จะสัมพนั ธ์กับระยะเวลาท่ีใช้ในการอดทนต่อความ
ยากลาบาก เพ่ือการรับรางวลั ที่เกิดจากสภาวะภายใน

15. การพฒั นาตน ผพู้ ฒั นาจะสามารถตดั สินวา่ จะพ่งึ คนอ่ืน หรือเป็นอิสระโดยพ่ึงตนเองนานเทา่ ไร

16. การพฒั นาตน ผูพ้ ฒั นาตระหนักว่า ไม่มีอะไรจะประสบความสาเร็จได้โดยปราศจากการ
เสียสละส่วนบคุ คล

17. การพฒั นาตน ผพู้ ฒั นาตอ้ งการการแนะแนว จากผพู้ ฒั นาตนท่ีมีวุฒิภาวะกว่า

18. การพฒั นาตน บุคคลซ่ึงสามารถชกั นาไดด้ ีท่ีสุด คือ ผพู้ ฒั นาตนท่ีมีวุฒิภาวะมากกวา่

19. การพฒั นาตนใหเ้ ร็วข้นึ จาเป็นจะตอ้ งนาความรู้ และเทคนิคเฉพาะมาใช้
20. การพฒั นาตนใหเ้ ร็วข้ึน จาเป็นจะตอ้ งรู้ถึงการทางานกบั ตนเอง
ซ่ึงท่ีกล่าวมาท้งั หมดเป็ นหลกั การพฒั นาตนที่ผูพ้ ฒั นาจะตอ้ งยึดถือ และมีความตระหนกั อยู่เสมอ
องคป์ ระกอบในการพฒั นาตนเองในทางพุทธศาสนา การพฒั นาตนไดส้ าเร็จจะตอ้ งมีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี คือ
(พระเทพเวที, 2534, หนา้ 21-28อา้ งถึงใน ไพศาลไกรสิทธ์ิ, 2541, หนา้ 75-76)

17

1. ศรัทธา เป็นจุดเริ่มตน้ ศรัทธาในท่ีน้ี คือ ตถาคตโพธิศรัทธา ไดแ้ ก่ ศรัทธาหรือ ความเช่ือในปัญญา
ท่ีทาให้มนุษยต์ รัสรู้ เป็ นพระพุทธเจ้าได้ หลกั โพธิศรัทธาน้ีแสดงว่ามนุษยม์ ีปัญญาอยู่มีเช้ือแห่งปัญญาที่
พฒั นาได้ และสามารถพฒั นาไดส้ ูงสุด ในการพฒั นาตนจะตอ้ งเชื่อมนั่ ในศกั ยภาพขอ้ น้ี

2. แรงจูงใจ บุคคลที่สามารถพฒั นาตนไดจ้ ะตอ้ งมีแรงจูงใจที่เอ้ือต่อการพฒั นาตน ซ่ึงไดแ้ ก่ ความใฝ่
รู้ความจริง ใฝ่ความดีงาม ใฝ่สร้างสรรค์ ซ่ึงเรียกวา่ ฉนั ทะ ซ่ึงฉนั ทะน้ีจะเป็นตวั นาชีวิตแทนตณั หา สาหรับผู้
ท่ีตอ้ งการพฒั นาตน

3. ตวั เร่ง คอื ความกระตือรือร้นขวนขวาย ความเร่งรัดตวั เองใหเ้ ร่งรัดลงมือทา ไม่เฉื่อยชา ไมป่ ลอ่ ย
ปละละเลย ซ่ึงคณุ สมบตั ิขอ้ น้ีเกิดจากการมีจิตสานึกในความไมเ่ ปล่ียนแปลง

4. วินัย เป็ นการจดั ระเบียบชีวิตของตน และระเบียบการอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนในสังคม วินยั ช่วยในการ
จดั สรรลาดบั โลกและจงั หวะ ทาใหม้ ีช่องทางโอกาสท่ีจะทาไดส้ ะดวกมากข้นึ ในขณะเดียวกนั วนิ ยั จะช่วย

บงั คบั ควบคุม กายวาจา หรือ พฤติกรรมให้สอดคลอ้ งกบั ลาดบั จงั หวะและโอกาสท่ีจดั สรรไว้ คนที่ไม่มี
วินยั คือ คนที่บงั คบั ควบคุมพฤติกรรมของตนไม่ได้ ทาให้ชีวิตของตนสับสนไม่เป็ นระเบียบ ทาให้สังคม
วุ่นวายระส่าระสาย เพราะเกิดจากความขัดแยง้ และล่วงละเมิดต่อกันในการพฒั นาตน นอกจากจะมี
องค์ประกอบดังกล่าวแลว้ เราจะตอ้ งมีการตรวจสอบว่า มีความพร้อมท่ีจะพฒั นาเพียงใด ขาดในเร่ืองใด
หรือไม่ ซ่ึงเร่ืองท่ีจะตอ้ งตรวจสอบ ไดแ้ ก่

1. ท่าทีที่ถกู ตอ้ งตอ่ ประสบการณ์ท้งั หลาย เป็นการมองส่ิงท้งั หลายเป็นการเรียนรู้ มองตามที่มนั เป็น
ไมใ่ ช่มองตามที่อยากใหเ้ ป็น เป็นความรู้ท่ีเป็นไปตามกระบวนการของเหตปุ ัจจยั ต่าง ๆ

2. ความมนั่ ใจในศกั ยภาพท่ีมีอยใู่ นตน คือ มีความมนั่ ใจในตนเอง เห็นวา่ สามารถพฒั นาตนได้ และ
จะพฒั นาหรือไม่

3. จิตสานึกในการพฒั นาปรับปรุงตน ถา้ บคุ คลมีจิตสานึกน้ีอยู่ ทาใหม้ ีความเอาใจใส่ ในการพฒั นา
ตน เริ่มต้งั แต่เอาใจใส่ในการท่ีจะเรียนรู้เป็นเบ้ืองตน้

4. แรงจูงใจท่ีเอ้ือต่อการพฒั นาตนเอง คือตรวจสอบดูว่า มีความใฝ่ ความจริง ใฝ่ ดีงาม หรือใฝ่
สร้างสรรค์ หรือ คือดูวา่ มีฉนั ทะหรือไม่

5. จิตสานึกต่อกาลเวลาและความเปล่ียนแปลง ซ่ึงทาให้เกิดความกระตือรือร้น เร่งรัดตวั เองในการ
ทาหนา้ ที่การงาน รู้จกั ใชเ้ วลาใหเ้ ป็นประโยชน์ จริงจงั ในการเรียนรู้ และพฒั นาตน

6. ความรู้จกั คิดรู้จกั พิจารณา คอื คิดตามแนวทางความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเหตุปัจจยั มีโยนิโสมนสิการ

18

ความมุ่งหมายของการพฒั นาตนเอง

ความมุ่งหมายของการพฒั นาตน จาแนกไดด้ งั น้ี (สงวน สุทธิเลิศอรุณ, 2543, หนา้ 127)

1. เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้และความคดิ นบั วา่ มีความจาเป็นอยา่ งย่งิ สาหรับปัจจุบนั ท่ีจะตอ้ งเตรียมตวั ใน
การพฒั นาตนเองในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามที่ตนสนใจ เรียนรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เรียนรู้สภาพ
ร่างกายของตน ตลอดจนวิธีบารุงรักษาสุขภาพพลานามยั ให้แข็งแรงสมบูรณ์ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ และ
เรียนรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ที่จาเป็นแก่การประกอบอาชีพ ท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เปรียบดุจเพชรที่แวววาวซ่ึง
ไดเ้ จียระไนแลว้ นบั วา่ มีคุณคา่ หรือคุณภาพ อนั ควรแก่การดารงตาแหน่งงานท่ีดีท้งั หลาย อนั เน่ืองจากมนุษย์
ไดใ้ ฝ่รู้ หรือพฒั นาตนเองในดา้ นความคิด

2. เพ่ือเพิ่มพูนทกั ษะและความชานาญ มนุษยท์ ี่ไดร้ ับการพฒั นาจะเพ่ิมพูนทกั ษะและความชานาญ
ใหม้ ีคุณค่าท่ีสอดคลอ้ งกบั ความคดิ ดงั ที่กล่าวมาแลว้

3. เพื่อพฒั นาและเปลี่ยนแปลงเจตคติและความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ มนุษยท์ ี่ไดร้ ับการพฒั นา
แลว้ จะพฒั นาและเปลี่ยนแปลงเจตคติและพฤติกรรมดา้ นความรู้สึกจากเจตคติและอารมณ์เชิงลบ เป็นเจตคติ
และอารมณ์เชิงบวก และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ อนั จะช่วยพฒั นามนุษยใ์ ห้เป็นคนดี มีน้าใจแห่ง
การเสียสละ ใจกวา้ ง รู้จกั ใหเ้ กียรติผอู้ ื่น และช่วยลดความเห็นแก่ตวั ของตน เพื่อเพมิ่ ความมีใจสูงในตวั มนุษย์
(มน+อษุ ยะ) ใหม้ ากข้นึ ซ่ึงจะเป็นผลดีแก่มนุษยห์ รือบคุ คลท่ีมีการพฒั นาตนเอง
หลกั การแนวคดิ เกยี่ วกบั การประเมนิ ผลโครงการ

ความหมายของการประเมินผลโครงการมีนกั วิชาการหลายทา่ นไดใ้ หไ้ ว้ ดงั น้ี

สมหวงั พิธิยานุวฒั น์ ( 2540 , หน้า 1) ไดใ้ ห้ความหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ ่า คือ
กระบวนการใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ซ่ึงสามารถนามาใชใ้ นการปรับปรุงดาเนินงานโครงการใหม้ ี ประสิทธิภาพ
มากยิ่งข้ึนทาใหท้ ราบจุดเด่นจุดดอ้ ยของโครงการและทราบวา่ โครงการไดบ้ รรลุวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย
เพียงใด และที่สาคญั ช่วยใหข้ อ้ มูลที่จาเป็นสาหรับการนาไปใชใ้ นการตดั สินใจเกี่ยวกบั การดาเนินโครงการ
ไดท้ ้งั ปัจจุบนั และอนาคต

รัตนะ บวั สนธ์ ( 2540,หนา้ 9) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ า่ คือ กระบวนการ
รวบรวมเก่ียวกบั โครงการ เพ่ือนาขอ้ มูลที่ไดม้ าเทียบเกณฑ์แลว้ ตดั สินใจให้คุณค่าต่อขอ้ มูลหรือโครงการ
ดงั กลา่ ว

สมชาย คุรงค์เดช (2542 , หน้า 2)ได้ให้ความหมายของการประเมินผลโครงการไว้ว่า คือ
กระบวนการในการพิจารณา กาหนดคุณคา่ หรือระดบั ความสาเร็จ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ี่กาหนด

19

สมคดิ พรมจุย้ ( 2542,หนา้ 84) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ า่ คือ กระบวนการ
ท่ีทาใหเ้ กิดสารสนเทศในการปรับปรุงโครงการและสารสนเทศในการตดั สินสัมฤทธ์ิผลของโครงการ

สุวิมล ติรกานันท์ ( 2543,หน้า 2-3) ได้ให้ความหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ ่า คือ
กระบวนการที่เกิดข้ึนในทุกข้นั ตอนของการดาเนินงาน เพ่ือให้ไดส้ ารสนเทศที่สามารถใชใ้ นการพิจารณา
ดาเนินงาน ซ่ึงจะทาใหก้ ารดาเนินงานเป็นไปไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที

ทวีป ศิริรัศมี ( 2544,หนา้ 114) ไดใ้ หค้ วามหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ า่ คอื กระบวนการ
ในการแสวงหาสารสนเทศ เพื่อการกาหนดคุณคา่ ของสิ่งใดๆ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อยา่ งเป็นระบบระเบียบและ
มีหลกั เกณฑท์ ี่สมเหตสุ มผลและเชื่อถือได้

มยรุ ี อนุมานราชธน ( 2546,หนา้ 286) ไดใ้ ห้ความหมายของการประเมินผลโครงการไวว้ ่า คือ การ
ออกแบบการวจิ ยั ประเมินผล และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่ึงผลสรุปการวิจยั ท่ีมีความเที่ยงตรง และ
ความเช่ือมน่ั มากท่ีสุด

จากความหมายดงั กล่าวขา้ งตน้ พอสรุปไดว้ า่ กระประเมินผลโครงการ คือ กระบวนการให้ขอ้ มูล
ยอ้ นกลบั ซ่ึงสามารถใชใ้ นการปรับปรุงโครงการให้มีประสิทธิภาพและสามารถนาไปใชใ้ นการตดั สินใจ
เกี่ยวกบั การดาเนินโครงการท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต

หลกั วงจรเดม็ มิ่ง

วงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA Cycle) หรื อ วงจรเด็มมิ่ง (Deming Cycle) คือ แนวคิดการ
พฒั นาการทางานเพื่อควบคุมคุณภาพงานใหม้ ีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง พฒั นามาจากแนวคิดของ วอลท์ เตอร์
ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดน้ีเร่ิมเป็ นท่ีรู้จกั กนั มากข้ึนเม่ือ เอด
วาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นาเสนอและเผยแพร่ใช้เป็ นเครื่องมือ
สาหรับการปรับปรุงกระบวนการทางานของพนกั งานภายในโรงงานให้ดีข้ึน ซ่ึงจะใชใ้ นการคน้ หาปัญหา
อุปสรรคในข้ันตอนการทางานโดยพนักงาน จนเป็ นที่รู้จกั กันในชื่อว่า วงจรเด็มมิ่ง หรือ วงจร PDCA
(เกียรติพงษ์ อดุ มธนะธีระ ,18 พฤศจิกายน 2018 )

แนวคดิ วงจร PDCA เป็นแนวคิดท่ีง่ายไมซ่ บั ซอ้ น สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นเกือบจะทุกกิจกรรม จึงทา
ใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั กนั อยา่ งแพร่หลายมากข้ึนทว่ั โลก PDCA เป็นอกั ษรนาของภาษาองั กฤษ 4 คาคอื

1. การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดาเนินงาน เพื่อให้เกิด การทางานท่ีได้ผลงาน การ
ปรับปรุงเปล่ียนแปลง การพฒั นาสิ่งใหม่ การแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบตั ิงาน มีส่วนท่ีสาคญั เช่น การ
กาหนดเป้าหมาย วตั ถุประสงค์ การจดั อนั ดบั ความสาคญั ของเป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนด

20

ระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผูร้ ับผิดชอบดาเนินการ และกาหนดงบประมาณท่ีจะใช้ การวางแผนที่ดี
ควรตอ้ งเกิดจากการศึกษาท่ีดี มีการวางแผนไวร้ ัดกุมรอบคอบปรับเปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสมของงาน
และเหตุการณ์ แผนท่ีไดต้ อ้ งช่วยในการคาดการณ์ส่ิงที่เกิดข้ึนและสามารถช่วยลดความสูญเสียท่ีอาจเกิดข้ึน
ได้ การวางแผนควรมีการกาหนด

- การกาหนดเป้าหมาย

- วตั ถปุ ระสงค์

- กาหนดผรู้ ับผิดชอบ

- ระยะเวลาดาเนินการ

- งบประมาณท่ีกาหนด

- มีการเสนอเพอื่ ขออนุมตั ิก่อนดาเนินการ เป็นตน้

2. ปฏิบตั ิตามแผน (Do) คือ การดาเนินการเพ่ือให้ไดต้ ามแผนท่ีมีการกาหนดไว้ อาจมีการกาหนด
โครงสร้างคณะทางานรองรับการดาเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กาหนดวิธีในการดาเนินงาน ข้นั ตอน
ผดู้ ูแลรับผิดชอบ ผตู้ รวจสอบและทาการประเมินผล การปฏิบตั ิการควรมี

- มีคณะทางานคอยควบคมุ กาหนดนโยบาย ติดตามตรวจสอบการทางาน

- มีการกาหนดข้นั ตอนท่ีชดั เจน

- มีวธิ ีการดาเนินการที่สามารถดาเนินการไดจ้ ริง ไม่ยากจนเกินความสามารถของผทู้ ่ีจะทา

- มีผรู้ ับผิดชอบดาเนินการที่ชดั เจน เพียงพอ

- มีระยะเวลาท่ีกาหนดท่ีเหมาะสม

- มีงบประมาณในการทางาน เป็นตน้

3. ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน (Check) คือ ข้นั ตอนท่ีเริ่มเมื่อมีการดาเนินโครงการตามขอ้ 2 ควร
จะตอ้ งทาการประเมินผลการดาเนินงานวา่ เป็นไปตามแผนงานท่ีกาหนดไวห้ รือไม่ อาจประเมินในส่วน การ
ประเมินผลงานการดาเนินการ การประเมินผลการดาเนินตามข้นั ตอน และการประเมินผลงานตามเป้าหมาย
ของแผนงานที่ได้มีการกาหนดไว้ ในการประเมินน้ีเราอาจสามารถทาได้เองโดยใช้คณะกรรมการท่ี
รับผิดชอบในแผนการดาเนินงานภายในเป็ นการประเมินตนเอง แต่การใชค้ นภายในอาจทาให้ขาดความ
น่าเช่ือถือหรือประเมินผลไดไ้ ม่เตม็ ที่ จะดีหากมีการต้งั คณะประเมินจากภายนอกมาช่วย เพราะน่าจะไดผ้ ล

21

การประเมินท่ีดีกวา่ ทีมงานภายใน เพราะอาจมีปัญหาช่วยกนั ประเมินผลใหด้ ีเกินจริง แนวทางที่จะใชใ้ นการ
ประเมินเช่น
- กาหนดวธิ ีการประเมินแยกใหช้ ดั เจนสามารถทาไดง้ ่าย
- มีรูปแบบการประเมินตรงกบั เป้าหมายในงานท่ีทา
- มีคณะผจู้ ะเขา้ ทาการประเมินท่ีมีความรู้เพยี งพอ
- แนวคาตอบผลของการประเมิน ตอ้ งสามารถตอบโจทยแ์ ละตรงกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ี่วางไว้
- เนน้ การประเมินปัญหา / จุดอ่อน / ขอ้ ดี / จุดแขง็ ท่ีมีในการดาเนินการ เป็นตน้

4. ปรับปรุงแกไ้ ขพฒั นาต่อเนื่อง (Act) คอื การนาผลประเมินท่ีไดม้ าทาการวิเคราะห์ เพื่อพฒั นาแผน
ในการปรับปรุงต่อไป ในส่วนน้ีควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ขปัญหา หรือการพฒั นา
ระบบท่ีมีอยแู่ ลว้ ใหด้ ียง่ิ ข้ึนไปอีกไมม่ ีท่ีสิ้นสุด
- ทาการระดมสมอง เพอ่ื หาทางแกไ้ ข ปัญหา / จุดออ่ น / ขอ้ ดี / จุดแขง็ ที่พบ ปรับปรุงใหด้ ียงิ่ ข้ึน
- นาผลที่ไดจ้ ากการระดมสมองเสนอผเู้ กี่ยวขอ้ งเพ่อื พจิ ารณาใชว้ างแผนต่อไป
- กาหนดกลยทุ ธ์ในการจดั ทาแผนคร้ังต่อไป
- กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบดาเนินงานคร้ังต่อไป

รูปภาพท่ี 2.1 วงจร PDCA

22

การประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL

แบบจาลองการประเมินผลตาม CIPP Model

แบบจาลอง(Model) หมายถึง วิธีการสื่อสารทางความคิด ความเขา้ ใจ ตลอดจนจินตนาการท่ีมีต่อ
ปรากฎการณ์หรือเร่ืองราวใด ๆ ใหป้ รากฏโดยใชก้ ารสื่อในลกั ษณะต่าง ๆ เช่น แผนภมู ิ แผนผงั ระบบสมการ
และรูปแบบอ่ืน เป็นตน้ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจไดง้ ่าย และสามารถนาเสนอเรื่องราวไดอ้ ย่างมีระบบ การประเมินผล
โครงการน้นั มีแนวคิดและโมเดลหลายอยา่ ง ณ ที่น้ี ขอเสนอแนวคิดและโมเดลการประเมินแบบซิปป์ หรือ
CIPP Model ของสตฟั เฟิ ลบีม (Danial . L. Stufflebeam) เพราะเป็ นโมเดลที่ได้รับการยอมรับกนั ทวั่ ไปใน
ปัจจุบนั ( สุนีรัตน์,14 สิงหาคม 2011)

แนวคิด การประเมินของสตฟั เฟิ ลบีม (Stufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตฟั เฟิ ลบีม
และคณะ ได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหน่ึงเล่ม ช่ือ “Educational Evaluation and decision
Making” หนังสือเล่มน้ี ได้เป็ นที่ยอมรับกนั อย่างกวา้ งขวาง เพราะให้แนวคิดและวิธีการทางการวดั และ
ประเมินผล ไดอ้ ย่างน่าสนใจและทนั สมยั ด้วย นอกจากน้ัน สตฟั เฟิ ลบีมก็ไดเ้ ขียนหนังสือเกี่ยวกับการ
ประเมินและรูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผูน้ ้ีเป็ นผูม้ ีบทบาท
สาคญั ในการพฒั นาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกนั ทว่ั ไปในปัจจุบนั เรียกวา่ CIPP Model

เป็นการประเมินท่ีเป็นกระบวนการต่อเนื่อง มีจุดเนน้ ท่ีสาคญั คือ ใชค้ วบคู่กบั การบริหารโครงการ
เพ่ือหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจ อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา วตั ถุประสงค์การประเมิน คือ การให้
สารสนเทศเพื่อการตดั สินใจ เน้นการแบ่งแยกบทบาทของการทางานระหว่าง ฝ่ ายประเมินกบั ฝ่ ายบริหาร
ออกจากกนั อย่างเด่นชดั กล่าวคือฝ่ ายประเมินมีหนา้ ที่ระบุ จดั หา และนาเสนอสารสนเทศใหก้ บั ฝ่ ายบริ หาร
ส่วนฝ่ายบริหารมีหนา้ ท่ีเรียกหาขอ้ มูล และนาผลการประเมินที่ไดไ้ ปใช้

ประกอบการตดั สินใจ เพื่อดาเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งแลว้ แต่กรณี ท้งั น้ีเพ่ือป้องกนั การมีอคติในการ
ประเมิน และ เขาไดแ้ บ่งประเด็นการประเมินผลออกเป็น 4 ประเภท คอื

1. การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C) เป็ นการประเมินให้ได้
ขอ้ มูลสาคญั เพ่ือช่วยในการกาหนดวตั ถุประสงค์ของโครงการ ความเป็ นไปได้ของโครงการ เป็ นการ
ตรวจสอบว่าโครงการที่จะทาสนองปัญหาหรือความต้องการจาเป็ นที่แทจ้ ริงหรือไม่ วตั ถุประสงค์ของ
โครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็ น
โครงการท่ีมีความเป็นไปไดใ้ นแง่ของโอกาสที่จะไดร้ ับการสนบั สนุนจากองคก์ รตา่ ง ๆ หรือไม่ เป็นตน้

23

การประเมินสภาวะแวดลอ้ มจะช่วยในการตดั สินเก่ียวกบั เร่ือง โครงการควรจะทาในสภาพแวดลอ้ ม
ใด ตอ้ งการจะบรรลุเป้าหมายอะไร หรือตอ้ งการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะอะไร เป็นตน้

2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้นหรือปัจจยั ป้อน (Input Evaluation : I ) เป็นการประเมินเพอื่ พิจารณา
ถึง ความเป็ นไปไดข้ องโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรที่จะใช้ในการดาเนิน
โครงการ เช่น งบประมาณ บคุ ลากร วสั ดุอุปกรณ์ เวลา รวมท้งั เทคโนโลยแี ละแผนการดาเนินงาน เป็นตน้

การประเมินผลแบบน้ีจะทาโดยใช้ เอกสารหรืองานวิจยั ท่ีมีผูท้ าไวแ้ ลว้ หรือใชว้ ิธีการวิจยั นาร่องเชิง
ทดลอง (Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจให้ผเู้ ชี่ยวชาญ มาทางานให้ อยา่ งไรกต็ าม การประเมินผล
น้ีจะตอ้ งสารวจสิ่งที่มีอยเู่ ดิมก่อนวา่ มีอะไรบา้ ง และตดั สินใจวา่ จะใชว้ ิธีการใด ใชแ้ ผนการดาเนินงานแบบ
ไหน และตอ้ งใชท้ รัพยากรจากภายนอก หรือไม่

3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P ) เป็ นการประเมินระหว่างการดาเนินงาน
โครงการ เพอ่ื หาขอ้ บกพร่องของการดาเนินโครงการ ที่จะใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการพฒั นา แกไ้ ข ปรับปรุง ใหก้ าร
ดาเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากข้ึน และเป็ นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรท่ีใช้ใน
โครงการ ภาวะผนู้ า การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบนั ทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐานทุกข้นั ตอน
การประเมินกระบวนการน้ี จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการคน้ หาจุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุด
ดอ้ ย (Weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ มกั จะไม่สามารถศึกษาไดภ้ ายหลงั จากสิ้นสุดโครงการ
แลว้

การประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสาคญั ในเร่ืองการให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั เป็ นระยะ ๆ เพ่ือการ
ตรวจสอบการดาเนินของโครงการโดยทว่ั ไป การประเมินกระบวนการมีจุดมงุ่ หมาย คอื

3.1 เพอ่ื การหาขอ้ บกพร่องของโครงการ ในระหวา่ งที่มีการปฏิบตั ิการ หรือ การดาเนินงานตามแผน
น้นั

3.2 เพอื่ หาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่จะนามาใชใ้ นการตดั สินใจเกี่ยวกบั การดาเนินงาน ของโครงการ

3.3 เพ่ือการเก็บขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีไดจ้ ากการดาเนินงานของโครงการ

4. การประเมนิ ผลผลติ (Product Evaluation : P ) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตท่ีเกิดข้ีน
กบั วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรือความตอ้ งการ/ เป้าหมายที่กาหนดไว้ รวมท้งั การพจิ ารณาในประเด็นของ
การยบุ เลิก ขยาย หรือปรับเปล่ียน

24

โครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลพั ธ์( Outcomes ) ของนโยบาย / แผนงาน /
โครงการ โดยอาศยั ขอ้ มูลจากการประเมินสภาวะแวดลอ้ ม ปัจจยั เบ้ืองตน้ และกระบวนการร่วมดว้ ย จะเห็น
ไดว้ ่า การประเมินแบบ CIPP เป็ นการประเมินที่ครอบคลุมองค์ประกอบของระบบท้งั หมด ซ่ึงผูป้ ระเมิน
จะตอ้ งกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมินที่ครอบคลุมท้งั 4 ดา้ น กาหนดประเด็นของตวั แปรหรือตวั ช้ีวดั
กาหนดแหล่งขอ้ มูลผใู้ ห้ขอ้ มูล กาหนดเครื่องมือการประเมิน วิธีการท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล กาหนด
แนวทางการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และเกณฑก์ ารประเมินที่ชดั เจน

เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาของการประเมินผลโครงการ เพื่อจาแนกประเภทของการประเมินผล
โครงการโดยละเอียดแลว้ เราสามารถจาแนกไดว้ า่ การประเมินผลโครงการมี 4 ระยะดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การประเมินผลโครงการก่อนการดาเนินงาน (Pre-evaluation) เป็นการประเมินวา่ มีความจาเป็นและ
ความเป็ นไปได้ในการกาหนดให้มีโครงการหรือแผนงานน้ัน ๆ หรือไม่ บางคร้ัง เรียกการประเมินผล
ประเภทน้ีว่า การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) หรือการประเมินความตอ้ งการท่ีจาเป็ น (Need
Assessment)

2) การประเมินผลโครงการขณะดาเนินงาน (On-going Evaluation) เป็นการประเมินผลโครงการเพ่ือ
ติดตามความกา้ วหนา้ ของการดาเนินงาน (Monitoring) และการใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ

3) การประเมินผลโครงการเม่ือส้ินสุดการดาเนินงาน (Post-evaluation) เป็นการประเมินวา่ ผลของการ
ดาเนินงานน้นั เป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการที่วางไวห้ รือไม่

4) การประเมินผลกระทบจาการดาเนินโครงการ (Impact Evaluation) เป็ นการประเมินผลโครงการ
ภายหลังจากการสิ้นสุดการดาเนิน โครงการหรือแผนงาน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบผลการ
ดาเนินงานที่เกิดข้ึน ซ่ึงอาจจะไดร้ ับอิทธิพลจากการมีโครงการหรือปัจจยั อื่น ๆ

25

กรอบแนวคดิ

ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
1.เพศ การประเมินโครงการแบบ CIPP
2.อายุ Model ของสตฟั เฟลบีม
3.อาชีพ (D.L.Stufflebeam,1997,P.251-265)
4.รายได้ 1.ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม
2.ประเมินการปัจจยั เบ้ืองตน้
3.ประเมินกระบวนการ
4.การประเมินผลผลิต

26

บทท่ี 3
วธิ ีการประเมินโครงการ

รูปแบบการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภมู ิคุม้ กนั ใชร้ ูปแบบการประเมิน

โครงการแบบ CIPP MODEL ของสตฟั เฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดงั น้ี

ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม • หลกั การ
( Context Evaluation ) • วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
• เป้าหมายของโครงการ
• การเตรียมการภายในโครงการ

ประเมินการปัจจยั เบ้ืองตน้ • บุคลากร
( Input Evaluation ) • วสั ดุอุปกรณ์
• เคร่ืองมือเครื่องใช้
• งบประมาณ

ประเมินกระบวนการ • การดาเนินโครงการ
( Process Evaluation ) • กิจกรรมการดาเนินงานตาม

การประเมินผลผลิต โครงการ
( Product Evaluation ) • การนิเทศติตามกากบั
• การประเมินผล

• ผลการดาเนินโครงการ
• คุณภาพผเู้ รียน

27

วธิ กี ารประเมินโครงการ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากร คือ สมาชิกในครอบครัวของผดู้ าเนินโครงการและผดู้ าเนินโครงการ จานวน 13 คน
กลุ่มตวั อยา่ ง คอื สมาชิกในครอบครัวของผดู้ าเนินโครงการและผดู้ าเนินโครงการ จานวน 13 คน
ใชว้ ิธีสุ่มสุ่มตวั อยา่ งจากสมาชิกในครอบครัว โดยใชว้ ิธีสุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง
เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประเมินโครงการ คือ การสมั ภาษณ์ มีจานวน 10 ฉบบั ดงั น้ี
1. แบบประเมินโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภมู ิคมุ้ กนั โดยใชแ้ บบประเมิน

CIPP MODEL มี 4 ดา้ น จานวน 12 ขอ้ ดงั น้ี

1.1 ดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม ( Context ) จานวน 3 ขอ้
1.2 ดา้ นปัจจยั ( Input ) จานวน 3 ขอ้
1.3 ดา้ นกระบวนการ ( Process ) จานวน 3ขอ้
1.4 ดา้ นผลผลิต ( Product ) จานวน 3.ขอ้

การจดั ทาและการศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องมือ ท่ีใชใ้ นการประเมินผลโครงการ
1. แบบประเมินโครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภมู ิคมุ้ กนั
1.1 ศึกษาวิธีการประเมินโครงการ และการจดั ทาเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมินโครงการแบบ
CIPP MODEL
1.2 จดั ทาแบบประเมินโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพอ่ื สร้างภมู ิคมุ้ กนั 4 ดา้ น ดงั น้ี
1.2.1 การประเมินสภาวะแวดลอ้ ม ( Context) เกี่ยวกบั หลกั การ วตั ถุประสงค์ เป้าหมาย
ของโครงการ และการเตรียมการดาเนินโครงการ จานวน 3 ขอ้
1.2.2 การประเมินปัจจยั นา ( Input) เกี่ยวกบั บคุ ลากร วสั ดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใชแ้ ละ
งบประมาณ จานวน 3 ขอ้

28

1.2.3 การประเมินกระบวนการ ( Process) เกี่ยวกบั การดาเนินงาน กิจกรรมการดาเนินงาน
ตามโครงการ การนิเทศติดตามผล และการประเมินผล จานวน 3 ขอ้

1.2.4.การประเมินผลผลิตผลิต ( product ) เก่ียวกบั ผลการดาเนินงานตามโครงการ และ
คณุ ภาพผเู้ รียนจานวน 3 ขอ้

1.3 นาแบบประเมินโครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภูมิคมุ้ กนั แจกจ่ายแก้
บคุ คลที่มีความตอ้ งการ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุปรงสงคข์ องโครงการ

การวเิ คราะห์ผลการประเมินโครงการ

1.) การศึกษาเชิงคณุ ภาพ

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งของโครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพื่อสร้างภูมิคุม้ กนั ไดม้ ีการ
สุ่มแบบเจาะจง เพื่อนาปัญหาที่ไดม้ าวิเคราะห์และแกไ้ ขปัญหา

2.) เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา

เคร่ืองมีอที่ใชใ้ นการประเมินคร้ังน้ี ครอบคลมุ การประเมิน 4 ดา้ น คือ การประเมินสภาวะแวดลอ้ ม ,
การประเมินดา้ นปัจจยั ป้อน , การประเมินดา้ นกระบวนการ และ การประเมินดา้ นผลผลิต โดยใชแ้ บบ
ประเมิน CIPP MODELที่ครอบคลมุ ท้งั 4ดา้ น

3.) การสร้างเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษาเชิงคุณภาพ

การศึกษาเชิงคณุ ภาพของโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภูมิคมุ้ กนั สมาชิกในกลมุ่
ไดม้ ีการนาหวั ขอ้ ท่ีต้งั คาถามเกี่ยวกบั CIPP MODEL มาสนทนาและถามขอ้ มูลที่ตอ้ งการตามวตั ถุประสงคท์ ่ี
ไดว้ างไว้ แก่ประชากระและกล่มุ ตวั อยา่ งท่ีทางกลุ่มไดเ้ จาะจงไว้

4.) ข้นั ตอนในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

คือ การที่ผวู้ ิจยั พยายามรวบรวมหลกั ฐานต่าง ๆ นามาพจิ ารณา วิเคราะหว์ ิจารณ์ แลว้ สรุปผลมาเป็น
คาตอบปัญหาการวจิ ยั วา่ เป็นไปตามที่ไดต้ ้งั สมมติฐานไวห้ รือไม่

5.) การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิติท่ีใช้

การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพเป็ นกระบวนการประกอบดว้ ย การจาแนกและจดั ระบบขอ้ มูล และ
การหาความสัมพนั ธ์ของข้อมูล มีจุดมุ่งหมายที่จะแยกแยะและอธิบายองค์ประกอบ ความหมาย และ
ความสัมพนั ธ์ของปรากฏการณ์ ภายใตเ้ ง่ือนไขและสภาพแวดลอ้ มทางสังคมและวฒั นธรรม ซ่ึงการใช้

29

หลกั การของการวิจยั เชิงคุณภาพในการวิเคราะห์ขอ้ มลู น้นั คือการมองภาพองคร์ วม การอธิบายเงื่อนไขและ
สภาพแวดลอ้ มทางสังคมและวฒั นธรรมของปรากฏการณ์ การนาเอาทศั นะของผใู้ หข้ อ้ มูลมาอธิบายปรากฏ
การณ์ โดยให้ความสาคญั ต่อมุมมองของผูใ้ ห้ขอ้ มูล ซ่ึงถือเป็นผอู้ ยใู่ นเหตุการณ์หรืออยใู่ นเหตุการณ์น้นั ๆ
วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวจิ ยั เชิงคุณภาพ อาจใชก้ ารวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบสร้างขอ้ สรุป หรือการวิเคราะห์
เน้ือหา ความน่าเช่ือถือของงานวิจยั เชิงคุณภาพ พิจารณาไดจ้ าก ความเช่ือถือได้ การถ่ายโอนผลการวิจยั การ
พ่ึงพากบั เกณฑอ์ ่ืน และการยนื ยนั ผล

30

บทที่ 4

ผลการประเมินโครงการ

การนาเสนอผลการประเมินโครงการ ผรู้ ับผิดชอบโครงการไดน้ าเสนอผลการประเมิน โครงการ จานวน 4
ตอน ดงั น้ี

ดา้ นท่ี 1 ผลการประเมินโครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม

ดา้ นท่ี 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั

ดา้ นท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ

ดา้ นที่ 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต

ตอนท่ี1 สรุปขอ้ มูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ผู้ประเมนิ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา รายได้

คนท่ี 1 หญิง 21 ปี นกั ศึกษา ปริญญาตรี 3,000บาท/เดือน

คนที่ 2 หญิง 21 ปี นกั ศึกษา ปริญญาตรี 3,000 บาท/เดือน
คนที่ 3 หญิง 21 ปี นกั ศึกษา ปริญญาตรี 3,000 บาท/เดือน
คนท่ี 4 หญิง 46 ปี เกษตรกร ประถมศึกษา 12,000 บาท/เดือน
คนที่ 5 ชาย 46 ปี เกษตรกร ประถมศึกษา 12,000 บาท/เดือน
คนที่ 6 หญิง 41 ปี คา้ ขาย มธั ยมศึกษา 25,000 บาท/เดือน
คนท่ี 7 ชาย 42 ปี เกษตรกร มธั ยมศึกษา 15,000 บาท/เดือน

คนที่ 8 ชาย 18 ปี นกั เรียน มธั ยมศึกษา 3000 บาท/เดือน

คนที่ 9 ชาย 71 ปี เกษตรกร ประถมศึกษา 12,000 บาท/เดือน

คนท่ี 10 หญิง 37 ปี คา้ ขาย มธั ยมศึกษา 11,000 บาท/เดือน

ตารางท่ี 4.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปผปู้ ระเมิน

31

ตอนท่ี 2 ผลการประเมินโครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่อื สร้างภมู ิคุม้ กนั หลงั การดาเนิน
โครงการแสดงดงั ตารางตา่ งๆ คอื

ด้านที่ 1 ผลการประเมินโครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม

ด้านที่ 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั

ด้านท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ

ด้านท่ี 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต

ด้านที่ 1 ผลการประเมินโครงการดา้ นสภาวะแวดลอ้ ม

ผปู้ ระเมิน 1. สภาพแวดลอ้ มในการทาโครงการเป็นไป
อยา่ งท่ีวางแผนไวห้ รือไม่
คนที่ 1 ไม่
คนที่ 2 ไม่
คนท่ี 3 ไม่
คนที่ 4 เป็ น
คนที่ 5 เป็ น
คนที่ 6 เป็ น
คนท่ี 7 ไม่
คนที่ 8 เป็ น
คนท่ี 9 ไม่
คนท่ี10 ไม่

ตารางท่ี 4.2 คาถามขอ้ ที่ 1

จากตารางที่ 4.2 คาถามขอ้ ที่ 1 สภาพแวดลอ้ มในการทาโครงการเป็นไปอยา่ งที่วางแผนไวห้ รือไม่ ผู้
ประเมินมีความคิดเห็นวา่ สภาพแวดลอ้ มไมเ่ ป็นไปอยา่ งแผนท่ีวางไว้

32

ผปู้ ระเมิน 2. ในขณะทาโครงการเกิดปัญหาเกี่ยวกบั
สภาพแวดลอ้ มหรือไม่ อยา่ งไร
คนท่ี 1
เกิด เพราะ ใส่ป๋ ุยจากมูลสตั วจ์ นมากเกินไป
คนที่ 2 เกิด เพราะ บางตน้ มนั มีวชั พืช เช่น หนอน มากินไป
ใบ
คนที่ 3 เกิด เพราะ มีสุนขั ท่ีเล้ียงไวท่ีบา้ นไดม้ ีการมาฉ่ีใส่
คนท่ี 4 เกิด เพราะ มีสัตวม์ าเข่ยี
คนท่ี 5 เกิด เพราะ สภาพกาศเปล่ียนแปลงบ่อย
คนที่ 6 เกิด เพราะ สภาพแวดลอ้ มอานวยตอ่ การปลกู พชื
คนที่ 7 เกิด เพราะ ฝนตกหนกั เกือบทกุ วนั
คนที่ 8 เกิด เพราะ ฝนตกหนกั ทาใหพ้ ชื เสียหายและตาย
คนที่ 9 ไม่เกิด เพราะ ฝนตกทาใหพ้ ืชไดร้ ับน้า
คนท่ี10 เกิด เพราะ พืชไดร้ ับแสงแดดนอ้ ยเกินไป

ตารางท่ี 4.3 คาถามขอ้ ที่ 2

จากตารางท่ี 4.3 คาถามข้อที่ 2 ในขณะทาโครงการเกิดปัญหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมหรือไม่
อย่างไร ผปู้ ระเมินส่วนมากใหค้ วามเห็นวา่ เกิดปัญหา เนื่องจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย บางคร้ังฝน
ตกหนกั ทาใหพ้ ืชเสียหาย หรือบางคร้ังอากาศร้อนมาหทาใหพ้ ชื เห่ียวตาย

ผปู้ ระเมิน 3. บุคคลในครอบครัวของสมาชิกในกลมุ่ ให้
ความร่วมมือในการทาโครงการหรือไม่
คนที่ 1 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี 2 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี 3 ใหค้ วามร่วมมือ
คนที่ 4 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี 5 ใหค้ วามร่วมมือ
คนที่ 6 ใหค้ วามร่วมมือ
คนที่ 7 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี 8 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี 9 ใหค้ วามร่วมมือ
คนท่ี10 ใหค้ วามร่วมมือ

ตารางที่ 4.4 คาถามขอ้ ท่ี 3

33

จากตารางที่ 4.3 คาถามขอ้ ที่ 3 บุคคลในครอบครัวของสมาชิกในกลุ่มให้ความร่วมมือในการทา
โครงการหรือไม่ ผลประเมินสรุปไดว้ ่าสมาชิกในครอบครัวให้ความร่วมมือในการทาโครงการคร้ังน้ีและ
ช่วยเหลือเป็นอยา่ งมาก

ด้านท่ี 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปัจจยั

ผปู้ ระเมิน 4. โครงการมีความชดั เจนและตรงตาม
วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีวางไวห้ รือไม่ อยา่ งไร
คนที่ 1
คนท่ี 2 เป็น เพราะ แบง่ ใหค้ นในครอบครัวได้
คนที่ 3 เป็น เพราะ สามารถแจกใหค้ นท่ีตอ้ งการได้
คนที่ 4 เป็น เพราะ สามารถปลกู ไวก้ ินเองภายในครอบครัว
คนท่ี 5 ไม่ เพราะ ตะไคร้ไม่ไดต้ ามวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้
เป็น เพราะ ฟ้าทะลายโจรสามารถนามาใชป้ ระโยชน์
คนท่ี 6 ไดจ้ ริง
คนท่ี 7 เป็น เพราะ คนในครอบครัวสามารถนาตน้ กลา้ ไป
คนท่ี 8 เพาะพนั ธ์ต่อได้
คนที่ 9 เป็น เพราะ สามารถช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายไดจ้ ริง
เป็น เพราะ มีการแจกจ่ายจริง
คนท่ี10 เป็น เพราะ เมื่อเกิดอาการไม่สบาย ก็สามารถนามา
ตม้ เเกไ้ ขก้ ไ็ ด้
ไม่เป็น เพราะ เขามีพชื ชนิดน้ีอยแู่ ลว้ เลยไม่ได้
ตอ้ งการ

ตารางท่ี 4.5 คาถามขอ้ ท่ี 4

จากตารางท่ี 4.5 คาถามขอ้ ที่ 4 โครงการมีความชดั เจนและตรงตามวตั ถุประสงคท์ ่ีวางไวห้ รือไม่
อย่างไร ผลสรุปจากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ โครงการใหค้ วามชดั เจนเกี่ยวกบั การปลูกฟ้าทะลายโจรและตะไคร้
มีวตั ถุประสงคค์ อื การแจกจ่ายให้กบั คนท่ีตอ้ งการ และใชบ้ ริโภคเอง และการนาสรรพคุณของพชื ท้งั 2 มาใช้
ใหเ้ กิดประโยชน์ในการรักษาโรค และลดค่าใชจ้ ่ายไดด้ ว้ ย

34

ผปู้ ระเมิน 5. ความพร้อมของทรัพยากร และอุปกรณ์ใน
การปลกู มีมากนอ้ ยเพยี งใด
คนที่ 1 มีมาก
คนท่ี 2 มีมาก
คนท่ี 3
คนท่ี 4 มีมาก เนื่องจากที่บา้ นมีการเพาะปลุกผกั อยแู่ ลว้
คนที่ 5 มีและไมถ่ ึงข้นั พร้อม
คนท่ี 6 มี
คนท่ี 7 มี
คนที่ 8 มี
คนที่ 9 มีมาก
คนท่ี10 มีมาก
มีมาก

ตารางท่ี 4.6 คาถามขอ้ ที่ 5

จากตารางท่ี 4.6 คาถามข้อท่ี 5 ความพร้อมของทรัพยากร และอุปกรณ์ในการปลูก มีมากน้อย
เพียงใดผลสรุปจากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ ่า ความพร้อมในการทาการปลูกค่อนขา้ งมีมาก และมีอุปกรณ์ใชอ้ ยู่
เเลว้ จึงสะดวกในการเพาะปลูกเป็นส่วนใหญ่

ผปู้ ระเมิน 6. ระยะเวลาในการทาการปลกู เพียงพอต่อ
การเจริญเติบโตของพชื หรือไม่
คนท่ี 1 เพยี งพอ
คนท่ี 2 ไม่เพียงพอ
คนท่ี 3 ไม่เพยี งพอ
คนท่ี 4 เพียงพอ
คนท่ี 5 เพยี งพอ
คนท่ี 6 เพียงพอ
คนที่ 7 เพียงพอ
คนที่ 8 ไม่เพยี งพอ
คนท่ี 9 เพียงพอ
คนที่10 เพียงพอ

ตารางท่ี 4.7 คาถามขอ้ ที่ 6

35

จากตารางท่ี 4.7 คาถามขอ้ ท่ี 6 ระยะเวลาในการทาการปลูก เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
หรือไม่ ผลสรุปจกผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ ระยะเวลาในการทาการปลูกเหมาะกบั เวลาท่ีไดม้ ีการกาหนไว้ ทาให้
พืชไดม้ ีระยะเวลาในการเจริญเติบโตที่ไดด้ ี

ด้านท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ

ผปู้ ระเมิน 7. เวลาในการทาการปลูก เหมาะกบั การ
เจริญเติบโตของพชื มากนอ้ ยแค่ไหน
คนที่ 1 มาก
คนที่ 2 มาก
คนที่ 3 มาก
คนท่ี 4 ปานกลาง
คนท่ี 5 ปานกลาง
คนท่ี 6 ปานกลาง
คนท่ี 7 มาก
คนท่ี 8 ปานกลาง
คนท่ี 9 ปานกลาง
คนที่10 ปานกลาง

ตารางท่ี 4.8 คาถามขอ้ ที่ 7

จากตารางท่ี 4.8 คาถามขอ้ ที่ 7 เวลาในการทาการปลูก เหมาะกบั การเจริญเติบโตของพืชมากนอ้ ยแค่
ไหน ผลสรุปจากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ ระยะเวลาในการทาการปลูกเหมาะกบั เวลาที่ไดม้ ีการกาหนดไว้ ทาให้
พชื ไดม้ ีระยะเวลาในการเจริญเติบโตที่ไดด้ ี

36

ผปู้ ระเมิน 8. คนในชุมชนความตอ้ งการพืชชนิดน้ี
หรือไม่ มานอ้ ยเพียงใด
คนท่ี 1 ตอ้ งการค่อนขา้ งมาก
คนท่ี 2 ตอ้ งการ
คนท่ี 3 ตอ้ งการมาก
คนที่ 4 ตอ้ งการมาก
คนที่ 5 ตอ้ งการ
คนที่ 6 ตอ้ งการ
คนที่ 7 ตอ้ งการ
คนท่ี 8 ตอ้ งการค่อนขา้ งมาก
คนที่ 9 ไม่คอ่ ยตอ้ งการ
คนที่10 ไม่คอ่ ยตอ้ งการ

ตารางท่ี 4.9 คาถามขอ้ ท่ี 8

จากตารางท่ี 4.9 คาถามขอ้ ที่ 8 คนในชุมชนความตอ้ งการพืชชนิดน้ีหรือไม่ มานอ้ ยเพียงใด ผลสรุป
จากผูป้ ระเมินสรุปไดว้ ่า คนในชมชุมมีความตอ้ งการเป็ นส่วนมาก เพราะสรรพคุณของพืชตอบสนองต่อ
สถานการณ์ที่ระบาดในช่วงน้ี และมีเเค่บางบา้ นเทา่ น้นั ที่มีอยู่เลยไมต่ อ้ งการที่จะเพาะตอ่ เพราะพชื ควรจะนา
แจกจ่ายใหก้ บั คนท่ีไม่มีปลูกเเต่ละบา้ น และตอ้ งการ

ผปู้ ระเมิน 9. ประชาชนมีความร่วมมือในการนาพืชไป
ปลกู หรือเพาะต่อหรือไม่
คนที่ 1 ปลูก
คนท่ี 2 ปลกู
คนท่ี 3 ไมป่ ลูก
คนที่ 4 ไม่ปลกู
คนที่ 5 ไมป่ ลกู
คนท่ี 6 ปลกู
คนที่ 7 ปลูก
คนท่ี 8 ไม่ปลูก
คนท่ี 9 ปลกู
คนท่ี10 ไม่ปลูก

ตารางที่ 4.10 คาถามขอ้ ที่ 9

37

จากตารางที่ 4.10 คาถามขอ้ ที่ 9 ประชาชนมีความร่วมมือในการนาพชื ไปปลกู หรือเพาะต่อหรือไม่
ผลสรุปจากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ มีท้งั ปลูกและไม่ปลกู เน่ืองจากบางบา้ นมีการปลกู พืชสองชนิดน้ีอยแู่ ลว้
และบางบา้ นท่ีจะนาเพาะปลกู ต่อคือบา้ นที่ไม่มีการปลูกพชื สองชนิดน้ีมากก่อน

ด้านท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลติ

ผปู้ ระเมิน 10. โครงการน้ีสามารถนาผลผลิตไปแจกจ่าย
ไดจ้ ริงหรือไม่
คนที่ 1 ไดจ้ ริง
คนท่ี 2 ไดจ้ ริง
คนท่ี 3 ไดจ้ ริง
คนท่ี 4 ไดจ้ ริง
คนที่ 5 ไดจ้ ริง
คนที่ 6 ไดจ้ ริง
คนท่ี 7 ไดจ้ ริง
คนท่ี 8 ไดจ้ ริง
คนที่ 9 ไดจ้ ริง
คนท่ี10 ไดจ้ ริง

ตารางท่ี 4.11 คาถามขอ้ ที่ 10

จากตารางที่ 4.11 คาถามขอ้ ท่ี 10 โครงการน้ีสามารถนาผลผลิตไปแจกจ่ายไดจ้ ริงหรือไม่ ผลสรุป
จากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ โครงการน้ีสามารถนาผลผลิตแจกจ่ายไดจ้ ริง

38

ผปู้ ระเมิน 11. โครงการท่ีจดั ทาข้ึนสามารถประหยดั
ค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือพชื สองชนิดน้ีไดจ้ ริง
คนที่ 1 หรือไม่
คนท่ี 2 จริง
คนท่ี 3 จริง
คนท่ี 4 จริง
คนที่ 5 ไมจ่ ริง
คนที่ 6 จริง
คนที่ 7 ไมจ่ ริง
คนท่ี 8 ไมจ่ ริง
คนท่ี 9 จริง
คนท่ี10 จริง
จริง

ตารางที่ 4.12 คาถามขอ้ ที่ 11

จากตารางท่ี 4.12 คาถามขอ้ ท่ี 11โครงการท่ีจดั ทาข้ึนสามารถประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการซ้ือพืชสอง
ชนิดน้ีไดจ้ ริงหรือไม่ ผลสรุปจากผปู้ ระเมินสรุปไดว้ า่ โครงการน้ีช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการซ้ือพืชสอง
ชนิดน้ีไดจ้ ริง

ผปู้ ระเมิน 12. มีความพงึ พอใจต่อโครงการน้ีมากน้ี
เพียงใด
คนที่ 1 มาก
คนท่ี 2 มาก
คนท่ี 3 ปานกลาง
คนท่ี 4 ปานกลาง
คนที่ 5 ปานกลาง
คนที่ 6 ปานกลาง
คนท่ี 7 มาก
คนท่ี 8 มากที่สุด
คนที่ 9 มากที่สุด
คนที่10 มากท่ีสุด

ตารางท่ี 4.13 คาถามขอ้ ที่ 12

39

จากตารางท่ี 4.13 คาถามขอ้ ท่ี 12 มีความพงึ พอใจต่อโครงการน้ีมากน้ีเพียงใด ผลสรุปจากผปู้ ระเมิน
สรุปไดว้ า่ ผปู้ ระเมินมีความพึงพอใจในโครงการน้ีมาก-มากท่ีสุด

40

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภูมิคุม้ กนั น้ี
ไดเ้ กิดปัญหาบางช่วงบางตอนเน่ืองจากมีสภาพอาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ทาใหต้ ะไคร้ไดร้ ับความเสียหาย และ
ไม่เป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้

ผลการประเมนิ โครงการด้านปัจจัย โครงการปลกู ฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่อื สร้างภูมิคุม้ กนั น้ีสามารถ ช่วย
ให้คนในครอบครัวลดภารค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือพืช2ชนิดน มาบริโภค และอีกท้งั ยงั สะดวกสบายในการท่ีจะ
นาพชื มาใช้ ในยามที่ตอ้ งการไดท้ นั ที

ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ โครงการปลูกฟ้าทะลายโจร & ตะไคร้เพ่ือสร้างภมู ิคุม้ กนั น้ี ไดม้ ี
การดาเนินการโดยการใชว้ ตั ถุดิบ ที่มีอยใู่ นครัวเรือน และไดม้ ีการใชก้ ระบวนการ การปลูกพืชแบบใว้ทาน
เองและไดม้ ีการแจกจ่ายใหก้ บั คนท่ีมีความตอ้ งการ

ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต ทางกลุ่มไดน้ าฟ้าลายโจรมาใชป้ ระโยชน์และแจกจ่ายไดจ้ ริง เน่ืองจาก
ฟ้าทะลายโจรเจริญเติบโตเตม็ ที่

ข้อเสนอแนะ

- ควรเตรียมพ้นื ท่ีในการเพาะปลกู ใหด้ ีกวา่ น้ี
- มีการป้องกนั สตั วบ์ างชนิดไม่ใหม้ าเขย่ี พชื หรือทาลายพืช
- ยา้ ยตน้ พชื ใหอ้ ยใู่ นที่ ท่ีเหมาะสมกวา่ น้ี


Click to View FlipBook Version