The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunari_samerjai, 2021-04-06 02:24:45

ประวัติศาสตร์ม.2

+¦-ߦ¦++í--¦++-¦-¦++--¦+8 -2

รวมแบบฝึกหัดประวตั ศิ าสตร์ ม.2

แบบอารณ์ดี มีสาระกบั ครูฟล๊คุ ยิ้มนะ
ฝกึ ทกั ษะพัฒนาความรู้ ย่ิงทา ยิ่งเก่ง
ครอบคลุมทกุ เน้อื หาประวตั ศิ าสตร์ ม.2 รบั รองว่าเกง่

โดย ครฟู ล๊คุ ย้ิมนะ
เพจ: ฝากบอกครูสงั คม

คานา

ประวัติศาสตร์เป็นส่วนหน่ึงของวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระประวัติศาสตร์ ทั้งน้ีเพื่อเป็นการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
และการทบทวนเน้ือหา เพจฝากบอกครูสังคมจึงได้เรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลเน้ือหาประวัติศาสตร์
มัธยมศึกษาปัที่ 2 ท่ี “สาคัญและจาเป็น” ต่อการพัฒนา ทักษะการคิด วิเคราะห์ โดยมีจุดประสงค์
ให้หนังสือเล่มนี้เป็นอีกหน่ึงทางเลือกให้กับครูผู้สอนและนักเรียนที่มีความสนใจในป ระวัติศาสตร์
นอกจากน้ีประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่น่าสนใจ น่าค้นหา และเป็นสิ่งท่ีบอกเร่ืองราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
ประวตั ิศาสตร์ ว่าเกิดเหตุการณ์ใดขึ้นบ้าง

ซึ่งหนังสือเล่มนี้ยังจัดทาตาม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาช้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551
โดย จัดลาดบั ใบความรแู้ บ่งออกเป็น 6 หนว่ ย ดังน้ี

หนว่ ยที่ 1 ความสาคญั ของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์
หน่วยท่ี 2 พัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยา
หนว่ นท่ี 3 พฒั นาการของอาณาจักรธนบรุ ี
หน่วยที่ 4 ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคัญในการสร้างสรรค์
หนว่ ยท่ี 5 ที่ตัง้ และสภาพภมู ิศาสตร์ทมี่ ผี ลต่อพัฒนาการของทวปี เอเชยี
หนว่ ยท่ี 6 แหล่งอารายธรรมในเอเชีย

ท้ายน้ี เพจฝากบอกครูสังคม หลังสือ “รวมแบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ ม.2” น้ีจะเป็นอีกหน่ึง
คูม่ อื ข้างกายครูและนักเรียนไทยได้ใช้เป็นประโยชน์ในการฝึกทักษะคิด วิเคราะห์ เพ่ือให้เกิดการพัฒนา
ของต่อบคุ คลต่อไป

หนังสือเล่มน้ีเรียบเรียงข้ึนโดยอ้างอิงเน้ือหาตามหนังสือเรียน วิชาประวัติศาสตร์ไทย
ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 รวมท้ังข้อมูลเนื้อหา ข้อสอบท้ังก่อนเรียนและหลังเรียน
และแบบฝึดหดั หนงั ส่ือเลม่ นี้ แบ่งออกเปน็ 6 หน่วย รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ไทย

หนว่ ยท่ี 1 ความสาคัญของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
หนว่ ยท่ี 2 พัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยา
หน่วนที่ 3 พัฒนาการของอาณาจักรธนบรุ ี
หน่วยที่ 4 ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั ในการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 5 ทตี่ ัง้ และสภาพภมู ศิ าสตร์ท่ีมผี ลตอ่ พฒั นาการของทวปี เอเชยี
หนว่ ยที่ 6 แหล่งอารายธรรมในเอเชีย

โดยหนังสือ “รวมแบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ ม.2” เป็นการรวบรวม แบบฝึกหัดฝึก
ทักษะการคิด วิเคราะห์และการแยกแยะ ซึ่งจะมีท้ัง ข้อสอบ แบบฝึกหัด เนื้อหาประกอบ
ใบความรู้ และเฉลย เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและนักเรียนท่ีมีความต้องการที่จะฝึกฝน
ทบทวบความรู้ในรายวิชาประวัตศิ าสตร์ไทย ม.2

เราทาได้ ไปสนุกกบั แบบฝึกหดั กันดกี วา่
มาลยุ กันเลย

ใหน้ ักเรยี นอธิบาย “วธิ ีการทางประวัติศาสตร์” ตามความเขา้ ใจของนักเรยี น

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
…………………………………………………………… ……………………………………………………………

……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
…………………………………………………………… ……………………………………………………………

………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……………………………………………………………

ข้ันตอนท่ี 1 การต้ังประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นข้ันตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีนัก
ประวัติศาสตร์ หรือผู้สนใจทางประวัติศาสตร์มีความสนใจอยากรู้ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ตอนใด
ตอนหนง่ึ โดยตั้งประเด็นคาถามว่า ศกึ ษาเรื่องอะไรในชว่ งเวลาใด ทาไมจึงตอ้ งศกึ ษา

ขนั้ ตอนท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ทส่ี ามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคยี งกับความเปน็ จริงท่ีเกิดข้ึนได้ ประกอบด้วยหลักฐานที่ไม่ เป็นลาย
ลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ คาบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ และหลักฐานท่ีเป็นลาย
ลักษณ์อักษร เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกและเอกสารต่างๆ ในการสะสม และรวบรวมข้อมูล
ต่าง ๆ เหล่าน้ี นักประวัติศาสตร์จาเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนสารวจ เนื่องจากข้อมูลแต่ละ
ประเภทเป็นผลิตผลท่ีมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีจุดประสงค์ท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันต้องค้นหาต้นตอหรือ
สาเหตุของขอ้ มลู อย่างลกึ ซ้ึงเท่าที่จะทาได้ เพอ่ื ปอ้ งกันมิใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ถกู บดิ เบือน

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนาข้อมูลท่ีได้สืบค้น
รวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนามาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้อง
ใช้เหตผุ ลเป็นแนวทางในการตีความเพอื่ นาไปสู่การค้นพบขอ้ เทจ็ จริงทางประวตั ศิ าสตร์ทีถ่ กู ตอ้ ง

ขัน้ ตอนท่ี 4 การคัดเลือกและประเมินข้อมูล นักประวัติศาสตร์จะต้องนาข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้มา
คดั เลอื ก และประเมินเพือ่ ค้นหาความเกย่ี วข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
ที่ต้องการทราบ

ข้ันตอนท่ี 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ท่ีได้รับอันเป็นผลมาจากการ
วิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรืออธิบายข้อสงสัย เพ่ือนาเสนอข้อมูลในลักษณะท่ีเป็นการตอบ
ตลอดจนความรู้ ความคดิ ใหมท่ ่ีได้จากการศึกษาคน้ ควา้ ในรูปแบบการรายงาน อยา่ งมเี หตุผล

คาชี้แจง หาภาพหรอื วาดภาพหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีเปน็ ลายลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
มาอย่างนอ้ ย 2 ชน้ิ แล้วเขยี นอธิบายลกั ษณะสาคญั มาพอสงั เขป

1.หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ท่เี ป็นลายลักษณ์อกั ษร

หลักฐานน้ี คอื
มลี ักษณะสาคัญ ดังน้ี

หลักฐานน้ี คอื
มีลักษณะสาคัญ ดังนี้

2.หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

หลกั ฐานนี้ คือ
มีลักษณะสาคัญ ดังนี้

หลักฐานน้ี คอื
มลี กั ษณะสาคัญ ดังนี้

1.หลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีเป็นลายลักษณ์อักษร

หลักฐานนี้ คอื ตานาน
มีลักษณะสาคัญ ดังนี้ การจดบันทึกและ พิมพ์เผยแพร่ ดังน้ันเรื่องที่ อยู่ใน
ตานานจงึ อาจถูกเปล่ยี นแปลงจากเรอ่ื งเดิมไดเ้ พราะการลืม ความไม่ แม่นยาใน
การจดจาการแต่งเติมเร่ือง การไม่ให้ความสาคัญในเร่ืองการเวลา จึงมีการ
กล่าวถึงเวลาอย่างกว้างๆ เรื่องท่ีปรากฏในตานานมักจะกล่าวถึงเรื่องใน
พระพทุ ธศาสนา เร่อื งราวของบคุ คล

หลกั ฐานน้ี คอื
มีลักษณะสาคัญ ดงั นี้

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน)

2.หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร

หลักฐานนี้ คอื วดั
มลี กั ษณะสาคญั ดังน้ี หลกั ฐานท่ไี มเ่ ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรมีหลายประเภท
เช่น พระราชวงั เก่าท่พี ระนครศรอี ยุธยา ท่ลี พบรุ ี วดั ศิลปวตั ถุ และ
หมู่บ้านชาวตา่ งชาติ ซง่ึ สามารถใช้ประกอบกับหลักฐานทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์
อกั ษรในการศึกษาค้นควา้

หลักฐานนี้ คอื
มีลกั ษณะสาคัญ ดงั นี้

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของครูผู้สอน)

คาช้แี จง: ยกตวั อยา่ งหลักฐานทางประวตั ิศาสตรแ์ ละบอกลกั ษณะสาคญั มาพอสงั เขป

ลกั ษณะสาคัญ ลักษณะสาคญั

ลักษณะสาคัญ ลกั ษณะสาคญั

ลกั ษณะสาคญั ลกั ษณะสาคัญ

คาช้แี จง: ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์และบอกลักษณะสาคญั มาพอสงั เขป

จำรึก ลกั ษณะสาคญั ลักษณะสาคญั บนั ทกึ คำบอก
เลำ่ ของผ้ทู ไ่ี มไ่ ด้อยู่
จดหมำยเหตุ บั น ทึ ก เ ร่ื อ ง ร า ว เป็ นบันทึกหรือหนังสือที่ ในเหตกุ ำรณ์
เหตุการณ์ ที่เกิ ดข้ึ นใ น เ ขี ย น ข้ึ น ภ า ย ห ลั ง จ า ก ท่ี
โบรำณสถำน สงั คมลงบนวสั ดุท่ีมีความ เหตุการณ์ล่วงเลยมานานแล้ว
โบรำณวตั ถุ ค ง ท น เ ช่ น แ ผ่น ศิ ล า ซ่ึ ง อ า ศัย ข้อ มู ล จ า ก ห ลัก ฐ า น
โลหะ จึงไม่สูญสลายไป ช้นั ตน้

ลกั ษณะสาคัญ ลักษณะสาคัญ ตำรำทำง
วิชำกำร
บัน ทึ ก ร่ ว ม ส มัย ที่ จั ด เ ป็ น ผ ล ง า น ที่
บอกเกี่ยวกบั วนั เวลา ที่มี สร้ างสรรค์ข้ึนโดยนัก
เหตุการณ์เกิดข้ึน และมี ป ร ะ วัติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
ก า ร แ ท ร ก ค ว า ม คิ ด เ ห็ น นักวิชาการสาขาอ่ืนโดย
ของผบู้ นั ทึกลงไปดว้ ย ผา่ นการคน้ ควา้ วิเคราะห์
และเรียบเรียง
ลักษณะสาคญั
ลกั ษณะสาคัญ ตำนำน
จัดเป็นหลักฐานท่ีไม่
เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร นิทานพื้นบ้านท่ีบอก
ส า ม า ร ถ ใ ช้ ศึ ก ษ า เ ป็ น เล่าต่อ ๆ กันมา รวบรวม
หลักฐานชน้ั ต้น เพราะเป็น เรียบเรียงเป็นลายลักษณ์
สิ่งท่ีผู้คนในสมัยก่อนได้ทา อักษร เน้นเร่ืองความเช่ือ
หรอื สรา้ งข้นึ ศรทั ธา

ความหมายของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์
............................................................................................................................. ...........................................

1. การกาหนดประเด็นปญั หา (WH Question)

การศึกษาประวัตศิ าสตร์เร่ิมจากการตั้งคาถามพ้ืนฐานหลัก5คาถาม คอื

1. เกดิ เหตกุ ารณอ์ ะไรขน้ึ ในอดีต ..............................................................

2. เหตกุ ารณน์ ้ันเกดิ ขนึ้ เมอ่ื ไหร่ ..............................................................

3. เหตกุ ารณ์น้นั เกิดข้ึนทีไ่ หน ..............................................................

4. ทาไมจึงเกดิ เหตกุ ารณ์นน้ั ข้นึ ..............................................................

5. เหตุการณ์นั้นเกิดขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร ..............................................................

ให้นกั เรียนเขียนประวัติชีวิตตนเอง 1 กรณี โดยอธิบายตามหลกั คาถามพืน้ ฐาน (WH Question)
............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. .............................
...............................................................................................................................................................................
2. การรวบรวมขอ้ มูลเปน็ การสบื ค้นข้อมูลตา่ งๆ โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์
3. การวิเคราะห์ ตคี วาม ประเมนิ คุณค่าของหลักฐาน คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้น
ว่า มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื หรือไม่ ถอื ว่าเป็นขน้ั ตอนที่มีความสาคัญมากทีส่ ดุ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ มีวิธีการประเมิน
ดงั นี้

3.1 การประเมินภาย.....................คอื การประเมนิ ผูบ้ นั ทึกหลกั ฐาน และ ประเมนิ ตวั หลกั ฐาน
3.2 การประเมนิ ภาย.....................คือ การการตรวจสอบความถูกต้องของหลกั ฐานที่จะศกึ ษาควบคู่

กบั หลกั ฐานอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกันในชว่ งเวลานัน้
4. การสรุป สงั เคราะห์ เช่อื มโยงขอ้ เท็จจริง คอื การนาข้อมลู ท่ีผ่านการวิเคราะหข์ องหลักฐานแต่ละชิน้ มา
เช่อื มโยงกนั
5. การนาเสนอขอ้ มูล จัดเปน็ ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ ผู้ศึกษาค้นควา้ จะต้องเรียบเรียงเร่ือง
หรือนาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความรู้ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามีวิธีการนา
เสนอมากมายเชน่

(สรปุ ) ความสาคญั ของวธิ ีการทางประวัติศาสตร์

............................................................................................................................. ..................................................
...............................................................................................................................................................................
.

ความหมายของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์

การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลกั ฐานแลว้ นามาเปรียบเทียบอย่างเป็ นระบบ เพ่ือ

อธิบายเหตุการณ์สาคญั ท่ีเกิดข้ึนในอดีตวา่ เหตุใดจึงเกิดข้ึน หรือเหตุการณ์ในอดีตน้นั ไดเ้ กิดและคลี่คลายอยา่ งไร ซ่ึงเป็ น

ความมุ่งหมายที่สาคญั ของการศึกษาประวตั ิศาสตร์

1. การกาหนดประเด็นปัญหา (WH Question)

การศึกษาประวัตศิ าสตรเ์ ร่ิมจากการต้ังคาถามพ้ืนฐานหลัก 5คาถาม คอื

1. เกดิ เหตกุ ารณ์อะไรข้ึนในอดตี what

2. เหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนเมื่อไหร่ when

3. เหตกุ ารณ์น้ันเกิดขนึ้ ท่ีไหน where

4. ทาไมจงึ เกิดเหตกุ ารณ์นัน้ ข้ึน why

5. เหตกุ ารณน์ ัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร how

ใหน้ กั เรียนเขียนประวัติชีวิตตนเอง 1 กรณี โดยอธบิ ายตามหลกั คาถามพ้นื ฐาน (WH Question)
(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

2. การรวบรวมข้อมูลเป็นการสบื คน้ ข้อมลู ตา่ งๆ โดยใชห้ ลักฐานทางประวตั ิศาสตร์
3. การวเิ คราะห์ ตคี วาม ประเมนิ คณุ ค่าของหลักฐาน คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้น
วา่ มคี วามน่าเชอื่ ถอื หรอื ไม่ ถือว่าเป็นข้นั ตอนที่มคี วามสาคญั มากที่สุดในการศึกษาประวัติศาสตร์ มีวิธีการประเมิน
ดังนี้

3.1 การประเมินภายใน คือ การประเมินผู้บันทกึ หลักฐาน และ ประเมินตวั หลักฐาน
3.2 การประเมินภายนอก คอื การการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานท่ีจะศกึ ษาควบคู่

กบั หลักฐานอื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกนั ในชว่ งเวลานัน้
4. การสรปุ สงั เคราะห์ เช่อื มโยงข้อเทจ็ จริง คอื การนาข้อมูลท่ีผ่านการวเิ คราะหข์ องหลักฐานแตล่ ะชนิ้ มา
เชอื่ มโยงกัน
5. การนาเสนอขอ้ มลู จัดเปน็ ขั้นตอนสุดทา้ ยของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ซ่งึ ผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ จะต้องเรียบเรียงเรื่อง
หรือนาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความรู้ความคิดใหม่ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้ามีวิธีการนา
เสนอมากมายเช่น

(สรุป) ความสาคญั ของวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์

(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของครูผ้สู อน)

หนังสอื จดหมายเหตุ

BANGKOKRECORDER.

การประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐาน

การตรวจสอบและประเมินหลกั ฐาน
การประเมินคุณค่าของหลักฐาน คือ การประเมินหลักฐานผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะใช้ในการตรวจหลักฐานว่ามี

คุณค่าและความนา่ เชื่อถอื เพยี งพอหรือไม่กอ่ นทจ่ี ะนามาใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
วธิ ีการประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ของหลักฐานแบง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ
1. การประเมินภายนอก

การพิจารณาจากลักษณะภายนอกของหลักฐาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้รู้จักตัวหลักฐานนั้นเป็นอย่างดี รวมทั้งรู้ว่า
เปน็ หลกั ฐานจริงหรอื ปลอม สงิ่ ที่ควรพิจารณาไดแ้ ก่

1. อายุของหลักฐาน การรู้ว่าหลักฐานสร้างหรือเขียนขึ้นเมื่อไร ทาให้เราตีความสานวนภาษาท่ีใช้ได้ถูกต้อง
และเขา้ ใจส่งิ ทีห่ ลักฐานกลา่ วถึงโดยอาศยั สภาพแวดลอ้ มทางประวตั ิศาสตร์ของยคุ สมยั น้ันมาประกอบ

2. ผู้สร้างหรือผู้เขียนหลักฐาน การรู้ว่าใครเป็นผู้สร้างหรือผู้เขียนหลักฐานทาให้เราสืบค้นได้ว่า ผู้น้ันมีภูมิหลัง
อย่างไร เกี่ยวข้องใกล้ชิดกบั เหตกุ ารณ์หรือไม่ มอี คติตอ่ สิ่งท่สี รา้ งหรอื เขยี นหรือไม่

3. จุดมุ่งหมายของหลักฐาน การรู้จุดมุ่งหมายของหลักฐานช่วยให้ประเมินความน่าเช่ือถือได้ เช่น โคลงท่ีแต่งข้ึน
เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ย่อมหลีกเลี่ยงท่ีจะไม่กล่าวถึงด้านลบของพระมหากษัตริย์องค์นั้น จากหลักฐานที่
ยกตัวอย่างมาน้นั เม่อื นามาใชจ้ ะต้องแยกแยะข้อเทจ็ จรงิ ออกมาใหไ้ ด้

4. รูปเดิมของหลักฐาน หลักฐานเป็นจานวนมาไม่ใช่หลักฐานดั้งเดิม แต่ผ่านการคัดลอกต่อๆ กันมาจึงเกิดความ
คลาดเคลื่อนได้ หลักฐานประเภทพระราชพงศาวดารท่ีผ่านการชาระมักมีการตัดทอนหรือเพ่ิมเติมเน้ือความ แก้ไขสานวน
โวหาร รวมทงั้ แทรกทัศนคติของยุคสมัยทม่ี ีการชาระพระราชพงศาวดารนนั้ ลงไปดว้ ย ทาให้ผิดไปจากหลักฐานเดิม
2. การประเมินภายใน

เป็นการประเมินส่ิงท่ีปรากฏบนหลักฐาน อาทิ ตัวอักษร รูปภาพ ร่องจารึก ตาหนิ ว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด
มขี อ้ ความใดท่นี า่ สงสยั หรอื กล่าวไวไ้ ม่ถูกตอ้ ง

ตวั อยา่ ง ปีท่สี มเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงสรา้ งพระวิหารวัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก ในพระราชพงศาวดารฉบับ
ต่างๆ ระบไุ วต้ รงกนั บา้ งไมต่ รงกนั บา้ ง เชน่

พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากต้นฉบบั ของบริตชิ มวิ เซียม และ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุ
มาศ (เจิม) ว่าสร้างเมอื่ ศักราช 810 ปมี ะโรงสมั ฤทธศิ ก (ตรงกับพ.ศ. 1991)

พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ ว่าสร้างเม่ือศักราช 826 วอกศก (ตรงกับพ.ศ. 2007) จะเห็นว่า
หลกั ฐานชนิ้ หลังระบุเวลาห่างจากหลกั ฐาน 2 ชิ้นแรก 16 ปี

หลักฐานท้ังหมดที่ยกมาเป็นหลักฐานชั้นรอง ควรหาหลักฐานช้ันต้นมาเทียบ คือ ศิลาจารึกวัดจุฬามณี ปรากฏว่า
จารึกระบุว่า พระวิหารวัดจุฬามณีสร้างเม่ือ “ศักราช 826 ปีวอกนักษัตร” ตรงกับพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวง
ประเสรฐิ ฯ

หลักฐานทีใ่ ชใ้ นการศึกษาประวัติศาสตร์ ต้องเปน็ หลักฐานที่ให้ข้อมูลที่เป็นจริง หลักฐานท่ีให้ข้อมูลจริงบ้างเท็จบ้าง
นาส่วนทีเ่ ปน็ จรงิ ไปใช้ได้ ส่วนหลักฐานทเี่ ปน็ เท็จทัง้ หมดไม่นาไปใชใ้ นการศกึ ษา

ใบความรู้
หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยอยธุ ยา

1. พระราชพงศาวดาร

เปน็ บนั ทกึ เก่ยี วกับพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยใ์ นด้านตา่ งๆ อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

1.พระราชพงศาวดารท่ียังไม่ผ่านกระบวนการชาระให้ข้อมูลตามที่ผู้บันทึกเดิม
เขียนไว้ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ พระราชพงศาวดารความ
เก่า จ.ศ. 113

2.พระราชพงศาวดารท่ีผ่านการกระบวนการชาระ คือ มีการตรวจสอบแก้ไขใน
สมยั ธนบุรแี ละรตั นโกสนิ ทร์ ทาให้เนือ้ ความและจดุ ประสงค์แตกตา่ งไปจากเดมิ เชน่

พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยาฉบับพันจันทนมุ าศ (เจิม)
พระราชพงศาวดารกรุงเกา่ ฉบับพระจักรพรรดิพงศเ์ จ้ากรม (จาด)
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับสมเดจ็ พระพนรตั น์
พระราชพงศาวดารกรงุ สยามจากต้นฉบับของบรติ ชิ มวิ เซียม กรุงลอนดอน
พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา

2. จดหมายเหตโุ หร เปน็ งานของโหรประจาราช

สานัก บันทึกพระราชกรณียกิจและเหตุการณ์
สาคัญในบ้านเมืองตามลาดับวันที่เกิดเหตุการณ์
โดยสรุปส้ันๆ

3. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ ส่วนใหญ่เป็น

เอกสารที่ชาวยุโรปที่เดินทางเข้ามาในอาณาจักร
อยุธยาเขียนข้ึน เช่น จดหมายเหตุฟานฟลีต ของ
เยเรเมยี ส ฟาน ฟลีต ชาวฮอลันดา

4. วรรณกรรม สมัยอยุธยามีวรรณกรรมหลาย

เรือ่ งทใ่ี ห้ข้อมลู ทางประวตั ิศาสตร์ เช่น ลิลิตโองการ
แชน่ า้ ลิลิตยวนพา่ ย

5. หลักฐานทางโบราณคดแี ละศลิ ปกรรม

เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุท่สี ร้างใน
สมยั อยธุ ยา ซึง่ มจี านวนมาก

พระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี
ฉบับพันจันทนุมาศ บางฉบับอยู่ต่อเป็นส่วนท้ายของพระราช
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เช่น ในฉบับกรุงสยามฯ ฉบับพระ
ราชหตั ถเลขา

เอกสารชาวต่างชาติ เช่น ชิงสื่อลู่ กล่าวถึงการติดต่อ
ระหว่างสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับราชสานักราชวงศ์ชิง
ของจนี มขี อ้ มูลเกย่ี วกับสมัยสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช

บันทึกจากเรื่องบอกเล่า เช่น จดหมายเหตุความทรงจา
กรมหลวงนรินทรเทวี กล่าวถึงเร่ืองราวก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา
ครัง้ ท่ี 2 และเหตุการณส์ มยั ธนบรุ จี นถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์



คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. สภาพชุมชนแถบลุ่มแมน่ ้าเจ้าพระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยามลี ักษณะสอดคล้อง

กับขอ้ ใด

ก. เปน็ ท่ีตั้งของอาณาจักรขอม ข. เปน็ กลุ่มชนใตอ้ านาจขอม

ค. อยรู่ วมกันเปน็ ชุมชนขนาดเล็ก ง. เป็นชนเผ่าอิสระอยู่รวมกนั หลายเผา่

2. ศูนยก์ ลางความเจริญของอาณาจกั รสพุ รรณภมู ิ สันนษิ ฐานวา่ นา่ จะอยู่บรเิ วณใดในปจั จุบัน

ก. อาเภอวิเศษชยั ชาญ จงั หวัดอา่ งทอง ข. อาเภอไชโย จังหวดั อา่ งทอง

ค. อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวัดสุพรรณบุรี ง. อาเภออู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี

3. กษัตริย์พระองค์ใดทรงสร้างกรุงศรอี ยุธยาเป็นราชธานี

ก. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อ่ทู อง) ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

ค. สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ ง. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

4. ขอ้ ใดเปน็ ปัจจัยสา้ คญั ที่ทาใหม้ ีการสถาปนากรงุ ศรีอยุธยาเป็นราชธานีได้สาเร็จ

ก. กษตั รยิ ์มีความเด็ดขาด ข. อาณาจกั รสุโขทยั อ่อนแอ

ค. คนไทยมีความสามัคคี ง. ได้รับความช่วยเหลือจากอาณาจกั รใกลเ้ คียง

5. ขอ้ ใดมใิ ชร่ าชวงศ์ทีป่ กครองอาณาจกั รอยุธยา

ก. อู่ทอง ข. ละโว้ ค. สุพรรณภมู ิ ง. สโุ ขทยั

6. ฐานะพระมหากษัตริยส์ มัยอยธุ ยามีลักษณะต่างจากสมยั สโุ ขทยั อยา่ งไร

ก. ทรงเป็นธรรมราชา ข. ทรงเป็นเทวราชา

ค. ทรงเปน็ สมมติเทพ ง. ทรงเปน็ เทวราชาและธรรมราชาควบคูก่ นั

7. ธรรมะข้อใดทพี่ ระมหากษัตรยิ ์ในสมัยอยุธยาทรงปฏบิ ัติเพื่อควบคุมใหใ้ ชพ้ ระราชอานาจอนั มมี ากมายอย่ใู น

ขอบเขตเกดิ ความสงบสุขและรม่ เย็นของบา้ นเมือง

ก. สงั คหวตั ถุ ข. ทศพิธราชธรรม ค. จักรวรรดิวตั ร ง. ราชสังคหวัตถุ

8. ขอ้ ใดกลา่ วถึงหน้าท่ขี องจตุสดมภ์ได้ถกู ต้อง

ก. กรมเวียง พิจารณาคดตี า่ งๆ ข. กรมวงั รับผิดชอบทางดา้ นการศึกษา

ค. กรมคลงั ดูแลผลประโยชน์ของแผ่นดนิ ง. กรมนา สง่ เสรมิ การเกษตรของขุนนาง

9. ในสมยั อยธุ ยาตอนต้นมรี ูปแบบการปกครองสมั พนั ธก์ บั ขอ้ ใด

ก. แบง่ เป็นส่วนกลาง – สว่ นภูมภิ าค ข. แบ่งเปน็ หวั เมืองชน้ั นอก - หัวเมอื งช้ันใน

ค. แบ่งเป็นราชธานี – เมอื งประเทศราช ง. แบง่ เป็นหัวเมืองเอก โท ตรี

10. เมอื งใดต่อไปน้มี อี ิสระในการปกครองตนเองมากทสี่ ดุ

ก. เมอื งชนั้ ใน ข. เมืองพระยามหานคร ค. เมอื งหนา้ ด่าน ง. เมืองประเทศราช

11. การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเกิดจากสาเหตุใด

ก. เมืองราชธานีไม่เขม้ แขง็ ข. ไดร้ ับแนวคิดจากอาณาจักรเพือ่ นบ้าน

ค. ขุนนางมีอานาจมากเกนิ ไป ง. บา้ นเมอื งกวา้ งใหญด่ ูแลไม่ท่วั ถึง

12. ในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ หน่วยงานใดมีอานาจหน้าทีบ่ งั คับบัญชาและตรวจราชการทหารทั่ว

อาณาจักร

ก. สมุหพระกลาโหม ข. สมหุ นายก ค. ขนุ เวียง ง. ขุนวงั

13. จุดมงุ่ หมายหลกั ในการปฏริ ปู การปกครองในสมัยอยุธยาตอนปลายคอื อะไร

ก. ป้องกนั การแย่งชิงอานาจ ข. สร้างความเขม้ แขง็ ในอาณาจกั ร

ค. ลดอานาจของขุนนางและเช้ือพระวงศ์ ง. ให้อิสระในการปกครองตนเองของราษฎร

14. เพราะเหตใุ ดสมัยอยธุ ยาตอนปลายกองทพั จึงออ่ นแอลง

ก. ว่างเว้นจากการทาศกึ มานาน ข. ขาดการฝกึ ซ้อมกาลังพล

ค. ขาดแคลนกาลังพล ง. อาวธุ ยุทโธปกรณ์สว่ นใหญ่ไมท่ ันสมัย

15. คา้ กล่าวในขอ้ ใดท่จี ะชว่ ยเตอื นสติและเป็นอุทาหรณ์ให้กับคนไทย เพื่อมิให้เหตุการณ์ อยา่ งเช่นในสมัย

อยธุ ยาตอนปลายเกดิ ข้นึ อีก

ก. รู้จกั สามัคคี ข. ววั หายล้อมคอก ค. แพเ้ ป็นพระ ชนะเป็นมาร ง. รแู้ พ้ รู้ชนะ รอู้ ภยั

16. เศรษฐกจิ ของอยธุ ยาข้นึ อยกู่ บั ขอ้ ใด

ก. เกษตรกรรม หัตถกรรม ข. หัตถกรรม การคา้

ค. เกษตรกรรม หาของป่า ง. เกษตรกรรม หัตถกรรม การคา้

17. เครอ่ื งเทศทีเ่ ป็นสินค้าออกท่ีสา้ คญั ของอยุธยาคืออะไร

ก. หมากพลู ข. ฝาง กฤษณา ค. กระวาน พริกไทย ง. ครั่ง กานพลู

18. สมัยอยุธยามีนโยบายการคา้ กับชาติตะวนั ตกท่ีเขา้ มาติดต่อคา้ ขายอยา่ งไร

ก. ยอมสวามิภักดิ์โดยดี ข. เรยี กรอ้ งผลประโยชนต์ า่ งๆ

ค. จากัดสทิ ธิเสรีภาพทางศาสนา ง. เป็นมติ รและคา้ ขายกบั ทกุ ชาติ

19. รายได้สงู สุดจากการค้ากบั ตา่ งประเทศของอาณาจักรอยุธยาได้แก่การค้ากบั ประเทศอะไร

ก. จนี ข. อาหรับ ค. องั กฤษ ง. ฮอลันดา

20. เหตกุ ารณใ์ นขอ้ ใดตอ่ ไปน้ที ่ีแสดงถงึ พระปรชี าสามารถและความกลา้ หาญของสมเด็จ พระนเรศวร

มหาราชมากท่สี ดุ

ก. ปีนคา่ ยข้าศึก ข. เจรจาและทาสญั ญาสงบศึกกบั ฮอลนั ดา

ค. ทาสงครามยทุ ธหัตถกี บั พระมหาอุปราชา ง. ประกาศอสิ รภาพทเี่ มืองแครง

เฉลย 1.ค 2.ง 3.ก 4.ค 5.ข 6.ง 7.ข 8.ค 9.ก 10.ง
11.ง 12.ก 13.ก 14.ข 15.ก 16.ง 17.ค 18.ง 19.ก 20.ค

จตุสดมภ์

คาช้ีแจง: เขียนหน้าทข่ี องเสนาบดที ัง้ 4 หน่วยงาน ในการปกครองแบบจตุสดมภ์ให้ถูกต้องการเมือง

การปกครองสมยั อยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. 1893–1991)

……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………


……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………

 อาณาจกั รอยธุ ยาปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
 สมยั อยธุ ยาตอนต้น เป็นช่วงทีอ่ ยธุ ยาขยายอานาจออกไปอย่างกวา้ งขวาง

สุโขทยั

หัวเมอื งมอญดา้ นตะวนั ตก ดินแดนเขมร

คาบสมุทรลายตู อนบน

จตุสดมภ์

การปกครองสมยั อยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. 1893–1991)

ปกครองท้องที่ดูแลทุกข์สุขของราษฎร รักษาพระราชวังชั้นนอกช้ันใน บังคับ

ปราบปรามโจรผู้รา้ ย บญั ชาข้าราชการฝา่ ยหน้า

บังคับบัญชาในเร่ืองเก่ียวกับการเงินที่ ดูแลรักษานาหลวงเก็บค่าเช่าจาก

จะเขา้ ในพระคลงั และภาษี ราษฎรจดั ซอ้ื ขา้ วขึ้นฉางหลวง ดูแลการ

ทานาของราษฎร

ให้นักเรียนอธบิ าย “การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา และการเมืองการปกครอง
สมยั อยธุ ยา” ตามความเขา้ ใจของนักเรียน
1. เปรียบเทียบลักษณะการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนตน้ ตอนกลางและตอนปลาย ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร

2. การเมอื งการปกครองสมัยอยุธยาตอนตน้ มีลักษณะอย่างไร

3. การปฏิรปู การปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ มคี วามสาคญั อยา่ งไรต่อประวตั ิศาสตร์การเมืองไทย

4. การเมืองการปกครองสมัยอยธุ ยาตอนปลายมีลักษณะอยา่ งไร

1. เปรยี บเทียบลักษณะการเมอื งการปกครองสมัยอยุธยาตอนตน้ ตอนกลางและตอนปลาย ว่ามคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไร
การเมืองการปกครองสมัยอยธุ ยาตอนตน้ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การปกครองส่วนกลางจัดการปกครองแบบจตุสดมภ์ตาม

อย่างเขมร และการปกครองหวั เมอื งแบ่งเป็นเมืองลกู หลวง เมอื งช้ันใน เมืองช้นั นอก และประเทศราช
การเมอื งการปกครองสมยั อยุธยาตอนกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองส่วนกลางใหม่ ฝ่ายทหารให้ส

มหุ พระกลาโหมดูแล ฝา่ ยพลเรอื นให้สมหุ นายกดแู ล ปรับปรุงชื่อเรยี กและหนา้ ท่ีของจตสุ ดมภ์ และใหข้ ึน้ กบั สมหุ นายก
การปกครองหัวเมอื งแบ่งเปน็ เมืองช้นั ใน เมืองช้นั นอก ประเทศราช การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย สมุหพระกลาโหม
ถูกลดบทบาทลงไม่ได้ดูแลหัวเมือง สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ พระคลังดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก หัวเมืองฝ่ายใต้ท่ี
โอนมาจากสมุหพระกลาโหม

2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนตน้ มีลกั ษณะอย่างไร

มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีอานาจเด็ดขาด ในการปกครองอาณาจักร

รปู แบบการปกครองเปน็ แบบจตุสดมภ์ ซึ่งสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงนาแบบอย่างมาจากสุโขทัยและเขมรแล้ว

มาปรับเปลี่ยนใหเ้ หมาะสมกับอาณาจกั รอยุธยา

3. การปฏริ ูปการปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ มคี วามสาคัญอย่างไรต่อประวตั ศิ าสตร์การเมืองไทย
เป็นรากฐานการปกครอง ซึ่งมีการนามาปรับใช้ในสมัยต่อ ๆ มาจนถึงสมัยรัชกาลท่ี 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้มี

การเปล่ียนแปลงไป โดยมกี ารจดั การปกครองตามแบบอยา่ งตะวันตก

4. การเมอื งการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลายมีลักษณะอยา่ งไร
ในสมยั น้ไี ด้มกี ารเปลี่ยนแปลงอานาจดูแลท้ังฝา่ ยทหารและพลเรือนในหวั เมืองฝ่ายใต้ของสมุหพระกลาโหมได้ถูกโอนไปให้

พระคลังหรือโกษาธิบดี ทาให้พระคลังหรือโกษาธิบดีมีอานาจมากขึ้น เพราะนอกจากจะได้ดูแลหัวเมืองชายทะเลต ะวันออก
และรับผิดชอบดูแลการค้ารวมถึงการติดต่อกับต่างประเทศแล้วยังได้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ท่ีรับโอนอานาจมาจากสมุหพระกลาโหม
อีกด้วย





การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา

ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาขอ้ ความต่อไปน้ีแล้วใสเ่ ครอ่ื งหมายถูก หรือ X ลงในช่องว่างทกี่ าหนดให้

หมายเหตุ ขอ้ ท่ีคาตอบผิดให้นักเรียนแกไ้ ขคาตอบใหถ้ ูกตอ้ ง ลงในสมดุ ในเรียบร้อย

ขอ้ ที่ รายการ ถกู ผดิ
๑ ก่อนที่จะสถาปนาอาณาจักรอยุธยา มีรัฐของคนไทยต้ังอยู่ก่อนแล้วหลายรัฐ ได้แก่ อาณาจักร

สโุ ขทัย อาณาจักรล้านนา แคว้นละโว้ และแควน้ สพุ รรณภมู ิ

๒ ความอดุ มสมบูรณ์ของพ้ืนที่ ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้า ๒ สายไหลผ่าน คือ แม่น้า
เจา้ พระยา แม่นา้ ลพบรุ ี จึงเหมาะแกก่ ารเพาะปลูก และสร้างบา้ นเรอื น

๓ ความมั่นคงทางยุทธศาสตร์ มีสภาพเป็นเกาะ มีแม่น้าลาคลองล้อมรอบ เป็นแนวป้องกันการบุก
รุกของขา้ ศกึ และเมอื่ ถงึ ฤดนู ้าหลากนา้ จะท่วมฝ่ังนอกพระนคร ขา้ ศึก ไม่สามารถตงั้ ทพั ได้

๔ การเมืองการปกครองในช่วงที่พระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นเวลาที่อาณาจักร
สโุ ขทัยและเขมรเส่อื มอานาจลง

๕ ดา้ นเศรษฐกิจของสมยั อาณาจักรอยุธยา เนอื่ งจากมีแมน่ ้า 3 สายไหลผ่าน และต้ังอยู่ไม่ไกลจาก
ทะเล ทาให้เป็นศูนยก์ ลางการคมนาคมทางนา้ และการค้า

๖ ปจั จยั ท่ีเอือ้ ต่อความเจริญร่งุ เรืองของอาณาจักรอยธุ ยา ประกอบด้วยลักษณะทางกายภาพ, ทาเล
ที่ต้งั , การรับอารยธรรมเดิมจาก อาณาองั กฤษหรือชาวตะวันออก, พระปรีชาสามารถของ
พระมหากษตั รยิ ์สมยั อยธุ ยา

๗ พระมหากษัตรยิ ส์ มัยอยธุ ยาทรงเป็นสมมติเทพ ตามความเชอ่ื ของอารยธรรมจนี พระมหากษัตรยิ ์
ปกครอง ๓๔ พระองค์

๘ การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ก่อต้ังขึ้นเมื่อราว พ.ศ. ๑๘๙๓ มีพระเจ้าอู่ทองเป็นปฐมกษัตริย์
มีพระมหากษัตรยิ ป์ กครอง ๖ ราชวงศ์ ๓๓ พระองค์ ฯลฯ

๙ หน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ของอาณาจักรอยุธยา ประกอบด้วย ๑. ป้องกันขยายอาณาจักร
๒. คมุ้ ครองชวี ติ และทรัพยส์ ินของราษฎร ๓. บารุงพระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรม

๑๐ พระเจา้ อู่ทองมีความสาคัญต่ออาณาจักรอยุธยาเปน็ ผกู้ อ่ ต้งั หรอื สถาปนาอาณาจักรอยุธยา และ
ทรงต้ังราชธานกี รุงศรีอยธุ ยา

การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา

ข้อท่ี รายการ ถกู ผดิ
๑ ก่อนท่ีจะสถาปนาอาณาจักรอยุธยา มีรัฐของคนไทยต้ังอยู่ก่อนแล้วหลายรัฐ ได้แก่ อาณาจักร

สุโขทยั อาณาจกั รลา้ นนา แควน้ ละโว้ และแคว้นสพุ รรณภมู ิ

๒ ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ ต้ังอยู่บริเวณท่ีราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้า ๒ สายไหลผ่าน คือ แม่น้า
เจา้ พระยา แมน่ า้ ลพบรุ ี จึงเหมาะแก่การเพาะปลกู และสร้างบ้านเรือน

๓ ความมั่นคงทางยุทธศาสตร์ มีสภาพเป็นเกาะ มีแม่น้าลาคลองล้อมรอบ เป็นแนวป้องกันการบุก
รุกของขา้ ศกึ และเมอื่ ถึงฤดูนา้ หลากนา้ จะท่วมฝง่ั นอกพระนคร ขา้ ศกึ ไม่สามารถตัง้ ทพั ได้

๔ การเมืองการปกครองในช่วงท่ีพระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นเวลาที่อาณาจักร
สโุ ขทยั และเขมรเสือ่ มอานาจลง

๕ ดา้ นเศรษฐกิจของสมัยอาณาจกั รอยุธยา เนื่องจากมีแม่น้า 3 สายไหลผา่ น และตัง้ อยไู่ ม่ไกลจาก
ทะเล ทาให้เป็นศนู ยก์ ลางการคมนาคมทางน้าและการค้า

๖ ปจั จัยท่ีเอ้ือต่อความเจริญร่งุ เรืองของอาณาจกั รอยุธยา ประกอบด้วยลักษณะทางกายภาพ, ทาเล
ท่ตี ้ัง, การรับอารยธรรมเดิมจาก อาณาองั กฤษหรอื ชาวตะวนั ออก, พระปรชี าสามารถของ
พระมหากษัตรยิ ส์ มัยอยธุ ยา

๗ พระมหากษตั ริย์สมยั อยุธยาทรงเป็นสมมตเิ ทพ ตามความเช่ือของอารยธรรมจีน พระมหากษตั รยิ ์
ปกครอง ๓๔ พระองค์

๘ การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ก่อต้ังข้ึนเม่ือราว พ.ศ. ๑๘๙๓ มีพระเจ้าอู่ทองเป็นปฐมกษัตริย์
มีพระมหากษตั ริย์ปกครอง ๖ ราชวงศ์ ๓๓ พระองค์ ฯลฯ

๙ หน้าที่ของพระมหากษัตริย์ ของอาณาจักรอยุธยา ประกอบด้วย ๑. ป้องกันขยายอาณาจักร
๒. คุ้มครองชวี ิตและทรัพยส์ นิ ของราษฎร ๓. บารงุ พระพทุ ธศาสนาและศลิ ปวัฒนธรรม

๑๐ พระเจา้ อ่ทู องมีความสาคัญตอ่ อาณาจักรอยุธยาเปน็ ผู้ก่อตง้ั หรือสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา และ
ทรงต้งั ราชธานกี รุงศรีอยธุ ยา

ให้นักเรียนอธิบาย “ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนากรุงศรีอยุธยา” ตามความ
เขา้ ใจของนกั เรยี น

……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..
…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…
………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..……
……..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……

……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..
…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…
………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..……
……..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……

…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…
………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..……
……..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..………
…..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……….

…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…
………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..……
……..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..………
…..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……….

ใหน้ ักเรียนวาดแผนที่แสดงอาณาจกั รอยุธยา

ต้ังอยู่บริเวณท่ีราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้า 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้า
เจ้าพระยา แม่น้าลพบุรี และแม่น้าป่าสัก จึงเหมาะแก่การเพาะปลูก
และสร้างบา้ นเรอื น

เนอ่ื งจากมแี มน่ า้ 3 สายไหลผา่ น และต้งั อยูไ่ มไ่ กลจากทะเล
ทาให้เป็นศนู ยก์ ลางการคมนาคมทางนา้ และการคา้

มีสภาพเป็นเกาะ มีแม่น้าลาคลองล้อมรอบ เป็นแนวป้องกันการบุกรุก
ของข้าศึก และเม่ือถึงฤดูน้าหลากน้าจะท่วมฝ่ังนอกพระนคร ข้าศึกไม่
สามารถต้ังทัพได้

ช่วงทพ่ี ระเจา้ อ่ทู องทรงสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยา เป็นเวลาที่อาณาจักร
สโุ ขทัยและเขมรเส่อื มอานาจลง

ปจั จัยทเ่ี อือ้ ตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของอาณาจักรอยธุ ยา

ใหน้ กั เรยี นอธบิ าย “ปัจจัยทเี่ ออ้ื ตอ่ ความเจริญรุ่งเรอื งของอาณาจักรอยธุ ยา” ตามความเข้าใจของนักเรยี น

……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..
…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…
………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..……
……..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……

……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..
…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…
………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..……
……..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……

…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…
………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..……
……..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..………
…..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……….

…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…
………..…………..…………..…………..…………..……………..…………..…………..…………..……
……..…………..…………..……………..…………..…………..…………..…………..…………..………
…..……………..…………..…………..…………..…………..…………..…………....…………..……….

อยุธยามพี ระมหากษตั ริย์ 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ ดงั นี้

ใ ห้ นั ก เ รี ย น ร ะ บุ จ าน ว น “ร าช ว ง ศ์ อยุ ธย า ”
แตล่ ะราชวงศ์

ปจั จัยทเี่ อือ้ ตอ่ ความเจริญรงุ่ เรือง
ของอาณาจักรอยธุ ยา

มคี วามอุดมสมบูรณเ์ หมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน มีคนเขา้ มาอยู่อาศัยมาก ทาให้
มีกาลังคนในการสร้างกองทัพและแรงงานการผลติ

ต้ังอยใู่ นเส้นทางการค้า เมอื่ การคา้ ขยายตัวขึน้ จงึ กลายเป็นศูนย์กลางการค้า
ระหว่างตะวันออกและตะวันตก ทาให้อาณาจักรมีรายได้จากการเก็บภาษีการค้า
และการค้าสาเภา

ตั้งอยู่บนพื้นที่ที่มีอารยธรรมเก่าแก่ อารยธรรมเหล่านี้ได้สืบทอดเข้ามา
ผสมผสานกับศิลปวัฒนธรรมอยุธยาและปรับปรุงให้เหมาะสม ทาให้อยุธยามีความ
เจริญรงุ่ เรืองด้านศลิ ปวัฒนธรรม

พระมหากษัตริย์อยุธยาทรงปกครองอย่างมีระเบียบ ใช้กฎหมายควบคุม
สังคม ดาเนินนโยบายการต่างประเทศอย่างเหมาะสม ทาให้ได้รับผลประโยชน์ทาง
การค้า และไดร้ บั วิทยาการใหม่ ๆ

อยุธยามพี ระมหากษตั ริย์ 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ ดงั น้ี
ใหน้ กั เรียนระบุจานวน “ราชวงศอ์ ยธุ ยา”

3 13 7 4 6

ความเสือ่ มของอาณาจกั รอยธุ ยา

ให้นักเรยี นพจิ ารณาข้อความต่อไปนีแ้ ลว้ ใสเ่ ครื่องหมายถกู หรือ X ลงในช่องว่างทกี่ าหนดให้

หมายเหตุ ข้อท่คี าตอบผดิ ให้นักเรียนแกไ้ ขคาตอบให้ถูกตอ้ ง ลงในสมดุ ในเรียบร้อย

ขอ้ ที่ รายการ ถกู ผิด
๑ ลางร้ายบอกเหตุก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ เมื่อใกล้จะเสียพระนครศรีอยุธยาน้ัน เกิดลาง

รา้ ยต่าง ๆ คอื พระพุทธปฏมิ ากรใหญ่ในวัดพนญั เชงิ มีน้าพระเนตรไหล
๒ ความเสื่อมของอาณาจกั รอยุธยา เกดิ การแยง่ ชงิ อานาจของราชวงศ์พระมหากษัตริย์และเจ้านาย

ของอาณาจกั รอยธุ ยา
๓ ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยา ทาให้เกิดความเข้มแข็งของ

อาณาจกั รพมา่ จึงนาไปสู่กรงุ ศรีอยุธยาครัง้ ท่ี ๒
๔ ปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุแห่งความเสื่อมการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๑๑๓ สมัยสมเด็จพระ

มหินทราธิราชทรงมอบหมาย ให้พระนเรศวร พระราชโอรสยกทัพไปช่วยพม่าปราบเมืองอังวะ
๕ พระเจ้ากรุงหงสาวดีทรงเห็นว่า กองทัพของ พระนเรศวรยกมาช้าทรงเกิดความระแวง จึงส่ังให้

พระมหาอุปราชาหาทางกาจดั พระนเรศวร
๖ กรุงศรีอยุธยาอ่อนแอ จึงทาให้ตกเป็นประเทศราชของพม่า ๑๕ ปี ต่อมาสมเด็จพระนเรศวร

มหาราชประกาศอิสรภาพท่ีเมืองแครง
๗ สงครามเสยี กรุงศรอี ยธุ ยา คร้ังท่ี ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ สมัยสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรมทาสงครามกับพม่า
๘ สมยั สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์พระเจ้าอลองพญาแห่งพม่าเห็นว่าไทยกาลัง

อ่อนแอจึงยกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา แต่เกิดเหตุปืนใหญ่แตก ถูกพระเจ้าอลองพญาบาดเจ็บ
สาหัสและส้ินพระชนม์ระหว่างทาง หลังจากนั้นเกิดเหตุการณ์วุ่นวายข้ึนในพม่า จนเสียเวลา
ปราบอยู่ระยะหนง่ึ
๙ กรุงศรอี ยุธยาเสยี แก่พม่าเปน็ คร้งั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๔
๑๐ ในการตีกรุงศรีอยุธยาเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๐๗ พม่ายกกองทัพ มาทางด้านไหนทางเหนือ ทางตะวันตก
และทางใต้

ความเสอ่ื มของอาณาจักรอยธุ ยา

ข้อที่ รายการ ถูก ผดิ
๑ ลางร้ายบอกเหตุก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี ๒ เมื่อใกล้จะเสียพระนครศรีอยุธยานั้น เกิดลาง

รา้ ยต่าง ๆ คอื พระพทุ ธปฏิมากรใหญใ่ นวัดพนัญเชิงมีน้าพระเนตรไหล
๒ ความเสอ่ื มของอาณาจักรอยธุ ยา เกิดการแยง่ ชงิ อานาจของราชวงศ์พระมหากษัตริย์และเจ้านาย

ของอาณาจักรอยธุ ยา
๓ ความขัดแย้งเร่ืองผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยา ทาให้เกิดความเข้มแข็งของ

อาณาจกั รพมา่ จงึ นาไปสู่กรงุ ศรอี ยธุ ยาครัง้ ท่ี ๒
๔ ปัจจัยที่เป็นสาเหตุแห่งความเสื่อมการเสียกรุงศรีอยุธยา คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๑๑๓ สมัยสมเด็จพระ

มหนิ ทราธริ าชทรงมอบหมาย ให้พระนเรศวร พระราชโอรสยกทพั ไปช่วยพม่าปราบเมอื งอังวะ
๕ พระเจ้ากรุงหงสาวดีทรงเห็นว่า กองทัพของ พระนเรศวรยกมาช้าทรงเกิดความระแวง จึงส่ังให้

พระมหาอุปราชาหาทางกาจัดพระนเรศวร
๖ กรุงศรีอยุธยาอ่อนแอ จึงทาให้ตกเป็นประเทศราชของพม่า ๑๕ ปี ต่อมาสมเด็จพระนเรศวร

มหาราชประกาศอิสรภาพท่ีเมืองแครง
๗ สงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครงั้ ที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ สมัยสมเด็จพระเจา้ ทรงธรรมทาสงครามกับพม่า
๘ สมัยสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั พระท่ีน่ังสุริยาศน์อมรินทร์พระเจ้าอลองพญาแห่งพม่าเห็นว่าไทยกาลัง

อ่อนแอจึงยกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา แต่เกิดเหตุปืนใหญ่แตก ถูกพระเจ้าอลองพญาบาดเจ็บ
สาหัสและสิ้นพระชนม์ระหว่างทาง หลังจากน้ันเกิดเหตุการณ์วุ่นวายข้ึนในพม่า จนเสียเวลา
ปราบอยรู่ ะยะหน่งึ
๙ กรงุ ศรีอยธุ ยาเสยี แก่พม่าเป็นคร้ังที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๔
๑๐ ในการตกี รุงศรอี ยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๐๗ พมา่ ยกกองทัพ มาทางดา้ นไหนทางเหนือ ทางตะวนั ตก
และทางใต้

3คาสัง่ : เลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว

1. สมัยอยุธยาใชร้ ะบบใดในการจัดระเบยี บชนชัน้ ในสังคม

ก. ระบบขุนนาง ข. ระบบมูลนาย ค. ระบบศักดินา ง. ระบบชนช้นั ปกครอง

2. ในสังคมอยุธยาคนกลุม่ ใดมจี านวนมากท่ีสดุ

ก. ไพร่ ข. ทาส ค. ขุนนาง ง. พระสงฆ์

3. บคุ คลใดไมม่ กี ารกาหนดศักดินาไว้

ก. ไพร่ ข. ทาส ค. พระสงฆ์ ง. พระมหากษัตริย์

4. ไพร่ประเภทใดขนึ้ ทะเบียนสังกดั พระมหากษัตริยโ์ ดยตรง

ก. ไพร่สม ข. ไพร่ส่วย ค. ไพรท่ าส ง. ไพรห่ ลวง

5. ข้อใดเปน็ พระราชกรณยี กิจที่สาคญั ของพระมหากษตั ริยแ์ หง่ กรุงศรีอยธุ ยาในการทานบุ ารงุ พระพทุ ธศาสนา

ก. สร้างวัด ข. เสดจ็ ออกผนวช

ค. สงั คายนาพระไตรปิฎก ง. ส่งสมณทูตไปเผยแผ่ศาสนา

6. ในสมัยอยุธยามกี ารเกบ็ ฤชา อากร ส่วย จากบุคคลกลุ่มใด

ก. ราษฎร ข. ชาวจนี ค. ขุนนาง ง. ชาวตา่ งชาติ

7. กรมท่าซ้ายในสมัยอยุธยามหี น้าทเ่ี กย่ี วกับอะไร

ก. การคา้ ภายใน ข. การค้ากับชาติยโุ รป

ค. การค้ากับดินแดนทางตะวันตก ง. การค้ากบั ดนิ แดนทางตะวันออก

8. ในสมัยอยธุ ยาสนิ ค้าประเภทใดตอ้ งซ้ือขายผ่านพระคลังสนิ ค้า

ก.ผา้ แพร ข.พริกไทย ค. กามะถนั ง. เคร่อื งปนั้ ดนิ เผา

9. อากรประเภทใดเกบ็ จากผู้ปลูกอ้อย ข้าวโพด

ก. อากรนา ข. อากรสวน ค. อากรศุลกากร ง. อากรสมพัตสร

10. การสร้างและดแู ลปอ้ ม คา่ ย จดั เป็นค่าใชจ้ า่ ยประเภทใด

ก. เบีย้ หวดั ข. การทหาร ค. พระราชพธิ ี ง. ราชการพิเศษ

เฉลย 1.ค 2.ก 3.ง 4.ง 5.ก 6.ก 7.ง 8.ค 9.ง 10.ข







หนังสอื จดหมายเหตุ

BANGKOKRECORDER.

การสถาปนาอาณาจกั รธนบรุ ี

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถำมต่อไปน้ี

1. เหตุผลในการยา้ ยราชธานจี ากกรงุ ศรอี ยธุ ยาไปยังกรงุ ธนบุรมี อี ะไรบ้าง

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) หลกั ฐานทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ ตานาน จารกึ พงศาวดาร บนั ทกึ ของชาวต่างชาติ จดหมายเหตุ เอกสาร

ทางราชการ
2) หลกั ฐานทไี่ มเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ โบราณสถาน โบราณวตั ถตุ ่างๆ
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยแบง่ ออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) หลกั ฐานทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ ตานาน จารกึ พงศาวดาร บนั ทกึ ของชาวต่างชาติ จดหมายเหตุ เอกสาร

2. เหตุผลท่ีเมืองธนบรุ เี หมาะท่จี ะใชเ้ ป็นราชธานี

เพราะตานานเป็นเรอื่ งทเี่ ลา่ ต่อๆ กนั มา แลว้ มกี ารนามาบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรในภายหลงั เรอื่ งทอี่ ย่ใู น
ตานานจงึ อาจถูกเปลยี่ นแปลงจากเรอื่ งเดมิ ได้ ทงั้ ยงั ไมม่ กี ารระบุเวลาแน่ชดั อกี ดว้ ย

ทางราชการ
2) หลกั ฐานทไี่ ม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุต่างๆ
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) หลกั ฐานทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ ตานาน จารกึ พงศาวดาร บนั ทกึ ของชาวต่างชาติ จดหมายเหตุ เอกสาร

3. จงอธิบายเส้นทางการตฝี ่าวงล้อม

เหตุการณ์เกยี่ วกบั อาณาจกั ร และพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ผ์ คู้ รองอาณาจกั รนนั้ ๆ เนอื่ งจาก
พงศาวดารเป็นการบนั ทกึ เรอื่ งราวในอดตี ภายใตก้ ารอุปถมั ภข์ องราชสานกั จงึ มเี น้อื หาเกยี่ วขอ้ งกบั ราชอาณาจกั รและ
พระมหากษตั รยิ เ์ ป็นสว่ นใหญ่
เหตุการณ์เกยี่ วกบั อาณาจกั ร และพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ผ์ คู้ รองอาณาจกั รนนั้ ๆ เนอื่ งจาก
พงศาวดารเป็นการบนั ทกึ เรอื่ งราวในอดตี ภายใตก้ ารอุปถมั ภข์ องราชสานกั จงึ มเี น้อื หาเกยี่ วขอ้ งกบั ราชอาณาจกั รและ
พระมหากษตั รยิ เ์ ป็นสว่ นใหญ่
เหตุการณ์เกยี่ วกบั อาณาจกั ร และพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ผ์ คู้ รองอาณาจกั รนนั้ ๆ เนอื่ งจาก
พงศาวดารเป็นการบนั ทกึ เรอื่ งราวในอดตี ภายใตก้ ารอุปถมั ภข์ องราชสานกั จงึ มเี น้อื หาเกยี่ วขอ้ งกบั ราชอาณาจกั รและ
พระมหากษตั รยิ เ์ ป็นสว่ นใหญ

การสถาปนากรุงธนบุรี

คาสั่ง จงตอบคาถามให้ไดใ้ จความ

1. เหตผุ ลในการยา้ ยราชธานีจากกรุงศรอี ยธุ ยาไปยังกรงุ ธนบรุ มี ีอะไรบ้าง
1. กรุงศรีอยุธยาเสียหายมาจนยากแก่การบูรณาใหด้ ดี งั เดิม
2. กรุงศรอี ยธุ ยามบี รเิ วณกวา้ งขวางเกนิ กวา่ กาลังกองทพั ของพระองค์
3.ขา้ ศึกศัตรูรลู้ ทู่ างภูมิประเทศ และจดุ อ่อนของกรงุ ศรีอยธุ ยาหมดแลว้
4. กรุงศรีอยุธยาอยู่ห่างทะเลเกนิ ไป ไม่สะดวกแก่การตดิ ต่อสือ่ สาร

2. เหตุผลทเี่ มอื งธนบุรีเหมาะทีจ่ ะใช้เปน็ ราชธานี
1. ธนบรุ ีเป็นเมอื งขนาดเล็ก พอทก่ี าลงั พลของพระองค์จะปกครองได้
2. ในกรณีทม่ี ีขศ่ ึกเขา้ มายากแก่การรักษาพระนคร จะย้ายไปต้ังมั่นท่จี นั ทบุรี
3. เมืองธนบุรีมีป้อมปราการสรา้ งต้งั แตส่ มยั พระนารายณม์ หาราช
4. เมอื งงธนบุรีเปน็ ท่ลี ุ่ม มบี ึงนอ้ ยใหญ่อยูท่ วั่ ไป
5. เมืองธนบรุ ใี กล้ปากนา้ เหมาะแก่การค้าขายกับตา่ งประเทศ

3. จงอธบิ ายเส้นทางการตฝี ่าวงลอ้ ม

การตีฝ่าวงล้อมไปทางทิศตะวันออก เร่ิมต้นท่ีนครนายก
มุ่งหน้าไปปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ลงทางใต้เข้าที่ชลบุรี เพื่อเก็บ
เสบยี งอาหารและผู้คนเลยี บชายฝงั่ ทะเลผา่ นบา้ นนาเกลือ

พัทยา หาดจอมเทียน หยุดท่ี จังหวัดระยอง อยู่ 7 - 8 วัน
และจึงตีเมืองจันทบุรี พร้อมรวบรวมกาลังพลมาช่วยกรุงศรี
อยธุ ยาโดยทางน้า

คาสงั่ : เลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว

1.สาเหตสุ าคญั ทีส่ ดุ ทที่ าใหก้ รุงศรีอยุธยาสน้ิ อานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร

ก. พมา่ มีกาลังเหนือกว่า ข. ขาดแคลนเสบยี งอาหาร

ค. พม่าใช้กลยทุ ธ์ไสศ้ กึ ภายใน ง. ความอ่อนแอทางดา้ นทหารและการเมอื ง

2.พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรอี ยุธยาไปรวบรวมผู้คนที่เมืองใด

ก. เมอื งตาก ข. เมอื งจันทบรุ ี ค. เมืองพิษณโุ ลก ง. เมอื งกาแพงเพชร

3. ชุมนมุ แรกที่สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคอื ชมุ นุมใด

ก. ชมุ นมุ เจา้ พมิ าย ข. ชมุ นมุ เจา้ พระฝาง

ค. ชมุ นมุ เจา้ พระยาพิษณุโลก ง. ชุมนุมเจา้ นครศรธี รรมราช

4. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญท่ีสุดในการเลือกเมอื งธนบุรี เปน็ ราชธานีใหม่แทนกรงุ ศรีอยุธยา

ก. มีป้อมปราการพรอ้ ม ข. มที างหนอี อกทางทะเลสะดวก

ค. อยใู่ กลป้ ากแมน่ า้ เหมาะแก่การคา้ ง. เป็นเมอื งเล็กเหมาะกับกาลงั พลทมี่ ีอยู่

5. ในสมยั ธนบรุ กี รมใดท่ีมีหนา้ ท่ีติดตอ่ คา้ ขายกบั ต่างประเทศ

ก. กรมวัง ข. กรมพระคลงั ค. กรมนครบาล ง. กรมเกษตราธิการ

คาสงั่ : เลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว

1.สาเหตสุ าคญั ทีส่ ดุ ทที่ าใหก้ รุงศรีอยุธยาสน้ิ อานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร

ก. พมา่ มีกาลังเหนือกว่า ข. ขาดแคลนเสบยี งอาหาร

ค. พม่าใช้กลยทุ ธ์ไสศ้ กึ ภายใน ง. ความอ่อนแอทางดา้ นทหารและการเมอื ง

2.พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรอี ยุธยาไปรวบรวมผู้คนที่เมืองใด

ก. เมอื งตาก ข. เมอื งจันทบรุ ี ค. เมืองพิษณโุ ลก ง. เมอื งกาแพงเพชร

3. ชุมนมุ แรกที่สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคอื ชมุ นุมใด

ก. ชมุ นมุ เจา้ พมิ าย ข. ชมุ นมุ เจา้ พระฝาง

ค. ชมุ นมุ เจา้ พระยาพิษณุโลก ง. ชุมนุมเจา้ นครศรธี รรมราช

4. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญท่ีสุดในการเลือกเมอื งธนบุรี เปน็ ราชธานีใหม่แทนกรงุ ศรีอยุธยา

ก. มีป้อมปราการพรอ้ ม ข. มที างหนอี อกทางทะเลสะดวก

ค. อยใู่ กลป้ ากแมน่ า้ เหมาะแก่การคา้ ง. เป็นเมอื งเล็กเหมาะกับกาลงั พลทมี่ ีอยู่

5. ในสมยั ธนบรุ กี รมใดท่ีมีหนา้ ท่ีติดตอ่ คา้ ขายกบั ต่างประเทศ

ก. กรมวัง ข. กรมพระคลงั ค. กรมนครบาล ง. กรมเกษตราธิการ



คาส่งั : ใหน้ กั เรยี นโยงเสน้ เรยี งลาดบั การปราบชุมนุมตา่ งๆใหถ้ กู ตอ้ ง

1
2
3
4
5
6
7
8

คาส่งั : ใหน้ กั เรยี นโยงเสน้ เรยี งลาดบั การปราบชุมนุมตา่ งๆใหถ้ กู ตอ้ ง

1
2
3
4
5
6
7
8

ใหน้ กั เรียนนาข้อความจากด้านบนลงในชอ่ งว่างใหถ้ กู ตอ้ ง

1. ...........................
2. ...........................
3. ...........................
4. ...........................
5. ...........................
6. ...........................
7. ...........................

1. .ก..ร..ม..ว...ัง.................
2. ก...ร..ม..พ...ร..ะ..ค..ล..งั.........
3. ก...ร..ม..ว..งั..................
4. ผ...ู้ร..ง้ั ......................
5. น...ค..ร..บ...า..ล...............
6. เ..ก..ษ...ต..ร..า..ธ..ิก..า..ร........
7. ส...ม..ุห...น..า..ย...ก............

ปกครองแบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย์ พระมหากษัตริยม์ อี านาจสงู สุดในการปกครอง

ไม่แตกต่าง มีการปกครองเหมือนในสมัยอยุธย าตอนปลาย คือ ปกครองแบ
สมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ พระมหากษัตรยิ ม์ อี านาจสูงสดุ ในการปกครอง

แบ่งเป็น
1) เมอื งช้นั ใน อย่รู ายรอบราชธานี ผปู้ กครองเรยี กว่า ผรู้ ัง้
2) เมอื งช้นั นอกหรือเมืองพระยามหานคร อยนู่ อกเขตราชธานีออกไป
แบง่ ออกเป็น เมอื งชั้นเอก โท ตรี พระมหากษัตริย์ทรงแตง่ ตั้ง
ขา้ ราชการผใู้ หญไ่ ปเป็นเจ้าเมอื ง
3) ประเทศราช ไดแ้ ก่ รัฐทีอ่ ยู่หา่ งไกลออกไป

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งธนบุรกี บั ชาตติ ะวันตก

ฮอลนั ดา คาชี้แจง: ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี อังกฤษ

โปรตเุ กส

คาชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้

1. พระยาพิชัยดาบหกั เกีย่ วข้องกับเหตกุ ารณใ์ ด

…………………………………………………….………………………………………….………………………………………….…………………………
………………………….………………………………………….………………………………………….……………………………………………………
.………………………………………….………………………………………….…………………………………………………….………………………

2. เพราะเหตใุ ดสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชจงึ โปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระยาอภัยรณฤทธิ์ (ทองดว้ ง)

และพระยาอนุชิตราชา (บุญมา) นาทัพไปตีเขมร

…………………………………………………….………………………………………….………………………………………….…………………………
………………………….………………………………………….………………………………………….……………………………………………………
.………………………………………….………………………………………….…………………………………………………….………………………

3. เจ้าพระยาจักรไี ดเ้ ลื่อนตาแหน่งเปน็ สมเด็จเจา้ พระยามหากษตั รยิ ศ์ ึกเม่ือเสรจ็ ศกึ คร้งั ใด

…………………………………………………….………………………………………….………………………………………….…………………………
………………………….………………………………………….………………………………………….……………………………………………………

4. ชาตติ ะวันตกชาตใิ ดบ้างเขา้ มาติดตอ่ กับกรงุ ธนบุรี เพราะอะไร

…………………………………………………….………………………………………….………………………………………….…………………………
………………………….………………………………………….………………………………………….……………………………………………………
.………………………………………….………………………………………….…………………………………………………….………………………

ความสมั พันธ์ระหว่างธนบุรกี บั ชาติตะวันตก

ฮอลนั ดา

พ.ศ. 2312 พวกฮอลนั ดาจากเมืองปัตตาเวีย (จาการ์ตา) และพวกแขกเมืองตรังกานู
ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพ่ือถวายปืนคาบศิลาจานวน 2,200 กระบอก
และถวายต้นไมเ้ งินตน้ ไมท้ อง

องั กฤษ

พ.ศ. 2319 กปั ตันฟรานซสิ ไลท์ ไดน้ าปนื นกสบั จานวน 1,400 กระบอก และ
สงิ่ ของอน่ื ๆ มาถวายเพื่อสร้างสัมพันธไมตรี

โปรตเุ กส

พ.ศ. 2322 แขกมัวร์จากเมืองสุรัต เป็นเมืองขึ้นของโปรตุเกสในอินเดียนาสินค้าเข้า
มาคา้ ขายในกรุงธนบุรี ไทยได้สง่ สาเภาหลวงออกไปค้าขาย ยังประเทศอนิ เดีย

1. พระยาพิชัยดาบหกั เกี่ยวข้องกับเหตกุ ารณใ์ ด
พมา่ ตีเมอื งพชิ ัยครัง้ ท่ี 2 พ.ศ. 2316 พระยาพิชัยได้สู้รบกบั พมา่ อย่างกลา้ หาญ โดยถือดาบสอง
เล่มสู้รบกับขา้ ศึกจนดาบหักไปเลม่ หนงึ่

2. เพราะเหตุใดสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชจงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยาอภัยรณฤทธิ์ (ทองดว้ ง)
และพระยาอนุชติ ราชา (บญุ มา) นาทัพไปตีเขมร
สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชส่งพระราชสาส์นไปยังพระนารายณ์ราชาให้มาสวามิภกั ด์ติ อ่ ไทย
แตพ่ ระนารายณ์ราชาไมย่ อม

3. เจา้ พระยาจกั รีได้เลือ่ นตาแหนง่ เปน็ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศกึ เมอื่ เสร็จศกึ คร้งั ใด
การตจี าปาศกั ด์ิใน พ.ศ. 2319

4. ชาติตะวนั ตกชาติใดบ้างเขา้ มาติดตอ่ กับกรงุ ธนบุรี เพราะอะไร
พม่า เขมร ล้านช้าง ล้านนา เพือ่ ตดิ ต่อค้าขายกับธนบุรี

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถำมต่อไปน้ี

กจิ กรรมน่ารู้ คาสงั่ : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบทถี่ ูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดยี ว “พร้อมเขียนอธิบายลงในสมดุ ”

1. สถาปัตยกรรมในสมยั สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี 2 (เจา้ สามพระยา) ได้รับอทิ ธิพลจากศิลปะใด

ก. เขมร ข. สุโขทยั ค. ศรีวิชยั ง. ทวารวดี

2. วดั ราชบูรณะสรา้ งขึ้นในสมัยใด

ก. สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง ข. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

ค. สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1 (พระเจ้าอ่ทู อง) ง. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจา้ สามพระยา)

3. ข้อใดเป็นลักษณะเดน่ ของพระพุทธรปู ในสมยั สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง

ก. พระพักตร์รปู ไข่ ข. ประดบั เคร่ืองประดับ ค. พระโอษฐข์ อบสองชั้น ง. พระพักตรค์ ่อนขา้ งเหลยี่ ม

สรา้ งระบบไพร่สงั กดั มูลนายขึ้น
• ใช้เป็นแรงงาน
• เป็นพลรบยามสงคราม

การประกอบอาหารท่ีหาไดจ้ ากท้องถน่ิ ปลา มมี ากนามาถนอมอาหาร
คือ ปลาร้า ปลาเค็มอาหารหวาน ส่วนผสมหลัก คือ แป้ง น้าตาลปึก
มะพร้าว ขนมไทย คือ ลอดช่อง ท้าวทองกีบม้าเป็นภรรยาของออกญาวิไช
เยนทร์ ได้นาขนมโปรตุเกสมาดัดแปลงเป็นขนมไทย โดยใช้ส่วนผสมหลัก
คือ ไข่แป้ง และน้าตาล และขนมที่เป็นท่ีรู้จักกันดีในปัจจุบัน คือ ทองหยิบ
ฝอยทอง ขนมหมอ้ แกง

บา้ นขนุ นางผ้ใู หญห่ รือเจ้านาย สรา้ งจากไม้เตง็ ไมร้ งั หลังคามุงกระเบ้อื ง
บ้านไพร่หรอื ทาสสร้างดว้ ยไมไ้ ผ่ หวาย ไม้หมากใชจ้ ากมุงหลังคา

นาสมนุ ไพรมารกั ษาอาการเจ็บป่วย
• การนวดแผนไทย
• ตาราโอสถพระนารายณ์

ใช้เงินประกบั
เบี้ย

กิจกรรมน่ารู้ คาสงั่ : ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องที่สุดเพยี งคาตอบเดียว “พรอ้ มเขียนอธิบายลงในสมุด”

1. สถาปัตยกรรมในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจา้ สามพระยา) ได้รบั อิทธิพลจากศิลปะใด

ก. เขมร ข. สุโขทยั ค. ศรีวิชยั ง. ทวารวดี

2. วดั ราชบรู ณะสร้างข้นึ ในสมัยใด

ก. สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง ข. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

ค. สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ 1 (พระเจ้าอทู่ อง) ง. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)

3. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะเด่นของพระพุทธรูปในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

ก. พระพกั ตร์รูปไข่ ข. ประดับเคร่ืองประดับ ค. พระโอษฐข์ อบสองชัน้ ง. พระพักตรค์ ่อนข้างเหล่ยี ม


Click to View FlipBook Version