The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ม.๑ บทที่ ๔ กาพย์ เรื่องพระไชยสุริยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by s59131109037, 2022-05-29 03:26:06

ม.๑ บทที่ ๔ กาพย์ เรื่องพระไชยสุริยา

ม.๑ บทที่ ๔ กาพย์ เรื่องพระไชยสุริยา

ประวัติผู้แต่ง พระสุนทรโวหาร (ภู่) ซึ่งคนท้ังหลายเรียกกันเป็น
สามัญว่า “สุนทรภู่” เกิดในรัชกาลท่ี ๑ กรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่
ไ ด้ ถ ว า ย ตั ว เ ป็ น ข้ า ใ น ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง ห ลั ง ตั้ ง แ ต่ ยั ง เ ด็ ก
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้
สุนทรภู่เข้ารับราชการเป็น อาลักษณ์ สุนทรภู่ได้ทาความชอบใน
หน้าท่ี ทาให้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนับสุนทรภู่
เป็นกวีท่ี ทรงปรึกษา และทรงตั้งเป็นขุนสุนทรโวหารในกรมพระ
อาลักษณแ์ ละมีตาแหน่งเฝ้าฯ เป็นนิจ สุนทรภู่ออกบวชในสมยั รชั กาลที่ ๓ เป็นระยะเวลาร่วม ๒๐ ปี ระหว่าง
น้ันได้ย้ายไปอยู่วัด ต่าง ๆ หลายแห่ง ช่วงปลายของชีวิต สุนทรภู่ได้อยู่ในอุปการะของพระบาทสมเด็จพระป่ิน
เกล้าเจ้าอยู่หัวและ กรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ เมื่อถึงรัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัวบวร
ราชาภิเษก กท็ รงตง้ั สนุ ทรภู่เปน็ เจา้ กรมอาลักษณ์ฝ่ายพระบวรราชวัง มีบรรดาศกั ดิ์เป็นพระสุนทรโวหาร และ
รับราชการอยู่ ๕ ปี ถึงแก่กรรมในรชั กาลท่ี ๔ พ.ศ. ๒๓๘๙ มอี ายุได้ ๗๐ ปี

จุดมุ่งหมายในการแต่งกาพย์พระไชยสุริยา สุนทรภู่ได้ประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยาขึ้นในสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หวั (ประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๒-๒๓๘๕) ขณะทีส่ ุนทรภู่บวชอยูท่ ว่ี ัดเทพธิดาราม
โดยมีจุดมุ่งหมายในการแต่ง คือ ใช้เป็นแบบสอนอ่านคาเทียบ ด้วยเหตุที่สุนทรภู่เคยเป็นครูของเจ้าฟ้าท้ัง ๓
พระองค์ซ่ึงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงนาเรื่องพระไชยสุริยามาเป็นเน้ือ
เรื่องใหส้ อดคล้องกับการสอนหนงั สือในแบบเรยี นของไทย

ลักษณะคาประพันธ์ของกาพย์พระไชยสรุ ิยา รปู แบบของกาพย์พระไชยสุริยา ใชค้ าประพนั ธ์ประเภทกาพย์ ๓
ชนิด คือ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ สุนทรภู่ใชค้ าประพันธ์ประเภทกาพยม์ า
ผูกเป็นเนอ้ื เรื่องจงึ เรยี กว่า กาพยพ์ ระไชยสรุ ิยา การดาเนินเรื่องใช้รูปแบบนิทานเร่ิมจากคาง่าย ๆ ในมาตราแม่
ก กา ตามด้วยตวั สะกดในมาตราแม่ กน กง กก กด กบ กม และแมเ่ กย ตามลาดบั

แผนผงั กาพยย์ านี ๑๑

กาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมี ๔ วรรค วรรคหน้า ๕ คา วรรคหลัง ๖ คา รวมเป็น ๑๑ คา จะตอ้ งแต่งให้จบในบาท
โทเสมอ การส่งสัมผัส คาท่ี ๕ ของวรรคต้นในบาทเอกจะส่งสัมผัสไป ยังค ที่ ๓ ในวรรคหลัง ค ที่ ๖ ในวรรค
หลงั จะส่งสัมผสั ไปยงั คา ที่ ๕ ของวรรคต้น ในบาทโท และคาท่ี ๖ ในวรรค หลงั จะส่งสัมผสั ไปยงั คาที่ ๖ ของ
วรรคหลงั ในบาทเอกของบทต่อไป ดังตวั อยา่ งบทประพันธ์ต่อไปนี้

ข้าเจ้าเอา ก ข เขา้ มาต่อ ก กา มี

แกไ้ ขในเทา่ นี้ ดมี ดิ ีอยา่ ตรชี า

แผนผงั กาพย์ฉบัง ๑๖

กาพย์ฉบัง ๑๖ บทหนง่ึ มี ๓ วรรค วรรคแรกมี ๖ คา วรรคสองมี ๔ คา และวรรคสามมี ๖ คา รวมเปน็ ๑๖ คา
การส่งสัมผัส คาท่ี ๖ ของวรรคแรกส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๔ ของวรรคที่สอง และคาที่ ๖ ของ วรรคท่ี ๓ จะส่ง
สมั ผสั ไปยังคาท่ี ๖ ของวรรคแรกในบทตอ่ ไป ดงั ตวั อย่างบทประพนั ธต์ ่อไปนี้

พระไชยสุริยาภูมี พาพระมะเหสี

มาทีใ่ นลาสาเภา

ข้าวปลาหาไปไม่เบา นารีที่เยาว์

กเ็ อาไปในเภตรา

แผนผังกาพยส์ รุ างคนางค์ ๒๘

กาพย์สรุ างคนางค์ ๒๘ บทหน่งึ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คา รวม ๒๘ คา การส่งสมั ผัสคาที่ ๔ ของวรรค ท่ี ๑ สง่
สัมผัสไปยังคาที่ ๔ ของวรรคที่ ๒ คาที่ ๔ ของวรรคที่ ๓ จะส่งสัมผสั ไปยงั คาที่ ๔ ของวรรคที่ ๕ และ คาท่ี ๔

ของวรรคที่ ๖ คาท่ี ๔ ของวรรคท่ี ๓ ส่งสัมผัสไปยงั คาที่ ๒ ของวรรคท๕ี่ และคาที่ ๔ ของวรรคที่ ๗ ซง่ึ เปน็
วรรคสดุ ทา้ ยจะสง่ สัมผสั ไปยงั คาท่ี ๔ ของวรรคท่ี ๓ ในบทต่อไป ดังตวั อยา่ งบทประพันธต์ ่อไปน้ี

วนั นัน้ จันทร มดี ารากร เปน็ บริวาร

เหน็ ส้ินดินฟา้ ในป่าท่าธาร มาลคี ล่ีบาน ใบก้านอรชร

ความเป็นมาของเร่ืองกาพย์พระไชยสุริยา ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว สุนทรภู่ได้แต่ง
กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา เพ่ือใช้เป็นหนังสือเรียนสาหรับเด็กที่ท่านเป็นครูสอน กล่าวกันว่า อาจใช้สอนใน
ขณะท่ีสุนทรภู่อยู่ในสมณเพศ เม่ือบวชครั้งแรกและจาพรรษาอยู่ท่ีเมืองเพชรบุรีใน พ.ศ. ๒๓๖๘ หรือเมื่อบวช
อยู่ที่วัดเทพธิดารามระหว่าง พ.ศ. ๒๓๘๒-๒๓๘๕ แต่บ้างก็ว่าน่าจะแต่งขณะเป็นฆราวาสและไปเป็นครูอยู่ท่ี
เพชรบุรีในภายหลัง ต่อมาใน สมัยรัชกาลท่ี ๕ เม่ือมีการจัดต้ังโรงเรียนหลวงขึ้น พระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกูร)
จัดทาแบบเรียนภาษาไทยขึ้นชุด หนึ่งมี ๖ เล่มคือ มูลบทบรรพกิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน
ไวพจน์พิจารณ์ พิศาลการันต์ ใน หนังสือมูลบทบรรพกิจ พระยาศรีสุนทรโวหารไดน้ ากาพย์เรื่องพระไชยสุริยา
ของสุนทรภู่มาแทรกไว้เพ่ือให้เด็ก หัดอ่านและเขียนหนงั สอื ได้ถูกต้องและคลอ่ งแคล่ว นอกจากน้ี ยังมีเร่ืองเล่า
กันว่าสุนทรภูเ่ คยถูกปรามาสวา่ แต่ง เป็นแต่กลอนสุภาพ สุนทรภู่จึงแตง่ กาพย์พระไชยสุริยา เพื่อพิสูจน์ฝีมือว่า
มีความสามารถในการแตง่ คาประพนั ธ์ประเภทอื่นดว้ ย

วเิ คราะห์เนอ้ื หา

กาพย์เร่ืองพระไชยสุริยาแต่งเป็นกาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และสุรางคนางค์ ๒๘ เร่ิมบทไหว้ครู

ดว้ ยกาพย์ยานี ๑๑ เพียงบทเดยี ว เป็นการไหว้พระรัตนตรัย พ่อแม่ ครู และเทวดา ดังนี้

สะธุสะจะขอไหว้ พระศรีไตรสรณา

พ่อแมแ่ ลครูบา เทวดาในราศี

ตอ่ จากนัน้ กเ็ ล่าเร่ืองโดยใชค้ าท่ีไมม่ ตี ัวสะกดซึ่งเรียกว่าคาในแม่ ก กา ดังน้ี

ขา้ เจา้ เอา ก ข เขา้ มาต่อ ก กามี

แก้ไขในเทา่ น้ี ดีมิดีอยา่ ตรชี า

จากบทประพันธ์ข้างตนแสดงให้เห็นถึงความเคารพและนอบน้อมต่อผู้ที่อยู่สูงกว่า และเป็นการ

แสดงออกถึงความถ่อมตน จากคาว่า ตรีชา แปลว่า ตาหนิ ติเตียน สุนทรภู่ได้กล่าวว่า บทประพันธ์นี้ได้แก้ไข

แล้ว หากผิดพลาดประการใดกอ็ ย่าได้ตาหนิกนั

บทประพันธ์ต่อมาได้กล่าวถึง ตัวละคร สภาพบ้านเมืองและวิถชี วี ิตของชาวบา้ นทม่ี สี ภาพความเป็นอยู่
ทด่ี ี มีความสุข การค้าขายร่งุ เรอื ง การเกษตรอดุ มสมบูรณ์ โดยใชค้ าในแม่ ก กา ดงั บทประพนั ธด์ งั ต่อไปน้ี

จะร่าคาต่อไป พอล่อใจกุมารา
ธรณมี รี าชา เจา้ พาราสาวะถี
ช่ือพระไชยสรุ ิยา มสี ดุ ามเหสี
ช่อื ว่าสมุ าลี อยู่บุรีไม่มีภยั

ข้าเฝ้าเหลา่ เสนา มกี ริ ิยาอชั ฌาศัย
พอ่ คา้ มาแต่ไกล ได้อาศยั ในพารา
ไพร่ฟา้ ประชาชี ชาวบุรีกป็ รดี า
ทาไรข่ า้ วไถนา ไดข้ ้าวปลาแลสาลี

บทต่อมาได้กล่าวถงึ ขุนนางที่กาลังหลงผิดกับ หญงิ สาวท่ีหนา้ ตาสวยงาม ใหม้ าร่วมในงานรื่นเริง โดย

ท่ีขุนนางไมส่ นใจภรรยาของตนเอง ดังบทประพันธ์ต่อไปนี้

อย่มู าหมู่ข้าเฝ้า ก็หาเยาวนารี

ที่หนา้ ตาดดี ี ทามโหรที ี่เคหา

คา่ เชา้ เฝ้าสซี อ เข้าแตห่ อลอ่ กามา

หาได้ให้ภริยา โลโภพาให้บ้าใจ

(คาศัพท์ นารี หมายถึง ผูห้ ญิง ทามโหรีหมายถึงเลน่ ดนตรี ล่อกามาหมายถึง เสพกาม โลโภหมายถึงความโลภ)

บทตอ่ มาได้กล่าวถงึ ขุนนางไม่มคี วามศรทั ธาในพระพุทธศาสนา หันไปพงึ่ ไสยศาสตร์ ผู้พิพากษา

ฉอ้ โกงประชาชน รบั สินบน เพื่อทจ่ี ะตดั สินคดีตามความชอบของตน ดังบทประพนั ธต์ ่อไปนี้

ไม่จาคาพระเจา้ เหไปเขา้ ภาษาไสย

ถอื ดมี ีขา้ ไท ฉอ้ แต่ไพร่ใส่ขือ่ คา

คดที ี่มีคู่ คอื ไก่หมูเจ้าสภุ า

ใครเอาข้าวปลามา ให้สุภาก็วา่ ดี

ที่แพแ้ ก้ชนะ ไมถ่ ือพระประเวณี

ข้ฉี อ้ ก็ได้ดี ไล่ดา่ ตีมีอาญา

( คาศัพท์ ภาษาไสย หมายถึง เรอื่ งไสยศาสตร์, ไกห่ มู หมายถงึ ของทนี่ าไปให้ผพู้ ิพากษาเปน็ การติดสินบน,

เจ้าสุภา หมายถงึ ผู้พิพากษา )

บทตอ่ มาได้กล่าวถึง คนที่นับถอื พระพทุ ธเจา้ กจ็ ะโดนดูถูกว่าเป็นคนโง่ คนแก่ที่มีปัญหา ก็โดนกล่าวหา

วา่ เป็นบา้ พระภิกษไุ ด้ละทง้ิ พระธรรม ทอ่ งบทสวดโดยไมม่ ีความตั้งใจ ดังบทประพันธด์ ังตอ่ ไปน้ี

ท่ีซอื่ ถอื พระเจ้า วา่ โงเ่ งา่ เต่าปูปลา

ผเู้ ฒา่ เหลา่ เมธา ว่าใบ้บา้ สาระยา

ภิกษสุ มณะ เหลา่ ก็ละพระสธรรม

คาถาว่าลานา ไปเร่ร่าทาเฉโก

( คาศัพท์ เหล่าเมธา ในทน่ี ี้แปลวา่ เหลา่ ผู้มปี ัญญา, สาระยา แปลวา่ เลว, สธรรม หมายถึง ธรรมะซง่ึ เป็น สง่ิ ดี

งาม, เฉโก หมายถึง ฉลาดแกมโกง ไม่ตรงไปตรงมา )

บทต่อมากล่าวว่า ผูค้ นไม่ฟังคาสง่ั สอนของผใู้ หญ่ หยิ่งยโส ชาวเมอื งสาวถีทาอะไรไมเ่ ห็นหนา้ กัน ทัง้ ดุ

และดอื้ ผู้ท่ีแข็งแรงกว่าใช้กาลังในการข่มขู่ เพื่อเอาสิง่ ของไปใช้โดยไม่ตอ้ งมีของแลกเปล่ียน อยากได้อะไรก็จะ

บงั คบั เอาไปท้ังหมด

ไม่จาคาผู้ใหญ่ ศรี ษะไมใ้ จโยโส

ที่ดมี อี ะโข ข้าขอโมทนาไป

พาราสาวะถี ใครไม่มปี รานใี คร

ดดุ ้อื ถือแต่ใจ ทใี่ ครไดใ้ ส่เอาพอ

ผู้ท่ีมีฝมี อื ทาดดุ ้ือไม่ซื้อขอ

ไล่ควา้ ผ้าทคี่ อ อะไรล่อก็เอาไป

(คาศัพท์ อะโข หมายถึง มากมาย ศรีษะไม้ หมายถงึ หวั ดอื้ )

บทต่อมากลา่ ววา่ ขุนนางประพฤติตนไมด่ ี ไมไ่ ดป้ ฏิบตั ติ ามทไ่ี ด้ถือน้าพิพัฒนส์ ตั ยา ก่อนที่จะเข้ารับ

ราชการ ประชาชนเกิดความเศร้าโศกเสยี ใจ ขนุ นางทมี่ ีตาแหนง่ สาคญั พากนั ข่มเหงคนทมี่ ีตาแหนง่ ต่ากวา่ ดัง

บทประพนั ธ์ดงั ตอ่ ไปนี้

ขา้ เฝ้าเหล่าเสนา มไิ ด้วา่ หมขู่ ้าไท

ถอื น้ารา่ เข้าไป แต่นา้ ใจไมน่ าพา

หาไดใ้ ครหาเอา ไพร่ฟ้าเศร้าเปลา่ อุรา

ผทู้ ม่ี ีอาญา ไล่ตีด่าไมป่ ราณี

(คาศัพท์ ถือนา้ หมายถงึ ทาพธิ ีด่ืมนา้ สาบานกอ่ นเข้ารับราชการ)

บทต่อมากล่าวว่า จากเร่อื งที่กลา่ วมา จะเห็นวา่ ขุนนางประพฤตติ นไมด่ ที าให้บ้านเมืองเกิดความ

แตกแยก ตามมาด้วยภัยพบิ ัติตามธรรมชาติ ทาใหเ้ กิดนา้ ท่วมเข้ามาในเมอื ง ทาให้พระไชยสุรยิ าต้องหนีออก

จากเมือง สะท้อนให้เหน็ ว่า พระไชยสุริยามคี วามบกพรอ่ งทางการปกครองบา้ นเมือง ไมส่ ามารถควบคุมขุน

นางและชาวเมอื งได้ ดังบทประพันธต์ ่อไปน้ี

ผปี า่ มากระทา มรณกรรมชาวบรุ ี

นา้ ปา่ เข้าธานี กไ็ ม่มที ่ีอาศัย

ขา้ เฝ้าเหล่าเสนา หนไี ปหาพาราไกล

ชบี าล่าล้ไี ป ไมม่ ีใครในธานี

(คาศัพท์ ผปี า่ และน้าปา่ ในทน่ี ้หี มายถึง สิ่งชั่วรา้ ยทีม่ าทารา้ ยประชาชนและทาลายเมอื งสาวะถี ซ่งึ กค็ อื ผล จาก

การที่เหล่าขุนนางและชาวเมืองประพฤติมิชอบดังที่กล่าวมาข้างต้น, ชีบา หมายถึง นักบวชและผู้รู้, ล่าล้ี

หมายถงึ ถอยหนีไป )

บทต่อมาสุนทรภู่ได้ใช้บทประพันธ์กาพย์ฉบัง ๑๖ เล่าเหตุการณ์ตอนพระไชยสุริยาพาพระมเหสี
อพยพ ออกจากเมืองโดยใช้เรือสาเภา บรรทุกข้าวปลาอาหารไปจานวนไม่น้อย ทั้งยังมีหญิงสาว หญิงสูงอายุ
คนเฒ่า คนแก่ ข้าราชการ เสนาอามาตย์ ก็โดยสารมาในเรือด้วย เม่ือตีเคาะโลหะให้มีเสียงดังแล้วก็ชักใบเรือ
ขึ้น ประจวบเวลาที่พายุพัดใบเรือจึงทาให้เรือแล่นออกไป เรือลอยมาตามน้าไหลในตอนค่า ตอนเช้าทาให้
เปลี่ยวใจเมื่ออยู่ท่ีในท้องทะเล พื้นแผ่นดินจะอาศัยก็ไม่มี พระไชยสุริยาและพระมเหสี เฝ้ามองดูอยู่ท่ีหน้าต่าง
เรือ ดังบทประพันธต์ ่อไปน้ี

พระไชยสุริยาภูมี พาพระมเหสี
มาที่ในลาสาเภา นารีที่เยาว์
เสนเี สนา
ขา้ วปลาหาไปไมเ่ บา
กเ็ อาไปในเภตรา

เถ้าแกช่ าวแมแ่ ซ่มา

กม็ าในลาสาเภา

ตมี ้าล่อชอ่ ใบใสเ่ สา วายพุ ยเุ พลา

สาเภาก็ใช้ใบไป

เภตรามาในนา้ ไหล ค่าเช้าเปล่าใจ

ท่ีในมหาวารี

พสธุ าอาศยั ไมม่ ี ราชานารี

อยู่ทพ่ี ระแกลแลดู

(คาศัพท์ ม้าล่อ หมายถึง แผ่นโลหะใช้ตีให้มีเสียงดัง ชาวแม่ หมายถึง ผู้หญิงในวังที่เป็นผู้มีอายุ เภตรา

หมายถงึ เรอื สาเภา ใช้ใบ หมายถึง แล่นไปดว้ ยใบเรอื )

สุนทรภู่ได้พรรณนาความรู้ของพระไชยสุริยา ท่ีล่องเรือไปใยท้องทะเล และเกิดความรู้สึกว้าเหว่ใน

จิตใจ มองไปทางไหนก็ไม่เห็นพ้ืนดิน สุนทรภู่อยู่ยังได้แทรกเกร็ดความรู้ในเรื่องของพันธ์ปลาเข้าไปในบท

ประพนั ธ์ดงั ตอ่ ไปน้ี

ปลากะโห้โลมาราหู เหราปลาทู

มีอยใู่ นนา้ คล่าไป

ราชาว้าเหวห่ ฤทัย วายุพาคลาไคล

มาในทะเลเอกา

แลไปไม่ปะพสธุ า เปล่าใจนัยนา

โพล้เพล้เวลาราตรี

ภาพ รายละเอยี ด

ปลากะโห้ เป็นปลาน้าจืดตระกูลคาร์พที่ใหญ่ที่สุด
ชนิดหนึ่ง มีเกล็ดใหญ่ ลาตัวมีสีเทาปนดา หรือชมพู

ปนขาว ครีบ มสี ีแดง

ปลาโลมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจาพวกหน่ึง
อาศัยอยู่ทั้งใน ทะเลน้าจืด มีรูปร่างคล้ายปลา คือมี
ครีบ มีหาง แต่ โลมามิใช่ปลา เพราะเป็นสัตว์เล้ียง
ลกู ดว้ ยนมที่มรี ก

ปลาราหู จัดเป็นปลากระเบนท่ีใหญ่เป็นอันดับ 2
ของโลก รองจากปลากระเบนแมนตา

เหรา ชื่อแมงดาทะเลชนิด Carcinoscorpius
rotundicauda ในวงศ์ Xiphosuridae สันหางกลม
มน มีขนตามริมกระดอง และหาง เนื้อมีพิษ, แมงดา
ทะเลหางกลม แมงดาถว้ ย หรอื แมงดาไฟ ก็เรยี ก

ปลาทู เป็นปลาทะเลประเภทผวิ น้า รปู รา่ งป้อมแบน
หวั โต หนา้ แหลม ตาค่อนขา้ งเลก็ มีเยือ่ ไขมนั อยู่รอบ
นัยน์ตา ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย ขากรรไกร
ลา่ งยาวและปลายแหลม เกล็ดเลก็ และหลดุ งา่ ย ครบี
หลงั มี 2 อัน ครีบทอ้ งและครีบหูมขี นาดเลก็ ครบี หาง
เป็นแฉกลึก ลาตัวด้านบนสีน้าเงินปนเขียว มีจุดสีดา
เรียงเป็นแถวตามสนั หลงั ทอ้ งสขี าว

บทต่อมากล่าวว่า พระไชยสุรยิ าตรสั ถามกับเหล่าเสนาอามาตย์ว่า มใี ครรู้ข้อเทจ็ จริงบา้ งว่าทะเลนี้ใหญโ่ ตขนาด
ไหน เหล่าเสนาอามาตย์ทูลแก่พระองค์ว่าท้องทะเลน้ีใหญ่โตอย่างย่ิง น้าไหลมาจากข้างปากวัว ไหลแผ่ไปท่ัว
ท้องทะเล ความเช่ือตามคัมภีร์น้ีไม่มีการเปล่ียนแปลง ข้าพเจ้ายึดถือตามคาท่ีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสบื ต่อกันมา ผู้แต่ง
ได้ สอดแทรกความเชื่อในเร่อื งไตรภูมิพระร่วงไว้ ดังบทประพนั ธ์ต่อไปน้ี

ราชาว่าแก่เสนี ใครรู้คดี
วารีน้ีเทา่ ใดนา

ข้าเฝ้าเล่าแกร่ าชา วา่ พระมหา
วารีน้ีไซรใ้ หญ่โต

ไหลมาแต่ในคอโค แผ่ไปใหญโ่ ต
มโหฬาร์ลา้ นา้ ไหล

บาลีมไิ ด้แก้ไข ข้าพเจา้ เขา้ ใจ
ผใู้ หญผ่ เู้ ฒ่าเลา่ มา
(คาศัพท์ รู้คดี หมายถึง รู้ข้อเท็จจริง, ไหลมาแต่ในคอโค หมายถึง ไหลมาจากด้านปากวัว เป็นความเช่ือตาม
ไตรภูมิพระร่วงวา่ ต้นทางของน้าในมหาสมุทรคือสระอโนดาตในชมพูทวปี สระนั้นมีปากทางนา้ เข้าอยู่ ๔ ด้าน
เป็นรูปหนา้ สิงห์ หน้าช้าง หนา้ มา้ และหน้าววั ตามลาดับ น้าในสระจะไหลออกจากสระ “ข้างปากววั ” ทางทิศ
ตะวันออก เวียนรอบสระอโนดาตแล้วไหลไปทางทิศอีสาน ก่อนจะตกลงสู่มหาสมุทร, บาลีมิได้แก้ไข หมายถึง
คมั ภรี ไ์ ม่มีการแกไ้ ขเปลย่ี นแปลง )
ภาพจ้าลองสระอโนดาต

บทต่อมากล่าวว่า เสนาอามาตย์เล่าว่า แต่ก่อนมีพญานกร่างกายใหญ่โตเท่าภูเขา ชื่อว่าพญาสัมภาที
(เป็นลูกพญาครุฑ) เป็นพ่ีของนกสดายุ ต้องการรู้ข้อเท็จจริงว่าท้องทะเลนี้กว้างใหญ่เท่าใด จึงมีความยโสบิน
ออกไปจนดวงอาทิตย์ใกล้ค่า มองไปทางไหนก็ไม่พบพื้นดิน จนพญาสัมภาทีรู้สึกย่อท้อ ใกล้จะส้ินใจ สุทรภู่ได้
สอดแทรกความรเู้ กยี่ วกับพญานกจากเร่ือง รามเกยี รติ์ ดังบทประพนั ธต์ ่อไปนี้

วา่ มพี ญาสกณุ า ใหญ่โตมโหฬาร์

กายาเทา่ เขาครี ี

ชือ่ ว่าพญาสา้ ภาที ใครร่ ้คู ดี

วารีนี้โตเท่าใด

โยโสโผผาถาไป พอพระสุรใิ ส

จะใกลโ้ พลเ้ พลเ้ วลา

แลไปไม่ปะพสธุ า ย่อท้อรอรา

ชวี าก็จะประลยั

(คาศัพท์ สมั ภาที หมายถึง สัมภาที เปน็ พญานกลูกพญาครุฑ และเปน็ พี่พญานกสดายุ ในเรอ่ื งรามเกียรติ์

สัมภาทเี ปน็ ผ้ชู ท้ี างให้หนมุ านไปเมืองลงกา, พระสรุ ิใส หมายถงึ ดวงอาทิตย์ )

พญานกสมั ภาที

บทต่อมากล่าวว่า มีปลาว่ายน้ามา พญาสัมภาทีก็บินไปเกาะที่หัวปลา มองออกไปจนสุด
สายตา จึงขออ้อนวอนปลาวา่ ขา้ ขออภยั ท่านดว้ ย แม่นา้ ท่เี ราอยูใ่ กล้หรอื ไกลเพียงใดขา้ ขอถามทางท่านด้วยเถิด
ปลาตอบวา่ ขา้ ยังอายุน้อยอยู่ ไม่ไดไ้ ปที่ไหนไกล เลยไมร่ ู้ ข้าอยรู่ มิ ฝงั่ ไม่ไกลจากแผ่นดิน พญาสมั ภาทีรู้สึกอาลัย
ในชวี ิตตนจึง กล่าวลาปลาบนิ ไปสู่ภเู ขาท่ีตนเองอาศยั อยู่ ดังบทประพนั ธ์ตอ่ ไปน้ี

พอปลามาในน้าไหล สกณุ าถาไป

อาศัยที่ศีรษะปลา

ชะแงแ้ ลไปไกลตา จาของ้อปลา

วา่ ขอษมาอภัย

วารีท่ีเราจะไป ใกลห้ รือว่าไกล

ขา้ ไหว้จะขอมรคา

ปลาวา่ ขา้ เจา้ เยาวภา มิได้ไปมา

อาศัยอย่ตู ่อธรณี

สกุณาอาลยั ชวี ี ลาปลาจรลี

สู่ที่ภูผาอาศัย

(คาศัพท์ ขอษมา หมายถึง ขอขมา เปน็ การขอไมใ่ ห้เอาโทษในสง่ิ ที่ไดล้ ว่ งละเมดิ หรือลว่ งเกนิ , ขอมรคา

หมายถึง ขอถามทาง, เยาวภา หมายถงึ ผู้อายนุ ้อย, อยูต่ ่อธรณี หมายถึง อยู่รมิ ฝัง่ ไม่ไกลจากแผน่ ดิน )

บทต่อมากล่าวว่าเหล่าเสนาอามาตย์ทูลแด่พระไชยสุริยาจนพระองค์เข้าใจและรู้สึกหว้าเหว่ใจย่ิงนัก
จาใจล่องเรือไปในท้องทะเลตามเวรตามกรรม จนพายุใหญ่พัดเรือหันเหออกไป สมอเรือก็ครูดไปตามพ้ืนท้อง
น้าเรือไม่หยุดอยู่กับที่ท้องเรือทะลุ มีน้าไหลเข้ามาในเรือ ผีซ้าด้าพลอยใบเรือก็ขาดและเสาหกั จนทาให้เรือล่ม
ไป ดงั บทประพนั ธ์ ตอ่ ไปน้ี

ข้าเฝา้ เล่าแก่ภวู ไนย พระเจา้ เขา้ ใจ

ฤทยั วา้ เหวเ่ อกา

จาไปในทะเลเวรา พายุใหญ่มา

เภตราก็เหเซไป

สมอก็เกาเสาใบ ทะลปุ รุไป

นา้ ไหลเข้าลาสาเภา

ผีนา้ ซา้ ไต่ใบเสา เจา้ กรรมซ้าเอา

สาเภาระยาควา่ ไป

(คาศัพท์ พระเจ้าเขา้ ใจ หมายถึง พระราชาเขา้ พระทัย, เวรา หมายถงึ เวรกรรม, สมอก็เกา หมายถึง ลาก

สมอเรอื ครูดไปตามพ้นื ท้องน้า เรือไมห่ ยดุ อยู่กบั ท่ี, เสาใบทะลุ หมายถงึ ใบเรือขาด)

บทตอ่ มากล่าววา่ พระไชยสุริยาคว้ามือพระมเหสี แล้วเอาผ้าสไบผูกมัดไว้ไม่ใหห้ ่างจากพระองค์ แสดง
ให้เห็นถึงความรัก ความหว่ งใยของพระไชยสุริยาที่มีต่อนางสุมาลีผู้เปน็ มเหสี ผู้แตง่ เล่าอีกวา่ คนเฒ่าคนแก่และ
หญิงสูงอายุ ถูกน้า พัดเข้าหูเข้าตา และถูกจระเข้กับเหราจับไปกิน พระไชยสุริยาและพระมเหสีร่าไห้กับเวร

กรรมที่ได้ประสบได้แต่จาใจต้องว่ายน้า จนไปเจอแผ่นดินใหญ่ มีต้นไทนต้นใหญ่ จึงเข้าไปนอนพัก ดังบท
ประพนั ธด์ ังตอ่ ไปน้ี

ราชาคว้ามอื อรไท เอาผ้าสไบ

ตอ่ ไว้ไม่ไกลกายา

เถ้าแก่ชาวแมเ่ สนา น้าเขา้ หตู า

จระเขเ้ หราครา่ ไป

ราชานารรี า่ ไร มกี รรมจาใจ

จาไปพอปะพสุธา

มีไม้ไทรใหญใ่ บหนา เขา้ ไปไสยา

เวลาพอคา่ ราไร

( คาศัพท์ อรไท หมายถึง นางผู้เป็นใหญ่ นางผู้มีสกุล (ใช้เรียกนางกษัตริย์), เหรา ในที่นี้หมายถึง สัตว์น้าใน
นิยาย มลี ักษณะครึง่ นาคคร่ึงมงั กร, ครา่ หมายถึง จับไปกิน, ไสยา หมายถงึ การนอน )

อา่ นว่า เห-รา

เมือ่ จบบทท่ใี ชค้ าในแม่ ก กา แลว้ ผ้แู ต่งตอ่ ดว้ ยบทท่ีใชค้ าในแมก่ น โดยมคี าในแม่ ก กา ปนอยู่เปน็ การ
ทบทวนไปดว้ ย ผู้แต่งใชค้ าประพนั ธช์ นิดกาพย์สรุ างคนางค์ ๒๘ ในการแตง่ และเลา่ ถงึ เหตุการณ์ ที่พระไชย
สรุ ิยาและพระมเหสหี นเี ขา้ มาในปา่ ดงั บทประพันธ์ต่อไปนี้

ข้ึนใหม่ใน กน ก กา ว่าปน ระคนกนั ไป เอน็ ดูภูธร

มานอนในไพร มณฑลตน้ ไทร แทนไพชยนตส์ ถาน

( คาศัพท์ ภธู ร หมายถงึ พระราชา, มณฑล หมายถึง บรเิ วณ, ไพชยนตส์ ถาน หมายถงึ ปราสาท )

ผู้แตง่ ไดส้ อดแทรกให้เหน็ คา่ นิยมการเปน็ ภรรยาทด่ี ีในสมยั ก่อน คือ ให้ความเคารพแกส่ ามีอย่างเสมอ ตน้ เสมอ
ปลาย และดแู ลปรนนิบัตใิ หส้ ามสี ขุ สบาย ดงั บทประพนั ธ์ต่อไปนี้

ส่วนสมุ าลี วันทาสามี เทวอี ยู่งาน เฝา้ อยู่ดแู ล

เหมอื นแต่กอ่ นกาล ใหพ้ ระภูบาล สาราญวญิ ญาณ์

ต่อไปเป็นบทท่ใี ช้คาในแมก่ ง โดยมีคาในแม่ ก กา และแม่กนปนอยู่ ผู้แต่งใช้คาประพนั ธุช์ นดิ กาพย์ฉบงั ๑๖

บรรยายถึงตน้ ไมใ้ นป่า ดังบทประพันธต์ ่อไปนี้

ขึน้ กงจงจาสาคญั ท้งั กนปนกนั

ราพันมิ่งไม้ในดง

ผู้แต่งเล่าถึงตอนท่ีพระไชยสุริยาและพระมเหสีเดินทางไปในป่า พบเจอกับพันธุ์ไม้นานาชนิดและท้ังสอง

พระองค์ก็ได้เก็บกินผลไปตามทางท่ีเดิน ผู้แต่งได้สอดแทรกความรู้เก่ียวกับชื่อของพันธุ์ไม้และพันธ์ุสัตว์ต่าง ๆ

ไว้ในบทประพันธ์ ถือว่าเป็นบทชมไม้ ชมป่า และชมสัตว์ท่ีมีสัมผัสคล้องจองและมีความไพเราะ ดังบท

ประพนั ธ์ต่อไปน้ี

ไกรกรา่ งยางยูงสูงระหง ตลงิ ปลงิ ปรงิ ประยงค์

คันทรงสง่ กลิ่นฝ่ินฝาง

มะมว่ งพวงพลองช้องนาง หลน่ เกลือ่ นเถอ่ื นทาง

กินพลางเดนิ พลางหว่างเนนิ

จากบทประพนั ธ์ขา้ งตน้ มีตน้ ไมท้ ง้ั หมด ๑๒ พันธ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ต้นไกร หรือต้นเลียบ จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้น

ผลดั ใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ทรงพ่มุ เป็นรูป

ไข่ มียางสีขาว เปลือกต้นค่อนข้างเรียบเป็นสี

เทา ทุก ๆ ส่วนเกลี้ยงยกเว้นหูใบ มีราก

อากาศ รดั พันเลก็ น้อย

ต้นกร่าง หรือต้นนิโครธ เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่
ลาต้นตรงขึ้นเป็นพูพอน แตกก่ิง ก้านหนาทึบ
ลักษณะเป็นเรือนยอดแผ่กว้างปลายกิ่งลู่ลง ลาต้น
และกิ่งมีรากอากาศห้อยย้อยลงมามากมาย และเม่ือ
หยั่ง ถึงดินแล้วจะทาให้เกิดเป็นหลืบสลับซับซ้อน
เปน็ ฉากเปน็ หอ้ ง หรือเปน็ ลาตน้ ตอ่ ไปไดอ้ ีก

ต้นยางยูง เป็นไม้ต้น ไม่ผลัดใบหรือผลัดใบแต่ผลิใบ
ใหม่ไว ลาต้นตรง เปลือกหนา เรียบหรือแตกเป็น
แผ่นโต ๆ หอ้ ยลง สีเทา หรือเหลืองอ่อน เปลอื กในสี
นา้ ตาลอมแดง

ต้นตลิงปิง จัดเป็นไม้ผลที่ให้รสเปรี้ยวจัด นิยม
รับประทานผลสด และ นิยมนามาแปรรูปเป็น
ตะลิงปลงิ ดอง ตะลงิ ปลงิ แชอ่ ิม่ รวมถึงยังมี สรรพคุณ
ทางยาที่ได้จากผล และ สว่ นต่างๆของตน้

ต้นประยงค์ จัดเป็นไม้ดอกไม้ประดับท่ีนิยม ปลูก
ตามบ้านเรือน และสถานที่สาธารณะตา่ งๆ เนอ่ื งจาก
ลาต้น ค่อนข้างเตี้ย ลาต้นแตกก่ิงมาก และ ใบดก
ทาให้เป็นทรงพุ่มหนา นอกจากนั้น ดอกประยงค์ยัง
มีสี เหลืองสวยงาม และส่งกลิ่นหอมแรงเม่ือดอก
บาน
ต้นคันทรง จัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางก่ึงไม้เลื้อย ลา
ต้นตั้งตรง แตกก่ิงก้านมากตั้งแต่โคนต้น กิ่งก้านมี
ขนาดเล็กกลมสีเขียว กิ่งก้านสีเขียวเข้มเป็นมัน
เปลอื กต้นเปน็ สีเทา

ต้นฝ่ิน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตั้งตรง แตกก่ิง
ก้านได้ ทุกส่วนของพืชให้ยางสีน้านม เมื่อยางน้ีถูก
อากาศจะเปลย่ี นเป็นสีน้าตาล

ต้นฝาง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง หรือเป็นไม้พุ่ม
หรือไม้พุ่มกึ่งไม้เถาผลัดใบ ลาต้นและก่ิงมีหนามแข็ง
และโค้ง สั้น ๆ อยูท่ ั่วไป

ต้นมะม่วง เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางท่ีนิยมปลูก
เอาไวใ้ นบ้าน เพราะมผี ลให้รบั ประทานได้

ต้นพวง หรือต่นพลวง ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาด
ใหญ่ ลาตน้ ตรง ใบเหน็ ชดั โคนหยัก เวา้ เป็นรปู หวั ใจ
ปลายสอบ ใบอ่อน สีน้าตาลแกมแดง กาบหุ้มยอด
อ่อน มีขนสั้นๆ สีเทา ดอกสมี ว่ งแดงถึงชมพู ออกเปน็
ช่อเด่ยี ว ๆ ตามง่าม ใบและปลายก่งิ

ต้นพลอง จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึง
ขนาดกลางไม่ผลัดใบ ลาต้นตั้งตรง เรือนยอดเป็น
พมุ่ กลมแตกกิ่งกา้ นตา่

ต้นช้องนาง เป็นไม้พุ่มเล็ก แตกกิ่งก้านมาก ใบมน
ปลายแหลม ดอกเป็นรูปแตร ปลายดอกผาย
ออกเป็น 5 แฉก ในดอกตรงกลางมตี าสีเหลือง ดอกสี
มว่ ง

นอกจากการกล่าวถึงพันธ์ไม้ ผู้แต่งใช้อุปมาโวหาร เปรียบท่าทางการเดินของกวางท่ีกาลังเดินพร้อม

กบั ชาเลืองมองดูเหมือนกับเชิญ ชวนให้มองดูความสวยงามและระวังอันตรายรอบข้างไปในตัว ดงั บทประพันธ์

ตอ่ ไปนี้

เหน็ กวางยา่ งเย้ืองชาเลอื งเดิน เหมอื นอยา่ งนางเชิญ

พระแสงสาอางข้างเคยี ง

เม่ือมองไปบนเขาผู้ประพันธ์ยังพรรณาว่าเห็นฝูงหงส์กาลังโฉบลงเรียงกัน ต่างพากันร้องอย่างรื่นเริง

สาเนียงเสนาะไพเราะ และวังเวงย่ิง กลางป่าก็มีไก่ขันแข่งกันฟังเหมือนเสียงซอท่ีบรรเลงมาจากในวัง นกยูง

ทองกร็ อ้ งเสยี งดงั เหมอื น เสยี งฆอ้ ง กลอง ระฆัง แตร สงั ข์ กังสดาล ดังควบคูก่ ันไป ดงั บทประพนั ธต์ อ่ ไปนี้

เขาสงู ฝูงหงสล์ งเรียง เริงร้องกอ้ งเสียง

สาเนยี งนา่ ฟงั วงั เวง

กลางไพรไก่ขันบรรเลง ฟังเสยี งเพียงเพลง

ซอเจง้ จาเรียงเวียงวัง

ยงู ทองรอ้ งกะโตง้ โห่งดงั เพียงฆอ้ งกลองระฆัง

แตรสงั ข์กังสดาลขานเสียง

จากบทประพนั ธ์ข้างต้นได้กลา่ วถึง นก ทง้ั ๓ ชนดิ คือ หงส์ ไก่ และนกยูงทอง จะเหน็ ได้วา่ ผูป้ ระพันธ์

ได้พรรณาถึงเร่อื งของธรรมชาตแิ ละสตั ว์

ผู้ประพนั ธ์ได้พรรณนาชว่ งเวลาในปา่ ตอนกลางวัน และตอนกลางคนื ได้อย่างชัดเจนจากบทประพันธด์ งั ต่อไปนี้

ฝูงละมง่ั ฝงั ดนิ กนิ เพลงิ คางแข็งแรงเรงิ

ยนื เบิง่ บ้ึงหนา้ ตาโพลง

ปา่ สูงยูงยางชา้ งโขลง อึงคะนึงผงึ โผง

โยงกนั เลน่ นา้ คลา่ ไป

ฝูงละม่ังพากันมากินดิน นอนผ่ึงแดด ดูบึกบึนแข็งแรงและรื่นเริง ยืนมองทาตาโพลง บริเวณป่าต้นยูง

ยางทสี่ งู มชี า้ งอยู่โขลงใหญก่ าลงั ส่งเสียงและลงเลน่ นา้ กนั

ผู้แต่งได้พรรณนาถึงบรรยากาศในยามพลบค่าว่าเป็นช่วงที่มองดูแล้วเหมือนกับน้าคร่ังที่ กาลังแดง

แฝงเข้าไปในเมฆระหว่างขุนเขา และพรรณนาถึงพฤติกรรมของสัตว์ให้ผู้อ่านได้เห็นภาพชัดเจนว่า ฝูงลิง ค่าง

ตา่ งพากนั ครางเสยี งโครกครอก ฝงู สนุ ัขจิ้งจอกออกมาเหา่ หอน ชะนีสง่ เสียงดงั นกหกตา่ งบินกลับเข้าส่รู งั นอน

เรียงกันเป็นแถว ลูกนกยกปีกอ้าปากรอรับอาหารจากแม่เสียงดัง แม่นกยกปีกป้องเอาไว้ พร้อมกับป้อนอาหาร

ใหล้ กู ดังบทประพนั ธ์ตอ่ ไปน้ี

รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุรยิ งเย็นยอแสง

ชว่ งดังน้าครงั่ แดง แฝงเมฆเขาเงาเมรธุ ร

ลงิ ค่างครางโครกครอก ฝงู จิ้งจอกออกเห่าหอน

ชะนีวิเวกวอน นกหกร่อนนอนรังเรียง

ลกู นกยกปกี ปอ้ ง อา้ ปากร้องซ้องแซเ่ สยี ง

แมน่ กปกปกี เคียง เลย้ี งลูกอ่อนปอ้ นอาหาร

บทต่อมาใช้คาในแม่กด ผู้แต่งเล่าถึงบทอัศจรรย์โดยใช้อุปมาโวหาร บรรยายว่า บทน้ีเป็นบทอัศจรรย์ เสียงดัง

คร้ืนครั่นถึงชั้นเขาหลวง ดังจนนกตกออกจากรัง ฝูงสัตว์ท้ังปวงต่างงุนงง ในดินแดนของมนุษย์ ก็เกิดเสียงดัง

เหมือนไฟไหม้ตึกและบ้านเรือนต่างไหวเคล่ือน ในบทนี้ผู้แต่งได้ใชก้ ารเล่นเสียงพยัญชนะ “ค” ในวรรค “โคลง

คลอนเคล่ือนเขยือ้ นโยน” ดังบทประพนั ธต์ อ่ ไปน้ี

ขนึ้ กดบทอศั จรรย์ เสียงคร้นื ครน่ั ช้ันเขาหลวง

นกหกตกรังรวง สตั ว์ทง้ั ปวงงว่ งงนุ โงง

แดนดินถิน่ มนุษย์ เสียงดังดุจเพลงิ โพลง

ตกึ กว้านบ้านเรือนโรง โคลงคลอนเคล่ือนเขย้ือนโยน

บทต่อไปใช้คาในแม่กบ ผู้แต่งได้บรรยายถึงพระดาบสผู้บูชาไฟและบาเพ็ญตนอย่างสงบสุขอยู่โคนต้นไม้ ท่าน
หลับตาเอนตัวพิงกับตน้ ไมเ้ หมอื นกับกาลังนอนหลับสนิท โดยบาเพญ็ ศีลอภิญญาณอยู่ บาเพ็ญพรตจนรู้ เห็นทัว่
พืน้ ดิน ท้องฟ้าและจกั รวาล ตลอดจนสรวงสวรรคท์ ่านกร็ ้เู หน็ หมดทง้ั สิ้นทว่ั โลก ท่านเขา้ ฌานเปน็ เวลานานนบั
เดือน ไมข่ ยับเขยอื้ นกาย จาศลี อดอาหาร อยู่อย่างมีความสขุ ทุกเดือนปี ดังบทประพันธต์ ่อไปน้ี

ข้นึ กบจบแม่กด พระดาบสบชู ากณู ฑ์

ผาสุกรุกขมลู พูนสวสั ดิ์สตั ถาวร

ระงับหลับเนตรน่งิ เององค์อิงพิงสิงขร

เหมอื นกับหลบั สนิทนอน สังวรศีลอภิญญาณ

บา้ เพ็งเล็งเห็นจบ พน้ื พภิ พจบจักรวาล

สวรรคช์ ้ันวมิ าน ทา่ นเหน็ แจง้ แหล่งโลกา

เข้าฌานนานนับเดือน ไมเ่ ขยื้อนเคล่ือนกายา

จาศลี กินวาตา เป็นผาสกุ ทุกเดือนปี

(คาศัพท์ บูชากูณฑ์ หมายถึง บูชาไฟ, รุกขมูล หมายถึง โคนต้นไม้, สัตถาวร คือ สถาวร หมายถึง ย่ังยืน,

อภญิ ญาณ หมายถึง “ความร้ยู ่ิง” ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่าง คอื ๑. อิทธวิ ิธิ คอื การแสดงฤทธ์ิได้

๒. ทิพ โสต คอื หทู พิ ย์ ๓. เจโตขปริยญาณ คอื ญาณรู้จกั ก าหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพ-เพนวิ าสานุสตญิ าณ คอื การ
ระลึก ชาติได้ ๕. ทิพจักขุ คือ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ คือ ญาณรู้จักทาอาสวะให้ส้ินไป, บาเพ็ง หมายถึง
บาเพญ็ , กินวาตา หมายถงึ กินลม ในความว่า “จ ำศีลกินวาตา” หมายความวา่ พระดาบสจ าศีลไมก่ นิ อาหาร)

บทต่อไปใช้คาในแม่กม โดยมคี าในมาตราตัวสะกดแม่อ่ืน ๆ ปะปนอยู่ ผ้แู ตง่ ใชค้ าประพันธป์ ระเภท กาพย์ฉบัง
๑๖ เล่าเหตุการณ์ว่า พระดาบสเห็นใจพระไชยสุรยิ า ผู้ซึ่งซ่ือตรงแต่หลงเล่ห์เหล่ยี มของเหลา่ เสนา อามาตยท์ ่ีไม่
ซื่อตรงและมีความชั่วร้าย ทาให้เมืองสาวะถีล่มจมไป พระดาบสจึงคิดท่ีจะโปรดพระไชยสุริยาให้ เล่ือมใส
ศรทั ธาในการบาเพญ็ ตนให้สาเรจ็ ดังในบทประพันธต์ ่อไปนี้

ขึน้ กมสมเด็จจอมอารย์ เอ็นดูภบู าล

ผ้ผู ่านพาราสาวะถี

ซื่อตรงหลงเล่ห์เสนี กลอกกลับอัปรีย์

บรุ จี ึงลม่ จมไป

ประโยชนจ์ ะโปรดภูวไนย น่งิ นงั่ ตั้งใจ

เลอ่ื มใสสาเร็จเมตตา

(คาศัพท์ สมเด็จจอมอารย์ในที่นหี้ มายถงึ พระดาบส, กลอกกลบั อปั รีย์ หมายถึง ไมซ่ ่ือตรง และช่ัวรา้ ย)

พระดาบสบอกเล่าดว้ ยเสียงอันไพเราะเหมือนเสียงพิณของพรอนิ ทรว์ ่า วันหน่งึ เราทุกคนต้องตาย แสดงใหเ้ ห็น

วา่ ผูแ้ ตง่ ได้สอดแทรกหลักอนจิ จา คือความไมเ่ ท่ียง ทกุ สิ่งลว้ นตอ้ งตาย นอกจากน้ีผู้แต่งยังได้ แทรกความเชื่อ

เรอื่ งบาปและบุญในคากลา่ วของพระดาบสวา่ การเบยี ดเบยี นกนั มีแต่จะทาให้มีบาปติดตัวเปน็ ทุกข์ไปนานแสน

นาน แต่ความเมตตากรุณาจะนาไปสู่สรวงสวรรค์ ทาใหม้ ีแต่ความสุขทกุ วนั ดงั บทประพันธ์ ต่อไปนี้

เปลง่ เสยี งเพียงพิณอินทรา บอกขอ้ มรณา

คงมาวนั หนึง่ ถึงตน

เบียนเบยี ดเสียดส่อฉ้อฉล บาปกรรมนาตน

ไปทนทุกข์นบั กปั กัลป์

เมตตากรุณาสามัญ จะได้ไปสวรรค์

เปน็ สขุ ทกุ วนั หรรษา

บทต่อไปใช้คาในแม่เกยตามลาดับ โดยมคี าในแม่ต่าง ๆ ทหี่ ดั อ่านมาแลว้ ปนอย่ใู นลักษณะเดียวกับที่ กลา่ วแลว้

ข้างต้น ส่วนแม่เกอวน้ันไม่มีบทอ่านแยกออกมาตา่ งหาก เพราะโบราณรวมเอา แม่เกอวไว้ในแม่เกยผู้แต่งไดใ้ ช้

คาประพันธ์ประเภทกาพย์ฉบัง ๑๖ เล่าถึงเหตุการณ์เมื่อพระไชยสุริยาได้รับฟัง ธรรมคาสั่งสอนแล้วก็เกิด

เล่ือมใสศรัทธา เห็นเหตุที่เกิดจากนิสัยต่าง ๆ ของมนุษย์ พระองค์จึงตัดขาดจากบ่วง ความทุกข์และพบกับ

ความสาราญใจ ทัง้ สองพระองคส์ วมใส่ชดุ และหมวกท่ีทาจากหนังเสือ รกั ษาศีลเป็นฤๅษี ทกุ เชา้ คา่ ทาพธิ ีบูชาไฟ

เป็นกิจประจา มพี ื้นแผ่นดนิ เปน็ ท่ีนอน มีขอนเปน็ หมอนหนุนหัว ดงั บทประพนั ธ์ตอ่ ไปนี้

ขึ้นเกยเลยกลา่ วท้าวไท ฟงั ธรรมนา้ ใจ

เลื่อมใสศรัทธากล้าหาญ

เห็นภัยในขันธสันดาน ตัดห่วงบว่ งมาร

สาราญสาเรจ็ เมตตา

สององค์ทรงหนังพยคั ฆา จัดจีบกลบี ชฎา

รกั ษาศลี ถอื ฤๅษี

เช้าค่าทากจิ พธิ ี กองกณู ฑ์อัคคี

เปน็ ทบ่ี ชู าถาวร

ปถพีเป็นทีบ่ รรจถรณ์ เอนองค์ลงนอน

เหนือขอนเขนยเกยเศยี ร

(คาศัพท์ ขนั ธสนั ดาน หมายถงึ นิสัยตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์, บรรจถรณ์ หมายถึง ท่นี อน, เขนย หมายถึง หมอน

หนนุ )

สนุ ทรภูไ่ ด้บอกจดุ ประสงคใ์ นการแต่งวา่ แต่งกาพยน์ ข้ี ้ึนเพื่อส่ังสอนเด็กๆ ในวัยเรยี น และได้สอดแทรก คาสัง่

สอนไวว้ ่า “พวกเดก็ ๆ จงคอ่ ยๆ เรียนรู้ อา่ นและเขยี นคาผสมปนกันไปทง้ั แมก่ ม แมเ่ กยและขอใหร้ ะวงั ตวั กลวั

คุณครเู อาไว้ เดีย๋ วจะโดนไม้เรียว เพราะฉนั เคยเข็ดหลาบมาแลว้ ฉันเคยถกู ไม้ เรียวหวดตีจนปวดแสบ

มหิ นาซา้ ยงั ถูกหยกิ จนชา้ เขยี ว เดก็ ๆ อย่าเอาแตเ่ ที่ยวเล่นจนหลง ดังบทประพันธ์ ตอ่ ไปน้ี

ภมุ ราการญุ สนุ ทร ไว้หวงั สั่งสอน

เด็กอ่อนอนั เยาวเ์ ลา่ เรียน

ก ข ก กา วา่ เวยี น หนนู อ้ ยค่อยเพียร

อา่ นเขยี นผสมกมเกย

ระวังตัวกลัวครหู นูเอ๋ย ไมเ้ รียวเจยี วเหวย

กูเคยเข็ดหลาบขวาบเขวยี ว

หันหวดปวดแสบแปลบเสยี ว หยกิ ซา้ ชา้ เขียว

อย่าเท่ยี วเล่นหลงจงจา

(คาศัพท์ ภุมราการุญสนุ ทร หมายถงึ สนุ ทรภู่ “ภุมรา” หมายถงึ แมลงภู่ ซง่ึ ใช้แทนนามของ สนุ ทรภู่)

คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์

กาพยเ์ รื่องพระไชยสรุ ิยามีความไพเราะและไดร้ ับการยกยอ่ งให้เป็นวรรคทอง เชน่ บท “เห็นกวางยา่ ง เยอื้ ง

ชาเลืองเดิน” หรอื บท “วันน้ันจันทร มีดารากร เป็นบรวิ าร” ทั้งคาประพันธม์ ีความดีเดน่ ใน ด้านการสรรคา

ใหม้ มี าตราตวั สะกดตามทีก่ าหนดมาร้อยเรยี งต่อกนั และมีการใชโ้ วหารตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. บรรยายโวหาร มี

การดาเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว เช่น

จะรา่ คาต่อไป พอล่อใจกุมารา

ธรณีมีราชา เจ้าพาราสาวะถี

ชื่อพระไชยสรุ ิยา มีสดุ ามเหสี

ช่ือวา่ สุมาลี อยบู่ ุรไี ม่มีภัย

บทขา้ งต้น เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการเล่าวา่ มีราชาทีป่ กครองเมืองสาวะถี ช่ือวา่ พระไชยสรุ ยิ าและ มมี เหสี ช่อื ว่า สมุ าลี

ทอี่ ยกู่ ันอยา่ งสุขสบายไม่มภี ัยอนั ตราย แสดงให้เห็นความสามารถของกวีทีใ่ ชก้ าพย์ยานี ๑๑ เพียงสองบท

เทา่ นนั้ แต่สามารถอธิบายได้ทัง้ ชอื่ ตัวละครและสภาพของบา้ นเมืองในขณะนนั้ ไดอ้ ย่าง ครบถ้วน มคี วาม

ชัดเจน

๒. พรรณนาโวหาร เป็นการใช้คาที่ใหร้ ายละเอยี ดจนเห็นภาพชดั เจน เชน่ บทชมไม้

ไกรกรา่ งยางยูงสูงระหง ตะลิงปลงิ ปริงประยงค์

คนั ทรงสง่ กลน่ิ ฝนิ่ ฝาง

บทขา้ งตน้ เป็นการพรรณนาถึงพันธ์ุไมต้ ่างๆ ได้แก่ ต้นไกร ตน้ กรา่ ง และตน้ ยางยูงท่ีมึลกั ษณะลาตน้ สงู ใหญ่

สว่ นต้นตะลิงปลงิ ต้นประยงค์ ตน้ คันทรง ต้นฝน่ิ และต้นฝางก็กาลงั สง่ กล่นิ ไปทวั่

มะม่วงพวงพลองชอ้ งนาง หลน่ เกลื่อนเถ่ือนทาง

กินพลางเดินพลางหวา่ งเนิน

นอกจากพันธุ์ไมใ้ นบทก่อนหนา้ น้ี ก็ยังมกี ารพรรณนาถงึ พนั ธุไ์ ม้ในบทนีด้ ้วยเชน่ กัน ไดแ้ ก่ ต้นมะม่วง ต้นพลวง

ตน้ พลอง และต้นช้องนางทห่ี ล่นตามทาง ทาให้พระไชยสุริยาและมเหสสี ามารถหยบิ กนิ ระหวา่ ง เดินทาง

- บทชมสัตว์ในป่า

เห็นกวางย่างเยือ้ งชาเลืองเดนิ เหมือนอย่างนางเชญิ

พระแสงสาอางข้างเคยี ง

บทขา้ งตน้ เปน็ การแสดงความเคลื่อนไหวของกวางท่ีกาลังเดินและมองชาเลืองในลกั ษณะการมอง เหมือนเชญิ

ชวนใหช้ มความงามของมนั และเป็นการมองเพ่ือระวังภยั อันตรายรอบขา้ งตวั ไปด้วย

เขาสูงฝูงหงส์ลงเรยี ง เริงรอ้ งก้องเสยี ง

สาเนยี งน่าฟงั วังเวง

บทขา้ งต้น เปน็ การพรรณนาถงึ ภาพภเู ขาสูงทมี่ ฝี ูงหงส์กาลงั บินเรียงกนั ลงมาและสง่ เสียงรอ้ งดังก้อง เม่ือไดฟ้ ัง

แล้วทาใหร้ ู้สกึ วงั เวง

๓. เทศนาโวหาร เป็นการสงั่ สอนเพ่ือใหเ้ ห็นคุณและโทษของการกระท า เชน่

เบยี ดเบยี นสอ่ ฉ้อฉน บาปกรรมนาตน

ไปทนทุกข์นับกัปกัลป์

เมตตากรุณาสามัญ จะได้ไปสวรรค์

เป็นสุขทุกวันหรรษา

บทข้างต้น เปน็ การสอนถงึ ผลของการท าบาปจากการเบียดเบียนผู้อ่ืน จะทาให้ผู้ทาบาปได้รบั ความ ทุกข์ไป

ตลอด ส่วนผลของการทาบุญจากการมีความเมตตา จะทาให้ไดไ้ ปสวรรคแ์ ละมีความสขุ ทุกวนั

๔. สาธกโวหาร เปน็ การอธิบายโดยการยกตวั อย่างประกอบ เชน่

บาลมี ไิ ดแ้ กไ้ ข ขา้ พเจ้าเขา้ ใจ

ผใู้ หญ่ผเู้ ฒา่ เล่ามา

ว่ามพี ญาสกุณา ใหญโ่ ตมะโหฬา

กายาเทา่ เขาครี ี

บทข้างต้น เป็นอธบิ ายความกว้างใหญ่ของมหาสมุทรโดยการยกเร่ืองของ พญานกทมี่ ีขนาดใหญเ่ ทา่ ภูเขา

(เปน็ พญานกทเ่ี คยพยายามบินเพอื่ ต้องการทราบว่ามหาสมุทรใหญ่เพยี งใด แต่กต็ อ้ งถอดใจดว้ ยความ เหน่อื ย

ลา้ ไม่สามารถบนิ ไปต่อได)้

๕. อุปมาโวหาร เปน็ การเปรียบเทยี บ เช่น

รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุรยิ งเยน็ ยอแสง

ชว่ งดังน้าครัง่ แดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุธร

บทขา้ งตน้ เป็นการใชค้ าว่า ดัง ในการเปรยี บเทยี บสีของท้องฟ้าขณะทพ่ี ระอาทติ ย์กาลังจะตกดนิ ท่ี เป็นสีแดง

เหมือนสขี องน้าคร่งั

๖. การใชส้ ญั ลกั ษณ์ การใช้คาทแี่ สดงให้เหน็ ภาพได้ชัดเจน เชน่

ผปี า่ มากระทา มะระณะกรรมชาวบรู ี

นา้ ป่าเข้าธานี ก็ไม่มที ่ีอาศัย

บทข้างตน้ คาวา่ ผปี า่ หมายถงึ การเสพกาม การเชือ่ เร่ืองไสยศาสตร์ การนาสงิ่ ของมาให้ผูพ้ ิพากษา เป็นการ

ติดสนิ บนเพื่อใหต้ นเองชนะคดี และกาลกิณี ๔ ประการ ได้แก่ การเห็นผิดเปน็ ชอบ การอกตัญญูตอ่ พ่อ แม่และ

ครู การเบยี ดเบยี นผู้อ่นื และความโลภ โดยการใชค้ าวา่ ผีป่า แสดงถึงสิง่ ท่ีมาทาร้ายผู้คน และใช้คาวา่ นา้ ป่า

แสดงถึงการทาลายบ้านเมือง

๗. อธิพจน์ การกลา่ วเกนิ จรงิ เชน่

ว่ามพี ระยาสกณุ า ใหญ่โตมะโหฬา

กายาเท่าเขาครี ี

บทข้างต้น เปน็ การกล่าวเกนิ ความเปน็ จรงิ โดยการเปรยี บขนาดของพญานกท่มี รี า่ งกายใหญ่โตเท่า ภเู ขา ที่

แสดงความยง่ิ ใหญข่ องพญานก และเน้นให้ผู้อา่ นรสู้ ึกถึงร่างกายของพญานกที่มีขนาดใหญ่
๘. สทั พจน์ การเลียนเสยี งธรรมชาติ เชน่

ค้อนทองเสยี งร้องป๋องเปง๋ เพลนิ ฟงั วงั เวง

อเี ก้งเริงรอ้ งลองเชิง

บทขา้ งต้น เป็นการใชค้ าว่า ป๋องเป๋ง เลยี นเสยี งร้องของนกค้อนทอง เสยี งร้องทท่ี าให้ร้สู ึกถงึ ความ วงั เวง

๙. มกี ารใช้เสยี งสมั ผัสสระและพยัญชนะ เช่น

ไกรกร่างยางยงู สงู ระหง ตะลิงปลงิ ปรงิ ประยงค์

คันทรงส่งกลน่ิ ฝิน่ ฝาง
การสัมผสั พยัญชนะ ก ระหวา่ ง คาว่า ไกรกับกร่าง การสมั ผัสพยัญชนะ ย ระหวา่ ง คาว่า ยางกับยงู การสัมผัส

พยญั ชนะ ป ระหว่าง คาว่า ปลิงกับปรงิ การสัมผัสพยัญชนะ ฝ ระหวา่ ง คาว่า ฝนิ่ กบั ฝาง การสมั ผสั สระอา

ระหวา่ งคาว่า กร่างกบั ยาง การสมั ผัสสระอู ระหวา่ งคาวา่ ยูงกบั สูง การสมั ผัสสระอิ ได้แก่ คาวา่ ลงิ ปลิง และ

ปรงิ การสมั ผสั สระโอะลดรูป ระหวา่ งคาวา่ ทรงกับสง่ นอกจากน้ยี ังมีการใช้คาใน มาตราตวั สะกดเดียวกนั คือ

แม่กง สว่ นการสัมผสั สระอิ ระหวา่ งคาวา่ กลิ่นกับฝนิ่ มกี ารใช้คาในมาตรา ตวั สะกดเดยี วกนั คือ แม่กน

คณุ ค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม

๑. ใหค้ วามร้เู ก่ยี วกับชื่อพนั ธุ์ไม้และสตั วต์ ่างๆ เช่น ได้แก่ ต้นไกร ต้นกรา่ ง ต้นยางยงู ต้นตะลิงปลิง ตน้
ประยงค์ ต้นคนั ทรง ตน้ ฝิน่ ต้นฝาง ต้นมะมว่ ง ตน้ พลวง ตน้ พลอง และตน้ ชอ้ งนาง ช่ือสตั วป์ า่ ต่างๆ ได้แก่
นกกะลิง นกกะลาง นกนางนวล ไกฟ่ ้าพญาลอ นกนางแอ่น นกเอีย้ ง นกอีโกง้ นกค้อนทอง (นกตีทอง) และ
อีเก้ง (เกง้ ) ชอ่ื พนั ธไุ์ ม้ ได้แก่ ต้นโทงเทง ชื่อสตั วน์ ้าต่างๆ ได้แก่ ปลากะโห้ โลมา กระเบนราหู ตวั เหรา
(แมงดา) และปลาทู

๒. สะทอ้ นให้เหน็ การศึกษาเด็กไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว มีการแตง่ หนังสือ สาหรบั ให้
เดก็ หัดอ่านและหดั เขียนคาท่ีสะกดตามมาตราตัวสะกด

และยงั สะท้อนการทาโทษของครทู ใี่ ช้ไม้ เรียวตี เช่น

ภมุ ราการุญสนุ ทร ไวห้ วงั สง่ั สอน

เดก็ อ่อนอนั เยาว์เลา่ เรยี น

ก ข ก กา วา่ เวียน หนูน้อยค่อยเพยี ร

อา่ นเขียนผสมกมเกย

ระวงั ตัวกลัวครหู นเู อย๋ ไม้เรียวเจยี วเหวย

กูเคยเข็ดหลาบขวาบเขวียว

๓. สะทอ้ นสภาพสังคม ความเชื่อและค่านิยมของสังคม เชน่

- คา่ นยิ มของหญงิ ไทยในสมัยน้นั ท่ีตอ้ งเคารพสามี เป็นแมบ่ ้านอยบู่ า้ นคอยรบั ใชส้ ามี

- การเดนิ ทาง ทางนา้ โดยใชเ้ รือในการเดนิ ทาง

- ความเช่อื เร่อื งสวรรค์ การสวดมนต์ ภาวนาจะทาให้ได้ไปสวรรค์

- ความเชอ่ื เร่ืองไสยศาสตร์ สะท้อนใหเ้ หน็ ความเชื่อของคนในสมยั นั้นทม่ี ีความเชอื่ เร่ืองไสย ศาสตร์มากกวา่
พทุ ธศาสนา

ข้อคดิ จากกาพย์พระไชยสุริยา

๑) หากทกุ คนมศี ีลธรรม มีน้าใจ รจู้ กั แบง่ ปัน บ้านเมืองจะสงบสุข

๒) ใหเ้ ชือ่ ฟงั คาสัง่ สอนของครู อาจารย์ และผ้ทู ี่มีอายุสงู กว่า

๓) พระภกิ ษุเป็นผู้ศึกษาในพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าควรประพฤติตัวให้เหมาะสม เพื่อให้
พทุ ธศาสนิกชนเล่ือมใสและศรัทธาในพระพุทธศาสนา

๔) ผลบญุ ของการหมัน่ ทาความดี มีความเมตตากรณุ าย่อมส่งผลให้ผู้นน้ั ไดร้ ับความสุข ความเจรญิ รุง่ เรอื ง

๕) การประพฤติตนอยูใ่ นศีลธรรม ยอ่ มทาให้ตนเองและสังคมเจริญรงุ่ เรือง

กาลกณิ ี ๔ ประการ ได้แก่

๑) ประกอบชอบเปน็ ผดิ กลบั จริตผิดโบราณ
สามัญอันธพาล ผลาญคนซ่อื ถอื สัตยธ์ รรม์
ลกู ไม่รูค้ ุณพ่อมนั
๒) ลูกศษิ ย์คิดลา้ งครู ลอบฆ่าฟันคือตณั หา
๓) สอ่ เสยี ดเบยี ดเบียนกัน โจทก์จบั ผดิ ริษยา
๔) โลภลาภบาปบคดิ ป่วนเปน็ บา้ ฟา้ บดบัง

อุระพสธุ า

จากบทประพนั ธ์กาลกณิ ี ๔ ประการจะเหน็ ไดว้ ่า เมืองสาวถิ ีเกิดสงิ่ เหลน่ ้ที าใหเ้ มอื งและชาวเมืองไมส่ ามารถอยู่
ได้จงึ ต้องถูกลงโทษ

เกร็ดความรจู้ ากกาพย์พระไชยสุรยิ า

๑. กาพย์พระไชยสุริยาเป็นแบบเรียนสอนมาตราตัวสะกด โดยเร่ิมจากคาง่าย ๆ ในมาตราแม่ ก กา ตามด้วย
ตวั สะกดในมาตราแม่ กน กง กก กด กบ กม เกยตามลาดบั

๒. กาพยพ์ ระไชยสุริยาตอ่ มาได้รับการบรรจุลงในหนงั สือ มูลบทบรรพกิจ ซ่ึงเป็นหนงั สอื แบบเรียนภาษาไทยใน
สมยั รชั กาลที่ ๕ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกรู )

๓. กาพยพ์ ระไชยสรุ ิยากับการสวดโอเ้ อ้ “การสวดโอ้เอ้” หรือ “โอ้เอ้วิหารราย” คือ การสวดกาพย์เป็นทานอง
ไพเราะตามศาลารายรอบพระอุโบสถวัดพระแก้วในช่วงเข้าพรรษา เดิมเป็นการฝึกหัดสวดมหาชาติคาหลวงใน
สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมารัชกาลที่ ๕ โปรดให้เปล่ียนไปสวดเร่อื งกาพยพ์ ระไชยสุริยาแทน สืบเนื่องมาจนถึงทกุ
วันนี้

๔.สุนทรภู่ได้ประพันธ์กาพย์พระไชยสุริยาขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ประมาณ พ.ศ.
๒๓๘๒-๒๓๘๕) ขณะที่สุนทรภู่บวชอยู่ท่วี ัดเทพธดิ าราม โดยมีจุดมุ่งหมายในการแตง่ คือ ใช้เป็นแบบสอนอา่ น
คาเทียบ ด้วยเหตุที่สุนทรภู่เคยเป็นครูของเจ้าฟ้าทั้ง ๓ พระองค์ซ่ึงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระ
พทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ได้แก่ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟา้ กลาง และเจา้ ฟ้าปวิ๋ พระโอรสของสมเด็จเจ้าฟา้ กลุ ฑลทิพ
วดี พระอัครชายาในรัชการท่ี ๒

อ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๑). หนงั สือเรยี นรายวิชาภาษาไทย วรรณคดีวิจกั ษ์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑.

พมิ พ์คร้งั ทสี่ บิ เอ็ด. กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว.
ชยั เรืองศิลป์. (๒๔๙๕). หนังสอื ชดุ กวไี ทย ๑.สนุ ทรภู่. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์การศาสนา กรมการศาสนา
พรทิพย์ แฟงสุด. (๒๕๕๑) สื่อเสรมิ สาระการเรยี นร้พู นื้ ฐาน ภาษาไทย ม.๑. กรงุ เทพฯ: ฟิสกิ สเ์ ซน็ เตอร์.


Click to View FlipBook Version