The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by adgnso.th, 2022-07-06 22:09:04

สารประชาสัมพันธ์การพัฒนาระบบบริหาร ปี 2560 ฉบับที่ 3

(กรกฎาคม - กันยายน)

สารประชาสัมพันธ์
การพัฒนาระบบบริหาร สสช.

ฉบับที่ 3/2560

(กรกฎาคม - กันยายน 2560)

สานักงานสถิติแห่งชาติ

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

สารประชาสัมพันธ์ “การพฒั นาระบบบริหาร สสช.”
ฉบบั ที่ 3/2560 (กรกฎาคม - กนั ยายน 2560)

หน่วยงานเจ้าของเรื่อง/เผยแพร่
กล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร
สานักงานสถิติแหง่ ชาติ
โทรศพั ท์ 0 2141 7290 - 94
โทรสาร 0 2143 8108
http://webintranet.nso.go.th/?q=สานัก/กพร./

e-mail:
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]

ขอขอบคณุ แหล่งทม่ี า อา้ งองิ ข้อมลู และภาพประกอบภายในเลม่

www.opdc.go.th
www.google.co.th/search
www.hiracle.net
www.clipartfreefor.com
https://moodle.unitec.ac.nz
https://www.shareicon.net

สวัสดีค่ะ

พบกับ “สารประชาสัมพันธ์ การพัฒนาระบบบริหาร สสช.”
ฉบับที่ 3/2560 ทุกไตรมาสเรามีสาระความรู้มานาเสนอ เพ่ือสร้างความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกบั การพัฒนาระบบบรหิ าร และการพัฒนาองค์การ

โปรดตดิ ตาม...

กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร

สสาารรบบญั ญั

1 การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการ
ปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ

13 การพัฒนาองค์การ
18 การพัฒนาปรบั ปรุงโครงสร้าง สสช.
22 บอกเลา่ - ข่าวฝาก

“ “การประเมนิ ส่วนราชการตามมาตรการ
ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ”

ทม่ี า :

พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์

ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดข้ันตอนการ
ปฏิบัติงาน การลดภารกจิ และยุบเลิกหน่วยงานท่ีไม่จาเป็น …”

พระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546
มาตรา 12 “เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อ

คณะรัฐมนตรี เพ่ือกาหนดมาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็น
ลายลกั ษณ์อกั ษร หรอื โดยวธิ กี ารอืน่ ใด เพ่อื แสดงความรบั ผดิ ชอบต่อการปฏิบัตริ าชการ”

มาตรา 45 “กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผล
การปฏิบัติราชการของสว่ นราชการ เกยี่ วกบั ผลสัมฤทธ์ขิ องภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความ
พึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กาหนด ”

คาสงั่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 5/2559
เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เพ่ือประโยชน์ในการปฏิรูป

ระบบการบริหารราชการแผน่ ดิน มีผลบงั คับใช้ ณ วนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2559

มติคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559
เห็นชอบการประเมิน โดยแบบประเมินข้าราชการพลเรือนในความรับผิดชอบของ

ฝ่ายบริหารและแบบประเมินส่วนราชการ ตามคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ที่ 5/2559 และให้นาแบบประเมินฯ น้ีไปใช้ในการประเมินข้าราชการและการประเมิน
ส่วนราชการในรอบการปฏิบัติงานต้ังแต่วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2558

จุดเน้น : - เช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนฯ 12 นโยบายรัฐบาล คาสั่ง/ข้อส่ังการ นรม. แนวทาง
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) และ International KPIs โดยบูรณาการ
ตวั ชี้วัดของหน่วยงานกลาง เพอื่ สะท้อนผลสัมฤทธแ์ิ ละเช่อื มโยงส่เู ป้าหมายระดับชาติ

- กาหนดค่าเป้าหมายตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน โดยเป็นการ top down โดยไม่มีข้ันตอน
การเจรจาตัวชวี้ ัดกบั สว่ นราชการ

1

ผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั ริ าชการ

รอบท่ี 2 ตง้ั คา่ เปา้ หมายรอบท่ี 2
(1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60) (1 ม.ี ค. 60 - 31 ก.ค. 60 = 5 เดือน)

ในรอบการประเมินท่ี 2/2560 สานักงาน ก.พ.ร. กาหนดให้ส่วนราชการรายงานผลการปฏิบัติ
ราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราขการ ผ่านระบบ e-SAR ซ่ึง สสช. ได้ติดตามผล
การปฏิบัติงานจากผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด และได้สรุปผลนาเสนอผอู้ านวยการสานักงานสถิติแห่งชาตพิ ิจารณา
อนุมตั ิ และไดบ้ นั ทึกผลการปฏิบตั งิ านพรอ้ มหลกั ฐานอ้างอิงในระบบ e-SAR เรียบร้อยแล้ว โดยสรปุ ได้ดงั น้ี

1. Functional Base

ตัวช้ีวดั เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน หลกั ฐาน

1. ความสาเรจ็ ใน - รวบรวมรายละเอยี ด - สามารถรวบรวม - สรปุ ผลการศึกษาตัวชว้ี ัด
รายละเอยี ด ความสามารถในการ
การเตรียมข้อมูลชุด ตวั ช้วี ัด ได้ร้อยละ 60 ตวั ช้วี ัดไดร้ ้อยละ 60.23 แขง่ ขันของประเทศของ
ของรายการตัวชวี้ ัด 3 สถาบนั IMD ทดี่ าเนินการ
ตัวช้วี ัด IMD ดา้ น ของรายการตวั ช้วี ัด ดา้ น ในปี 2560

Economic 3 ด้าน

Performance ดา้ น

Government

Efficiency และดา้ น

Business

Efficiency

2. ความสาเร็จของการจัดทาข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมท่ตี ้องการเผยแพรต่ ่อประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภายในปีงบประมาณ

2.1 จานวนขอ้ มูล 15 เรื่อง 15 เรอื่ ง บนั ทกึ อนมุ ัตติ น้ ฉบับ
ดา้ นเศรษฐกิจและ รายงานผลการสารวจฯ
สังคมทส่ี ามารถ จานวน 15 เร่ือง
เผยแพร่ต่อ
ประชาชนหรอื ผูม้ ี
สว่ นได้สว่ นเสยี

2.2 ร้อยละความพึง รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 86.97 รายงานการสารวจความ
พอใจของผู้ใช้ข้อมลู พึ ง พ อ ใจ ข อ ง ผู้ ใช้ ข้ อ มู ล
หรอื หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีมี
ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ต่ อ ก า ร ผ ลิ ต ข้ อ มู ล ข อ ง
สสช. ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560

2

1. Functional Base เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน หลักฐาน
ร้อยละ 60 รอ้ ยละ 69.23 ข้อมลู สถติ ติ ัวชว้ี ัด SDGs
ตวั ชวี้ ดั 1. เป้าหมายท่ี 2
3. รอ้ ยละของชุด (จานวน 9 ตวั ชวี้ ดั
ขอ้ มูลตามตวั ชวี้ ดั จาก 13 ตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวดั ท่ี 2.2.1
SDGs ทหี่ นว่ ยงาน ท่ี สสช. รบั ผิดชอบฯ) 2. เป้าหมายที่ 3
รบั ผดิ ชอบการจดั เก็บ
มีความถูกตอ้ ง ตัวชว้ี ัดที่ 2.2.2
ครบถ้วน ทันสมัย 3. เป้าหมายที่ 5
หมายเหตุ : สสช.
เป็นหน่วยงาน ตัวชีว้ ดั ที่ 5.3.1
รบั ผิดชอบและ 4. เปา้ หมายท่ี 16
จัดเกบ็ ข้อมูลตาม
ตวั ช้วี ัด SDGs ที่ ตัวชีว้ ัดท่ี 16.9.1
จานวน 13 ตัวชวี้ ัด 5. เปา้ หมายท่ี 8

4. ความสาเร็จในการแปลงแผนแมบ่ ทระบบสถติ ิประเทศไทยสู่การปฏิบตั ิ ตวั ชี้วัดที่ 8.5.1
6. เปา้ หมายที่ 8
4.1 ร้อยละของข้อมูล ร้อยละ 60 ร้อยละ 65.07
สถติ ิทางการที่สาคญั ตวั ช้ีวัดที่ 8.5.2
จาเป็นของประเทศ ที่ 7. เป้าหมายท่ี 17
มีความถกู ตอ้ ง
ครบถ้วน ทันสมยั ตวั ชี้วัดที่ 17.8.1
8. เป้าหมายที่ 8
4.2 ร้อยละของข้อมูล ร้อยละ 60 ของ 76 รอ้ ยละ 71
สถิตริ ะดับจังหวดั ท่ีมี จังหวดั ของ 76 จังหวดั ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8.6.1
ความถูกตอ้ ง ครบถว้ น 9. เป้าหมายที่ 8
ทันสมยั
ตวั ช้วี ัดที่ 8.7.1

- บันทึกข้อความ พร้อม
ไฟล์ข้อมูล และตารางสรุป
สถานการณ์ได้รับรายงาน/
ป รั บ ป รุงราย ก ารส ถิ ติ
ท า งก า ร ท่ี พ ร้ อ ม เผ ย แ พ ร่
ส า ห รั บ น า เข้ า ร ะ บ บ
สารสนเทศ
- บันทึกนาส่งข้อมูลและ
คาอธิบายข้อมูล(Metadata)
สถิติทางการ ครั้งท่ี 1/2560
- ครั้งท่ี 3/2560
- หลกั ฐานการเผยแพร่
ผา่ นเวบ็ ไซต์
เอ ก ส า ร ข้ อ มู ล ส ถิ ติ ร ะ ดั บ
จั ง ห วั ด มี ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง
ครบถ้วน ทันสมัย จานวน
54 จังหวดั

3

2. Agenda Base

ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน หลกั ฐาน
รอ้ ยละ 100
1. การสรา้ งความรบั รู้ความเขา้ ใจแกป่ ระชาชน - รายงานผลการดาเนินงาน
ตามแผนการสร้างความรับรู้
1.1 รอ้ ยละการ รอ้ ยละ 100 เข้าใจแก่ประชาชน รอบ 2
ดาเนนิ การตาม (1 มี.ค. - 31 ก.ค. 60)
แผนการสร้างความ - เอกสารหลกั ฐานการสรา้ ง
รบั รคู้ วามเขา้ ใจแก่ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
ประชาชน แก่ประชาชน ระหว่างเดอื น
(มี .ค. 60 - ก .ค. 60) 3
1.2 ร้อยละการชแ้ี จง รอ้ ยละ 100 - เรือ่ ง ดังนี้
ประเด็นสาคัญท่ที นั ต่อ
สถานการณ์ สารสนเทศ สารสนเทศเพื่อการบริหาร 1. การเผยแพร่ข่าว
(ถ้ามี) เพื่อการบรหิ าร จานวน 2 เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ และผลการสามะโนและ
จานวน 2 เร่ือง สารวจ
2. ความสาเรจ็ ของ 1. ชุดข้อมูลสนับสนุน
การจดั ระบบข้อมูล 2. การประชาสัมพันธ์
และสารสนเทศเพอ่ื การขับเคล่ือนนโยบาย โค ร งก าร ส าม ะ โน
การบริหาร ส าคั ญ ข อ งก ร ะท รว ง อตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560
(Management เกษตรและสหกรณ์
Information 3. การสร้างเครือข่าย
System : MIS 2. ชุดข้อมูลสนับสนุน สถติ ใิ นภูมภิ าค
การขับเคล่ือนนโยบาย
ส าคั ญ ข อ งก ร ะท รว ง หมายเหตุ :
คมนาคม สสช. ไมม่ ปี ระเด็นสาคัญ
ต่อสถานการณ์ท่ตี อ้ งช้ีแจง

- หลักฐานการเผยแพร่
ผา่ นเว็บไซต์
http://service.nic.go.th/

ชุดขอ้ มลู สนบั สนุน
สารสนเทศเพ่อื การบริหาร
ของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์
(http://service.nic.go.th/s
trategy.php?file=
department/moac-02)

ชดุ ขอ้ มูลสนับสนุนการ
ขับเคล่อื นนโยบายสาคญั ของ
กระทรวงคมนาคม
(http://service.nic.go.th/s
trategy.php?file=
department/mot-01)

4

3. Area Base เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน หลักฐาน
ตัวช้วี ดั

สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติไมม่ ตี วั ชวี้ ดั น้ี

4. Innovation Base เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน หลกั ฐาน
ตัวช้ีวดั 80.00% รอ้ ยละ 79.24 ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ
ปี 60 (ถงึ 31 ก.ค. 2560)
1. ประสทิ ธิภาพการ
เบิกจ่ายงบประมาณ

2. ระบบการนาเสนอ ให้สว่ นราชการจดั ทา สสช. มีระบบการนาเสนอใน สรปุ ผลการประเมิน
เพื่อการตดั สินใจเชิง ขอ้ เสนอประสิทธภิ าพ ลักษณะภูมิสารสนเทศสถิติ ด้านการบรหิ ารและพัฒนา
พนื้ ทีด่ ้วย GIS (GIS) เพื่ อส นั บ สนุ น การ นวตั กรรมในการบริหาร
และการพัฒนา ตัดสินใจ และการกาหนด จัดการ
3. ระบบสลิป นวตั กรรม และให้ นโยบายของประเทศสาหรับ (Innovation base)
เงินเดอื นออนไลน์* รายงานมาพรอ้ มกับ ผูบ้ ริหาร และประชาชน และ - เร่อื ง ระบบการนาเสนอ
การรายงานตวั ชี้วดั ที่สามารถนาเสนอข้อมูล/ เพื่อการตัดสนิ ใจเชงิ พนื้ ท่ี
อ่ืนๆ ในรอบการ สารสนเทศเชงิ พื้นที่ได้ ดว้ ย GIS

ประเมนิ ท่ี 2 1. สสช. สามารถลดปริมาณ สรปุ ผลการประเมิน
การใช้กระดาษในการพิมพ์ ด้านการบรหิ ารและพัฒนา
ให้ส่วนราชการจัดทา สลปิ เงินเดือน นวตั กรรมในการบริหาร
ขอ้ เสนอประสทิ ธภิ าพ 2. สามารถลดข้ันตอนการ จดั การ
ทางานเกี่ยวกับการจัดพิมพ์ (Innovation base)
และการพัฒนา สลปิ เงนิ เดือนในรูปแบบเดิม - เรื่อง การพัฒนาระบบ
นวัตกรรม และให้ 3. บุคลากร สามารถเข้าถึง สลปิ เงินเดือนออนไลน์
รายงานมาพรอ้ มกับ ร ะ บ บ เพ่ื อ เรี ย ก ดู ร า ย ก า ร
การรายงานตัวชี้วดั เงินเดือนได้ตลอดเวลาโดย
อนื่ ๆ ในรอบการ ผ่านเวบ็ อนิ ทราเน็ต

ประเมินท่ี 2

5. Potential Base

ตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน หลกั ฐาน

1. การจดั ทาและ ดาเนินการตามแผนฯ ดาเนนิ การตามแผนฯ ถึง - แบบฟอรม์ การรายงาน
เดือน ก.ค. 60 การประเมนิ ดา้ นศักยภาพ
ดาเนนิ การตาม ถงึ เดือน ก.ค. 60 ในการเปน็ ส่วนราชการทม่ี ี
ได้ครบถว้ น ร้อยละ 100 ความสาคญั เชิงยทุ ธศาสตร์
แผนการ ขบั เคล่อื น ได้ครบถ้วน เพือ่ การพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร์ชาติ ร้อยละ 100

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ได้นาเอกสารสรุปผลการ
ดาเนินงาน ซึ่งมีรายละเอียดผลการดาเนินงาน

ครบถ้วน เผยแพร่บนเว็บอินทราเน็ต/กพร.สสช.
เรียบร้อยแล้ว และหากเมอื่ ได้รับทราบผลการประเมิน กพร. จะนามาแจง้ ให้ทราบลาดบั ต่อไป

5

การประเมนิ ผลตวั ชวี้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2561

2. ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตาม 6 ตัวชี้วัด 1. ประสิทธภิ าพในการดาเนนิ งานตาม
หลักภารกิจยุทธศาสตร์ นโยบาย (5 + 1 ตัวช้ีวัดบังคับ) หลักภารกิจพื้นฐาน งานประจา งาน
เร่งด่วน หรือภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย ตามหน้าท่ีปกติ หรืองานตามหน้าที่
เป็นพิเศษ หรือการบูรณาการการ 1 Functional Base ความรับผิ ดชอบหลั ก งานตาม
ดาเนินงานร่วมกับหลายหน่วยงาน Agenda Base 2 กฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาล
(Agenda Base) หรือมติคณะรัฐมนตรี (Functional
1. การดาเนินการข้อส่งั การของ นรม. 3 Area Base Base)
2. การดาเนนิ การตามวาระการ 1. การดาเนินงานตามหลักภารกิจ
Innovation Base 4 พ้ื น ฐ าน /งาน ตามห น้ าท่ี ค วาม
ขับเคล่ือนและการปฏริ ูปประเทศ รบั ผิดชอบหลกั
3. การแก้ไขปัญหาสาคญั เฉพาะเร่ือง 2 ตัวช้ีวดั 2. การดาเนินงานตามกฎหมาย
3. การดาเนินงานตามนโยบายและ
หรอื ภารกิจท่ไี ดร้ ับมอบหมายพิเศษ 5 Potential Base แผนของรฐั บาล และมติ ครม.
จาก นรม./รอง นรม./รมว. 4. การดาเนินการตามแผนพัฒนา
2 ตัวช้ีวัด เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ
4. ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ แผนยทุ ธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน
และพั ฒ นาน วั ตกรรม ในการบ ริ หาร 4.2 การพัฒนาประสทิ ธิภาพ
จั ด ก ารระบ บ งาน งบ ป ระม าณ ในการปฏบิ ัติงาน 3. ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
ทรัพยากรบุคคล (Innovation Base) ตามหลั กภารกิ จพ้ื นท่ี /ท้ องถิ่ น
4.1 การพัฒนานวัตกรรม พัฒนาและปรับปรุงการ ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด (Area
ให้เสนอนวตั กรรมรปู แบบใดรปู แบบหน่ึง ทางานด้านการให้บริการให้ Base) (ถา้ ไม่มีภารกิจน้ี ไมต่ อ้ งประเมนิ )
เช่น มีประสิทธิภาพ เช่น ลด 1. การดาเนินงานตามภารกิจในพืน้ ท/่ี
1. น วั ต ก ร ร ม เชิ ง น โย บ า ย (Policy ปริมาณ เอ กสาร ลดใช้ ทอ้ งถ่นิ ภูมภิ าค จงั หวดั กลุม่ จงั หวัด
Innovation) เป็นการคิดริเริ่มนโยบาย พลังงาน ลดภาระ งปม. ลด 2. การบรู ณาการการทางานรว่ มกับ
กฎหมายและกฎใหม่ๆ ให้ทันสมัย ขั้ น ต อ น ฯ /งาน ท่ี ซ้ าซ้ อ น ระหว่างกระทรวง/จังหวดั (Function
เหมาะสมและทนั ต่อสถานการณ์ เปน็ ต้น บู รณ าก ารค วาม ร่ วม มื อ - Area KPIs)
2. น วั ต ก ร ร ม ให้ บ ริ ก า ร (Service ระหว่างหน่วยงาน แก้ไข
Innovation) เป็นนวัตกรรมที่นามาใช้ ปญั หาการทจุ ริต เปน็ ต้น 5. ศักยภาพในการดาเนินการของ
พัฒนาและสร้างคุณค่าในงานบริการ ส่วนราชการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ
ภาครัฐ การปรับปรุงบริการหรือสร้าง 20 ปี (Potential Base)
บริการใหม่ เพ่ือยกระดับประสิทธิภาพ 5.1 การจัดทาและดาเนนิ การตามแผน
การใหบ้ ริการ การขับเคล่อื นยุทธศาสตรช์ าติ
3. น วัต ก รร ม ก ารบ ริห าร /อ งค์ ก าร 1. การจดั ทาแผนการขบั เคล่ือน
(Administrative or Organizational
Innovation) เป็ น ก า ร ส ร้ า ง ห รื อ ยุทธศาสตรช์ าติ ตามภารกจิ /
ปรับปรุงกระบวน งาน ใหม่ (New บทบาท ของส่วนราชการ ประจาปี
Process) รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ งบประมาณ พ.ศ. 2561
การบริหารงาน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ 2. ผลงานทเ่ี กดิ ขึน้ จริงในแต่ละไตรมาส
ในการดาเนนิ งาน หรอื กระบวนการจัด 3. เทยี บกบั การใช้จา่ ยเงนิ ระบบ GFMIS
โครงสร้างหน่วยงานรูปแบบใหม่ หรือ 5.2 การดาเนินการจัดทาแผนปฏริ ูป
การวางระบบใหม่ซ่ึงส่งผลต่อการปรับ องคก์ าร
โครงสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้มสี ว่ น
ได้ส่วนเสยี เชน่ PMQA (4.0) เปน็ ต้น 6

5 องคป์ ระกอบการประเมนิ
Function Base
Agenda Base
Area Base
Innovation Base
Potential Base

ขอ้ สงั่ การทปี่ ระชมุ ครม. ขอ้ สง่ั การทป่ี ระชมุ หวั หนา้ สว่ นราชการ
วนั ที่ 1 ส.ค. 2560 วนั ที่ 29 ม.ิ ย. 2560

ให้ทุกส่วนราชการดาเนินการพัฒ นาและ ให้ทุกส่วน ราชการพิจารณ าเร่งรัดการ
ปรับปรุงการทางานภายในหน่วยงานของตนให้มี ขับเคล่ือนการปฏิรูปองค์การ (โครงสร้าง/
ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน อย่างน้อยเดือนละ 1 งาน กระบวนการทางาน)
หรือกิจกรรม โดยเฉพาะงานบริการประชาชน เช่น
การลดปริมาณเอกสาร การลดการใช้พลังงาน การลด ด้านกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง รวมถึงด้านบุคลากร
ภาระงบประมาณ การลดข้ันตอนการทางาน และ (การแต่งตัง้ การพฒั นา คา่ ตอบแทน)
ปริมาณงานที่ซ้าซ้อน การบูรณาการความร่วมมือ
ระหวา่ งหน่วยงาน การแก้ไขปญั หาการทุจรติ การเพ่ิม ท้ังน้ี ใหท้ ุกส่วนราชการจัดตงั้ หน่วยงานภายใน
การอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน เพื่อรับผิดชอบหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูป
ภายในองค์การท่ีสอดคล้องแนวทางการปฏิรูปใน
และให้สานักงาน ก.พ.ร.กาหนดแนวทางการ ภาพรวม โดยให้พิจารณา มอบหมายรองหัวหน้า
รายงานความคืบหน้าและตัวช้ีวัดการประเมินผลการ สว่ นราชการทาหนา้ ที่กากบั ดูแลหนว่ ยงานดงั กลา่ ว
ดาเนินการ เพ่ือให้ส่วนราชการรายงานผลทกุ เดือน

และให้สานักงาน ก.พ.ร. ประเมินผลการปฏิบัติ
ตามข้อสั่งการน้ีของส่วนราชการทุก 3 เดือน เพ่ือ
เสนอต่อรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม)
ตอ่ ไป

การติดตามประเมินผล

ระบบ e-SAR

ระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏบิ ตั ริ าชการ (ม. 44) http://esar.opdc.go.th

1 ปีงบประมาณ แบง่ การประเมนิ เป็น 2 รอบ
รอบที่ 1 : 1 ต.ค. 60 - 31 มี.ค. 61
รอบที่ 2 : 1 เม.ย. 61 - 30 ก.ย. 61

7

แนวทางการกาหนดตวั ชวี้ ดั ของสว่ นราชการ

Function Base

นโยบายรัฐบาล / Thailand 4.0 / SDGs / International KPIs / บูรณาการตัวชวี้ ัด
ของหน่วยงานกลาง เพอ่ื สะท้อนผลสัมฤทธิแ์ ละเชือ่ มโยงยุทธศาสตรช์ าติ
พิจารณากาหนดโดยคณะกรรมการฯ โดยไมม่ ีข้นั ตอนการเจรจาตวั ชี้วัด

Agenda Base
รองนายกรัฐมนตรี / รัฐมนตรี กาหนด
กาหนดตัวชว้ี ัดและค่าเปา้ หมาย ตาม template ของสานักงาน ก.พ.ร.
ส่งขอ้ มลู ตัวช้ีวัด Agenda ใหส้ านกั งาน ก.พ.ร. ภายในวันท่ี 31 ต.ค. 2560
การสร้างความรับรเู้ ข้าใจแก่ประชาชน (บงั คบั ) สง่ แผนฯ ภายใน 30 พ.ย. 2560

Area Base
ตวั ชว้ี ดั ร่วมระหวา่ งกระทรวงและจงั หวดั (Function-Area KPIs)
ตัวช้ีวดั จุดเนน้ (Positioning) ของจงั หวดั ตามยุทธศาสตรช์ าต/ิ แผนฯ 12/ยทุ ธศาสตร์
กลุม่ จงั หวัดและจงั หวัด

Innovation Base
4.1 การพัฒนานวัตกรรม

ใหเ้ สนอนวัตกรรมรูปแบบใดรปู แบบหนึง่ (ภายในวนั ท่ี 30 พ.ย. 2560)
1. นวัตกรรมเชงิ นโยบาย (Policy Innovation)
2. นวัตกรรมให้บรกิ าร (Service Innovation)
3. นวัตกรรมการบรหิ าร/องค์การ

(Administrative or Organizational Innovation)
การพจิ ารณาตัวชวี้ ดั (รายงานในระบบ e-SAR ภายในวนั ที่ 1 - 12 ต.ค. 2561)
1. การแสดงถึงความเปน็ นวัตกรรม (เป็นนวัตกรรม / ไม่เคยเสนอ / เสร็จในรอบประเมนิ )
2. คุณภาพของนวัตกรรม (เนอ้ื หาครบถ้วน (20 คะแนน / คุณภาพ 80 คะแนน)

4.2 การพัฒนาประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน (สง่ แผนฯ ภายในวนั ท่ี 15 พ.ย. 2560)
จัดทาแผนฯ เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การทางานภายในหน่วยงาน
อย่างน้อยเดอื นละ 1 งาน/กจิ กรรม (ท้งั ปรี วม 12 เรอ่ื ง)
รายงานผลทกุ เดือนในระบบ e-SAR ภายในสัปดาห์แรกของเดอื นถัดไป
(เดือน ต.ค. 60 ภายในวนั ท่ี 1 - 10 พ.ย. 2560)

8

กาหนดเรือ่ งทตี่ อ้ งดาเนินการพัฒนา ดังน้ี

ส่งแผนฯ 15 พ.ย. 60

เร่ืองที่ดาเนนิ การ เร่มิ ดาเนินการ การรายงานผล/
ความก้าวหน้า

เรอื่ งทตี่ อ้ งดาเนินการ (บังคบั ) จานวน 6 เรื่อง (ตามข้อสงั่ การ นรม. เมื่อวันที่ 25 ส.ค. 2560)

1) การลดพลังงาน เร่มิ ดาเนนิ การ เริม่ รายงานผลตง้ั แต่
ตง้ั แต่ ต.ค. 60 ต.ค. 60 - ก.ย. 61
(รายงานผลทุกเดือน เป็นประจาทุกเดอื น
ผ่านเว็บไซต์ สนพ.
www.e-report.energy.go.th)

2) การลดกระดาษ

3) การประหยัดงบประมาณ

4) การใช้ระบบสารสนเทศ เรม่ิ ดาเนนิ การต้ังแต่ เร่มิ รายงานผลตั้งแต่
5) การปราบปรามทุจริต
6) การบูรณาการผลงาน ม.ค. 61 - มี.ค. 61 เดอื นที่เรม่ิ ตน้ กิจกรรม

โดยเลอื กเรอื่ งใดมาดาเนนิ การ เปน็ ประจาทุกเดือน

กอ่ น - หลังกไ็ ด้ ต่อเน่อื งจนแลว้ เสร็จ

เรือ่ งทคี่ ัดเลอื กดาเนนิ การ จานวน 6 เรอ่ื ง (ตามมติ ครม. เมอ่ื วันที่ 1 ส.ค. 2560)

7) ................... เรมิ่ ดาเนินการ รายงานผลทุกเดือน

8) ................... ต้ังแต่ เม.ย. 61 - ก.ย. 61 นับแต่เดือนทเ่ี ร่ิมตน้
. เดอื นละ 1 เรื่อง กิจกรรม
.
.
12) ...................

เรอ่ื งท่ีดาเนินการโดยคัดเลือก
จานวน 6 เรอื่ ง จากประเภท
ทก่ี าหนด ท้ัง 5 กลุ่ม*

* 5 กลุ่มที่กาหนดให้ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาประสทิ ธภิ าพฯ ได้แก่
(1) การเพิ่มการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
(2) การบูรณาการการทางานระหว่างหนว่ ยงาน/ภาคสว่ นอื่น
(3) การปอ้ งกัน/แกไ้ ขปญั หาดา้ นทจุ รติ
(4) การเพิ่มประสิทธิภาพของส่วนราชการ
(5) การประหยัดทรัพยากร

9

สูตรการคานวณ ตวั อยา่ ง

ผลผลิตท่ีสามารถดาเนินการไดต้ ามแผน x 100 = รอ้ ยละ xx ผลการดาเนนิ งาน 4 x 100 = 100

ผลผลติ ตามแผนทง้ั หมด 4

เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ
 ผา่ น : ดาเนินกิจกรรมได้ผลผลติ ตามแผน รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป
 ไมผ่ า่ น : ดาเนินกิจกรรมไดผ้ ลผลติ ตามแผนนอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80

Potential Base

5.1 การจดั ทาและดาเนินการตามแผนการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์ชาติ
จดั ทาแผนการขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ ตามภารกิจ/บทบาท ของส่วนราชการ
ขอ้ เสนอยทุ ธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการท่ีส่วนราชการคัดเลือก 10 โครงการ
(ภายในวันท่ี 30 พ.ย. 2560)

เกณฑ์การคัดเลือกโครงการฯ (10 โครงการ)
วงเงนิ งบประมาณสงู สดุ
โครงการมีความหลากหลาย โดยควรเลอื กในแต่ละยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1โครงการ
โครงการสอดคลอ้ งกบั นโยบายยุทธศาสตร์ชาต/ิ นโยบายสาคัญเรง่ ด่วน ฯลฯ
งบประมาณแผ่นดนิ ยกเวน้ งบบคุ ลากร

รายงานการจดั ทาและดาเนนิ การตามแผนการขับเคล่ือนยุทธศาตรช์ าติ ในระบบ e-SAR

การประเมนิ รอบที่ 1 วดั ผลการดาเนนิ งาน และ การใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ
ภายในวันที่ 2 - 12 เม.ย. 2561

การประเมินรอบที่ 2 วัดผลผลผลิต และ การใช้จา่ ยเงินงบประมาณ
ภายในวนั ท่ี 1 - 12 ต.ค. 2561

เจตนารมณต์ ัวชีว้ ัดที่ 5.1
วัดผลใน 2 ส่วน คือ
ผลการดาเนินงาน และ

การเบิกจ่ายตามโครงการ
ทีค่ ดั เลือก 10 โครงการ

10

5.2 การดาเนนิ การจดั ทาแผนปฏิรปู องคก์ าร (สง่ แผนฯ ภายในวันท่ี 31 มี.ค. 2561)
การประเมินแบง่ ออกเปน็ 2 ตวั ชว้ี ัดย่อย ดงั นี้

5.2.1 การจดั ทาแผนปฏริ ูปองค์การของกระทรวง (ทกุ ส่วนราชการดาเนินรว่ มกัน)

5.2.2 การจัดทาแผนปฏริ ปู องค์การของกรม

ตัวชว้ี ดั ย่อย แนวทางการจดั ทาแผนฯ (รายละเอียดการดาเนนิ งาน)
5.2.1 การจัดทา
แผนปฏิรูปองค์การ ส่วนที่ 1 บทวิเคราะหภ์ าพรวมของกระทรวง
ของกระทรวง
1.1 ความเชอื่ มโยงภารกิจกระทรวง กับนโยบายทส่ี าคญั ของประเทศ
5.2.2 การจัดทา (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี/แผนฯ 12/วาระปฏิรูป/Thailand 4.0)
แผนปฏริ ปู องคก์ าร
ของกรม 1.2 การวิเคราะหป์ จั จยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (external environment)
ทีม่ ีผลกระทบต่อการทางานของกระทรวง

1.3 การวิเคราะห์ขดี ความสามารถ/ความเขม้ แขง็ ของกระทรวง (Organization
capacity) ในด้านตา่ งๆ (เช่น บุคลากร เทคโนโลยี เครือขา่ ย เปน็ ต้น)

1.4 การวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ทแ่ี ละภารกจิ ของกระทรวงฯ ในอนาคต

1.4.1 Value proposition statement
1.4.2 Portfolio analysis
1.4.3 Business model (โดยตอ้ งมภี ารกิจครอบคลุมทุกกรม)

1.5 ข้อเสนอการเปล่ยี นแปลงในภาพรวม

ส่วนท่ี 2 บทวเิ คราะหร์ ายกรม

2.1 การวิเคราะหภ์ ารกจิ ของกรมในปัจจุบัน

2.1.1 วเิ คราะห์ภารกิจหลัก vs ภารกจิ รอง

2.2 ขอ้ เสนอการปรับเปล่ยี นบทบาทภารกจิ ของกรม

2.2.1 ขอ้ เสนอการปรบั บทบาทภารกจิ ของกรม : ภารกจิ หลกั (core
function) และ ภารกจิ รอง (non-core function)
2.2.2 ข้อเสนอการปรบั เปลยี่ นโครงสร้างและกาลังคน ทีจ่ ะรองรบั บทบาท
ใหมใ่ นอนาคต
2.2.3 ข้อเสนอการปรบั เปลย่ี น สง่ิ ทีต่ ้องดาเนนิ การในระยะ 3 ปี
(พ.ศ. 2562 - พ.ศ. 2564)

สว่ นที่ 3 ภาคผนวก

3.1 ข้อมลู พื้นฐานของกรมในปจั จบุ ัน : วสิ ัยทัศน/์ พนั ธกจิ /อานาจหน้าท่ี/
ประเด็นยุทธศาสตร/์ เป้าประสงค์/กลยทุ ธ์/งบประมาณ/กฎหมายที่สาคญั /
โครงสร้างองค์กร/อัตรากาลัง

11

กระทรวง รอบการประเมินท่ี 1 รอบการประเมนิ ที่ 2
กรม
ความครบถ้วนของขอ้ มูลท่ีกาหนด ความครบถ้วนของแผนปฏริ ูปองค์การ
ให้จดั ทาตามแผนปฏิรูปองค์การ ท่ปี รับตามข้อสงั เกตคณะกรรมการ
(ส่วนท่ี 1) 100% ผทู้ รงคุณวุฒิ 100%

ความครบถ้วนของขอ้ มลู ท่กี าหนด กรณที ไ่ี มม่ กี ารแกไ้ ข
ใหจ้ ัดทาตามแผนปฏิรปู องคก์ าร รอบการประเมินท่ี 2
(ส่วนท่ี 2-3) 100% จะถอื วา่ ผ่านการประเมนิ

แผนปฏริ ปู องค์การของ แผนปฏริ ูปองคก์ ารของกระทรวง
กระทรวง และ กรม และกรม ฉบบั สมบูรณ์

(ปรับตามข้อสังเกตคณะกรรมการ
ผทู้ รงคุณวุฒิ)

ในการจัดทาแผนปฏิรปู องคก์ าร สานกั งาน ก.พ.ร. จะจัดให้มคี ลินกิ
ให้คาปรึกษารายกระทรวง ในเดอื นตลุ าคม 2560

ส่วนราชการดาเนินการ และจดั สง่ แผนปฏิรูปองค์การ รอบการประเมินที่ 1
ภายใน 31 มนี าคม 2561

สานกั งาน ก.พ.ร. โดยคณะกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ตรวจพจิ ารณาแผนฯ และแจ้งผล
การพจิ ารณา ภายใน 30 มิ.ย. 2561

สว่ นราชการ จัดส่งแผนปฏริ ูปองค์การ ฉบับปรับปรงุ รอบการประเมินที่ 2
ภายใน 30 ก.ย. 2561

ส่วนราชการ ดาเนินการตามขอ้ เสนอการปรบั เปล่ียนบทบาทภารกจิ ของกระทรวง/
กรม ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

สำหรบั รำยละเอียดกำรดำเนินงำนและตวั ช้ีวัดของสำนกั งำนสถติ ิแหง่ ชำติ
กพร.สสช. จะนำเสนอควำมกำ้ วหน้ำในครง้ั ตอ่ ไป

12

“การพัฒนาองค์การ”

การสารวจความผกู พนั ของบคุ ลากรภาครฐั

หลกั การและเหตผุ ล

สานักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การอย่างต่อเนื่อง
พบว่า ปัจจัยหน่ึงของความสาเร็จของส่วนราชการที่เป็นตัวขับเคล่ือนให้การปฏิบัติงาน
บรรลุผล คือ “ความผูกพันของบุคลากรต่อส่วนราชการ” ท่ีส่งผลให้บุคลากรมีมีความมุ่งมั่น
และทุ่มเทในการปฏิบัติงาน จนทาให้ผลการดาเนินการขององค์การโดยรวมดีข้ึน อย่างไร
ก็ตามพบวา่ บางสว่ นราชการยังไม่ได้ดาเนนิ การ หรอื ดาเนินการในเรื่องน้ีอยใู่ นระดบั เรม่ิ ตน้

ดังน้ัน เพอ่ื เป็นการสนบั สนนุ ส่วนราชการใหม้ แี นวทางอยา่ งเปน็ ระบบและมีประสทิ ธิผล
สานักงาน ก.พ.ร. จึงได้พัฒนาเคร่ืองมือการสารวจความผูกพันและดาเนินการสารวจความ
ผูกพันของบุคลากร ซง่ึ ครอบคลุมถงึ การดาเนินการสารวจความผูกพัน การวเิ คราะหผ์ ล และ
แนวทางการสร้างความผูกพันท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับผลการสารวจ รวมทั้งนาไปสู่การวาง
ระบบเพ่อื ยกระดบั ความผกู พันของบคุ ลากรต่อระบบราชการ

การสารวจครงั้ นี้ เป็นการสารวจด้วยระบบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ของสานักงาน ก.พ.ร.
http://www.opdc.go.th ระหวา่ งวนั ที่ 8 - 26 พฤษภาคม 2560 ท้งั น้ี สานักงาน ก.พ.ร. ได้
กาหนดขนาดตัวอย่างทเ่ี หมาะสมจากจานวนข้าราชการ/พนกั งานราชการของ สสช.

รายงานเบ้ืองต้นผลการสารวจความผูกพันของบคุ ลากรภาครัฐ
รายงานเบ้ืองต้นฯ จะแสดงข้อมูลโดยสังเขปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสารวจระดับความ
คิดเห็นต่อองค์ประกอบของความผูกผัน และระดับความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของ
บุคลากร ซง่ึ สานกั งาน ก.พ.ร. ไดจ้ ัดทาข้นึ เพื่อใหส้ ่วนราชการได้ทราบขอ้ มูลสถิตเิ บ้ืองตน้ จาก
การสารวจ ท่จี ะเป็นประโยชน์ตอ่ การวางแผนพัฒนาองค์กรต่อไป
ทงั้ น้ี สานกั งาน ก.พ.ร. จะจดั ทารายงานผลการวิเคราะห์ปจั จัยความผูกพันของบุคลากร
ในสว่ นราชการด้วยวธิ กี ารทางสถติ ิ ซ่งึ จะระบุปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ความผูกพนั ของสว่ นราชการ และ
แนวทางในการยกระดบั ความผกู พนั โดยสานกั งาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลให้ทราบอกี คร้ัง

13

สว่ นที่ 1 ข้อมูลผ้ตู อบแบบสารวจ (รวม 659 คน)

ประเภทบคุ ลากรและตาแหน่ง สายงาน

อายุ อายงุ าน

วุฒิการศึกษา พน้ื ทปี่ ฏิบตั งิ าน

กล่มุ อาชพี โอกาสทไ่ี ดร้ บั ในรอบ 12 เดอื น

14

หมายเหตุ :

กลมุ่ อาชพี โอกาสทีไ่ ด้รับในรอบ 12 เดือน

a บริหาร อานวยการ งานสถิติ ฯลฯ 1 เลอ่ื นระดบั
b การคลัง เศรษฐกิจ พาณชิ ย์ อุตสาหกรรม 2 งานทสี่ นใจ/หลากหลาย
c คมนาคม ขนสง่ ส่อื สาร 3 ลาศึกษา/ดูงาน/อบรม
d เกษตรกรรม 4 อบรมโดยหนว่ ยงานภายนอก
e วทิ ยาศาสตร์ 5 อบรมโดยต้นสังกดั
f แพทย์ สาธารณสขุ 6 ไดร้ ับงานทีส่ าคญั
g วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม ช่างเทคนิค 7 เสนอชอื่ รับรางวัลฯ
h การศึกษา ศิลปะ สงั คม พฒั นาชมุ ชน 8 เปน็ ผแู้ ทนหน่วยงาน
9 อน่ื ๆ

สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลการสารวจความผกู พันและความพรอ้ มในการเปลี่ยนแปลง

1. ระดบั ความผกู พนั (Engagement)

Engagement : ความผูกพนั 72.42 %

Trust 67.26 %

Alertness 79.78 %

Participation 70.22 %

HIGH = 80.00 - 100.00 % T ความเชอ่ื มนั่ ในทศิ ทางองคก์ ร

MED = 60.00 - 79.99 % A ความกระตือรือรน้

LOW = 0 - 59.99 % P การมีส่วนรว่ มในภารกจิ ขององคก์ ร

2. ผลสารวจองคป์ ระกอบตอ่ ความผกู พนั
ท่านเชอื่ มัน่ ในทศิ ทางการดาเนินงานของหน่วยงานท่สี ังกัด ทา่ นมีความกระตือรอื ร้นในการทางาน

ท่านได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมต่างๆ ทีจ่ ดั โดยหน่วยงานด้วยความเตม็ ใจอย่างสมา่ เสมอ
ทั้งกจิ กรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การปฏิบตั งิ านและกิจกรรมอ่ืนๆ

15

3. ผลสารวจความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง (Change Rediness)

ทา่ นได้พยายามปรับปรงุ การทางานของตนให้ดขี นึ้ ท่านพร้อมสนบั สนนุ หนว่ ยงานในทกุ ด้านเพอื่ ใหเ้ กดิ การ

อย่างต่อเน่อื ง เปล่ียนแปลงทีด่ ขี ึน้ แมว้ า่ ทา่ นจะมีภาระงานท่ีมากกว่าเดิม

4. ความเห็นรายขอ้ แสดงในรูปร้อยละของผูต้ อบแบบสารวจ คา่ เฉลย่ี
ขอ้ คาถาม รอ้ ยละ
73.37%
1. หนว่ ยงานท่ีสังกดั มีผลงานเป็นที่ยอมรบั ของบคุ คลทั่วไป 60.70%
2. หน่วยงานจดั หาอปุ กรณ์เครือ่ งใช้ทเี่ หมาะสมและเพียงพอกบั การทางานให้สาเรจ็ 73.82%
3. หน่วยงานมนี โยบายและทิศทางทชี่ ัดเจน 66.84%
4. หนว่ ยงานมรี ะบบการทางานที่ดี 63.77%
5. หนว่ ยงานเหน็ ความสาคัญในตัวท่าน 62.90%
6. หนว่ ยงานไดส้ ื่อสารสร้างความเข้าใจในเรอ่ื งต่างๆ อย่างท่ัวถงึ 82.74%
7. งานท่ีทา่ นทาอยูม่ ีคุณค่าและเกดิ ประโยชน์ 75.27%
8. งานที่ทา่ นไดร้ ับมอบหมายมีความทา้ ทาย 78.68%
9. งานท่ีทา่ นทาอยู่ช่วยให้เกิดการเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเอง 70.86%
10. งานท่ีทา่ นทาอยูต่ รงกบั ความถนัดของท่าน 63.20%
11. ท่านมีอสิ ระในการตัดสินใจในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 65.55%
12. ท่านไดใ้ ช้ความคิดริเริม่ สร้างสรรคใ์ นงานที่ทา่ นรับผิดชอบอยเู่ สมอ 76.37%
13. เพือ่ รว่ มงานมีสว่ นชว่ ยทาให้งานประสบความสาเรจ็ 69.54%
14. เพื่อนรว่ มงานมจี ริยธรรม 69.50%
15. หน่วยงานมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 77.24%
16. หัวหน้างานเปน็ คนมีความสามารถ 70.45%
17. หัวหน้างานสง่ั การโดยให้แนวทางทช่ี ัดเจน 69.39%
18. หวั หน้างานแนะนาและสอนงาน

16

ข้อคาถาม คา่ เฉลี่ย
ร้อยละ
19. หวั หน้างานมีสว่ นรบั ผิดชอบในความผดิ พลาดของทา่ น 69.35%
20. ผูบ้ ริหารระดบั สงู ขององคก์ ารมีวสิ ัยทัศน์ 72.76%
21. ผบู้ ริหารระดบั สูงขององค์การมีคุณธรรม 73.18%
22. ผบู้ รหิ ารระดับสูงสุดขององค์การเป็นผนู้ าการเปล่ยี นแปลง 68.51%
23. ผบู้ ริหารระดับสูงสุดขององคก์ ารสร้างบรรยากาศของการมสี ว่ นรว่ ม 65.82%
24. ทา่ นไมม่ ีปัญหาด้านสุขภาพ 62.94%
25. ครอบครัวของทา่ นเข้าใจและสนับสนนุ การทางาน 84.26%
26. ทา่ นมคี วามสามารถทางานใหบ้ รรลุตามเป้าหมายไดเ้ สมอ 81.98%
27. ทา่ นไม่มีภาระหนส้ี ิน หรอื สามารถจัดการภาระหนี้สินของตนเองได้ 66.27%
28. ท่านมโี อกาสได้ทากจิ กรรมที่ทาใหม้ ีความสขุ อยู่เสมอ 67.03%
29. ทา่ นไดร้ บั ผลตอบแทนท่เี หมาะสมเป็นธรรมกบั การปฏิบัตงิ าน 62.63%
30. ท่านไดป้ ระโยชนจ์ ากสวัสดกิ ารของหน่วยงาน 57.47%
31. ท่านได้รับการยกยอ่ งชมเชยเม่อื มผี ลการปฏิบตั งิ านที่ดี 60.47%

หมายเหตุ :

ค่าเฉลยี่ ข้างต้นเป็นระดับความคิดเห็นท่ีบคุ ลากรมีต่อองค์กร ข้อถามที่มีคา่ เฉล่ยี สูง
สะท้อนว่า ส่วนราชการมีการดาเนินการในเรื่องน้ันๆ ดี ซึ่งอาจส่งผลหรือไม่ส่งผลต่อความ
ผูกพนั ของบคุ ลากร

ท้ังน้ี สานักงาน ก.พ.ร. จะประมวลผลเชิงวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ เพ่ือระบุ
ปัจจัยความผกู พันของแต่ละส่วนราชการและแจ้งผลให้ทราบอีกคร้ัง

17

“การพฒั นาปรับปรุงโครงสร้าง สสช.”

การพฒั นาปรับปรุงโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการ สสช.
เพ่อื รองรบั ภารกจิ กระทรวงดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม (ดศ)

สรุปผลการดาเนินงานพัฒนาปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ สสช. ต่อเนื่องจาก
สารประชาสัมพนั ธ์ ฉบบั ท่ี 2/2560 (เม.ย. - ม.ิ ย. 60) มีดังน้ี

เรื่องเดิม...

ส.ก.พ.ร. แจง้ ผลการพจิ ารณาปรับปรุงโครงสร้างฯ ตามมตทิ ีป่ ระชุมคณะกรรมการ

พฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) คร้งั ที่ 2/2560 (29 มนี าคม 2560) เหน็ ชอบ

การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งสว่ นราชการในสงั กดั ดศ. จานวน 4 สว่ นราชการ ได้แก่

- สานักงานคณะกรรมการดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม

- กรมอุตนุ ยิ มวิทยา

- สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ รา่ ง
- สานกั งานรฐั มนตรี กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสานกั งานสถติ ิแห่งชาติ

กระทรวงดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม
พ.ศ. ....

สสช. แจง้ “เหน็ ชอบ” การปรบั ปรุง -------------------------
โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการฯ ก. ราชการบริหารส่วนกลาง

(1) สานักงานเลขานกุ ารกรม

และรา่ งกฎกระทรวงฯ ตามมติ ก.พ.ร. (2) ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
ไปยัง สป.ดศ (5 เม.ย. 2560) (3) ศนู ย์สารสนเทศยทุ ธศาสตร์ภาครัฐ
(4) กองนโยบายและวชิ าการสถิติ

(5) กองบริหารจดั เกบ็ ข้อมูลสถิติ

รมว.ดศ. (นายพเิ ชฐ ดรุ งคเวโรจน์) (6) กองสถิตพิ ยากรณ์
ลงนาม ส. เพอ่ื ส่งรา่ งกฎกระทรวง (7) กองสถิติเศรษฐกจิ
(8) กองสถิติสาธารณมติ

แบ่งส่วนราชการ ของสว่ นราชการในสังกัด (9) กองสถิติสงั คม
(ตามมติ ก.พ.ร. เม่อื วันท่ี 29 ม.ี ค. 2560) ข. ราชการบรหิ ารส่วนภูมภิ าค

ไปยงั สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานกั งานสถิติจังหวัด

(สคก.) (19 เม.ย. 2560)

18

สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า บนั ทกึ หลกั การและเหตผุ ล
(สคก.) เชิญผแู้ ทน สสช. ไปรว่ ม ประกอบรา่ งกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ
ชี้แจงรายละเอียด ในการประชุม
เพื่อตรวจพจิ ารณารา่ งกฎกระทรวงฯ กระทรวงดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม
(17 ก.ค. 2560) พ.ศ. 2560

- ผูแ้ ทน สสช. จัดเตรยี มและนาเสนอ -----------------------
รายละเอยี ดการปรบั แกถ้ ้อยคา หลักการ
ในร่างกฎกระทรวงฯ และตอบ
ขอ้ ซกั ถามเจา้ หน้าที่ สคก. แบ่งสว่ นราชการสานกั งานสถิติแหง่ ชาติ
ณ หอ้ งประชมุ เดือน บุนนาค กระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม
สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
เหตผุ ล
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า
(สคก.) ตรวจพจิ ารณารา่ ง โดยท่ีเป็นการสมควรแบ่งส่วนราชการของสานักงานสถิติแห่งชาติ
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เป็นไปตามการจัด
สสช. เสร็จแล้ว มีการแกไ้ ข ส่ ว น ร า ช ก า ร ใ น ก ร ะ ท ร ว ง ดิ จิ ทั ล เพ่ื อ เศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ต า ม
เพ่มิ เติมเลก็ นอ้ ย (3 ส.ค. 2560) พระราชบัญญัติปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่ึงแก้ไข
- ให้ ผสช. แจ้งยืนยันความ เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี
๑๗) พ.ศ. ๒๕๕๙ และสอดคล้องกับภารกิจที่เพ่ิมขึ้นและเหมาะสม
เหน็ ชอบรา่ งกฎกระทรวงฯ กับสภาพของงานท่ีเปล่ียนแปลงไป อันจะทาให้การปฏิบัติภารกิจ
ไปยงั สานักเลขาธกิ าร ต า ม ห น้ า ที่ แ ล ะ อ า น า จ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ย่ิ ง ขึ้ น
คณะรฐั มนตรีโดยตรง จึงจาเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงน้ี
ภายใน 7 ส.ค. 2560
.
.
.

สสช. พจิ ารณาแล้วแจ้งยืนยัน
รา่ งกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการฯ
ไปยัง สานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี
(สลค.) (7 ส.ค. 2560)

19

สานักงานปลดั กระทรวงฯ แจ้งมติ กฎหมาย
คณะรฐั มนตรี ในคราวประชุม
เมื่อวันท่ี 5 ก.ย. 2560 รับทราบ เร่ือง ร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการของ
ร่างกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการฯ ส่วนราชการในสังกัด กระทรวงดิจิทัล
- ให้ สสช. จดั ทาเอกสารรา่ งกฎ เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม รวม 4 ฉบบั

กระทรวงฯ เพ่ือเสนอ รมว.ดศ. - สานกั งานรฐั มนตรี
พิจารณาลงนาม ตลอดจน วัน - สานักงานคณะกรรมการดจิ ทิ ัล
เดือน ปี เพอื่ ให้ สลค. นาลง
ประกาศในราชกจิ จาฯ ตอ่ ไป เพื่อเศรษฐกิจและสงั คม
(13 ก.ย. 2560) - สานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ
- กรมอตุ ุนิยมวิทยา
สสช. จดั ทาเอกสาร
รา่ งกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการฯ http://www.thaigov.go.th

ส่ง สป.ดศ. เพื่อนาเสนอ
รมว.ดศ. พิจารณาลงนาม

(14 ก.ย. 2560)

รมว.ดศ. (นายพเิ ชฐ ดุรงคเวโรจน)์
ลงนามในกฎกระทรวง
แบ่งสว่ นราชการ
สานกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(27 ก.ย. 2560)

สป.ดศ. นาสง่ กฎกระทรวงฯ
ท่ี รมว.ดส. ลงนามแลว้
(ฉบับจริง) ไปยงั สลค.
เพื่อนาลงประกาศ

ในราชกจิ จานเุ บกษา ตอ่ ไป

20

ข้นั ตอนการเสนอรา่ งกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการภายในกรม (ว 18/2549)

21

“บอกเล่า - ขา่ วฝาก”

เมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2560 สานักงาน
ก.พ.ร. ได้จัดงานสัมมนาวิชาการและ
มอบรางวัลเลิศรัฐ ประจาปี 2560
ณ โรงแรม เดอะ เบอร์เคลีย์ โดยมี
นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี
ให้เกียรติเป็นประธานเปิด พร้อมมอบ
รางวัลให้แก่หน่วยงานท่ีได้รับรางวัล
เลศิ รัฐใน 3 สาขา ประกอบด้วย รางวัล
บรกิ ารภาครฐั รางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั และรางวลั การบริหารราชการแบบมี
ส่วนร่วม ซึ่งนับเป็นก้าวสาคัญของภาคราชการในการพัฒนาการให้บริการและการพัฒนา
องค์การของภาครัฐ เพ่ือไปสู่ความเป็นเลิศในการปฏิบัติราชการและระบบราชการ 4.0
ทสี่ ามารถปรับเปล่ยี นแนวคิดและวิธีการใหมเ่ พ่ือพลกิ โฉมให้ภาครัฐเป็นท่ีเช่ือถือไว้วางใจและ
เป็นท่ีพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง โดยผู้บริหาร สสช. (นางนวลนภา ธนศักด์ิ) และ
เจา้ หนา้ ท่ี สบก. และ กพร. เข้ารว่ มในงานนี้ดว้ ย

สานักงาน ก.พ.ร. จัดการประชุมชแ้ี จงหลกั เกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองคุณภาพ
การบริหารจดั การภาครัฐระดับพ้ืนฐาน (Certified FL) ฉบับท่ี 2

ผอ.กพร. และเจ้าหน้าท่ี ได้เขา้ ร่วม
ประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์และแนว
ทางการตรวจรบั รองฯ FL ฉบับที่ 2

เม่ื อ วั น ที่ 1 กั น ย า ย น 2560
สานักงาน ก.พ.ร. จัดการประชุม
ช้ีแจงหลักเกณฑ์และแนวทางการ
ต ร วจ รั บ ร อ งคุ ณ ภ าพ ก า ร บ ริ ห า ร
จั ด ก ารภ า ค รั ฐระ ดั บ พื้ น ฐา น
(Certified FL) ฉ บั บ ท่ี 2 ให้ กั บ
ส่วนราชการระดับกรมและจังหวัดท่ีผ่านการรับรองฯ ฉบับที่ 1 และมีความพร้อมในการเข้า
รับการตรวจรับรองฯ ฉบับท่ี 2 ในปี พ.ศ. 2561 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์
และเตรียมความพร้อมในการเข้ารบั การตรวจรับรองฯ ที่จะจัดข้ึนในระหว่างเดือนกมุ ภาพันธ์
- มีนาคม 2561 โดยมีอาจารยก์ ติ ติณัฐ พนมฤทธิ์ เป็นวิทยากร

22

ยทุ ธศาสตร์ สสช.

วิสยั ทัศน์ : เปน็ ศนู ย์กลางขอ้ มลู สถิติและสารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจของประเทศ
“SMART Statistical Center for Decision Making”

ศูนย์กลำงข้อมูลสถติ แิ ละสำรสนเทศ หมำยถึง คณุ ภำพ มำตรฐำน ควำมครบถว้ นสมบรู ณ์
ทนั เวลำ และทันสมยั ต่อเนอ่ื งของข้อมลู และสำรสนเทศ เขำ้ ถึงง่ำย ตรงกบั ควำมต้องกำร

พนั ธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์
1. บริหารจัดการสถิติ และสารสนเทศของชาติ 1. บูรณาการ เช่ือมโยง และแลกเปล่ียนข้อมูล

ให้เป็นระบบ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและ ส ถิ ติ ที่ ส า คั ญ แ ล ะ จ า เป็ น ข อ งป ร ะ เท ศ ให้ มี
เสรมิ สร้าง ศักยภาพการแขง่ ขนั ของประเทศ คณุ ภาพและเป็นไปตามมาตรฐานสากล
2. จัดทาสามะโนหรือสารวจด้วยตัวอย่าง หรือ 2. พัฒนากระบวนการผลิตและการบริการด้าน
อานวยการ เพ่ือให้ได้ฐานข้อมูลทางด้าน สถิติให้มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของ
เศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ผใู้ ช้ทกุ ภาคสว่ น
อ่ืนๆ ของประเทศ 3. พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศ
3. บริการข้อมูล องค์ความรู้ วิชาการด้านสถิติ ใหม้ คี วามรคู้ วามชานาญ เปน็ มอื อาชีพ
และสารสนเทศแกผ่ ู้ใชบ้ รกิ ารทุกภาคสว่ น 4. ส่งเสริมการนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศไปใช้
4. พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศให้ ในการวางแผนและตดั สนิ ใจ
มีความเปน็ มืออาชีพ
5. ร่วมมือและประสานงานกับต่างประเทศและ คา่ นยิ ม
องค์กรระหว่างประเทศในงานเก่ยี วกบั สถติ ิ S = Specific มคี วามชดั เจน
M = Measurable สามารถวดั ได้
เปา้ ประสงค์ A = Attainable สามารถบรรลไุ ด้
R = Realistic อยบู่ นพน้ื ฐานความเป็นจรงิ
1. ประเทศมีฐานข้อมูลสถิติที่สาคัญ จาเป็น T = Timely มกี าหนดเวลาทแ่ี นน่ อน
มคี ุณภาพ สามารถสนับสนุนการตัดสินใจได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ วัฒนธรรมองค์การ
ยดึ หลกั วชิ า พรอ้ มหาสงิ่ ใหม่ ใส่ใจลกู คา้
2. มีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ศรทั ธาองคก์ ร เอ้อื อาทรตอ่ กัน รกั มนั่ สสช.
และมีการให้บริการท่ีหลากหลาย เข้าถึงง่าย
ตอบสนองความต้องการของผใู้ ชง้ าน

3. บคุ ลากรด้านสถิตขิ องประเทศมีความรูค้ วาม
ชานาญ เปน็ มอื อาชีพ

4. ทุ ก ภ าคส่ วน มี ก ารน าข้ อ มู ลสถิ ติ แ ล ะ
สารสนเทศไปใช้ในการวางแผนและตดั สินใจ

มั่นใจในสานักงานสถิติแห่งชาติ
รัฐและราษฎร์จะก้าวไปอย่างม่ันคง


Click to View FlipBook Version