The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

วารสารราชทัณฑ์

ว า ร ส า ร เ พื่ อ ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า แ ล ะ ร อ บ รู ้ ใ น ง า น ร า ช ทั ณ ฑ ์

วัตถปุ ระสงค์ สารจากบรรณาธกิ าร

1. เพอ่ื เสรมิ สร้างความรู้และทศั นะเกีย่ วกับงานราชทัณฑ์ สวัสดีครบั ทา่ นสมาชิกและท่านผู้ตดิ ตาม
2. เพือ่ เผยแพรก่ ิจกรรมเกย่ี วกบั งานราชทัณฑ์ อา่ นวารสารราชทณั ฑ์ วารสารราชทณั ฑ์ ฉบบั ท่ี
3. เพ่อื เปน็ สือ่ กลางในการแสดงความคิดเหน็ และแลกเปลยี่ นความรู้ 1/2564 เลม่ ท่ีท่านสมาชิกและท่านผ้ตู ดิ ตาม
ประสบการณแ์ ละปัญหาขดั ข้องในการบริหาร ก�ำลังจะอ่านฉบับน้ี กองบรรณาธิการ มีความ
ภูมิใจท่ีจะน�ำเรียนให้ทราบว่า เนื้อหาใจความ
คณะกรรมการอำ� นวยการวารสารราชทณั ฑ์ ส�ำคัญหรือแกนหลัก (Theme) ของเล่มท่ี 1
จะมงุ่ เนน้ การด�ำเนนิ งานตามนโยบายอธิบดีกรมราชทณั ฑใ์ นปงี บประมาณ 2564
• อธบิ ดีกรมราชทณั ฑ์ ประธานที่ปรึกษา (Quick Win) ซึ่งมงุ่ เน้นการขับเคลอ่ื นนโยบายภายใตก้ รอบ 4 ดา้ น ประกอบด้วย
• รองอธิบดกี รมราชทัณฑ ์ ทปี่ รึกษา 1. ดา้ นการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน อาทิ โครงการบำ� บดั นำ�้ เสยี เพอื่
• รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ ท่รี บั ผดิ ชอบ ประธานคณะกรรมการ สุขอนามัยในเรือนจ�ำ, นวัตกรรมเพ่ือการแก้ไขปัญหาและเพ่ิมประสิทธิภาพ
การปฏบิ ตั ริ าชการของสถาบันพฒั นา อ�ำนวยการ ในด้านการบ�ำบัดน้ำ� เสยี ของเรือนจ�ำและทณั ฑสถาน 2. ดา้ นการแกไ้ ขปญั หา
ข้าราชการราชทณั ฑ์ ผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำ อาทิ การน�ำมาตรการลงโทษอ่ืนที่ไม่ใช่การคุมขังมาใช้
• หวั หน้าผตู้ รวจราชการกรม กรรมการ แทนการจ�ำคกุ ในสถานท่ีอนื่ , การใชอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ตดิ ตามตวั รวมถึง
• ผู้อำ� นวยการกองทณั ฑวิทยา กรรมการ การเพ่มิ และเร่งการปล่อยตวั ผตู้ อ้ งขังออกจากเรอื นจำ� โดยการพักการลงโทษ
• ผู้อำ� นวยการกองทณั ฑปฏิบตั ิ กรรมการ 3. ด้านการพัฒนาองค์กรให้ทันสมัยและโปร่งใส อาทิ การพัฒนาบุคลากร
• ผู้อำ� นวยการกองพฒั นาพฤตินสิ ยั กรรมการ กรมราชทณั ฑด์ ้วย e-training และ 4. ด้านการกลับคนื สูส่ งั คมและติดตาม
• ผูอ้ ำ� นวยการกองบริหารการคลงั กรรมการ ผู้พ้นโทษ อาทิ การสร้างการยอมรับของผู้ต้องขังพ้นโทษตามนโยบายของ
• ผอู้ ำ� นวยการกองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล กรรมการ อธิบดีกรมราชทัณฑ์, การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยด้านการฝึกวิชาชีพ
• ผูอ้ ำ� นวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรรมการ ตามนโยบายของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม นอกจากนโยบายดงั กลา่ วแลว้
• ผอู้ ำ� นวยการกองกฎหมาย กรรมการ ยังมีเน้ือหาบทความที่น่าสนใจอื่น ๆ ท่ีมีความสอดคล้องกับเนื้อหาบทความ
• ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนา บรรณาธิการ ทางวิชาการและท่ีเกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ในปัจจุบัน อาทิ ราชทัณฑ์ไทย
ขา้ ราชการราชทัณฑ์ และเลขานุการ สู้ภัย COVID -19 แนวทางการคัดกรองตรวจประเมินสภาวะทางจิต/สุขภาพจิต
• หวั หนา้ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ ผู้ช่วยบรรณาธิการและ ผู้ต้องขังที่มีความผิดปกติทางจิต (จิตเวช) คอลัมน์ บทความสัมภาษณ์
ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งตามโครงการศกึ ษาแนวทางการจดั ตงั้
นคิ มอตุ สาหกรรมราชทณั ฑ์ คอลมั นข์ า่ วราชทณั ฑร์ อบโลก อาทิ เรอ่ื งราวและ
คณะเจา้ หน้าทปี่ ระจ�ำกองบรรณาธิการวารสารราชทณั ฑ์ ข่าวคราวที่น่าสนใจเก่ียวกับงานราชทัณฑ์ของประเทศต่าง ๆ มาถ่ายทอด
ความเคลอ่ื นไหวทเี่ กดิ ขนึ้ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธข์ า่ วสารตา่ ง ๆ ทส่ี ำ� คญั
• นายปรชี า เครอื จนั ทร์ ประจำ�กองบรรณาธกิ าร ของกรมราชทณั ฑ์
• นางสาวสุภรภคั พยัคฆาคม ประจำ�กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ใคร่ขอขอบพระคุณสมาชิกทุกท่านท่ีได้ให้การ
• นางรตริ ส ทองสขุ ประจำ�กองบรรณาธิการ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานการจดั ทำ� วารสารราชทณั ฑม์ าดว้ ยดตี ลอด และทจ่ี ะขาด
• นางสาววรี นชุ นิ่มเงนิ ประจำ�กองบรรณาธิการี เสยี มไิ ด้ คอื นกั เขยี นที่เปน็ นักวชิ าการทง้ั ในส่วนของกรมราชทณั ฑ์/เรือนจำ� /
• นายพิษณพุ งค์ หอ่ มกระโทก หวั หน้าการเงนิ และบญั ชี ทัณฑสถานหรือนักวิชาการจากภายนอกที่ให้การสนับสนุนมอบบทความ
• นายธีรศักดิ์ อินทรช์ ่วย เจ้าหนา้ ท่กี ารเงินและบัญช ี ทางวิชาการต่าง ๆ มาอย่างต่อเนื่อง จนท�ำให้วารสารราชทัณฑ์สามารถ
• นางสาวสตรรี ตั น์ กองทพิ ย์ เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ และบัญชี ยืนหยัดและอยู่เคียงคู่กับท่านสมาชิกจวบจนถึงทุกวันนี้ และในโอกาสน ้ี
• นางนริศรา คงสมพฒั เจ้าหนา้ ท่ีการเงินและบญั ชี ทางกองบรรณาธิการ ใคร่ขอเชิญชวนนักเขียน/นักวิชาการ ท้ังภายใน
• นางณมณ เครือจนั ทร์ เจา้ หนา้ ที่พสั ดุ กรมราชทัณฑ์ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานหรือนักวิชาการจากภายนอกที่สนใจ
• นายอานนท์ วงษ์รกั ษา เจา้ หน้าทีพ่ สั ดุ ร่วมส่งบทความหรือความรู้ทางวิชาการต่าง ๆ ทั้งในส่วนที่เก่ียวข้องกับ
• นางสาวขวัญใจ ไกรสงั ข ์ พสิ จู นอ์ ักษร งานราชทัณฑ์หรือกระบวนการยุติธรรมไทย ให้กับกองบรรณาธิการวารสาร
• นางสาวยุวพร วชิ ัยดษิ ฐ พิสูจนอ์ ักษร ราชทัณฑ์เพื่อเป็นคลังความรู้ใหม่ ๆ ให้กับสมาชิกผู้ติดตามอ่านวารสาร
• นางสาวศรัณยา จิรวิบลู ย์สิน พิสจู น์อักษร ราชทัณฑใ์ นการจัดพิมพต์ อ่ ไป
• นางสาวณิฏฐา วรดลิ ก พิสจู นอ์ กั ษร อรรถสิทธ์ิ ทองแสง
บรรณวาาธริกาสราวรารรสาาชรรทาัณชทฑณั ์ ฑ ์ 1

สารบัญ

3 ข่าวกรมราชทัณฑ์
6 ขา่ วสารการพฒั นาบุคลากรกรมราชทณั ฑ์
8 ประว้ตแิ ละนโยบายผบู้ ริหารกรมราชทณั ฑ์
11 การกลบั มา ณ ทณั ฑนิคม “คลองไผ่”
17 การสร้างการยอมรบั ผพู้ น้ โทษกลบั คนื ส่สู งั คม (Social Reintegration)
25 “ประกายแหง่ ความหวัง...สเู่ สน้ ทางการสร้างงาน สร้างอาชีพ” ภายใต้นโยบายของรฐั มนตรีว่าการ

กระทรวงยตุ ธิ รรม (นายสมศกั ดิ์ เทพสุทิน)

29 โหราศาสตร์พยากรณ์กบั การแก้ไขพัฒนาพฤตนิ ิสยั ผตู้ ้องขัง
34 แนวทางการน�ำอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกสต์ ิดตามตวั (Electronic Monitoring) หรอื EM มาใช้กับผู้ได้รบั

การพักการลงโทษ

39 การเลอ่ื นชนั้ นักโทษเดด็ ขาดกรณีมเี หตพุ เิ ศษ เลือ่ นช้ันก่อนเวลา
43 นคิ มอุตสาหกรรมฝกึ อาชีพผตู้ ้องโทษ โอกาสและความหวงั ของผพู้ ลั้งพลาด
48 การบริหารจดั ระบบบ�ำบดั น้ำ� เสียภายในเรอื นจ�ำเพอ่ื ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผตู้ ้องขงั และลดผลกระทบ

ตอ่ ชมุ ชน

54 การฝกึ อบรมแบบ New Normal หรือความปกติแบบใหม่ กบั ชวี ิตท่ีไม่เหมือนเดมิ ในยคุ โควิด 19 ของ

สถาบนั พฒั นาข้าราชการราชทณั ฑ์

59 เลาะรั้วราชทัณฑร์ อบโลก
63 การเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคุม โรคติเช้อื ไวรัสดคโรนา 2019 (COVID - 19) ในเรือนจ�ำ
70 แนวทางการดแู ลสุขภาพจิตผู้ตอ้ งขงั ป่วยจติ เวชสำ� หรบั เจา้ หนา้ ทท่ี ปี่ ฏิบตั ิงานในเรือนจำ� และทัณฑสถาน
75 ร้จู ักกับโรควณั โรคและผลการศึกษาความชกุ วัณโรคแฝงในเรือนจำ� กลางคลองเปรม
79 โรงเรยี นยุตธิ รรมอุปถมั ภ์ ของกรมราชทณั ฑ์ ในบรบิ ทความผกู พันทางสังคม
84 การเลี้ยงสนุ ขั ในเรือนจำ� เพือ่ การบ�ำบดั
89 กระท�ำช�ำเราตามความหมายใหม่
95 PRISON PRODUCT ผลิตภณั ฑร์ าชทัณฑ์
100 ใบสมคั รสมาชิกวารสารราชทัณฑ์

22 วารสารราชทัณฑ์

ขา่ วกรมราชทณั ฑ์

วนั ที่ 25 มกราคม 2564 องคมนตรแี ละผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผแู้ ทนพระองคใ์ นพธิ ีปิดการอบรม โครงการ
พระราชทานในพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั โคกหนองนาแหง่ นำ้� ใจและความหวงั กรมราชทัณฑ์ ร่นุ ท่ี 2/2
ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ทัณฑสถานหญิงกลาง เรือนจ�ำพิเศษกรุงเทพมหานคร เรือนจ�ำกลางคลองเปรม
เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี และทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ โดยในส่วนของเรือนจ�ำและทัณฑสถานต่างจังหวัด
พระองคท์ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหผ้ วู้ ่าราชการจงั หวัด จำ� นวน 73 จังหวัด เป็นผูแ้ ทนพระองคใ์ นพธิ ีปดิ การอบรม
ดังกลา่ ว ซึง่ ทางเรือนจ�ำและทณั ฑสถานจ�ำนวน 123 แหง่ ได้จดั อบรมระหวา่ งวนั ท่ี 11 - 24 มกราคม 2564 มีผ้เู ข้ารบั
การอบรม รวม 23,538 คน

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานแอลกอฮอลเ์ จล
แกก่ รมราชทณั ฑ์ และ ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ์
เพื่อประโยชน์แก่บุคลากรและงานด้านการแพทย์
พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า
โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหพ้ ลอากาศเอกสบุ นิ ชวิ ปรชี า
กรมวงั ผู้ใหญใ่ นพระองค์ 904 เปน็ ประธานในพิธมี อบ
แอลกอฮอล์เจล ใหโ้ รงพยาบาลเพอื่ เป็นประโยชน์แก่
บคุ ลากรทางการแพทย์ ในการน�ำไปใชป้ ระโยชน์ตาม
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ให้แก่โรงพยาบาลและหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณะสุข รวม 19 แห่ง
ณ ห้องประชุมศูนย์อ�ำนวยการใหญ่จิตอาสา
พระราชทาน

วารสารราชทัณฑ์ 3

วนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 กรมราชทณั ฑ์
รว่ มกบั การนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
(กนอ.) ประกาศเจตนารมณร์ ว่ มในการสง่ เสริม
การสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ใหเ้ ปน็ ผปู้ ระกอบการ
ใหม่ พร้อมยกระดับฝีมือแรงงานสู่การเป็น
แรงงานคุณภาพ ลดปัญหาการลักลอบน�ำเข้า
แรงงานข้ามชาติ สร้างความมัน่ คงทางแรงงาน
ไทยไดใ้ นอนาคต

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2564
นายเชาวน์ นกอยู่ ผู้เชี่ยวชาญด้าน
การบำ� บดั นำ้� เสยี ศนู ยอ์ ำ� นวยการใหญ่
จิตอาสาพระราชทาน ให้เกียรติเป็น
ประธานในพธิ ลี งนาม “บนั ทกึ ขอ้ ตกลง
ว่าด้วยความร่วมมือในการสนับสนุน
และเสริมสร้างศักยภาพในการ
บรหิ ารจดั การนำ้� เสยี ระหวา่ งองคก์ าร
จัดการน�้ำเสียกับกรมราชทัณฑ์”
โดยมีนายอายุตม์ สินธพพันธุ์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ และ
นายชีระ วงศบูรณะ ผู้อ�ำนวยการองค์การจัดการน้�ำเสีย
ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงฉบับดังกล่าว ณ ห้องประชุม
กรมราชทณั ฑ์ ชนั้ 3 อาคารกรมราชทณั ฑ์ อำ� เภอเมอื งนนทบรุ ี
จังหวัดนนทบุรี
44 วารสารราชทัณฑ์

วนั ท่ี 1 มนี าคม 2564 นายสมศกั ด์ิ เทพสทุ นิ รฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการฝึกอบรมอาชีพ
วิชาโหราศาสตร์ โดยมวี า่ ที่ร้อยตรธี นกฤต จิตรอารยี ์รัตน์ เลขานกุ าร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัด
กระทรวงยุติธรรม นายอายุตม์ สินธพพันธุ์ อธิบดีกรมราชทัณฑ ์
นายสิทธิ สธุ วี งศ์ รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ฝา่ ยพัฒนา นายสมภพ รุจจนเวท
ผบู้ ญั ชาการเรือนจำ� พเิ ศษธนบุรี พร้อมดว้ ยข้าราชการและเจา้ หนา้ ที่
เข้าร่วมในพิธีดังกล่าว ณ เรือนจ�ำพิเศษธนบรุ ี

วันองั คารที่ 6 เมษายน 2564 เวลา 14.30 นาฬิกา
นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
เป็นประธานในพิธีเปิดการสัมมนาการจัดท�ำมาตรฐาน
การปฏิบัติงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับเรือนจ�ำ หรือ Standard
Operating Procedures (SOPs) เพอื่ เปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิ
กลางของกรมราชทัณฑ์ โดยมี นายอายุตม์ สินธพพันธุ ์
อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ พรอ้ มดว้ ยผบู้ รหิ ารเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน
และผู้อ�ำนวยการกองในสังกัดส่วนกลางกรมราชทัณฑ์
รว่ มการสมั มนาดงั กลา่ ว ณ ห้องสัมมนากรมราชทัณฑ์ ชนั้ 3
อาคารกรมราชทณั ฑ์ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี

วารสารราชทัณฑ์ 5

บข่าคุ วลสาากรรกการรมพรัฒาชนทาัณฑ์

หลกั สูตร
พนกั งานราชการและลูกจา้ งภาครฐั

 รุ่นท่ี 2 ด�ำเนินการฝกึ อบรมระหวา่ งวันท่ี 22 กุมภาพนั ธ ์ - 5 มีนาคม 2564 จำ� นวน 80 คน
 รนุ่ ที่ 3 ด�ำเนินการฝึกอบรมระหว่างวันที่ 8 - 19 มีนาคม 2564 จำ� นวน 80 คน
ณ ศนู ยฝ์ กึ อบรมข้าราชการราชทัณฑป์ ระจำ� ภาคเหนอื อ�ำเภอเมอื งลำ� ปาง จงั หวัดล�ำปาง
 รุ่นท่ี 4 ด�ำเนินการฝึกอบรมระหว่างวันท่ี 29 มนี าคม - 9 เมษายน 2564 จ�ำนวน 80 คน
ณ ศนู ยฝ์ กึ อบรมขา้ ราชการราชทณั ฑป์ ระจำ� ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อำ� เภอสคี ว้ิ จงั หวดั นครราชสมี า

66 วารสารราชทัณฑ์

หลกั สตู ร
นักศึกษาผบู้ ัญชาการเรอื นจำ� รนุ่ ที่ 33

ดำ� เนินการฝกึ อบรมระหว่างวนั ท่ี 8 มนี าคม - 2เมษายน 2564 จำ� นวน 60 คน ณ สถาบนั พฒั นา
ขา้ ราชการราชทณั ฑ์ อำ� เภอเมอื งนนทบุรี จงั หวัดนนทบุรี

วารสารราชทัณฑ์ 7

ประวตั ิ
นายกฤช กระแสรท์ ิพย์

รองอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์ ฝา่ ยวชิ าการ

วนั เดือน ปีเกิด

24 กรกฎาคม 2504

ประวัตกิ ารศกึ ษา

 รัฐศาสตรบัณฑิต (บริหารรฐั กจิ ) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
 พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑติ (รฐั ประศาสนศาสตร)์
สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์

ประวัติการรับราชการ

16 กรกฎาคม 2527 นกั การขา่ ว 3 สำ� นกั งานจงั หวดั กำ� แพงเพชร
สำ� นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
1 พฤศจกิ ายน 2527 เจ้าหนา้ ทีว่ ิเคราะหน์ โยบายและแผน 3
สำ� นกั งานจงั หวัดก�ำแพงเพชร
สำ� นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
16 ตลุ าคม 2529 เจา้ หนา้ ท่วี เิ คราะหน์ โยบายและแผน 4

ส�ำนกั งานจงั หวดั กำ� แพงเพชร
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
1 พฤศจกิ ายน 2532 เจา้ หนา้ ท่ีวเิ คราะห์นโยบายและแผน 5
สำ� นักงานจังหวดั กำ� แพงเพชร
สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
15 เมษายน 2535 เจา้ หน้าท่วี เิ คราะห์นโยบายและแผน 6
ส�ำนักงานจังหวดั พิษณโุ ลก
สำ� นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย
16 พฤจกิ ายน 2535 เจา้ หนา้ ทว่ี ิเคราะห์นโยบายและแผน 6
ส�ำนกั งานจังหวัดตาก
ส�ำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
1 เมษายน 2537 เจา้ หนา้ ท่บี ริหารงานทัว่ ไป 6
ส�ำนกั งานจงั หวดั ก�ำแพงเพชร
สำ� นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
1 มีนาคม 2539 เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานราชทณั ฑ์ 6
เรือนจ�ำกลางบางขวาง
3 มิถุนายน 2539 บคุ ลากร 6 กองการเจา้ หน้าท่ี

88 วารสารราชทัณฑ์

10 มกราคม 2540 นักทัณฑวิทยา 7 เรือนจำ� กลางนครสวรรค์
20 มนี าคม 2541 นกั ทณั ฑวทิ ยา 7 เรือนจำ� กลางก�ำแพงเพชร
8 พฤศจกิ ายน 2542 เจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานราชทณั ฑ์ 8 เรอื นจำ� กลางเชยี งใหม่
19 ตลุ าคม 2543 ผูบ้ ัญชาการเรอื นจ�ำอำ� เภอหล่มสกั
4 กมุ ภาพันธ์ 2546 ผบู้ ัญชาการเรือนจ�ำจังหวดั เพชรบูรณ์
30 ตลุ าคม 2546 ผูอ้ �ำนวยการทณั ฑสถานบำ� บัดพเิ ศษลำ� ปาง
7 มีนาคม 2550 ผูบ้ ัญชาการเรอื นจำ� กลางเพชรบุรี
21 มิถนุ ายน 2553 ผู้บญั ชาการเรือนจำ� กลางก�ำแพงเพชร
2 ตุลาคม 2555 ผ้บู ญั ชาการเรอื นจ�ำกลางเชยี งราย


17 กรกฎาคม 2557 ผูบ้ ญั ชาการเรือนจ�ำกลางเขาบิน
5 พฤศจกิ ายน 2558 ผู้อ�ำนวยการทณั ฑสถานบำ� บดั พเิ ศษกลาง
21 พฤศจิกายน 2559 ผู้บัญชาการเรือนจ�ำพิเศษกรงุ เทพมหานคร
9 มีนาคม 2564 รองอธบิ ดกี รมราชทัณฑ์

การฝกึ อบรม  หลกั สตู รการพัฒนาชนบท ร่นุ ท่ี 17 Asian Institute for Rural Development
ประเทศอนิ เดยี
 หลักสตู รนักศึกษาผบู้ ัญชาการเรือนจ�ำ (นผบ.) รนุ่ ที่ 11 กรมราชทณั ฑ์
 หลักสูตรนักบริหารงานราชทัณฑร์ ะดบั สงู (นรส.) รุ่นท่ี 10 กรมราชทณั ฑ์
 หลกั สูตรการเสริมสร้างสมรรถนะผู้บริหาร รุ่นท่ี 3 กระทรวงยุติธรรม
 หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ่ ท่ี 61 กระทรวงมหาดไทย
 หลักสูตรการบริหารการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคมภาครัฐร่วมเอกชน
(บรอ.) รุ่นที่ 3 ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ

เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์  มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)

 ประถมมาภรณ์ชา้ งเผอื ก (ป.ช.)
 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
 เหรยี ญจักรพรรดมิ าลา (ร.จ.พ.)
 เหรียญพิทกั ษ์เสรชี น

รางวัลท่ีได้รับ  เข็มพระทำ� มะรงทอง ปี 2562

วารสารราชทัณฑ์ 9

สารจาก
รองอธบิ ดกี รมราชทัณฑ์
ฝ่ายวิชาการ

กรมราชทณั ฑม์ ภี ารกจิ ดา้ นการควบคมุ และ
แก้ไข พัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง เพ่ือให้สามารถ
กลับตัวเป็นคนดีคืนสู่สังคม การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
ทอี่ ยใู่ นความควบคมุ ของกรมราชทัณฑ์ ตอ้ งเป็นไปตาม
หลักกฎหมาย หลกั ทณั ฑปฏิบตั ิ รวมไปถึงมาตรฐานสากล
ในการปฏิบตั ิตอ่ ผ้ตู อ้ งขัง ผู้ปฏบิ ัตงิ านควรมคี วามรู้ ความเข้าใจ
ในหลักการปฏิบัติต่าง ๆ เพ่ือให้ม่ันใจว่าผู้ต้องขังจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมและ
เหมาะสม

นอกจากน้ี จากสถานการณข์ องเรอื นจำ� ในปจั จบุ นั ทม่ี คี วามเปลย่ี นแปลงไปจากในอดตี
การติดตามข่าวสาร ความเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ต่าง ๆ ในประเทศ และการหา
ข้อมูลใหม่ ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับงานราชทัณฑ์อย่างสม�่ำเสมอ จึงมีความส�ำคัญในการพัฒนางาน
และการสร้างนวัตกรรม ที่จะช่วยท�ำให้การปฏิบัติงานมีความทันสมัย เท่าทันกับการ
เปล่ียนแปลงของสถานการณ์ในประเทศหรือในโลก ความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้
และความพร้อมในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงจะท�ำให้เกิดการพัฒนางานราชทัณฑ ์
อย่างต่อเนื่องและไมห่ ยดุ อยูก่ ับที่
นายกฤช กระแสร์ทพิ ย์
รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ฝา่ ยวิชาการ

1100 วารสารราชทัณฑ์

การกลับมา ณ ทณั ฑนคิ ม “คลองไผ่”

ดร. นัทธี จิตสวา่ ง
ท่ีปรึกษาพเิ ศษสถาบนั เพือ่ การยุติธรรมแห่งประเทศไทย
รกั ษาการ รองผอู้ �ำนวยการสถาบนั เพอื่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย

เม่ือกล่าวถึง “คลองไผ่” ผู้คนในวงการราชทัณฑ์ยุคปัจจุบันจะนึกถึง เรือนจ�ำกลางคลองไผ่
และทณั ฑสถานหญงิ นครราชสมี า ซึ่งตัง้ ตระหง่านอยู่รมิ ถนนมติ รภาพ และทณั ฑสถานเกษตรอุตสาหกรรม
เขาพริก ซงึ่ ต้งั อย่ลู กึ เข้าไปด้านใน

แท้ที่จริงแล้วพื้นท่ีของทั้งสามเรือนจ�ำเป็นส่วนหนึ่งในพื้นท่ีกว่า 100,000 ไร่ ครอบคลุมพ้ืนท่ี
ดงพญาเยน็ ลอ้ มรอบเรอื นจ�ำกลางคลองไผแ่ ห่งเก่า ซง่ึ ขุนนิยมบรรณสาร ผูบ้ ัญชาการเรอื นจ�ำกลางคลองไผ ่
คนแรกไดข้ อให้กระทรวงมหาดไทยประกาศสงวนไวเ้ พ่อื ใช้ในกิจการราชทัณฑ์

นอกจากน้ีในอดีตส่วนหน่ึงของพื้นที่ดังกล่าวยังเคยเป็นที่ตั้งของทัณฑนิคม “คลองไผ่” ซ่ึงเป็น
นคิ มสรา้ งตนเองของผตู้ อ้ งขงั และผพู้ น้ โทษ โดยไดม้ กี ารจดั ตงั้ ขน้ึ ในปี 2520 ภายหลงั จากทม่ี พี ระราชบญั ญตั ิ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 ลักษณะว่าด้วยทัณฑนิคมได้ก�ำหนดหลักการต่าง ๆ ในการจัดตั้งทัณฑนิคมไว ้
ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2479 โดยมีการจัดตัง้ ทณั ฑนคิ มไปเพียงแห่งเดียว คือทัณฑนิคมธารโต จงั หวัดยะลา ก่อนที่จะ
เปล่ียนไปเป็นนิคมสร้างตนเองธารโต ในเวลาต่อมา นับแต่น้ันก็มิได้มีการจัดต้ังทัณฑนิคมข้ึนอีก จนเม่ือ
มกี ารจดั ตั้งทณั ฑนิคมคลองไผ่ขน้ึ

ทัณฑนิคม คืออะไรมีความเป็นมาอย่างไรท�ำไมจึงต้องมีการจัดต้ังทัณฑนิคมข้ึน ผู้ท่ีจะให้ค�ำตอบ
ในเร่ืองนี้ได้ดีทส่ี ดุ คอื ท่านทวี ชทู รพั ย์ อดีตอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์ ผผู้ ลักดนั ในการจดั ตง้ั ทณั ฑนิคมคลองไผข่ ึ้น
ในปี พ.ศ. 2520 การถอดเรื่องราวจากค�ำบอกเล่าของท่านทวี ชูทรัพย์ จึงน่าจะให้ความกระจ่างชัดเจน
ในเรอื่ งนดี้ ที ี่สดุ

วารสารราชทัณฑ์ 11

การจัดต้งั ทณั ฑนคิ มคลองไผ่

ในประเทศเกษตรกรรมหรือประเทศท่ีก�ำลังพัฒนาเช่นประเทศไทย เมื่อ 40 ปีก่อน ผู้ต้องขัง
สว่ นใหญโ่ ดยเฉพาะในแถบภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จะมีพ้นื เพเดิมเปน็ เกษตรกร หรือท�ำไร่ทำ� นาอยู่กอ่ น
เม่ือพ้นโทษก็จะกลับไปท�ำอาชีพเดิม การฝึกอาชีพของเรือนจ�ำของไทยในสมัยนั้น จึงเน้นการฝึกวิชาชีพ
ดา้ นการเกษตรให้มวี ิทยาการและก้าวหน้าข้ึน เพอื่ จะได้นำ� ไปประกอบอาชีพหลังพ้นโทษให้ดยี ง่ิ ขน้ึ

“ก็โดยเหตุท่ีผู้ต้องขังส่วนใหญ่ไม่มีที่ดินท�ำกินของตนเอง ส่วนใหญ่จะรับจ้างท�ำสวน ท�ำไร ่
เม่ือพ้นโทษออกไปก็จะไปรับจ้างเหมือนเดิมไม่พอกินให้ลูกเมีย หรือไม่ก็ไปเร่ร่อนไม่ท�ำมาหากิน หรือ
เข้ามารับจ้างใช้แรงงานในโรงงาน ผมก็เลยมาคิดว่าท�ำอย่างไรไม่ให้คนเหล่านี้หยุดเร่ร่อนมีที่ดินท�ำกิน
กับครอบครัวเสียทจี ะไดไ้ ม่กระทำ� ผิดซ้ำ� ”

แล้วท�ำไมถึงจัดตงั้ ในชว่ งนนั้ ท่านทวี ชูทรัพย์ ชแี้ จงเพิม่ เตมิ ว่า “ในเวลาน้นั พน้ื ทีข่ องเรือนจำ� กลาง
คลองไผ่ มพี น้ื ทก่ี วา้ งขวาง ถกู ราษฎรบกุ รกุ ตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ เปน็ จำ� นวนมาก โดยเรอื นจำ� กลางคลองไผไ่ มอ่ าจ
ดูแลได้อย่างท่ัวถึง จึงได้คิดจัดตั้งทัณฑนิคมขึ้น เพื่อให้ผู้ต้องขังท่ีมีความประพฤติดี มีพ้ืนที่ทางการเกษตร
ไปทำ� ประโยชนใ์ นพนื้ ท่ี เปน็ การกนั การบกุ รกุ พนื้ ทขี่ องหลวงขณะเดยี วกนั เปน็ การบกุ เบกิ ทด่ี นิ วา่ งเปลา่ ทำ� ให้
เกิดประโยชน์ เพื่อให้เกิดผลผลิตต่อชุมชนและประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการเลย้ี งดูผู้ต้องขงั ในเรือนจ�ำ ซง่ึ เรือ่ งนี้
พระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ์ พ.ศ. 2479 ก็ได้มีขอ้ บัญญตั ใิ นเรื่องการจดั ต้งั ทัณฑนคิ มไว้อยแู่ ล้ว”

การด�ำเนินการจดั ตงั้ ทัณฑนิคมในช่วงปี พ.ศ. 2520 น้นั นับเปน็ เรอื่ งใหมส่ �ำหรับวงการราชทัณฑ์
ในสมัยน้นั เพราะในแถบเอเชียก็มปี ระเทศฟิลิปปนิ ส์ ทม่ี ีแนวคดิ ในการดำ� เนนิ การคลา้ ย ๆ กับประเทศไทย
ทชี่ อ่ื วา่ “TANGLAW SETTLEMENT”

การเร่ิมด�ำเนินการของทัณฑนคิ ม

ภายหลงั ทก่ี ระทรวงมหาดไทย
ได้อนุมัติให้ด�ำเนินการจัดตั้งทัณฑนิคม
ได้แลว้ การดำ� เนนิ งานของทณั ฑนิคม
จึงได้เริ่มขึ้น โดยในระยะแรกน้ัน
ท่านทวี ชูทรัพย์ ได้เร่งให้มีการ
ดำ� เนนิ การในสว่ นทเี่ กย่ี วกบั โครงสรา้ ง
พ้ืนฐานต่าง ๆ เช่น การตัดถนน
ภายในหมูบ่ า้ น การรังวัดจัดแบ่งทีด่ ิน
การปรับที่ดิน การจัดหาแหล่งน้�ำ
จากน้ันจึงมีการคัดเลือกผู้ต้องขังท่ีมี
ฝมี อื ทางดา้ นการเกษตร ความยากจน
และใกลพ้ น้ โทษ ไปอยโู่ ดยใหผ้ ตู้ อ้ งขงั
ด�ำเนินการปลูกสร้างที่พักอาศัยของตนเอง รวมทั้งบุกเบิกท่ีดินบางส่วนของตนเอง ท�ำให้ผู้ต้องขังรู้สึก
เป็นผู้บกุ เบิกดว้ ยตนเอง

1122 วารสารราชทัณฑ์

“ผู้ต้องขังจะได้รับการจัดแบ่งที่ดินให้ท�ำกินครอบครัวละ 20 ไร่ และท่ีดินอาศัยในหมู่บ้าน
อีกครอบครวั ละ 1 ไร่ นอกจากน้ียงั มีท่ดี ินแปลงกลางท่จี ะต้องไปทำ� ประโยชนร์ ่วมกันอกี 50 ไร่ ทดี่ นิ เหล่าน้ี
เมอ่ื พน้ โทษแลว้ กส็ ามารถทำ� กนิ ไดต้ อ่ ไปแตไ่ มม่ กี รรมสทิ ธิ์ มแี คส่ ทิ ธคิ รอบครอง จะไปจำ� หนา่ ยจา่ ยโอนไมไ่ ด้
แตต่ กเป็นของลกู หลานได”้

“ในด้านความเป็นอยู่ของชาวทัณฑนิคมในระยะแรก ๆ นั้น ผู้ต้องขังต้องท�ำงานในท่ีดินแปลงกลาง
ที่เจ้าหน้าที่ก�ำหนด สัปดาห์ละ 3 วันในช่วงเช้า และใช้เวลาท่ีเหลือท�ำงานปลูกพืชในท่ีดินของตนเอง
ตกเย็นจึงไปอยู่กับครอบครัว ผู้ต้องขังคนใดมีสมาชิกในครอบครัวที่แข็งแรงก็จะไปช่วยท�ำไร่ด้วยก็ได้
ในช่วงแรก ๆ นั้นผลผลิตท่ีลงแรงไปยังไม่ออกดอกออกผล จึงต้องอาศัยทีมงานนักสังคมสงเคราะห์ของ
กรมราชทณั ฑเ์ ขา้ ไปดแู ลชว่ ยเหลอื เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคทจี่ ำ� เปน็ รวมทงั้ การรกั ษาพยาบาลยามเจบ็ ปว่ ยดว้ ย”

ทัณฑนคิ มคลองไผ่ในปัจจุบนั

แม้ว่าปัจจุบันทัณฑนิคมคลองไผ่จะได้มีประกาศยกเลิกการด�ำเนินงานไปแล้ว โดยแปรสภาพเป็น
หมู่บ้านแต่อดีตสมาชิกทัณฑนิคมหลายคนก็ยังคงประกอบอาชีพโดยสุจริต ท�ำไร่ ท�ำสวน มีครอบครัว
ตง้ั รกรากอยู่ในหมู่บ้านน้ีเช่นเดิม

หมู่บ้านแห่งนี้ได้เปล่ียนชื่อเป็น “บ้านทรัพย์ทวี” เมื่อปี พ.ศ. 2540 ตามชื่อของอดีตอธิบด ี
ทา่ นทวี ชูทรัพย์ โดยเปน็ หม่ทู ี่ 17 ของตำ� บลหนองนำ้� ใส อ�ำเภอสีควิ้ ชาวบา้ นสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ทำ� ไร่
และมีอาชีพเสริมในการรับจา้ งทวั่ ไป

ในวันที่อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ท่านทวี ชูทรัพย์ ได้หวนกลับไปเยี่ยมเยียนทัณฑนิคมคลองไผ่
ครั้งหนึ่ง เม่ือปลายปี พ.ศ. 2562 ก็ได้เข้าไปเยื่ยมผู้คนในหมู่บ้านโดยมีอดีตสมาชิกยังจ�ำท่านได้เข้ามา
ทกั ทายหลายคน

วารสารราชทัณฑ์ 13

“ผมหมงครับ ไอ้หมงไงครับ สมาชิกเก่าทับ 6 ครับ เด๋ียวน้ีผมเป็น
ผใู้ หญบ่ า้ นท่นี ี้แล้วครบั ”

นายหมง ผ้ใู หญบ่ ้านรายงานตอ่
“พวกเราอยู่ทีน่ กี่ ็หลายคนครับ มคี รอบครวั ท่ดี ินท�ำมาหากิน ตง้ั รกราก
ท่ีน่ีไม่ไปไหนแล้วครับ และเท่าที่ผมทราบไม่มีพวกเรากลับไปอยู่ในเรือนจ�ำ
อีกเลยครับ พวกเรามที างไปท่ดี ีแลว้ ”
ค�ำรายงานของผู้ใหญ่บ้าน ท�ำให้คณะท่ีไปพร้อมกับ อดีตอธิบด ี
ทา่ นทวี ชทู รพั ย์ ถงึ กบั เอย่ ขน้ึ มาวา่ “ตรงกบั เปา้ หมายของการจดั ตง้ั ทณั ฑนคิ ม”

เมื่อเดินส�ำรวจรอบ ๆ หมู่บ้านก็จะเห็นความเจริญของหมู่บ้านที่เพิ่มข้ึนโดยมีการจัดระเบียบเป็น
ลอ๊ ก ๆ ไว้อย่างดี เนอ่ื งจากไดม้ ีการจดั แบ่งไวต้ ั้งแตส่ มยั เปน็ ทณั ฑนคิ ม

เลยจากหมู่บ้านไปบริเวณหนองน้�ำขนาดใหญ่ สิ่งท่ีท�ำให้ประหลาดใจและท�ำให้ระลึกถึงความหลังเก่า ๆ
ของทัณฑนิคมก็คือศาลาริมน้�ำท่ีในสมัยท่ีก่อสร้างทัณฑนิคมยังคงเหมือนเดิม อาจจะเปล่ียนแปลงบ้าง
จากการซอ่ มแซม แตไ่ มต่ า่ งไปจากเดมิ มากนกั ในสมยั ทอ่ี ดตี อธบิ ดี ทา่ นทวี ชทู รพั ยแ์ ละทมี งานทง้ั ผบู้ ญั ชาการ
เรือนจ�ำกลางคลองไผ่ ทีมนักสังคมสงเคราะห์และนักทัณฑปฏิบัติจากกรมราชทัณฑ์ไปใช้พักรับประทาน
อาหารกลางวันและวางแผนในการลุยงานตอ่ ไป

1144 วารสารราชทัณฑ์

โรงเรียน “ทบั 6 วทิ ยาคาร”

เม่ือสมาชิกของทัณฑนิคม ซ่ึงเป็นผู้ต้องขังและผู้พ้นโทษสามารถน�ำครอบครัว เข้าไปอยู่ด้วยได ้
ดังน้นั เม่ือมลี ูกหลานของสมาชิกจ�ำนวนหน่ึงไม่มีที่เรยี นหนังสือ จึงมคี วามจำ� เปน็ ท่จี ะตอ้ งจดั สร้างโรงเรยี นขนึ้
ใหก้ ับลกู หลานของสมาชกิ ทัณฑนิคมตลอดจนลูกหลานของเจา้ หนา้ ทร่ี าชทัณฑป์ ระจำ� ทัณฑนิคมดว้ ย

การกลับมาเยือนทัณฑนิคมคลองไผ่อีกครั้งจึงมิอาจละเลยท่ีจะไปเย่ียมโรงเรียนทับ 6 วิทยาคาร
อีกครั้ง โดยเม่ือพบกับความก้าวหน้าของโรงเรียนท่ีได้ให้การศึกษากับลูกหลานของชาวทัณฑนิคม
จนเตบิ ใหญไ่ ปเป็นพลเมอื งท่ีดีของชาติ

“ทที่ ณั ฑนคิ ม ในตอนแรกนนั้ เราจดั ใหม้ ผี คู้ มุ หนง่ึ คนดแู ลผตู้ อ้ งขงั ชอื่ วา่ นายอารยี ์ เปน็ ผคู้ มุ คนแรก
และคนเดยี ว ในชว่ งเวลากลางวนั ไมม่ ผี ตู้ อ้ งขงั จะคมุ เนอ่ื งจากผตู้ อ้ งขงั ออกไปทำ� งานยงั ไรแ่ ปลงกลางและไร่
ส่วนของเขากันหมด ผมก็เลยมอบหมายให้สอนหนังสือลูกผู้ต้องขังท่ีมีอยู่ 20 กว่าคน สอนไปสอนมาก็ม ี
ลกู ชาวบา้ นและลูกผคู้ ุมคนอื่น ๆ เอาลูกมาฝากดว้ ยก็เลยกลายเปน็ 30 - 50 คน เลยต้องเปดิ เปน็ โรงเรียน”

“ตอนแรก ๆ ท่ีเร่ิมจัดเป็นโรงเรียนให้ลูกหลานสมาชิกทัณฑนิคมอยู่มีอยู่ห้องเดียว ต่อมาชาวบ้าน
เห็นมีโรงเรียนอยู่ใกล้จึงขอส่งลูกหลานเข้ามาเรียนด้วยรวมกับลูกหลานของเจ้าหน้าที่อีก ก็ท�ำให้โรงเรียน
ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจากที่สร้างเป็นเพิงเล็ก ๆ ก็ขยายเป็นอาคารท่ีมีหลายห้องเรียน โดยได้รับบริจาค
จากหลาย ๆ ฝา่ ยช่วยกันเปิดสอนถึง ป. 4 แต่มนี ักเรียนมากกวา่ 200 คน โดยไม่ต้องเสยี คา่ เล่าเรียน

ส�ำหรบั ครูผู้สอนนน้ั
“แรก ๆ ก็ใช้เจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ของเราคนหน่ึงคือคุณอารีย์เป็นครูสอน แต่พอมีนักเรียน
เพมิ่ มากขนึ้ ผมเลยนำ� ไปคยุ ทสี่ ภากาแฟตอนเชา้ ทห่ี อ้ งอาหารกระทรวงทางผใู้ หญข่ องกระทรวงเลยประสาน
ขอครูมาช่วยสอนเพม่ิ อีก ผมเองก็รสู้ กึ ผดิ นิด ๆ ที่ข้ามจังหวัดไปแบบไมไ่ ดต้ ั้งใจ”
โ ร ง เ รี ย น แ ห ่ ง นี้ มี ก า ร จั ด ต้ั ง
อยา่ งเป็นทางการ เมือ่ วนั ท่ี 28 เมษายน
พ.ศ. 2521” ปจั จบุ นั โรงเรยี นประถมศกึ ษา
ทบั 6 วทิ ยาคาร เปดิ การศกึ ษาตง้ั แตอ่ นบุ าล
ถงึ มธั ยมศึกษาตอนตน้ มีนักเรยี น 236 คน
มีหอ้ งเรียน 12 หอ้ ง มคี รูชาย 9 คน และ
ครหู ญงิ 9 คน

เรอื นจ�ำกลางคลองไผ่ (เก่า)

ในการกลับมาเยอื นทัณฑนคิ มคลองไผ่ อีกครั้ง หากไมแ่ วะเยีย่ มเรือนจ�ำกลางคลองไผ่ (เก่า) กจ็ ะ
ถือว่าไม่สมบูรณ์แบบเพราะแม้ทัณฑนิคมคลองไผ่จะไม่ได้เป็นส่วนหน่ึงของเรือนจ�ำกลางคลองไผ่ แต่เมื่อ
คร้ังท่ีด�ำเนินการขับเคล่ือนทัณฑนิคมคลองไผ่น้ัน กรมราชทัณฑ์ในสมัยนั้นได้อาศัยเรือนจ�ำกลางคลองไผ ่
เป็นพ่ีเล้ียงและให้การสนับสนุนทุกรูปแบบ และโดยสภาพทางกายภาพการจะเข้าไปทัณฑนิคมคลองไผ่ได้
จำ� ตอ้ งผ่านถนนหน้าเรอื นจำ� กลางคลองไผ่ (เกา่ ) เข้าไปในหมู่บ้านและเลยตอ่ ไปยงั ทัณฑนิคมคลองไผ่

วารสารราชทัณฑ์ 15

“ในสมยั นน้ั เรายดึ เอาบา้ นพกั ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� กลางคลองไผเ่ ปน็ ฐานบญั ชาการ แทบจะทกุ เสาร์
คณะของกรมราชทณั ฑ์จะเดินทางออกจาก กทม. ไปถึงทีเ่ รือนจำ� กป็ ระมาณ 10 โมงกวา่ เราไปเร่ิมตน้ ทบ่ี ้าน
ผู้บัญชาการ เพ่ือวางแผนท�ำงานกัน รับรายงานปัญหาจากเจ้าหน้าที่ในพื้นท่ี เมื่อทีมงานจากฝ่ายต่าง ๆ
มากันครบก็เริ่มแบ่งงานและลงลุยพื้นที่กัน ทีมนักสังคมสงเคราะห์ลงเย่ียมสมาชิกลงแนะน�ำสมาชิก
และดูระบบนำ้� ทีมของเรอื นจ�ำก็คอยอำ� นวยความสะดวก”

บา้ นพกั ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� กลางคลองไผม่ พี น้ื ทก่ี วา้ งขวาง สรา้ งมาพรอ้ ม ๆ กบั เรอื นจำ� แตไ่ ดม้ กี าร
ซ่อมแซมปรบั ปรุงมาโดยตลอด มองออกไปทางหน้าบ้านจะเห็นรปู ปั้นของ ขุนนยิ มบรรณสาร ยนื ตระหงา่ น
อยู่ท่ีท�ำการเรือนจ�ำกลางคลองไผ่ (เก่า) ผู้บัญชาการเรือนจ�ำกลางคลองไผ่คนแรกเป็นผู้จัดหาท่ีดินไว้ให ้
คนรนุ่ หลงั

“เมื่อเสร็จจากการท�ำงานในพ้ืนท่ีทัณฑนิคมพวกเราก็จะกลับมาสรุปงานกันที่บ้านพักผู้บัญชาการ
อีกครั้ง ก่อนที่จะแยกย้ายกันกลับ กทม. ในคณะที่รอทีมอ่ืน ๆ กลับมาบางส่วนของพวกเราคือตลาดของ
ชาวบา้ นเยื้อง ๆ หน้าเรือนจำ� เพอ่ื ซอ้ื ของฝากกลับบ้านเป็นทสี่ นกุ สนาน”

ส่งทา้ ยกอ่ นอ�ำลา

ในวันน้ี วันท่ีท่านทวี ชูทรัพย์ ได้กลับมายืนอยู่ที่หน้าเรือนจ�ำกลางคลองไผ่ (เก่า) อีกคร้ังหน่ึง
หลายสง่ิ หลายอยา่ งดเู ปลย่ี นไป จากเมอื่ 40 ปกี ่อนเป็นอยา่ งมาก สภาพของทีท่ ำ� การเรอื นจ�ำกลางคลองไผ่
(เกา่ ) ดทู รุดโทรมไปตามกาลเวลา แมจ้ ะมกี ารปรบั ปรุงและคงพนื้ ท่ีบางสว่ นไวเ้ ป็นศูนยฝ์ กึ อบรมข้าราชการ
ราชทณั ฑภ์ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื บา้ นพกั ของผบู้ ญั ชาการดเู งยี บเหงา วงั เวง แตส่ ง่ิ หนงึ่ ทดี่ จู ะไมเ่ ปลย่ี นไป
คือแววตาในรปู ปัน้ ของ ขุนนยิ มบรรณสาร หนา้ เรือนจ�ำทที่ อดมองไปยังพ้นื ท่ีอนั กว้างไพศาลของดงพญาเยน็
เหมือนจะบ่งบอกถึงความพึงพอใจที่ได้เห็นพ้ืนท่ีท่ีได้แสวงหาไว้ ได้พัฒนาขึ้นมาใช้ในงานราชทัณฑ์
ที่ท่านได้มุ่งหวังไว้ ปัจจุบันพ้ืนดินผืนน้ีได้กลายเป็นศูนย์กลางของเรือนจ�ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มกี ารกอ่ สรา้ งเรอื นจำ� กลางคลองไผแ่ หง่ ใหมท่ ใ่ี หญโ่ ต ทณั ฑสถานหญงิ นครราชสมี าขนึ้ มาทดแทนศนู ยอ์ พยพ
ทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรรมเขาพริก ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการ ฯ และหมู่บ้านของสมาชิกทัณฑนิคม
ท่ีคนื สสู่ ังคมไปเป็นพลเมอื งทดี่ ี ของประเทศชาตสิ มตามเจตนารมณข์ องงานราชทณั ฑ์

หมายเหตุท้ายบท

หลังจากทท่ี า่ นทวี ชทู รัพย์ ได้ไปเย่ียมโรงเรียน ทับ 6 วิทยาคารในครั้งน้ันแลว้ ดว้ ยความผกู พนั
ท่านทวี ชูทรัพย์และคณะก็ได้เดินทางไปโรงเรียน ทับ 6 วิทยาคารอีกคร้ังหนึ่งเพ่ือมอบทุนการศึกษา
จักรยาน และอุปกรณ์การศึกษาอีกเป็นจ�ำนวนมากให้กับนักเรียนของโรงเรียนดังกล่าว เม่ือเดือนตุลาคม
พ.ศ. 2563

1166 วารสารราชทัณฑ์

การสรา้ งการยอมรบั ผพู้ น้ โทษ
กลบั คืนสูส่ งั คม

(Social Reintegration)

นายสิทธิ สุธวี งศ์
รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ฝ่ายพฒั นา

กรมราชทัณฑ์มีภารกิจส�ำคัญในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้กระท�ำผิด โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ความรู ้
ปรับทัศนคติ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ให้ผู้กระท�ำผิดเป็นคนใหม่ที่มีคุณภาพกลับคืนสู่สังคม โดยไม่หวนกลับไปกระท�ำ
ความผิดซ้ำ� อีก โดยกจิ กรรมการพัฒนาพฤตนิ ิสัยที่กรมราชทัณฑจ์ ัดให้กับผกู้ ระทำ� ผิด มีความหลากหลายในทกุ มิติของ
การพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการให้การศึกษาระดับช้ันต่าง ๆ เพ่ือให้มีความรู้ ในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน
และสามารถน�ำวุฒิการศึกษาไปใช้ประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษ การพัฒนาจิตใจด้วยการให้ศึกษาธรรมะ
ตามหลกั ธรรมคำ� สอนของแตล่ ะศาสนา การมงุ่ เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดำ� รงชวี ติ และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม
การพัฒนาทางด้านร่างกายด้วยการส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกายผ่านกิจกรรมกีฬา นันทนาการรูปแบบต่าง ๆ
การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ด้วยการให้การฝึกวิชาชีพในรูปแบบต่าง ๆ ตามความถนัดและความสนใจของผู้กระท�ำผิด
ตลอดจนการส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ามอธั ยาศยั ประเภทตา่ ง ๆ ท้งั น้ี ภายหลังเสรจ็ สิ้นกระบวนการอบรมเมอ่ื ผกู้ ระทำ� ผิด
ใกล้จะพ้นโทษ กรมราชทัณฑ์ได้จัดให้มีกระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวพ้นโทษให้กับผู้กระท�ำผิดทุกราย
เพ่อื เปน็ การเตรียมตวั กลับคืนส่สู งั คม ภายใต้แนวคิดท่ีวา่ ผตู้ อ้ งขงั ที่ใกล้พน้ โทษควรจะไดร้ ับการเตรยี มการด้านตา่ ง ๆ
เพอ่ื รองรบั การใชช้ วี ติ ภายหลงั พน้ โทษ เชน่ การมคี รอบครวั หรอื บคุ คลรองรบั ดแู ล การมที อี่ ยอู่ าศยั มอี าชพี มคี วามสามารถ
ในการปรับตัวกับสภาพสังคมที่เปล่ียนแปลงไป เป็นต้น ซึ่งโดยปกติเม่ือผู้ต้องขังเหลือโทษจ�ำคุกต่อไปไม่เกิน 1 ป ี
กรมราชทัณฑ์จะจัดให้มีการอบรมเพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยทั้งในรูปแบบของเรือนจ�ำโครงสร้างเบา และ
เรอื นจำ� ระบบปดิ ทวั่ ไป และในปจั จบุ นั ไดม้ งุ่ เนน้ เรอื่ งการอบรมเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ยภายใตโ้ ครงการพระราชทาน
ในพระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ วั “โคกหนองนาแห่งนำ�้ ใจและความหวงั กรมราชทณั ฑ”์ โดยน้อมนำ� สืบสาน
และตอ่ ยอดหลกั เศรษฐกจิ ใหมข่ องพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ประยุกต์ทฤษฎีใหม่ในพ้ืนท่ีขนาดเล็ก ปั้นโคก ขุดหนอง ท�ำนา มุ่งเน้นการปรับเปล่ียนแนวคิด ฝึกวินัย ลงมือปฏิบัติ
แกป้ ญั หาจรงิ เพื่อใหผ้ พู้ น้ โทษสามารถพง่ึ พาตนเอง ด�ำรงชีวติ อยู่ไดอ้ ย่างมั่นคง และย่ังยืน และสามารถช่วยเหลือผอู้ น่ื
ท่ีได้รับความเดือดร้อนได้ จากสถิติพบว่า ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2563 มีผู้ต้องขังที่ได้รับการปล่อยตัว
เฉลีย่ ปีละประมาณ 141,795 คน โดยในแตล่ ะปีงบประมาณ มีสถติ ิผไู้ ด้รับการปล่อยตวั ดงั น้ี

วารสารราชทัณฑ์ 17

จำ� นวนผู้ไดร้ ับการปลอ่ ยตัว (คน)

2564 (ม.ค.) 68,204

2563 155,985

2562 160,151
2561 110,069

2560 135,753

2559 147,019

www. correct.go.th/recstats/index.php, 24 มกราคม 2564

ทั้งน้ี เพื่อรองรับภารกิจการด�ำเนินงานด้านการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย และการให้การสงเคราะห ์
ผูพ้ ้นโทษ เมื่อวันท่ี 15 กุมภาพนั ธ์ 2561 กรมราชทณั ฑ์ ได้จดั ตง้ั ศูนยป์ ระสานงานและสง่ เสริมการมงี านท�ำ (CARE) ขึน้
ณ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ทุกแห่ง โดยการบูรณาการหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในการให้การสงเคราะห ์
ช่วยเหลือผตู้ ้องขงั ญาติ ผ้พู น้ โทษและประชาชนทั่วไป ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการส่งเสรมิ อาชพี ท้งั ระหวา่ งต้องโทษ
และภายหลังพ้นโทษ เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ
และไมเ่ ป็นภาระแกส่ ังคม โดยมีผู้เขา้ รบั บริการศนู ย์แคร์ ดังนี้

จ�ำนวนผเู้ ข้าใชบ้ รกิ ารศูนย์แครต์ ้ังแต่เร่ิมจดั ต้งั ศนู ย์

(15 กมุ ภาพันธ์ 2561 - 27 มกราคม 2564)

ปงี บประมาณ จำ� นวนผูใ้ ช้ ด้านการ แนะน�ำแหล่งงาน/ ผู้ได้รบั ทุนประกอบ ใหก้ ารสงเคราะห์
(พ.ศ) บรกิ าร (คน) มงี านทำ� ตำ� แหนง่ ว่าง (คน) อาชีพ (คน) (คน)

2561 26,667 398 2,905 - 14,530
2562 105,393 13,255 49,489 2,739 39,911
468 38,675
2563 93,188 5,918 48,127 9,331
-
2564 27,821 1,422 17,068

กองพฒั นาพฤตินสิ ัย, 27 มกราคม 2564

ผู้เข้าใช้บริการศูนย์แคร์ส่วนใหญ่ ขอรับความช่วยเหลือในเร่ืองของแหล่งงาน/ต�ำแหน่งงานว่าง แสดงให ้
เห็นถึงความต้องการในการมีงานท�ำภายหลังพ้นโทษ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้มีการติดตามผู้พ้นโทษ
จ�ำนวน 45,477 คน ผ่านระบบ CARE Support โดยพบว่า ผู้พน้ โทษสว่ นใหญร่ อ้ ยละ 91.5 มงี านท�ำ รอ้ ยละ 2.1
ว่างงาน และบางสว่ นอย่รู ะหว่างการตดิ ตาม หรอื ไม่สามารถตดิ ตอ่ ไป ทัง้ นี้พบอตั ราการกระทำ� ผดิ ซ้ำ� จำ� นวน 128 คน
คิดเป็นร้อยละ 0.3 ปรากฏรายละเอียดในตารางและแผนภาพตอ่ ไปน้ี

1188 วารสารราชทัณฑ์

ขอ้ มลู ติดตามผพู้ ้นโทษผ่านระบบ CARE Support

ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

2.1% 0.3%
4.ว3่า%งงาน
กระท�ำผดิ ซำ�้
ไม่สามารถตดิ ตอ่ ได้

1.8%

อยูร่ ะหว่างการตดิ ตาม

1. มีงานทำ�

2. อย่รู ะหว่างการตดิ ตาม

3. ไม่สามารถตดิ ตอ่ ได้

มีงานทำ� 4. วา่ งงาน

5. กระท�ำผิดซ�้ำ

สถานะผูพ้ น้ โทษ จำ� นวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
1. มงี านท�ำ 41,633 91.5
2. อยู่ระหว่างการตดิ ตาม 800 1.8
3. ไม่สามารถติดตอ่ ได้ 1,956 4.3
4. ว่างงาน 960 2.1
5. กระทำ� ผิดซ้ำ� 128 0.3
45,477 100
รวมทั้งสิ้น

กองพัฒนาพฤตินสิ ยั กรมราชทัณฑ์

กรมราชทัณฑ์ ได้จัดท�ำรายงานสถิติผู้กระท�ำผิดซ�้ำในระบบฐานข้อมูลผู้กระท�ำผิด (Recstats) โดยติดตาม
ผู้ได้รับการปล่อยตัวท่ีมีหมายเลขบัตรประจ�ำตัวประชาชน ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 - 2560 และกลับมา
กระท�ำผิดซ้�ำภายใน 1 - 3 ปี ปรากฏรายงานสถติ ดิ งั นี้

ปีงบประมาณ จำ� นวนผู้ตอ้ งขัง จำ� นวนผตู้ ้องขงั จ�ำนวนผตู้ อ้ งขังท่กี ลับมากระทำ� ผิดซ้ำซ (นับจากวันปลอ่ ยตัว)
ทีป่ ลอ่ ยตวั ปลอ่ ยตวั ปล่อยตวั และมเี ลข (คน)
(คน)
(พ.ศ.) บัตรประชาชน ภายใน 1 ปี รอ้ ยละ ภายใน 2 ปี รอ้ ยละ ภายใน 3 ปี ร้อยละ
147,019 (คน)
2559 135,753 17,910 14.53 32,288 26.19 43,643 35.41
2560 110,069 123,262 17,525 14.93 31,208 26.58 40,744 34.70
2561 160,151 117,414 15,305 15.66 26,324 26.94 31,921 32.67
2562 155,985 97,711 21,848 15.06 33,049 22.78 33,339 22.98
2563 68,204 145,076 12,512 8.65 13,003 8.99
2564 144,564 1,163 1.82
63,804

ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 24 มกราคม 2564
http://www.correct.go.th/recstats/index.php#

วารสารราชทัณฑ์ 19

จากสถติ ขิ า้ งตน้ พบอตั ราการกระทำ� ผิดซ�ำ้ ในระดบั ที่ใกลเ้ คียงกันในห้วงระยะเวลาภายหลังปล่อยตวั 1 - 3 ปี
ซึง่ สามารถนำ� มาคำ� นวณอตั ราการกระท�ำผิดซำ�้ เฉลยี่ ได้ดังนี้

ระยะเวลาที่กลับมากระทำ� ผิดซ้ซำภาย อัตราเฉล่ยี ของการกลบั มากระท�ำผิดซซ้ำ
หลังปล่อยตวั (ร้อยละ)*

ภายใน 1 ปี 14.87

ภายใน 2 ปี 25.90
ภายใน 3 ปี 34.49

*เปน็ การเก็บสถิตแิ บบสะสม

จากตารางข้างต้นจะเห็นว่าอัตราการกระท�ำผิดซ�้ำในช่วง 1 ปีแรกภายหลังพ้นโทษ มีค่ามากท่ีสุด และ
จะค่อย ๆ ลดลงในปีท่ี 2 และปีท่ี 3 ซ่ึงได้มีผู้ศึกษาถึงสาเหตุการกระท�ำผิดซ้�ำว่าส่วนหน่ึงมาจากการไม่ได้รับโอกาส
หรือการยอมรบั จากสังคม ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี

นายธวัชชัย ชัยวัฒน์ (2561) ศึกษามาตรการเชิงรุกในงานราชทัณฑ์ : ศึกษาเฉพาะกรณีจุดเริ่มต้น
งานราชทณั ฑต์ ำ� บลขยายผลสกู่ ารบรู ณาการตดิ ตามชว่ ยเหลอื ผตู้ อ้ งขงั หลงั พน้ โทษ โดยพบความสำ� คญั ของการประสาน
ความร่วมมือกับภาคสังคมและท้องถิ่นในการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือ
ภายหลังพ้นโทษ โดยมีข้อเสนอเพ่ือการสร้างการยอมรับและให้โอกาสผู้พ้นโทษ ควรมีการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร ์
เพอื่ พฒั นากระบวนการมสี ว่ นรว่ มในภาคสงั คมอยา่ งยงั่ ยนื มอบหมายใหส้ ำ� นกั งานยตุ ธิ รรมจงั หวดั เขา้ มามบี ทบาทหลกั
ในการช่วยเหลือผู้พ้นโทษ และก�ำหนดให้เรือนจ�ำด�ำเนินการ “งานราชทัณฑ์เชิงสมานฉันท์” ในรูปแบบผู้ต้องขัง
กับสังคมและระหว่างผูต้ ้องขังกบั เหยื่อ

นางเสาวคนธ์ เจษฎารักษ์ (2561) ศึกษาการเพิ่มคุณค่าผู้ต้องขังและผู้พ้นโทษภายใต้แบรนด์ผลิตผลคนด ี
โดยได้ศึกษาและทดลองแนวทางการส่งเสริมการเพ่ิมคุณค่าของผู้ต้องขังและผู้พ้นโทษ โดยพบว่าจ�ำเป็นต้องมีการจัด
อบรมให้ความรู้ในการประกอบอาชีพกับผู้ต้องขังและผู้พ้นโทษ รวมถึงการประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน
ภาคสังคมในการเปิดพืน้ ที่และให้โอกาสในการประกอบอาชพี แก่ผูพ้ น้ โทษ

นายอานนท์ ฉัตรเงิน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันต�ำรวจโท ดร. เกษมศานต์ โชติชาครพันธุ์ (2559)
ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลและพฤติกรรมของผู้กระท�ำผิดซ�้ำหญิงในคดีจ�ำหน่ายยาเสพติด พบว่าคนในสังคม
มีการเหยียดหยามบุคคลที่เคยต้องโทษ รวมถึงสังคมไม่ได้ให้ความยุติธรรมกับคนท่ีเคยต้องโทษ มีทัศนคติที่ติดลบกับ
ผู้เคยต้องโทษมากอ่ น นางนศิ า ศลิ ารัตน์ และ ดร. สัญญพงศ์ ลิ่มประเสริฐ (2556) ไดศ้ กึ ษาการด�ำเนนิ ชีวิตในสงั คม
ของอดีตผู้ต้องขังคดียาเสพติด พบว่าการอบรมด้านวิชาชีพในเรือนจ�ำส่วนใหญ่ไม่สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพปัจจุบันได้ ไม่มีปัญหาการด�ำเนินชีวิตภายหลังพ้นโทษ แต่พบอุปสรรคในด้านการท�ำงาน เนื่องจาก
ขาดหนว่ ยงานทส่ี นับสนุนในการรบั เขา้ ทำ� งาน นายทรรศพล ขุนรงั (2555) ศึกษาสาเหตุการกระทำ� ผิดซำ้� คดีเกย่ี วกับ
ทรัพย์ พบว่าปัจจัยทางสังคมมีส่วนผลักดันให้กลับมากระท�ำผิดซ�้ำมากท่ีสุด โดยมีปัจจัยสนับสนุนคือความสัมพันธ์
ภายในครอบครัว กลุ่มเพ่ือนและสังคม ตลอดจนสังคมภายนอกท่ีมีทัศนคติทางลบต่อผู้พ้นโทษ ท�ำให้การสมัครงาน
และหางานสุจริตเป็นไปไดย้ าก จนเป็นเหตุกดดันให้กลบั มากระทำ� ผิดซำ้� นายอคั คกร ไชยพงศ์ (2555) ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื ง
การพัฒนากลยุทธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระท�ำผิดซ้�ำของผู้ต้องขังชายในเรือนจ�ำเขต 8 พบว่าสาเหตุหน่ึง
ทีเ่ ป็นปัจจยั ในการกระท�ำผดิ ซำ�้ คือการไมไ่ ด้รับความไวว้ างใจจากสงั คม เปน็ ต้น

2200 วารสารราชทัณฑ์

การสร้างการยอมรับผู้พ้นโทษให้กลับสู่สังคมได้อย่างปกติ จึงเป็นเสมือนกลไกส�ำคัญในการลดอัตรา
การกระท�ำผิดซ้�ำ โดยเฉพาะส�ำหรับผู้พ้นโทษท่ีมีความตั้งใจท่ีจะกลับตนเป็นคนดี ย่อมมีความต้องการพื้นท ี่
ทางสังคมให้พวกเขาสามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข เช่น นายอัครินทร์ ปูรี อดีตผู้เคยก้าวพลาดภายหลังพ้นโทษ
ประกอบอาชีพช่างท�ำกีตาร์ท�ำมือ ได้กล่าวถึงความรู้สึกในงานเสวนาวิชาการเรื่อง “Brighten the Blind Side
ให้โอกาสผู้พ้นโทษ กลับคืนสู่สังคมอีกครั้ง” จัดโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2562
โดยนายอัครนิ ทร์ ไดก้ ลา่ วว่า “ช่วง 3 ปแี รกทีพ่ น้ โทษ รูส้ ึกอายมากเวลาตอ้ งบอกคนอ่นื ว่าเป็นอดีตผู้ตอ้ งขงั สัมผสั ได้
ถึงปฏิกริ ยิ าของคน ผมรูส้ กึ วา่ เริม่ ถอยหลงั และคิดวา่ ถ้าคนในสังคมไมต่ ้อนรบั กต็ ้องกลับไปหากลมุ่ คนที่เข้าใจ ซึ่งก็คอื
เพื่อนกลุม่ เดมิ ๆ” หรอื คำ� กลา่ วทว่ี า่ “คนทกุ คนต้องการการยอมรับ ถ้าผูต้ อ้ งขังทำ� อาชพี สจุ รติ แลว้ คนให้การยอมรบั
เขาจะรู้สกึ ภาคภมู ใิ จและจะท�ำดตี ่อไป อย่างผม มวี นั น้ไี ด้เพราะมีหลายคนใหโ้ อกาสและช่วยเหลือสนับสนุน ผมไมไ่ ด้
เรยี กร้องใหค้ นในสังคมช่วยผูต้ ้องขังทกุ คน แต่ขอแค่ใหช้ ่วยคนท่ีพรอ้ มจะพิสจู น์ตนเอง” คณุ อคั รินทรก์ ลา่ ว

จากตัวอย่างข้อมูลข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของการสร้างการยอมรับของภาคสังคมต่อผู้พ้นโทษ
ท่านอธิบดีกรมราชทัณฑ์ นายอายุตม์ สินธพพันธุ์ จึงได้ก�ำหนดนโยบายเน้นหนักกรมราชทัณฑ์ ปี 2564 ด้านที่ 4
เพื่อรองรับภารกิจด้านการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพ่ือคืนคนดี สู่สังคม มีสาระส�ำคัญเร่ืองการกลับคืนสู่สังคม
และตดิ ตามผ้พู น้ โทษ ขอ้ 4.2 กลา่ วถงึ การสร้างวัฒนธรรมการใหโ้ อกาส มุง่ ใหโ้ อกาสผพู้ ้นโทษโดยสรา้ งกระบวนการ
ให้สังคมได้มีส่วนในการร่วมกันสร้างวัฒนธรรม เสริมสร้างการยอมรับผู้พ้นโทษ การให้โอกาสผู้พ้นโทษ และส่งเสริม
การมีงานท�ำภายหลงั พน้ โทษ

4 การกลับคนื สูส่ ังคมและติดตามผู้พ้นโทษ
 สร้างวฒั นธรรมการใหโ้ อกาส
 การเตรียมความพรอ้ มก่อนปล่อย

ดร. อายตุ ม์ สนิ ธพพนั ธ์ุ การตดิ ตามผลการนำ� ความรู้ เสรมิ สรา้ งการยอมรบั ผ้พู น้ โทษ
ทีอ่ บรมในเรือนจ�ำไปใชป้ ระโยชน์ จดั ท�ำระบบฐานขอ้ มูลผ้พู น้ โทษ
อธบิ ดกี รมราชทัณฑ์ การช่วยเหลือภายหลงั
การสง่ เสริมการมีงานทำ� การปลอ่ ยตัว
ภายหลังพน้ โทษ

โปรแกรมเตรยี มความพร้อม
กอ่ นปล่อยตวั

ตัวอย่างของการด�ำเนินกิจกรรมการสร้างการยอมรับผู้พ้นโทษของประเทศสิงคโปร์ ได้มีการด�ำเนินกิจกรรม
ต่าง ๆ ภายใต้โครงการ ‘Yellow Ribbon Project’ โดยบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม
เพื่อร่วมกันผลักดันค่านิยมในการสร้างการยอมรับและให้โอกาสผู้พ้นโทษ โดยได้รับแรงบันดาลใจ จากเพลง

วารสารราชทัณฑ์ 21

Tie a Yellow Ribbon Round the Old Oak Tree ทม่ี กี ารผูกโบว์สีเหลืองไว้ทตี่ น้ โอค๊ เพอื่ ตอบรบั การกลับบา้ นของ
ทหารผา่ นศกึ แสดงถงึ การยอมรับและไม่รังเกียจจากสงั คม โครงการ Yellow Ribbon จึงต้องการสอ่ื ให้ผ้พู ้นโทษทราบวา่
สังคมยังให้การตอบรับและพร้อมจะให้อภัยผู้พ้นโทษ และจัดกิจกรรมเพื่อช่วยเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองด้านลบ
ของคนในสังคมที่มีตอ่ ผพู้ ้นโทษ กระตนุ้ และผลกั ดนั ให้เกิดความรว่ มมือในสังคมเพ่ือปลดล็อคความกลวั การไมย่ อมรบั
จากสงั คม และไมใ่ หส้ งั คมตอ้ งกลายเปน็ คกุ ทสี่ องสำ� หรบั ผพู้ น้ โทษ โดยการจดั กจิ กรรมรณรงคใ์ หญเ่ ปน็ ประจำ� ทกุ ปี เชน่
การจดั วง่ิ มาราธอนและการระดมทนุ ตา่ ง ๆ เกดิ ผลกระทบในวงกวา้ งตอ่ การรบั รขู้ องคนในสงั คม ชว่ ยในการปรบั เปลยี่ น
ทัศนคตแิ ละใหโ้ อกาสผพู้ น้ โทษ เปน็ ต้น

ในส่วนของกรมราชทัณฑ์ประเทศไทย ได้มี
ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก เ ค รื อ ข ่ า ย ภ า ค รั ฐ
ภาคเอกชนและประชาชน ในการให้ความช่วยเหลือ
ผู้พ้นโทษกลับคืนสู่สังคม เช่น การอบรมเตรียม
ความพร้อมก่อนปล่อยตัวพ้นโทษ การประสานส่งต่อ
ข้อมูลผู้พ้นโทษ การให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือ
ด้านต่าง ๆ การส่งเสริมการมีงานท�ำภายหลังพ้นโทษ
เป็นตน้ ซง่ึ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กรมราชทณั ฑ์
จะไดม้ กี ารศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาแนวทางการดำ� เนนิ กจิ กรรม/
โครงการ เพ่ือสร้างวัฒนธรรมของสังคมต่อการยอมรับ
ผู้พ้นโทษกลับคืนสู่สังคมอย่างย่ังยืน โดยส่งเสริม
ภาคประชาสังคมในการให้การยอมรับและให้โอกาส
ผู้กระท�ำผิดในการกลับคืนสู่สังคม สร้างโอกาสให ้
ผู้พ้นโทษสามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่าง
ปกตสิ ขุ และลดโอกาสในการกระทำ� ผดิ ซำ�้ ตามนโนบาย
ของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ผมในฐานะท่ีก�ำกับดูแลงาน
ด้านการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง มีความเห็นว่า
ปัจจุบันแนวคิดในการลงโทษผู้กระท�ำผิดได้พัฒนามาเป็นการลงโทษเพ่ือการแก้ไขฟื้นฟู โดยการให้การปฏิบัติต่อ
ผู้กระท�ำผิดเป็นรายบุคคล ดังเช่นที่กรมราชทัณฑ์ได้มีนโยบายในการจัดท�ำแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
(Sentence Plan) เพื่อก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังทั้งในด้านการควบคุมและการพัฒนาพฤตินิสัย
โดยพจิ ารณาถงึ ประวัตภิ ูมหิ ลัง พฤติการณ์การกระท�ำผดิ การประเมนิ พฤตกิ รรมอาชญากร ลกั ษณะทางรา่ งกายและ
จิตใจ ตลอดจนปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ เพ่ือก�ำหนดวิธีการหรือแนวทางในการพัฒนาผู้ต้องขัง ให้ได้รับการพัฒนาทาง
ดา้ นต่าง ๆ อย่างครบมติ ิ เชน่ (1) การเสริมสร้างความรู้ (2) การส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านอาชีพ (3) การส่งเสรมิ
และพัฒนาสมรรถภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ และ (4) การปรับทัศนคติพฤติกรรม เป็นต้น ซึ่งการส่งเสริมให ้
ผู้พ้นโทษได้รับโอกาสและการยอมรับจากสังคมมากขึ้นนั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคสงั คม และภาคประชาชน ซงึ่ ท่ผี ่านมากรมราชทณั ฑไ์ ดพ้ ฒั นาความรว่ มมือและสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ ม
ในการด้านการพฒั นาพฤตินสิ ัยผู้ตอ้ งขัง การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ย และการตดิ ตามช่วยเหลอื ภายหลงั พ้นโทษ
เช่น การลงนามความร่วมมือกับส�ำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เม่ือวันท่ี
10 มีนาคม 2564 เพื่อพัฒนาหลักสูตรการศึกษาออนไลน์ (สอนแบบออฟไลน์ในเรือนจ�ำ) ส�ำหรับผู้ต้องขัง ได้แก่

2222 วารสารราชทัณฑ์

หลกั สตู รพนื้ ฐานการเปน็ นกั ขายออนไลน์ พนื้ ฐานการเปน็ นกั เขยี นบทความและนกั รวี วิ สนิ คา้ ออนไลน์ การตดั ตอ่ เสยี ง/
ภาพและการทำ� VTR การวาดสติ๊กเกอร์ Line การสรา้ งอินโฟกราฟฟิก การตลาดออนไลน์ Google การสรา้ งรายได้
จาก Youtuber และ การเปิดร้านค้าและการขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งเป็นการปรับรูปแบบการจัดการศึกษาผู้ต้องขัง
ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม สร้างโอกาสและการยอมรับภายหลังพ้นโทษ และการลงนาม
ความร่วมมือกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เม่ือวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 เพ่ือส่งเสริมการสร้างงาน สร้างอาชีพ
ให้กับผู้พ้นโทษ ซ่ึงเป็นการสนับสนุนนโยบายการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมราชทัณฑ์ ของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุติธรรม เป็นต้น

นอกจากนี้ กรมราชทณั ฑย์ งั มคี วามพยายามในการพฒั นารปู แบบกจิ กรรม/โครงการ เพอ่ื สรา้ งโอกาสการยอมรบั
ผู้ต้องขังให้มีมากข้ึน เช่น การด�ำเนินงานโครงการปลูกผักรอบรั้ว สวนครัวราชทัณฑ์ สานฝันปันสุข ภายใต้โครงการ
ก�ำลังใจในพระด�ำริ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร
มหาวัชรราชธดิ า ซงึ่ เป็นโครงการเพ่ือพัฒนาพฤตนิ ิสยั ผู้ต้องขงั ในด้านการเกษตร

วารสารราชทัณฑ์ 23

ในด้านของการพัฒนาผู้ต้องขังด้วยกิจกรรม
นันทนาการ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้มีนโยบายให้ด�ำเนิน
โครงการดนตรีบ�ำบัดผู้ต้องขังก�ำหนดโทษสูง (วงดนตรี
สากล-ปสี่ กอ๊ ต) โดยเชิญโรงเรียนวชิราวธุ วทิ ยาลยั ซงึ่ เปน็
สถานศึกษาท่ีมีความโดดเด่นทางด้านการจัดการศึกษา
และมีวงดนตรีปี่สก๊อตที่มีช่ือเสียงอันดับหนึ่งของ
ประเทศไทย มาสนับสนุนการจัดการฝึกอบรมดนตรี
ปี่สก๊อตให้กับผู้ต้องขัง โดยเม่ือวันที่ 16 มีนาคม 2564
ได้มีการประชุมร่วมกับอาจารย์ผู้สอนดนตรี โรงเรียน
วชริ าวธุ วทิ ยาลัย เพอ่ื หารือแนวทางการฝกึ อบรมผตู้ ้องขงั
โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะด�ำเนินการน�ำร่อง
ณ เรือนจ�ำกลางบางขวาง ซึ่งหากกรมราชทัณฑ์สามารถ
จัดต้ังวงดนตรีปี่สก๊อตได้ส�ำเร็จ จะนับเป็นวงดนตรีปี่สก๊อตล�ำดับท่ี 3 ของประเทศไทย โดยการด�ำเนินการดังกล่าว
นอกจากจะเป็นการพัฒนาร่างกายและจิตใจผู้ต้องขังด้วยการใช้ดนตรีบ�ำบัดแล้ว ยังเป็นการสร้างโอกาสในการ
ประกอบอาชีพใหก้ ับผู้ต้องขงั ภายหลังพน้ โทษอีกด้วย

การดำ� เนนิ งานตามภารกจิ ของกรมราชทณั ฑ์ โดยนโยบายของผบู้ รหิ ารระดบั สงู มเี ปา้ หมายสำ� คญั ในการพฒั นา
พฤตินิสัยผู้ต้องขัง เพ่ือลดปัญหาการกระท�ำผิดซ�้ำ ซึ่งส่ิงส�ำคัญท่ีจะช่วยสนับสนุนภารกิจของกรมราชทัณฑ์ คือ
ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการร่วมสนับสนุนการด�ำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างโอกาสภายหลัง
พน้ โทษใหผ้ พู้ น้ โทษไดก้ ลบั ไปใชช้ วี ติ ไดอ้ ยา่ งปกตแิ ละไดร้ บั การยอมรบั จากสงั คม และเพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวทางการดำ� เนนิ งาน
ท่ีเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ซ่ึงช่วยยกระดับการด�ำเนินงานของ กรมราชทัณฑ์ ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น กรมราชทัณฑ์
โดยกองพฒั นาพฤตนิ ิสัย จะมีการสำ� รวจความคิดเหน็ ของบุคคลทีเ่ กยี่ วข้อง ท้งั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิในงานราชทณั ฑ์ ผบู้ รหิ าร
เจ้าหนา้ ทร่ี าชทัณฑ์ ผตู้ ้องขัง ญาติ ประชาชน และเครือข่ายพันธมติ ร ต่อความคิดเหน็ ในเรอื่ งดงั กลา่ ว ซึ่งจะน�ำไปส ู่
การพัฒนาโมเดลการจัดกิจกรรม/โครงการที่มีความเหมาะสมส�ำหรับการสร้างการยอมรับผู้พ้นโทษกลับคืนสู่สังคม
ได้อย่างยงั่ ยืนตอ่ ไป
2244 วารสารราชทัณฑ์

“ประกายแหง่ ความหวัง...
สเู่ สน้ ทางการสร้างงาน สรา้ งอาชพี ”

ภายใต้นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน)

สาธกิ า สามศรี
กองพฒั นาพฤตินสิ ัย

นคิ มราชทณั ฑ ์ : นิคมเพือ่ สังคม “นวตั กรรมใหม่
ของการพฒั นาพฤตนิ สิ ัยผตู้ อ้ งขัง”

จากสถานการณท์ กี่ รมราชทณั ฑต์ อ้ งเผชญิ กบั ปญั หา อตั ราการเพมิ่ ขน้ึ ของผตู้ อ้ งขงั อยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยปจั จบุ นั มี
ผตู้ ้องขังในความควบคุมดูแล จ�ำนวน 376,499 คน (ณ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563) ในขณะทีศ่ ักยภาพภายในเรือนจำ� และ
ทณั ฑสถานสามารถรองรบั ผตู้ ้องขังไดเ้ พยี ง 200,000 คน จึงสง่ ผลกระทบต่อการบริหารงานเรือนจำ� ในหลายดา้ น อาทิ
ผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำ การเกิดทุกขภาวะในเรือนจำ� และการกลับมากระทำ� ผิดซ้�ำของผู้ต้องโทษ รวมท้ัง อัตราการเพ่ิม
ของผู้ต้องขังมีแนวโน้มสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคาดการณ์ว่า ภายใน 10 ปี จะมีอัตราการเพิ่มของผู้ต้องขังสูงถึง
รอ้ ยละ 32.4 เฉลีย่ ใน 5 ปี จะมผี ู้พน้ โทษประมาณ 147,000 คน และจะมีผพู้ น้ โทษกลบั มากระทำ� ผิดซำ้� ใน 3 ปีแรก
ร้อยละ 35 หรอื ประมาณ 48,500 คน ซึง่ คดีส่วนใหญจ่ ะเปน็ คดยี าเสพติดและความผดิ เกยี่ วกับทรพั ย์ โดยสว่ นหน่งึ
เกิดจากปัญหาท่ีผู้พ้นโทษไม่สามารถหางานท�ำหรือไม่สามารถประกอบอาชีพสุจริตได้ภายหลังพ้นโทษ ประกอบกับ
ทัศนคติของสงั คมภายนอกท่ไี ม่ยอมรับอดตี ผูต้ อ้ งขัง หรอื คนเคยคุก ตลอดจนมขี ้อกฎหมายวชิ าชีพหลายฉบบั ที่ไมร่ ับ
บคุ คลเหลา่ นีเ้ ข้าท�ำงาน

จากสถานการณ์ดังกล่าว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม นายสมศักดิ์ เทพสุทิน จึงได้มอบหมาย
กรมราชทัณฑ์ ท�ำการศึกษาแนวทางการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมราชทัณฑ์ (Correctional Industrial Estate)
เพ่ือเป็นการแสวงหารูปแบบ แนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น อันเป็นทางออกหนึ่งในการคืนคนดีสู่สังคม
อย่างยั่งยืน ให้ผู้พ้นโทษหรืออดีตคนเคยคุกได้มีพื้นที่ยืนในสังคม ลดปัญหาความแออัดของประชากรผู้ต้องขัง
ในเรือนจ�ำ พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังในทุกมิติ ท้ังในมิติด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และการฝึกทักษะอาชีพ พัฒนา
ยกระดับฝีมือแรงงานคุณภาพสูง อีกทั้ง เป็นการสร้างผู้พ้นโทษให้เป็นผู้ประกอบการใหม่ เป็นการสร้างงานสร้าง
อาชีพสร้างอนาคตท่ีดี ซ่ึงจะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้อัตราการกระท�ำผิดซ้�ำของผู้พ้นโทษลดลง และเป็นการคืนคนด ี
มีคุณภาพสู่สังคมอย่างยั่งยืนต่อไป อันเป็นการเปล่ียนภาระให้เป็นพลังด้วย โดยความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กร
ภาควิชาการ ภาคสังคมท่ีเก่ียวข้อง เข้ามาร่วมบูรณาการท้ังมิติการอุตสาหกรรม การเงิน การลงทุน การเกษตรและ
การท่องเทย่ี ว

ผูต้ ้องขังกลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่

1. กลุม่ นกั โทษชั้นดีข้ึนไป มีความประพฤตดิ ี เหลอื โทษจำ� คุกต่อไปไมเ่ กิน 5 ปี หรือทไ่ี ด้รบั การพกั การลงโทษ
ลดวนั ตอ้ งโทษ ให้ไดร้ ับการเตรยี มความพร้อมกอ่ นปลอ่ ย ท้ังสภาวะรา่ งกาย จติ ใจ วชิ าชพี และมีรายได้

วารสารราชทัณฑ์ 25

2. กลุ่มผ้พู ้นโทษแล้ว (ท้งั ใหม่และเก่า) มีสังคมที่ดี มงี านท�ำ มอี าชีพม่ันคง มีทอ่ี ยูอ่ าศยั มอี นาคตท่ดี ี โดยมี
ระบบตดิ ตาม ดูแล ปอ้ งกันไมใ่ ห้กลับเขา้ สู่วงจรเดิม

โดยภายในนคิ มอุตสาหกรรมราชทัณฑ์ 2 โซน ไดแ้ ก่ 1. โซนเรอื นจ�ำ (กล่มุ นกั โทษชน้ั ดขี ้นึ ไป) 2. โซนผูพ้ น้ โทษ
ซ่ึงบริเวณโดยรอบประกอบด้วย ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน ศูนย์ปรับเปล่ียนพฤตินิสัย ศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์
อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรมธุรกิจบรกิ าร ทอ่ี ยอู่ าศัย สันทนาการทอ่ งเท่ียงเชงิ สังคม

โดยความร่วมมือกับภาคราชการและภาคธุรกิจในการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานตามความสามารถของ
ผ้ตู ้องขงั และผพู้ ้นโทษ มคี า่ ตอบแทนทเ่ี ปน็ ธรรมตามมาตรฐาน มีโครงสรา้ งพ้นื ฐานและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกรองรบั
และได้รบั การยกเวน้ กฎหมายวิชาชพี ที่กดี กันผ้พู ้นโทษ และสทิ ธิประโยชนจ์ ากการส่งเสริมการลงทนุ

พ้ืนท่ีด�ำเนินการท่ีเปิดเพ่ือน�ำร่องไปแล้ว 1 แห่ง คือ “ศูนย์ฝึกวิชาชีพนิคมอุตสาหกรรมเพ่ือเตรียม
ความพร้อมกอ่ นปลอ่ ย” เรือนจ�ำช่วั คราวบา้ นบึง เรือนจำ� กลางชลบรุ ี โดยนายสมศักดิ์ เทพสทุ ิน รฐั มนตรีวา่ การ
กระทรวงยุตธิ รรม ไดเ้ ปน็ ประธานในพธิ ีวางศิลาฤกษ์ ไปแล้วเมอ่ื วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2563 และคาดวา่ จะเปิด
ดำ� เนนิ การได้ภายในเดอื นพฤษภาคม 2564

ประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับ ทางสงั คมมีความปลอดภัย และความสงบสขุ ในสังคม ลดความแออดั ของผตู้ ้องขงั

ในเรือนจ�ำลดปญั หาการกระทำ� ผดิ ซ�้ำ และปอ้ งกนั ไม่ให้ผ้พู น้ โทษกลับเข้าสู่วงจรเดิม ทางเศรษฐกิจแหล่งแรงงานฝมี ือ
ทมี่ คี ณุ ภาพดี คา่ ตอบแทนสงู เปน็ การเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั เกดิ ผปู้ ระกอบการใหมศ่ นู ยก์ ลางการผลติ และ
จ�ำหนา่ ยผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารของราชทณั ฑ์ (online/offline) และเปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ สงั คม

จากการด�ำเนินงานการสร้างงาน สร้างอาชีพผู้พ้นโทษ ด้านการสร้างนิคมอุตสาหกรรมราชทัณฑ์ดังกล่าว
ได้มีความคิดเห็นจากภาคสังคม (ท่ีมา : ศูนย์ส�ำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” ร่วมกับ ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม
วนั ท่ี 30 กันยายน 2563) พบวา่ มปี ระชาชนหรือภาคสังคมเหน็ ด้วยกับการตัง้ นคิ มอุตสาหกรรมราชทณั ฑ์ รอ้ ยละ 91.75
ลักษณะกิจกรรมฝึกวิชาชีพในนิคมอุตสาหกรรมราชทัณฑ์ที่สังคมคิดว่าเหมาะสม ได้แก่ งานประกอบเคร่ืองยนต์
เกษตรกรรม งานผลติ เฟอรน์ เิ จอร์หรอื งานไม้ งานเสรมิ สวย/ตัดแตง่ ทรงผม และงานประดิษฐ/์ ตดั เยบ็ เส้ือผา้ การคืนคนดีสู่
สังคมผ่านกระบวนการของนิคมอุตสาหกรรม มีส่วนช่วยให้อัตราการกระท�ำผิดซ้�ำลดลง มีผู้เห็นด้วย ร้อยละ 73.44
และเหน็ ว่ารปู แบบการตงั้ นิคมควรเปน็ โรงงานในพน้ื ทป่ี ดิ รอ้ ยละ 54.05 และควรเปน็ นคิ มทวั่ ไป รอ้ ยละ 43.58 จงึ นบั วา่
แนวคดิ “การจดั ตงั้ นคิ มอตุ สาหกรรมราชทณั ฑ์ จะเปน็ นวตั กรรมเพอ่ื สงั คมทยี่ งั่ ยนื ” ตอ่ ไป
2266 วารสารราชทัณฑ์

Cook & Coff เรือนจ�ำท่องเที่ยว : 
สถานที่ต้อง (ห้าม) พลาดแห่งใหม่

นอกจากน้ี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
นายสมศักด์ิ เทพสุทิน ได้น�ำแนวคิดในการพัฒนาเรือนจ�ำให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวในทุกจังหวัด โดยดึงศักยภาพทาง
ภมู สิ ถาปตั ยข์ องเรอื นจำ� แตล่ ะแห่งท่ีมีอัตลักษณ์ และเสน่ห์ที่แตกต่าง ในการดึงดูดภาคประชาชน สังคม ให้เข้ามา
มีส่วนร่วมในการให้โอกาสแก่ผู้ก้าวพลาด และสร้างการยอมรับในขีดความสามารถของคนท่ีเคยอยู่ในระบบต้องโทษ
กรมราชทัณฑ์ได้ขับเคลื่อนแนวคิดดังกล่าว โดยการจัดท�ำแผนการพัฒนาและยกระดับให้เรือนจ�ำเป็นแหล่งท่องเที่ยว
อันเป็นการสร้างการรับรู้ให้กับสังคม ประชาสัมพันธ์ ใหป้ ระชาชน และสอื่ มวลชนสาขาตา่ ง ๆ ไดเ้ ขา้ ถงึ และมสี ว่ นชว่ ย
ในการเผยแพร่สถานที่ท่องเท่ียวของเรือนจ�ำให้เกิดข้ึนในวงกว้างมากย่ิงข้ึน รวมไปถึงเป็นการสร้างภาพลักษณ์และ
สง่ เสรมิ นโยบายการทอ่ งเทย่ี วในประเทศของรฐั บาลดว้ ย

กรมราชทัณฑ์ ได้ Kick off โดยได้เปิดตัวโครงการเรือนจ�ำท่องเท่ียวข้ึนเป็นครั้งแรกขึ้นที่ทัณฑสถานเปิด
ห้วยโป่ง และเรือนจ�ำชั่วคราวเขาไม้แก้ว จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2563 ภายใต้แนวคิด “เที่ยวสุขใจ
ใหโ้ อกาสผ้กู า้ วพลาดสสู่ ังคม” กิจกรรมท่ีนา่ สนใจ อาทิ ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการเกษตรผสมผสาน
การปศุสัตว์เชิงท่องเท่ียว อาชาบ�ำบัด สวนสัตว์ ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีกรมราชทัณฑ์น�ำมาใช้เป็นกระบวนการบ�ำบัด
ฟนื้ ฟู และปรับพฤติกรรมของผตู้ ้องขงั ให้พร้อมออกสูส่ ังคม รว่ มกบั กิจกรรม (Gimmick) “เชฟลูกกรงเหล็ก” ซงึ่

วารสารราชทัณฑ์ 27

เป็นการประกวดแข่งขันการประกอบอาหาร
ประเภทสเตก๊ โดยมคี ณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
จากสมาคมเดอะเชฟแห่งประเทศไทย
ร่วมเป็นกรรมการตัดสินและให้ค�ำแนะน�ำ
ในการประกอบอาหาร กิจกรรมในครั้งนี้
เป็นการพัฒนาฝีมือด้านการประกอบอาหาร
นำ� ไปสู่การสรา้ งรายได้ สร้างงาน สรา้ งอาชีพ
มีคา่ ตอบแทนทสี่ งู เปน็ ท่ตี ้องการตลาด และ
ยังสามารถพัฒนาตนเองสู่การเป็นเจ้าของ
กจิ การได้ และเพอื่ เปน็ การยกระดบั ฝมี อื และ
มาตรฐานแรงงาน ไดม้ กี ารพัฒนาใหผ้ ูต้ อ้ งขงั
มที ักษะการสือ่ สารภาษาตา่ งประเทศ เปน็ การเพิม่ ช่องทางในการท�ำมาหาเล้ียงชพี ได้ การสอนทกั ษะทางคณิตศาสตร์
ให้สามารถจัดท�ำบัญชีครัวเรือนแบบง่าย การคิดก�ำไร ต้นทุนในการประกอบอาชีพควบคู่กันไปอีกด้วย โดยก�ำหนด
เปน็ หลักสตู รการฝึกอบรมให้กบั ผตู้ ้องขังในเรือนจ�ำ/ทณั ฑสถานทวั่ ประเทศดว้ ยแล้ว
ก้าวต่อไป....กรมราชทัณฑย์ งั มุ่งม่ันและสร้างสรรคก์ ารรับรู้ ส่งเสรมิ วัฒนธรรมแห่งการใหโ้ อกาสแก่ผู้พ้นโทษ
อย่างต่อเน่ือง โดยการขับเคล่ือนแผนเรือนจ�ำท่องเที่ยว 3 ปี ซ่ึงจะครอบคลุมเรือนจ�ำ 64 แห่ง หรือการเพิ่ม
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว พกิ ดั จดุ เชค็ อินแห่งใหม่ของประเทศอกี 64 แหง่ เป็นอย่างน้อย ภายใน 3 ปี (พ.ศ. 2564 - 2566)
Cook & Coff วันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม นายสมศกั ดิ์ เทพสทุ นิ ไดเ้ ปน็
ประธานพธิ เี ปดิ โครงการเรือนจ�ำทอ่ งเท่ียว ครง้ั ท่ี 2 ณ เรือนจ�ำกลางราชบรุ ี ภายใต้แนวคดิ “Cook & Coff @ราชบุรี
ท่องเท่ียวเกษตรวิถี...คืนคนดีสู่สังคม” อันเป็นจุดเริ่มที่ส�ำคัญท่ีสร้าง “ประกายแห่งความหวัง และประกายแห่ง
ความเช่ือมนั่ ” ของสงั คมในการหยบิ ยื่นโอกาสแกผ่ ู้ตอ้ งขงั ใหก้ ลบั ตวั กลับใจแก้ไขสงิ่ ผิด ประกอบสมั มาอาชพี ท่สี จุ ริต
มรี ายไดเ้ ลี้ยงตน เล้ยี งครอบครัว กลับมาเปน็ คนดีของชมุ ชน และสังคมได้อีกครัง้ หน่ึง
....ในระยะต่อไป กรมราชทัณฑ์ได้ก�ำหนดแผนการเปิดโครงการในเรือนจ�ำอีก 2 แห่ง คือ เรือนจ�ำชั่วคราว
เขาระก�ำ สังกัดเรือนจ�ำจังหวัดตราด และทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก อีกทั้งยังมีแผนจะเปิดตัวโครงการ
อีก 10 แห่ง เพอื่ ให้ครอบคลมุ ทวั่ ทกุ เขต/ทกุ ภาคของประเทศตอ่ ไป อาทิ เรือนจำ� ช่วั คราวหนองเรยี ง สังกัดเรือนจ�ำ
อ�ำเภอสวรรคโลก เรือนจ�ำชั่วคราวบ้านห้วยเตย สังกัดเรือนจ�ำจังหวัดหนองบัวล�ำภู ทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง
เรอื นจำ� จงั หวดั น่าน เรอื นจำ� อ�ำเภอเบตง เปน็ ต้น
นอกจากน้ี เพ่ือให้การสืบสานเช่ือมโยงแนวคิดเรื่องการท่องเท่ียวกับวิถีความเป็นเมืองเกษตรกรรมของ
คนไทยเขา้ ดว้ ยกนั แบบร่วมสมยั จงึ ได้มแี นวคดิ ในการพฒั นาผตู้ ้องขังด้านการเกษตร การเล้ียงสัตว์ เปลีย่ นกระบวนคิด
จากการทำ� การเกษตรหรอื การผลติ สนิ คา้ เกษตรจากรปู แบบดง้ั เดมิ พน้ื บา้ น เปน็ การยกระดบั ไปสกู่ ารผลติ สนิ คา้ เกษตร
ท่ีมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง รวมถึงการอนุรักษ์ความเป็นวัฒนธรรมของพ้ืนถิ่น ภายใต้โครงการส่งเสริมการเกษตร
Quick Win 5 โครงการ ได้แก่ โครงการฝึกทักษะการปลูกทุเรียน โครงการการฝึกทักษะการเลี้ยงไก่ชน โครงการ
การฝกึ ทกั ษะการเล้ยี งโคขุน การเลี้ยงสุนัขเพ่อื การพัฒนาพฤตินิสัย และการปลูกผลไม้ มงั คดุ เงาะ
เหนอื สงิ่ อืน่ ใดความสำ� เรจ็ ทีเ่ กดิ ข้ึน ยอ่ มมาจากความรว่ มมอื และการผนึกกำ� ลงั จากภาคส่วนทเ่ี กยี่ วข้อง และ
ที่ส�ำคัญยิ่งคือภาคีเครือข่ายภาคประชาชนท่ีเป็นผู้ให้โอกาสกับผู้พลั้งพลาดเหล่าน้ี เพ่ือสร้างมิติใหม่แห่งการให้โอกาส
ด้วยการสร้างงาน...สรา้ งอาชพี ใหผ้ ู้พน้ โทษในการคนื คนดีสสู่ ังคมอย่างแท้จรงิ และยัง่ ยืน...ต่อไป...

2288 วารสารราชทัณฑ์

โหราศาสตรพ์ ยากรณ์

กับการแก้ ไขพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง

ดร. พงษอ์ ภนิ ันทน์ จนั กลนิ่
กองทัณฑปฏบิ ัติ

ความเชือ่ เก่ียวกับโหราศาสตรเ์ ป็นสิง่ ทอี่ ยคู่ ู่กบั สังคมไทยมาอย่างยาวนาน อาจจะด้วยสาเหตใุ ดก็ตาม เราตอ้ ง
ยอมรับว่า ไม่สามารถแยกออกจากชีวิตประจ�ำวันของคนไทยตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันและความเชื่อ
วิชาโหราศาสตร์มีอยู่ในทุกระดับช้ันของสังคมไทย เช่น ในอดีตความสัมพันธ์ของโหราศาสตร์กับการเมือง
เปน็ เรอ่ื งการรบ การเคล่อื นทพั และการก่อสร้างบ้านเมือง ซ่ึงเกีย่ วข้องกับตำ� ราพชิ ัยสงคราม1

การสรา้ งบา้ นเมอื งในสมยั รชั กาลท่ี 1 มกี ารวางเสาหลกั เมอื งกรงุ รตั นโกสนิ ทรข์ น้ึ เมอ่ื วนั อาทติ ยท์ ่ี 21 เมษายน
พ.ศ. 2325 รชั กาลที่ 1 ทรงสร้างเมอื งกรุงเทพฯ ให้สอดคลอ้ งกบั ต�ำราพิชยั สงคราม ในรูปแบบนาคนาม ในขณะน้ัน
มีทั้งค�ำบอกเล่าท่ีสืบต่อกันมาเกี่ยวกับพระราชพิธีวางเสาหลักเมือง กล่าวคือ เม่ือน�ำเสาหลักเมืองลงสู่ก้นหลุม
ปรากฏวา่ มีงูเลก็ 4 ตวั อยทู่ ี่กน้ หลุม แต่ไมอ่ าจหยดุ พระราชพิธไี ด้ เพราะจะเสยี พระฤกษด์ ี ดงั นน้ั งูทง้ั 4 ตัวจงึ ถกู กลบ
อยู่ในก้นหลุมด้วย หลังจากงานพระราชพิธีฝังเสาหลักเมืองเสร็จสิ้น รัชกาลที่ 1 ทรงเรียกประชุมเหล่าเสวกามาตย ์
ราชบัณฑิตปุโรหิตาจารย์ พระราชาคณะและบรรดาผู้รู้ท้ังปวง ซ่ึงมีความเห็นสอดคล้องกันว่าอาจจะเกิดสิ่งไม่ดีข้ึน
ในแผ่นดิน

พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของค�ำว่า “โหราศาสตร์” หมายถงึ วชิ าว่าด้วย
การพยากรณ์โดยอาศยั การโคจรของดวงดาวเปน็ หลกั

1 สวรรค์ ตั้งตรงสทิ ธิกุล. (2558). การสรา้ ง “หลักชยั แกนเมือง” เม่ือแรกสถาปนา กรุงรัตนโกสนิ ทร์อินทอ์ โยธยา. ศลิ ปวฒั นธรรม, 36 (6),
102 - 119.

วารสารราชทัณฑ์ 29

โหร หมายถึง ผู้พยากรณ์โดยอาศัยดวงดาวเป็นหลักหรือผู้ให้ฤกษ์และพยากรณ ์
หมอดูโชคชะตาราศี ส่วน หมายถงึ ผูท้ ำ� นายโชคชะตาราศี

สำ� หรบั โหราศาสตร์ในความคดิ ของคนทัว่ ๆ ไป ไม่ได้มีความหมายเกีย่ วกบั เรอ่ื งของดวงดาว เพียงอย่างเดียว
แต่คนในสังคมไทยโดยทัว่ ๆ ไป มีความเขา้ ใจและสนใจเกี่ยวกับโหราศาสตร์ใน 2 แง่มมุ กลา่ วคือ

1) ในแง่มุมของการท�ำนายทายทัก หรือพยากรณ์อนาคต เช่น ให้ค�ำปรึกษาในหน้าท่ีการงาน หรือการช่วย
ตดั สินใจในบางสถานการณ2์ (ภิญโญ พงศ์เจรญิ , 2543)

2) ในแงม่ ุมพิธกี รรม เชน่ การแก้ไขกรรมทเี่ คยไดก้ ระทำ� มาในอดีต หรอื การเสรมิ บุญบารมีเพือ่ สิ่งที่จะเกดิ ข้นึ
ในอนาคต โหราศาสตรใ์ นความเขา้ ใจของคนท่ัวไปในสงั คม ไมว่ า่ จะเป็นเรอ่ื งการมอี �ำนาจเหนือธรรมชาติ การทรงเจา้
เขา้ ทรง การใช้ไพ่ยิปซใี นการทำ� นาย รวมไปถงึ การใชศ้ าสตร์อ่ืน ๆ ที่สามารถทำ� นายหรือพยากรณ์ไดถ้ กู เข้าใจและรบั รู้
โดยทวั่ ไปวา่ เปน็ เรื่องของโหราศาสตร์

ดังน้ัน ความหมายของโหราศาสตร์ โหร หมอดู ของคนทั่วไปในสังคมจึงมีลักษณะท่ีไม่ได้เป็นไปตามนิยาม
ทรี่ าชบณั ฑติ ยสถานใหค้ วามหมายไว้

ความเชื่อเรอื่ งโหราศาสตร์ การพยากรณ์ จึงถอื วา่ เปน็ เรอื่ งคู่กนั มายาวนานกับคนไทย เนอื่ งจาก หากคนเรา
ขาดความเชื่อแล้วน้ันจะท�ำให้หมดศรัทธาในทุกส่ิง การดูดวงถือว่าเป็นส่ิงท่ีคนไทยนิยม ดูกันอย่างน้อยปีละหนึ่งคร้ัง
ซึ่งการดูดวงมหี ลากหลายรปู แบบ ไม่วา่ จะเปน็ การดลู ายมือ การดไู พย่ ปิ ซี การดผู ่านต�ำราดวงชะตาวันเกิด หรอื ดผู า่ น
จิตสัมผสั ซ่ึงในบางคนอาจมองว่าเปน็ เร่ืองท่งี มงาย แต่ก็ปฎิเสธไม่ไดว้ ่าในชวี ิตของคนที่เกดิ มานั้นจะต้องผา่ นการดดู วง
มาแล้วท้ังสน้ิ อย่างนอ้ ยท่ีสุดคือหนง่ึ ครั้ง ยงิ่ ในชว่ งสิน้ ปแี ลว้ นนั้ มีนกั โหราศาสตร์และอาจารย์หมอดทู ีท่ ำ� นายดวงชะตา
มากมายเขา้ มาคาดการณด์ วงของประเทศ และดดู วงตามชะตาราศเี กดิ ของคนทวั่ ไป แตห่ ากเปน็ คนยคุ ใหมอ่ าจไมส่ นใจ
เรื่องประเภทนี้ แต่ก็เลือกที่จะดูเพ่ือความสบายใจของตนเองและครอบครัว ซ่ึงคนท่ีชอบดูดวงน้ันมีเหตุผลท่ีแตกต่าง
กันออกไปคือ3

1) ต้องการร้อู นาคต ซง่ึ แนน่ อนวา่ คนท่ีดูดวงน้นั ตอ้ งการทีจ่ ะรอู้ นาคตของตนเองว่าเป็นเชน่ ไร จะเดินทางไป
ในทศิ ทางไหน และจะประสบความส�ำเร็จในส่ิงท่ตี นเองตั้งใจและหวังไว้หรือไม่

2) ต้องการเสริมบารมี ส�ำหรับบางคนนั้นที่เป็นเจ้าใหญ่นายโต จ�ำเป็นที่ต้องอาศัยดวงหรือ โหงวเฮ้งต่าง ๆ
เพ่ือให้หน้าที่การงานประสบความส�ำเร็จไปได้ด้วยดี ซ่ึงในบางครั้งอาจมีดวงของปีชงท�ำให้ต้องมีการแก้ชะตาราศ ี
หรือแก้เคลด็ เกิดขนึ้

3) ตอ้ งการพน้ จากทกุ ขท์ เี่ ปน็ อยู่ สำ� หรบั บางคนนน้ั ตอ้ งการดดู วงเนอ่ื งจากจติ ใจเปน็ ทกุ ขห์ มน่ หมอง จงึ หาวธิ ี
ที่จะท�ำให้ตนเองสบายใจขึ้นและคลายทุกข์โดยการพึ่งพาทางไสยศาสตร์ หรือดูเพ่ือต้องการหาต้นตอและสาเหตุของ
การเกิดปัญหาเหล่าน้ัน

4) ตอ้ งการมที พ่ี ง่ึ ทางใจ เนอื่ งจากคนไทยนน้ั มคี วามเชอื่ เรอื่ งศาสนาคอ่ นขา้ งมากและยามเกดิ ทกุ ขห์ รอื สขุ นนั้
จะนกึ ถงึ สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธเ์ิ ปน็ อนั ดบั แรก ๆ ทำ� ใหก้ ารดดู วงเปน็ ทนี่ ยิ มของคนทตี่ อ้ งการมที พ่ี ง่ึ ทางใจ เพอื่ ใหร้ วู้ า่ ตนเองจะตอ้ ง
ทำ� อะไรและจะต้องด�ำเนินชีวิตไปในทิศทางใด

2 ภญิ โญ พงศเ์ จรญิ . บทบาทของโหรในสงั คมไทย. วทิ ยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ . (พฒั นาสงั คม) สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร,์ 2543.
3 https://www.timeslahore.com/. การดูดวงงมงายหรอื เพือ่ ความสบายใจ ทำ� ไมคนไทยจงึ ชอบ ดดู วง. สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 5 มีนาคม 2564.

3300 วารสารราชทัณฑ์

ปัจจุบันจะเห็นว่า อาชีพ “หมอดู” กลายเป็น
อีกหนึ่งอาชีพที่ได้รับความสนใจจากสังคม เนื่องจาก
สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมีวัฒนธรรมและความเชื่อ

ในเรอื่ งของโหราศาสตร์ โชคชะตาราศี การดดู วง หรอื
การท�ำนายดวงชะตา จึงถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งศาสตร ์
ท่ีได้รับความนิยมจากผู้ท่ีมีความศรัทธามาตั้งแต ่
อดตี จนถึงปจั จุบนั

จากค่านิยมบวกกับความศรัทธา หลายคน
มองว่าการดูดวงเป็นการบ�ำบัดอย่างหน่ึง ตอบโจทย์
พ้ืนฐานของมนุษย์ท่ีมีความอยากรู้อยากเห็นเหตุการณ์
ในอนาคต แม้ว่าเมื่อรแู้ ล้วอาจจะไม่ไดเ้ กดิ ผลใด ๆ ข้ึนเลย
แตก่ ย็ งั อยากทจี่ ะรู้ หลายคนใชค้ ำ� แนะนำ� จากหมอดไู ปปรบั เปลย่ี น
การดำ� เนินชีวติ แก้ไขเรอ่ื งท่ไี มถ่ กู ไม่ควร เสมอื นรปู้ ญั หาแล้วหาทาง
แกไ้ ข ซงึ่ อาชพี หมอดกู เ็ หมอื นเปน็ ทพ่ี งึ่ ทางใจอยา่ งหนงึ่ สำ� หรบั คนทก่ี ำ� ลงั ประสบ
ปญั หาทีห่ าทางออกไมไ่ ด้ อาชีพนจ้ี ะใช้หลกั จติ วิทยาในการพดู คุยและทำ� นายดวงชะตา
โดยเร่ืองที่ผู้คนนิยมดูอันดับต้น ๆ ได้แก่ เรื่องความรัก การงาน การเงิน ครอบครัว นอกจากน้ี ก็จะเป็น
เรื่องทัว่ ไป สขุ ภาพ มิตรสหาย ลาภ เปน็ ตน้ การใชเ้ วลาในการดูดวงแตล่ ะคร้งั ก็ประมาณ 20 - 30 นาที หรอื มากกว่านั้น
กเ็ ปน็ กรณี ๆ ไป ราคาการดูดวงแตล่ ะครั้งก็มตี ้ังแต่ 29 49 59 99 199 299 บาท (เลอื กลงทา้ ยด้วยเลข 9 เพราะถือว่า
เป็นเลขมงคล) ไปจนถงึ หลกั พนั สำ� หรบั หมอดดู งั ๆ ก็หลกั หม่นื หรอื หลกั แสน4
สิ่งส�ำคัญของการยึดอาชีพน้ีเป็นอาชีพหลักก็คือ การสั่งสมช่ือเสียงและความน่าเชื่อถือ ซึ่งต้องอาศัยเวลา
ดงั นน้ั ในชว่ งเรมิ่ ตน้ อาชพี น้ี จงึ ตอ้ งเกบ็ เลก็ ผสมนอ้ ยไปกอ่ น เพมิ่ ชอ่ งทางหารายไดโ้ ดยการดดู วงออนไลน์ ผา่ นโทรศพั ท์
หรอื แอพพลิเคชัน่ ตา่ ง ๆ รวมทั้งโซเชียลมีเดยี ตา่ ง ๆ เพ่อื ใหเ้ ข้าถงึ กลมุ่ ลูกค้ามากขน้ึ
กระทรวงยุติธรรม และกรมราชทัณฑ์ ได้เล็งเห็นถึงผลดีของการฝึกอาชีพโหราศาสาตร์ให้แก่ผู้ต้องขัง
เมื่อวันท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2564 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้มอบนโยบายเรื่อง
การฝึกอาชพี ผ้ตู อ้ งขังด้านหมอดู ไวว้ า่
“ให้กรมราชทณั ฑ์ พยายามสง่ เสริมวิชาชพี หมอดูหรอื โหราศาสตรใ์ ห้แก่ผ้ตู ้องขัง คนในกลมุ่ นี้
จะได้มีโอกาส มีที่ยืนในสังคม เราต้องลดสถิติผู้กระท�ำผิดซ้�ำให้ได้ จากนี้ต้องฝากกรมราชทัณฑ์
เพ่ิมหลักสูตรวิชาหมอดู เพราะมีต้นทุนต่�ำมาก เมื่อก่อนผมคิดว่า ขายหมูปิ้งลงทุนน้อยสุดแล้ว
แต่หมอดมู ีไพ่ แค่ 2 ส�ำรบั ลงทุน 500 บาท กเ็ ปน็ อาชีพได้แลว้ จงึ อยากให้กรมราชทณั ฑ์เพิ่มเตมิ ตรงน้ี
หัดใหผ้ ้ตู อ้ งขงั นัง่ สมาธิ อา่ นหนังสอื โหราศาสตร์เพอื่ นำ� ไปประกอบอาชีพหลังปลอ่ ยตัวต่อไป”
นอกจากน้ี นโยบายการปฏิบัติงาน (Quick Win) ของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ (ดร. อายุตม์ สินธพพันธุ์)
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 4.1 การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย การพัฒนาผู้ต้องขังเพ่ือคืนคนดีสู่สังคม
ได้มอบหมายให้กองพัฒนาพฤตนิสัย น�ำนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมลงสู่การปฏิบัติ ในเร่ือง
การจดั ฝกึ อาชพี ด้านโหราศาสตร์ใหแ้ กผ่ ู้ต้องขงั เพราะเป็นอาชีพทล่ี งทนุ ตำ่�

4 https://www.cheechongruay.smartsme.co.th/content/27130. อยากเปน็ หมอดตู ้องท�ำอย่างไร?. สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 5 มีนาคม 2564.

วารสารราชทัณฑ์ 31

ดังนัน้ กรมราชทณั ฑ์ จึงไดจ้ ัดทำ� “โครงการฝึกอบรมอาชพี วชิ าโหราศาสตร์แกผ่ ้ตู อ้ งขัง ประจำ� ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564” โดยดำ� เนนิ การน�ำรอ่ งในเรือนจ�ำ/ทณั ฑสถาน จำ� นวน 5 แห่ง คือ 1. ทณั ฑสถานหญิงธนบุรี 2. เรอื นจ�ำพเิ ศษ
กรุงเทพมหานคร 3. ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษหญิง 4. ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา และ 5. เรือนจ�ำพิเศษธนบุรี
โดยให้ด�ำเนินการฝึกอบรมเรือนจ�ำละ 1 รุ่น ผู้ต้องขังเป้าหมายรุ่นละ 20 - 25 คน ซ่ึงวิชาโหราศาสตร์ที่สอน คือ
ไพ่ทาโรตแ์ ละวชิ าคมั ภีรม์ หาสัตตเลข (การพยากรณ์ดว้ ยเลข 7 ตวั จากวัน เดือน ปเี กิด) โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์

1) เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในวิชาโหราศาสตร์เบ้ืองต้น (ไพ่ทาโรต์และวิชาคัมภีร์มหาสัตตเลข) ให้แก ่
ผ้ตู ้องขงั

2) เพ่ือส่งเสริมการฝึกอบรมวิชาชีพท่ีเหมาะสมตามความพร้อมและความสนใจของผู้ต้องขัง สามารถน�ำไป
ประกอบอาชีพภายหลงั พ้นโทษได้

3) เพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้ต้องขังเพื่อโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพมีรายได้ สามารถ
เลยี้ งตนเองและครอบครัวได้ภายหลงั พ้นโทษ

4) เพ่อื ส่งเสริมและสนบั สนนุ การประกอบอาชีพอิสระ ทีใ่ ช้เงนิ ในการลงทนุ ไม่มาก
5) เพ่ือให้ผู้ต้องขังได้มีโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาต่อยอดไปเป็นอาชีพ เกิดความช�ำนาญและสามารถ
น�ำไปประยุกต์ใชไ้ ดจ้ รงิ ภายหลังพ้นโทษ
โครงการฝกึ อบรมอาชพี โหราศาสตรด์ งั กลา่ ว กำ� หนดเปา้ หมายใหผ้ ตู้ อ้ งขงั สามารถนำ� ความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปประกอบ
อาชีพหาเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ภายหลังพ้นโทษ สามารถด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีปกติสุข ไม่หวนกลับไป
กระท�ำผิดซ�้ำ อีกท้ังเป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้มีทางเลือกในการประกอบอาชีพอิสระ
ที่หลากหลาย เหมาะกับความสนใจของตนเอง ตลอดจนการฝึกอบรมวิชาชีพโหราศาสตร์แก่ผู้ต้องขังยังเป็น
มาตรการหน่ึงที่สนับสนุนงานด้านทัณฑปฏิบัติ เพ่ือลดความแออัดในเรือนจ�ำ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ต้องขังท่ีได้รับ
การพักการลงโทษ การลดวันต้องโทษ จ�ำเป็นจะต้องผ่านการฝึกทักษะอาชีพตามท่ีเรือนจ�ำก�ำหนด เพ่ือผลลัพธ์สุดท้าย
การไมห่ วนกลับไปกระทำ� ผดิ ซ้�ำภายหลังปลอ่ ยตัว
กรมราชทัณฑ์ จึงได้ขับเคล่ือนโครงการฝึกอบรมอาชีพโหราศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรมเป็นแห่งแรกท่ีเรือนจ�ำ
พเิ ศษธนบุรี เมื่อวนั ท่ี 1 มนี าคม พ.ศ. 2564 ที่ผา่ นมา โดยมีนายสมศกั ด์ิ เทพสทุ นิ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ิธรรม
เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ โครงการฝกึ อบรมอาชพี วชิ าโหราศาสตร์ โดยมวี า่ ที่ ร.ต.ธนกฤต จติ รอารยี ร์ ตั น์ เลขานกุ ารรฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงยุติธรรม ดร. อายุตม์ สนิ ธพพันธุ์ อธบิ ดกี รมราชทัณฑ์ ดร.ภิญโญ พงศเ์ จรญิ นายกสมาคมโหราศาสตร์
นานาชาติ นายศิวนาถ ฤชุพันธุ์ นายกสมาคมโหรแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ อาจารย์เขมชาติ ปริญญานุสรณ์
(ดร. คฑา ชินบัญชร) หมอดชู ื่อดงั และผบู้ ริหารกระทรวงยุตธิ รรมเขา้ รว่ มงาน
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน กล่าวว่า “โครงการอบรมอาชีพวิชาโหราศาสตร์ เป็นอาชีพท่ีลงทุนไม่มากนัก
การจัดโครงการฝึกอบรมอาชีพวิชาโหราศาสตร์น้ี แสดงให้เห็นถึงความพยายามของกรมราชทัณฑ์ ท่ีต้องการเพิ่ม
ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี ทีห่ ลากหลายใหผ้ ูต้ ้องขงั ”
เพ่ือให้ผู้ต้องขังท่ีมีความสนใจในเรื่องโหราศาสตร์ สามารถน�ำไปประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษ การอบรม
วิชาโหราศาสตร์ถือเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีน่าสนใจและมีประโยชน์ต่อผู้ต้องขัง เพราะหมอดูถือได้ว่าเป็นอาชีพท่ีได้รับ
ความสนใจจากสงั คม เน่ืองจากวถิ ีและวัฒนธรรมของสงั คมไทย ท่มี ีพน้ื ฐานความเช่ือในเรื่องโชคชะตาราศี มคี วามเชื่อ
ในการดดู วงหรอื ทำ� นายดวงชะตา อาชพี หมอดอู าจเหมอื นเปน็ ทพ่ี งึ่ ทางจติ ใจอยา่ งหนง่ึ สำ� หรบั คนทกี่ ำ� ลงั ประสบปญั หา
บางประการ แลว้ ไมส่ ามารถหาทางออกได้

3322 วารสารราชทัณฑ์

สงิ่ สำ� คญั นอกเหนอื จากความรใู้ นการเรยี นวชิ าโหราศาสตรท์ ต่ี อ้ ง
เนน้ ยำ้� ใหม้ าก หากผเู้ รยี นตอ้ งการประสบความสำ� เรจ็ คอื ตอ้ งมคี ณุ ธรรม
จรรยาบรรณ อดทนหมั่นส่ังสมประสบการณ์ สร้างความน่าเชื่อถือ
โดยต้องอาศัยระยะเวลาเป็นตัวก�ำหนด และต้องไม่น�ำความรู้ไปใช้
ในทางท่ผี ดิ เช่น การหลอกลวง ฉ้อฉล หรอื ฉอ้ โกงผอู้ ื่น ผมขอขอบคุณ
สมาคมโหรแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ สมาคมโหราศาสตร์
นานาชาติ และอาจารย์ผู้สอนทุกท่าน ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการร่วมกัน
พัฒนาอาชีพให้กับผู้ต้องขัง เพราะล�ำพังแค่กรมราชทัณฑ์หน่วยงานเดียว
คงส�ำเรจ็ ไม่ได้”

หากผู้ต้องขังที่กลับตัวกลับใจมีความสนใจ จะน�ำอาชีพท่ีมั่นคงอย่าง
โหราศาสตร์ไปประกอบอาชีพหลงั พ้นโทษไมห่ วนกลับไปกระทำ� ผดิ ซ�้ำและประสบความส�ำเร็จได้นั้น จำ� เปน็ ตอ้ งมี

1. จรรยาบรรณของอาชีพ ผู้ท่ีประกอบอาชีพหมอดูต้องมีจรรยาบรรณไม่น�ำเร่ืองราวของผู้ท่ีมาดูดวง
ไปเล่าต่อให้คนอื่นฟัง เพราะจะสร้างความเส่ือมเสียและอับอายให้แก่บุคคลน้ันได้ และท่ีส�ำคัญคือ อาจไม่ได้รับ
ความไว้วางใจอีก คงไมม่ ใี ครกลา้ มาดดู วงกับหมอดอู ีกเพราะกลวั เอาเรอ่ื งเขาไปเล่าต่อ

2. ไมแ่ นะนำ� ในทางที่ไมถ่ กู ไมค่ วร เช่น เส้ยี มสอน ยยุ งให้ครอบครวั เกดิ ความแตกแยก
3. ไมเ่ รียกร้องเงินทองจนเกินงาม
4. แบ่งเงนิ ทองทไี่ ด้จากการดูดวงไปทำ� บญุ  สร้างเสรมิ บารมใี หค้ นอ่นื แลว้ ก็อยา่ งลมื สรา้ งเสรมิ บารมใี ห้ตวั เอง
สรา้ งบญุ สรา้ งกสุ ล ทำ� ทานจึงจะได้บุญ
ทา้ ยสุด ผู้เขยี นมคี วามคดิ วา่ อาชีพโหราศาสตร์ ในชว่ งเวลาปจั จุบนั ถือเป็นอาชพี หนงึ่ ที่มาแรงและน่าสนใจ
สวนกระแสกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงไวรสั โคโรนา่ 2019 (โควดิ -19) ทสี่ ง่ ผลทำ� ใหเ้ กดิ วกิ ฤต
เศรษฐกิจทัว่ โลก คนจ�ำนวนมากหางานทำ� ยากข้นึ คนจ�ำนวนมากต้องตกงาน คนส่วนใหญต่ อ้ งหารายไดม้ ากขนึ้ เพอื่ ให้
พอเลี้ยงดูครอบครัว แม้ภาครัฐจะพยายามให้ความช่วยเหลือก็ตาม ดังน้ัน ผู้ต้องขังท่ีผ่าน
การอบรมอาชีพโหราศาสตร์ ถือได้ว่าเป็นผู้ท่ีมีความพร้อมท่ีจะกลับคืน
เป็นคนดีมีคุณค่าของสังคม และถือเป็นผลิตผลคนดีของ
กรมราชทัณฑ์ ที่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
แล้ว อย่างมีคุณค่า และถือได้ว่าเป็นผู้ที่สามารถ
ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ใหม้ คี วามสขุ มคี วามสบายใจได้
แม้ตนเองจะเคยผ่านความยากล�ำบาก
หรือต้องมีช่วงเวลาท่ีทนทุกข์ของ
ชีวิต ในสถานท่ีที่เรียกว่า
“เรอื นจ�ำ” มาก่อนกต็ าม ...

วารสารราชทัณฑ์ 33

แนวทางการนำ� อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สต์ ดิ ตามตัว
(Electronic Monitoring) หรอื EM
มาใช้กบั ผู้ได้รับการพกั การลงโทษ

พรศิริ มูลตชิ ัย
กองทณั ฑปฏบิ ัติ

จากบรบิ ททางสงั คมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปส่งผลกระทบใหส้ ถานการณ์ปญั หาอาชญากรรม เพมิ่ จ�ำนวน
มากขน้ึ ในปัจจุบนั และผลกระทบท่ีตามมาคอื มผี ู้กระท�ำผดิ เขา้ สูเ่ รอื นจ�ำเพิม่ สูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง น�ำมาซง่ึ
สภาพความแออดั ในเรอื นจำ� และเกนิ อัตรามาตรฐานท่เี รือนจำ� จะสามารถรองรับได้ ดังนั้น การแกไ้ ขปญั หา
ความแออัดในเรือนจ�ำท่ีมีประสิทธิภาพจึงมิใช่เพียงการน�ำผู้ต้องขังออกจากเรือนจ�ำเท่านั้น แต่การเพิ่ม
ประสิทธิภาพของมาตรการทางเลือกอ่ืนในการลงโทษจ�ำคุกหรือการคุมขัง รวมถึงการบูรณาการร่วมกัน
ของกลไกหรือหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมน่าจะแก้ไขปัญหาความแออัดในเรือนจ�ำ อย่างเป็นระบบ
ที่ชัดเจนข้ึน การปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชน (Community based of corrections) เป็นมาตรการ
ควบคุมและแก้ไขผู้กระท�ำผิดโดยอาศัยชุมชนเข้ามามีส่วนช่วยแก้ไขผู้กระท�ำผิด ถือเป็นอีกทางเลือกหน่ึง
ในการลดปญั หาผลกระทบตอ่ กรมราชทณั ฑด์ งั กลา่ วขา้ งตน้ และเพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ในการแกไ้ ขฟน้ื ฟู
ผู้กระท�ำผิด ป้องกันการกระท�ำผิดซ้�ำ จึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบและวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับผู้กระท�ำผิด
มาตรการในการใช้อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ตดิ ตามตวั (Electronic Monitoring) หรอื EM จงึ เป็นทางเลอื กหนง่ึ
ที่กรมราชทัณฑน์ ำ� มาใช้ก�ำหนดเป็นเงื่อนไขสำ� หรับผไู้ ด้รบั การปลอ่ ยตัวคมุ ประพฤติ
3344 วารสารราชทัณฑ์

สบื เนอื่ งจาก คณะรฐั มนตรมี มี ตใิ หก้ รมคมุ ประพฤตดิ ำ� เนนิ การ “โครงการนำ� อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ติดตามตัวมาใช้เพื่อเป็นมาตรการทางเลือกแทนการลงโทษจ�ำคุก” ซ่ึงเป็นไปตามนโยบาย การลดปัญหา
ความแออดั ในเรอื นจำ� กรมคมุ ประพฤตดิ ำ� เนนิ การจดั ซอ้ื หาอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั จำ� นวน 30,000 ชดุ
ด้วยวธิ ีการเชา่ เป็นระยะเวลา 30 เดอื น ทงั้ น้ี เรม่ิ ใช้งานอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ตดิ ตามตวั ดังกลา่ ว ตง้ั แต ่
วันท่ี 11 กนั ยายน 2563 เป็นต้นมา โดยกลุ่มเป้าหมายในการติดอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสต์ ิดตามตวั แบง่ เปน็
3 กลุ่ม คือ กลมุ่ ท่ี 1 ผู้ถูกคุมประพฤตติ ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 กล่มุ ที่ 2 ผูไ้ ดร้ บั การพกั การ
ลงโทษ/ ลดวันต้องโทษจ�ำคุก กลุ่มที่ 3 ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ส�ำหรับกลุ่มที่สองถือเป็นกลุ่มเป้าหมายตามนโยบาย การบริหารงานของ
กรมราชทัณฑด์ ้านการแกไ้ ขปญั หาผตู้ อ้ งขังลน้ เรือนจ�ำ ซ่ึงเปน็ นโยบายซงึ่ กำ� ลังขับเคลอ่ื น ในปจั จุบนั น้ี

อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ตดิ ตามตวั (Electronic Monitoring) หรอื EM

“อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว” เป็น
อุปกรณ์รับส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์พร้อมกับชุด
อปุ กรณท์ เี่ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ใชใ้ นการตดิ ตามตวั รวมถงึ
การตรวจสอบความเคลอ่ื นไหว หรอื ตำ� แหนง่ ของ
ผู้ถูกคุมประพฤติให้ปฏิบัติตามเง่ือนไข ท่ีศาล
หรือเจ้าพนักงานผู้มีอ�ำนาจส่ังใช้ก�ำหนด อาทิ
การหา้ มออก หรอื หา้ มเขา้ บรเิ วณทกี่ ำ� หนดโดยอาจ
กำ� หนดชว่ งเวลาดว้ ยกไ็ ด้ ซงึ่ จะดำ� เนนิ การควบคกู่ บั
การคุมความประพฤติและมาตรการแก้ไขฟื้นฟ ู
ผู ้ ก ร ะ ท� ำ ผิ ด ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ ค ว า ม ผิ ด
ปัญหาและความต้องการ

อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีใช้งานร่วมกับ EM

การควบคมุ ตวั ผู้กระท�ำความผดิ โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตดิ ตามตวั (Electronic
Monitoring) หรอื EM ประกอบดว้ ยตวั อปุ กรณส์ ง่ สญั ญาณ (Transmitter Device) ตวั อปุ กรณ์
รับสัญญาณ (Receiver Unit) และศูนย์ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic
Monitoring Control Center - EMCC) ท�ำหน้าท่ีเฝา้ ระวังตดิ ตามสัญญาณ อปุ กรณ์ EM
ผ่านระบบควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว ตรวจสอบข้อมูล
การแจง้ เตือนกรณตี า่ ง ๆ และประสานข้อมูลส่งตอ่ ให้พนกั งานคุมประพฤตเิ จ้าของส�ำนวน
ในพืน้ ทด่ี ำ� เนนิ การ

วารสารราชทัณฑ์ 35

อุปกรณต์ ่าง ๆ ที่ใช้งานร่วมกับ EM

A อุปกรณต์ ดิ ตามตวั (FTAG02)
B แบตเตอร่สี ำ� รอง (Power Bank)
C สายรัดขอ้ เทา้
D สายชารจ์ อุปกรณ์ติดตามตวั และแทน่ ชารจ์
E สายชารจ์ แบตเตอรส่ี �ำรอง
F Adaptor สำ� หรับชาร์จแบตเตอรส่ี ำ� รอง
หรือ ชาร์จอุปกรณต์ ดิ ตาม

ความสามารถในการดำ� เนินการของอปุ กรณ์ EM

 จ�ำกดั บริเวณให้อยู่ภายในพืน้ ทท่ี อ่ี ย่อู าศัย (พรอ้ มก�ำหนดระยะเวลา)
 ก�ำหนดพ้ืนท่ีห้ามเข้า หา้ มออกเป็นการเฉพาะ
 จ�ำกัดความเรว็ ในการขบั ขีย่ านพาหนะ
 จ�ำกดั เสน้ ทางในการเดินทาง

วัตถปุ ระสงค์ในการน�ำ EM มาใช้

 เพื่อลดความแออัดในเรือนจ�ำ
 เพ่ือลดโอกาสในการกระทำ� ผิดซำ้�
 เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยภาครัฐในการจ�ำคุกผ้ตู อ้ งขงั ในเรือนจ�ำ
 เพอื่ เป็นการเสริมสร้างความมัน่ ใจในความปลอดภัยให้กบั ประชาชนและสงั คม

3366 วารสารราชทัณฑ์

แนวทางในการติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สต์ ิดตามตวั (EM)
กบั ผู้ไดร้ ับการพกั การลงโทษ

การพกั การลงโทษ (Parole) : นักโทษเดด็ ขาดทจี่ ะได้รบั พกั การลงโทษ จะต้องมคี ุณสมบัตติ าม
มาตรา 52 (7) แหง่ พระราชบญั ญัตริ าชทณั ฑ์ พ.ศ. 2560 และขอ้ 40, 41 แหง่ กฎกระทรวงกำ� หนดประโยชน์
ของนักโทษเด็ดขาดและเงื่อนไขท่ีนักโทษเด็ดขาดซ่ึงได้รับการลดวันต้องโทษจ�ำคุก หรือการพักการลงโทษ
และไดร้ บั การปลอ่ ยตวั ตอ้ งปฏบิ ตั ิ พ.ศ.  2562 และอยใู่ นหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณา พกั การลงโทษตามประกาศ
กรมราชทณั ฑ์ เรื่องหลักเกณฑ์การพจิ ารณาพกั การลงโทษ พ.ศ. 2562

การพกั การลงโทษ มี 2 กรณี ดังน้ี
1. พักการลงโทษกรณปี กติ การพักการลงโทษจะกระทำ� ไดต้ ่อเม่อื นกั โทษเด็ดขาดได้รับโทษจ�ำคุก
มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 3 ของก�ำหนดโทษตามหมายศาลในขณะนน้ั หรือไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ปี ในกรณีทต่ี อ้ ง
โทษจ�ำคุกตลอดชีวิต ส่วนนักโทษเด็ดขาดคนใดจะได้รับพักการลงโทษมีก�ำหนดเวลาเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับ
ชั้นของนักโทษ กล่าวคือ นักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยม อาจได้รับพักการลงโทษ ไม่เกิน 1 ใน 3 ช้ันดีมาก
ไม่เกิน 1 ใน 4 และชั้นดี ไม่เกิน 1 ใน 5 ของกำ� หนดโทษตามหมายแจง้ โทษฉบับหลังสดุ ทง้ั น้ี ระยะเวลา
คุมประพฤตกิ �ำหนดไวไ้ ม่เกิน 5 ปี
2. พักการลงโทษกรณีมีเหตุพิเศษ เป็นการพักการลงโทษให้แก่นักโทษเด็ดขาด ที่มีคุณสมบัต ิ
ตามกฎหมายซึ่งจะได้รับการพักการลงโทษมากกว่าการพักการลงโทษกรณีปกติ โดยคณะอนุกรรมการ
เพอ่ื พิจารณาวินิจฉยั การพักการลงโทษพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ และได้รบั อนุมัตจิ ากรัฐมนตรอี ีกชั้นหน่งึ

วารสารราชทัณฑ์ 37

คณะอนกุ รรมการเพอ่ื พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั การพกั การลงโทษ มอี ำ� นาจหนา้ ทพี่ จิ ารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบ
พักการลงโทษ และก�ำหนดเง่ือนไขและระยะเวลาในการติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ติดตามตัว (EM)
ใหแ้ ก่นักโทษเดด็ ขาดทไ่ี ด้รับการเห็นชอบพกั การลงโทษกรณปี กติและกรณีมีเหตพุ ิเศษ ทกุ ราย ดงั นี้

1. กรณรี ะยะเวลาคมุ ประพฤตมิ ากกวา่ 30 วนั ข้นึ ไป แต่ไมเ่ กิน 1 ปี ใหต้ ิดอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์
ตดิ ตามตัวจนกว่าจะพ้นโทษ โดยใหน้ บั แตว่ ันทไ่ี ดร้ ับการตดิ อปุ กรณ์ดงั กลา่ ว

2. กรณีระยะเวลาคุมประพฤติเกินกว่า 1 ปี ให้ติดอุปกรณ์ดังกล่าวเป็นระยะเวลาครึ่งหนึ่ง
ของระยะเวลาคุมประพฤติ แต่ต้องติดอุปกรณ์ดังกล่าว ไม่น้อยกว่า 1 ปี โดยให้นับแต่วันที่ได้รับ
การตดิ อุปกรณ์ดังกล่าว

 เชน่ ระยะเวลาคุมประพฤติ 3 ปี ให้ติด EM เปน็ ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน
 เช่น ระยะเวลาคมุ ประพฤติ 1 ปี 6 เดือน (ครง่ึ หนง่ึ ของระยะเวลาคุมประพฤติ คอื 9 เดอื น)
เน่อื งจากมีระยะเวลาคมุ ประพฤติเพยี ง 9 เดือน จงึ ให้ตดิ EM เป็นระยะเวลา 1 ปี

การติดอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ตดิ ตามตวั (EM)

กับนักโทษเด็ดขาดกล่มุ ไหน ??????

 นกั โทษเด็ดขาดเนอ่ื งจากเจบ็ ปว่ ยร้ายแรงหรือพิการ หรือมอี ายุตั้งแต่ 70 ปีขนึ้ ไป (ซ่ึงเปน็ กลุ่ม
ท่ชี ่วยเหลือตัวเองไม่ไดห้ รือช่วยเหลอื ตัวเองได้น้อย)

 ผู้ที่มีระยะเวลาคุมประพฤติน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 วัน ไม่ต้องติดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส ์
ติดตามตวั

 ทีอ่ ยูอ่ าศยั ของนกั โทษเดด็ ขาดไม่มคี วามพร้อม เช่น ไม่มกี ระแสไฟฟา้ ไม่มสี ญั ญาณดาวเทยี ม
(GPS)

บทสรุป : ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีผู้ได้รับ

การพักการลงโทษ และตดิ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั (EM) จำ� นวน 11,738 ราย ทง้ั น ้ี
เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อม ให้ผู้ต้องขังสามารถปรับตัวมีความพร้อมกลับออกไป
ด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข การควบคุมผู้ได้รับการพักการลงโทษด้วยอุปกรณ์
อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั (EM) เปน็ มติ ใิ หมใ่ นการนำ� เทคโนโลยเี ขา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการควบคมุ
ผู้กระท�ำผิดให้อยู่ในบริเวณจ�ำกัด หรือไม่เข้าไปในบริเวณใดภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด
ควบคกู่ บั เงอ่ื นไขการคมุ ประพฤติ ซงึ่ จะชว่ ยสรา้ งความมน่ั ใจและความปลอดภยั ใหก้ บั สมาชกิ
ในชุมชน อีกทั้ง เป็นการเปิดโอกาสให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขฟื้นฟู
ผ้กู ระทำ� ผดิ และปอ้ งกันการกระทำ� ผิดซ้�ำตอ่ ไป

3388 วารสารราชทัณฑ์

การเล่อื นชน้ั นกั โทษเด็ดขาด

กรณมี เี หตุพิเศษ เลือ่ นชั้นก่อนเวลา

กลุ่มงานเลื่อนชนั้ ผตู้ ้องขงั
กองทัณฑปฏบิ ตั ิ

กฎกระทรวงก�ำหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด และเง่ือนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษ
จ�ำคุกหรือการพักการลงโทษและได้รับการปล่อยตัวต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับ วันที่ 14 มกราคม 2563
ท่ีผา่ นมา ไดแ้ บง่ การเล่อื นชั้นนักโทษเดด็ ขาด ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้

1. การเลื่อนชัน้ นกั โทษเด็ดขาดกรณีปกติ
2. การเลอื่ นชน้ั นักโทษเดด็ ขาดกรณมี ีเหตุพิเศษ

การเลอื่ นชัน้ นกั โทษเด็ดขาดกรณีมเี หตุพเิ ศษ

การเล่ือนช้ันนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ ตามกฎกระทรวงก�ำหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด
และเง่ือนไขที่นักโทษเด็ดขาดซ่ึงได้รับการลดวันต้องโทษจ�ำคุกหรือการพักการลงโทษและได้รับการปล่อยตัว
ต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2562 ข้อ 18 ได้ก�ำหนดว่า การเล่ือนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ อาจเลื่อนช้ันก่อนเวลา
หรือเลือ่ นขา้ มชน้ั ก็ได้

การเล่อื นช้ันนกั โทษเดด็ ขาดกรณมี ีเหตุพิเศษ เลือ่ นช้ันกอ่ นเวลา

ในปีงบประมาณ 2564 กรมราชทัณฑ์ ได้มีการเลื่อนช้ันนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุเล่ือนช้ันก่อนเวลา
มีรายละเอียดเกี่ยวกับความเป็นมาหรือเหตุผล แนวทางการด�ำเนินการ การรายงาน ขออนุมัติ ผลของการอนุมัติ
ไวด้ งั น้ี

วารสารราชทัณฑ์ 39

1. ความเป็นมา

เน่อื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสสายพนั ธ์โุ คโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบ
ตอ่ การควบคุมผู้ตอ้ งขังในเรอื นจำ� กรมราชทณั ฑ์ไดอ้ อกมาตรการให้เรือนจ�ำกกั ตวั ผู้ตอ้ งขงั เข้าใหม่ หรอื กลับจากศาล
โรงพยาบาล ให้เป็นสัดส่วนต่างหากเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 14 วัน ก่อนเคลื่อนย้ายเข้าสู่แดนปกติ ท�ำให้เรือนจ�ำ
หลายแหง่ ประสบปญั หาผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ� และมหี อ้ งควบคมุ ไมเ่ พยี งพอ และใหเ้ รอื นจำ� พจิ ารณาหาสถานทอ่ี น่ื ภายใน
เรือนจ�ำนอกเหนือจากเรือนนอน ได้แก่ โรงงานฝึกวิชาชพี หอ้ งเรียน ห้องสมุด หรอื สถานทอ่ี นื่ ใด มาใชเ้ ป็นหอ้ งควบคมุ
และอาจใช้ห้องดังกล่าวเป็นห้องกักกันตัว เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์โคโรนา 2019
(COVID-19) หรอื เปน็ หอ้ งขงั ทวั่ ไป รวมทง้ั การเพมิ่ พน้ื ทเี่ รอื นนอน โดยการจดั ทำ� เตยี ง 2 ชนั้ เพอ่ื เปน็ การลดความแออดั
นอกจากน้ียังส่งผลกระทบต่อการเย่ียมญาติของผู้ต้องขัง โดยงดการเยี่ยมญาติใกล้ชิดหรือแบบถึงตัว การย้ายระบาย
ความแออัด การย้ายกลับภูมิล�ำเนาเดิม การส่งผู้ต้องขังออกท�ำงานสาธารณะหรือการฝึกวิชาชีพนอกเรือนจ�ำ และ
การฝึกวิชาชีพ จากวิทยากรด้านอื่น โดยอาจส่งผลกระทบต่อผู้ต้องขังท�ำให้เกิดความเครียด อาจก่อเหตุร้าย ท�ำร้าย
กันเอง ทำ� รา้ ยเจ้าหนา้ ทห่ี รอื ก่อการจลาจลแหกหักหลบหนีจากเรือนจ�ำ อันส่งผลกระทบตอ่ ความมนั่ คงในการควบคุม
ผตู้ ้องขัง และความมนั่ คงของรัฐโดยรวม

กระทรวงยุตธิ รรม จงึ เห็นชอบให้กรมราชทณั ฑ์ดำ� เนินการเลอ่ื นชนั้ นักโทษเดด็ ขาด กรณีมีเหตพุ ิเศษ เลื่อนชัน้
กอ่ นเวลา ซง่ึ มวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื เพอื่ เปน็ การปอ้ งกนั และลดการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั สายพนั ธโ์ุ คโรนา 2019
(COVID-19) และเป็นการลดความเครียด ป้องกันการก่อเหตุร้าย ท�ำร้ายกันเอง ท�ำร้ายเจ้าหน้าท่ีหรือก่อการจลาจล
แหกหักหลบหนีจากเรือนจ�ำ อันส่งผลกระทบต่อความม่ันคงในการควบคุมผู้ต้องขังและความมั่นคงของรัฐโดยรวม
โดยพิจารณาเล่ือนชั้นนักโทษเด็ดขาด ซ่ึงมีความเสียสละ อุทิศตนช่วยเหลือทางราชการ มีความประพฤติดี ตั้งตน
อยู่ในระเบียบวินัยของเรือนจ�ำ ไม่มีพฤติการณ์ ก่อการจลาจลหรือก่อเหตุร้ายข้ึนภายในเรือนจ�ำ (การวางสายข่าว)
สร้างความม่ันคงปลอดภัย ในการคุมขังนักโทษเด็ดขาดตามค�ำพิพากษาของศาล เป็นการสร้างขวัญ และก�ำลังใจ
ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั อนื่ ใหไ้ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเลอ่ื นชน้ั กรณมี เี หตพุ เิ ศษ เลอื่ นชนั้ กอ่ นเวลา

4400 วารสารราชทัณฑ์

2. แนวทางการเล่อื นช้นั นักโทษเด็ดขาดกรณมี ีเหตพุ เิ ศษ เลอ่ื นช้ันกอ่ นเวลา

กรมราชทัณฑ์ ก�ำหนดแนวทางการเล่ือนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ เลื่อนช้ันก่อนเวลา โดยแบ่ง
การเลอ่ื นช้ันนักโทษเดด็ ขาด ออกเป็น 2 กลมุ่ ไว้ดังน้ี

1. นกั โทษเดด็ ขาดซงึ่ มกี ำ� หนดโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ สามปแี ละตอ้ งโทษจำ� คกุ เพยี งคดเี ดยี ว จากเดมิ (ตามกฎกระทรวง
ข้อ 7(1)) ให้เลื่อนชั้นได้ปีละสามคร้ัง คือ ในวันส้ินเดือนเมษายนครั้งหนึ่ง ในวันส้ินเดือนสิงหาคมครั้งหนึ่ง และ
ในวันสิ้นเดือนธันวาคมอีกครั้งหนึ่ง โดยให้เลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ เล่ือนช้ันก่อนเวลา อีกปีละ
สามครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนกุมภาพันธ์คร้ังหน่ึง ในวันสิ้นเดือนมิถุนายนครั้งหน่ึง และในวันส้ินเดือนตุลาคมคร้ังหนึ่ง
รายละเอยี ดปรากฏตามตาราง ดงั นี้

การเล่ือนช้ันนกั โทษเด็ดขาดกรณีปกติ การเลื่อนชนั้ นกั โทษเด็ดขาดกรณมี ีเหตุพเิ ศษ เลื่อนช้นั ก่อนเวลา
ในวันส้ินเดอื นเมษายนครั้งหน่งึ ในวันส้นิ เดือนกุมภาพันธค์ ร้ังหนึ่ง
ในวันสิ้นเดือนสงิ หาคมคร้งั หนึ่ง
ในวนั สิ้นเดือนธันวาคมคร้ังหนึ่ง ในวนั สิ้นเดือนมถิ ุนายนคร้ังหน่งึ

ในวันส้ินเดือนตลุ าคมครัง้ หนึ่ง

2. นกั โทษเดด็ ขาดซงึ่ มกี ำ� หนดโทษจ�ำคกุ เกินกว่าสามปหี รือต้องโทษจ�ำคกุ หลายคดี จากเดมิ (ตามกฎกระทรวง
ข้อ 7(2)) ให้เลื่อนช้ันได้ปีละสองครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนมิถุนายนคร้ังหนึ่ง และในวันส้ินเดือนธันวาคมอีกครั้งหน่ึง
โดยใหเ้ ล่อื นชัน้ นักโทษเด็ดขาดกรณมี เี หตพุ ิเศษ เลื่อนช้ันกอ่ นเวลา อีกปลี ะสองครงั้ คอื ในวนั ส้ินเดอื นมีนาคมคร้ังหนึ่ง
และในวนั สน้ิ เดอื นกันยายนครั้งหนึ่ง รายละเอียดปรากฏตามตาราง ดังน้ี

การเล่อื นชนั้ นกั โทษเดด็ ขาดกรณีปกติ การเลือ่ นชัน้ นักโทษเดด็ ขาดกรณีมีเหตพุ เิ ศษ เล่ือนช้นั กอ่ นเวลา
ในวันส้นิ เดือนมิถุนายนครั้งหน่ึง ในวันส้นิ เดือนมีนาคมครง้ั หนึ่ง
ในวนั สิ้นเดือนธันวาคมคร้ังหนง่ึ
ในวันส้ินเดอื นกนั ยายนครัง้ หนึง่

3. การรายงานขออนุมตั กิ ารเลอ่ื นชนั้ นกั โทษเดด็ ขาดกรณีมเี หตพุ ิเศษ เลือ่ นชั้นกอ่ นเวลา

การเลอื่ นชัน้ นกั โทษเดด็ ขาดกรณมี ีเหตพุ ิเศษ เลือ่ นช้นั กอ่ นเวลา ได้กำ� หนดให้ ผู้บญั ชาการเรอื นจำ� เสนอบัญชี
การเลอื่ นช้ันนกั โทษเด็ดขาด พรอ้ มทัง้ เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวขอ้ ง และรายงานขออนมุ ตั ิ การเลือ่ นช้นั นกั โทษเดด็ ขาด
กรณีมีเหตุพิเศษ เลื่อนชั้นก่อนเวลาต่ออธิบดี เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอต่อปลัดกระทรวงยุติธรรม
เพอื่ พิจารณาอนุมัติตามกำ� หนดเวลาดังนี้

 การเลอื่ นช้นั ในวนั สิ้นเดอื นกุมภาพันธ์ ใหร้ ายงานขออนมุ ตั ภิ ายในเดือนมีนาคม
 การเลอ่ื นช้นั ในวันส้นิ เดือนมีนาคม ให้รายงานขออนมุ ตั ภิ ายในเดอื นเมษายน
 การเลือ่ นชัน้ ในวันส้นิ เดอื นมถิ นุ ายน ใหร้ ายงานขออนมุ ตั ิภายในเดือนกรกฎาคม

วารสารราชทัณฑ์ 41

 การเล่ือนชัน้ ในวนั สนิ้ เดอื นกันยายน ใหร้ ายงานขออนมุ ัตภิ ายในเดือนตุลาคม
 การเล่อื นชั้นในวนั สิ้นเดอื นตลุ าคม ให้รายงานขออนมุ ัตภิ ายในเดือนพฤศจกิ ายน

4. ผลของการอนมุ ตั ิใหเ้ ลอ่ื นชน้ั นกั โทษเดด็ ขาดกรณมี เี หตพุ เิ ศษ เลอ่ื นชนั้ กอ่ นเวลา

ผลของการอนุมัติให้เล่ือนช้ันนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ เล่ือนช้ันก่อนเวลา ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาด
ไดร้ บั การอนมุ ัติใหเ้ ล่ือนชั้น ดังต่อไปน้ี

 ตง้ั แต่วนั ที่ 1 มนี าคม ส�ำหรบั การเล่ือนชน้ั ในวันสิน้ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์
 ต้งั แต่วนั ท่ี 1 เมษายน สำ� หรบั การเลื่อนช้นั ในวันสนิ้ เดือนมีนาคม
 ตั้งแต่วนั ท่ี 1 กรกฎาคม สำ� หรบั การเลอื่ นช้นั ในวันสนิ้ เดอื นมถิ นุ ายน
 ตง้ั แต่วนั ที่ 1 ตลุ าคม สำ� หรับการเล่ือนชัน้ ในวนั สนิ้ เดอื นกันยายน
 ตง้ั แต่วนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน สำ� หรับการเลื่อนชัน้ ในวนั ส้นิ เดอื นตุลาคม
ในการด�ำเนินการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ เล่ือนชั้นก่อนเวลา ได้ก�ำหนดให้นักโทษเด็ดขาด
ซ่ึงมีก�ำหนดโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี และต้องโทษจ�ำคุกเพียงคดีเดียว โดยให้เริ่มด�ำเนินการต้ังแต่รอบการเล่ือนช้ัน
ในวันส้ินเดือนตุลาคม 2563 เป็นต้นไป ส่วนนักโทษเด็ดขาดซึ่งมีก�ำหนดโทษจ�ำคุกเกินกว่าสามปีหรือต้องโทษ
จ�ำคกุ หลายคดี ให้เร่มิ ด�ำเนนิ การต้ังแตร่ อบการเล่อื นชั้นในวันสน้ิ เดอื นกันยายน 2563 เปน็ ต้นไป
ทั้งน้ี การเล่ือนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ เลื่อนชั้นก่อนเวลา เป็นการด�ำเนินการ ที่สอดคล้องกับ
นโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำ ซ่ึงเรือนจ�ำและทัณฑสถานทั่วประเทศ จึงต้องมีการปฏิบัติตามนโยบาย
ดงั กลา่ ว จนกวา่ จะมีการแจง้ แนวทางการปฏิบตั งิ านดา้ นการเลือ่ นชั้น นักโทษเด็ดขาดฉบับใหม่
จากภารกิจของงานเลื่อนช้ันนักโทษเด็ดขาดดังกล่าวข้างต้น กองทัณฑปฏิบัติ ได้มีการจัดอบรม เจ้าหน้าท ่ี
เรอื นจำ� /ทัณฑสถาน เขต 10 เป็นเรือนจ�ำนำ� ร่อง โดยเปน็ การถ่ายทอดความร้ขู องรปู แบบ การตรวจสอบการเลื่อนช้นั
นักโทษเด็ดขาด ด้วยการใช้โปรแกรม Microsoft Excel ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมทั้ง มีการแลกเปลี่ยน
องคค์ วามรู้ ประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน เพือ่ ทจ่ี ะท�ำให้การปฏิบัตงิ านมีประสิทธภิ าพและรวดเรว็ ย่งิ ข้นึ

4422 วารสารราชทัณฑ์

นิคมอุตสาหกรรม
ฝึกอาชีพผู้ต้องโทษ

โอกาสและความหวงั ของผ้พู ลั้งพลาด

ดร. ชาญ วชริ เดช
ผู้บญั ชาการเรือนจ�ำกลางชลบุรี

การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมฝึกอาชีพผู้พลั้งพลาด เป็นแนวคิดริเริ่มของ ดร. อายุตม์ สินธพพันธุ์ อธิบดี
กรมราชทณั ฑ์ ตอนทา่ นเป็นรองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ และเมอ่ื ผมได้เข้ามาปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ผบู้ ัญชาการเรอื นจำ� กลางชลบรุ ี
วันที่ 1 ตุลาคม 2562 จึงขับเคล่ือนแนวคิดของท่านสร้างความเปลี่ยนแปลงในการฝึกวิชาชีพให้สอดคล้องกับสภาพ
ความเปลยี่ นแปลงของสงั คมในยคุ ปจั จบุ นั โดยเลง็ เหน็ วา่ ผตู้ อ้ งขงั ทก่ี ระทำ� ผดิ กฎหมายถอื วา่ เปน็ ผพู้ ลง้ั พลาดทส่ี ามารถ
แก้ไขและปรับเปล่ียนทัศนคติและพฤติกรรมได้ หากได้รับโอกาสและการฝึกฝนทักษะทางอาชีพอย่างเหมาะสม และ
มีช่องทางที่จะเริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วยการสร้างงาน สร้างอาชีพ เพื่อสร้างรายได้รองรับ โดยการสร้างกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงเหล่าน้ีท้ังในระยะการต้องโทษ ด้วยการปลูกฝังค่านิยมการประพฤติตน รักษาระเบียบวินัยเพื่อได้รับ
ประโยชน์ตามกฎหมายราชทัณฑ์ ซ่ึงจะได้รับการปล่อยตัวก่อนระยะเวลาท่ีก�ำหนดหากได้รับการพักการลงโทษทั้งใน
กรณปี กตแิ ละกรณพี ิเศษ และการลดวันตอ้ งโทษจำ� คกุ และระยะที่สองคอื ระยะที่ใกล้จะพน้ โทษ หรือการเตรยี มการ
ก่อนปล่อย จะต้องส่งเสริมให้เกิดความพร้อมทางร่างกายให้มีความแข็งแรง และเสริมสร้างสภาพจิตใจให้เกิด
ความเข้มแข็ง มีขวัญก�ำลังใจที่ดี และความพร้อมท่ีมีความส�ำคัญท่ีสุดคือ การสร้างโอกาสเพ่ือท่ีผู้พล้ังพลาดจะเข้าถึง
การประกอบอาชีพ การจ้างงานของสถานประกอบการท่ีมีความตอ้ งการของแรงงาน และตรงตามพื้นฐานความถนัด
ซึ่งจะท�ำให้ผู้พลั้งพลาด มีหนทางเริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วยการประกอบอาชีพที่สุจริตและพึ่งพาตนเองได้ เป็นการลด
โอกาส หรือสาเหตุปจั จัยในการกลบั ไปกระท�ำผิดอกี

วารสารราชทัณฑ์ 43

จงั หวดั ชลบรุ ี เป็นจงั หวดั ทมี่ ศี กั ยภาพสงู ในการจ้างงานในภาคธรุ กจิ ต่าง ๆ ทงั้ ภาคอตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ ว
การประมงรวมไปถึงภาคการเกษตร ซ่ึงเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปว่าเป็นศูนย์กลางเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
(Eastern Economic Corridor : EEC) โดยในกลุ่มธุรกิจภาคอุตสาหกรรม มีโรงงานหรือสถานประกอบการต้ังอยู่
เป็นจ�ำนวนมากทั้งท่ีอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม และนอกเขตนิคมอุตสาหกรรม ดังน้ัน เรือนจ�ำกลางชลบุรีต้องใช้
ศกั ยภาพความเปน็ ทต่ี งั้ ของเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ภารกจิ ของเรอื นจำ� โดยพงุ่ เปา้ หมายไปทกี่ ารแสวงหา
ความร่วมมือกับผู้ประกอบการภาคเอกชนในจังหวัดเพ่ือพัฒนาให้เกิดความร่วมมือในการฝึกอาชีพผู้พลั้งพลาด
ซงึ่ ผพู้ ลงั้ พลาดสว่ นหนง่ึ กเ็ ปน็ ลกู หลาน หรอื คนในจงั หวดั ทอ่ี ยา่ งไรกจ็ ะตอ้ งกลบั เขา้ มาอยรู่ ว่ มในสงั คมของจงั หวดั ชลบรุ ี
ไม่วันใดก็วันหนึ่ง จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเผยแพร่แนวความคิดการสร้างความร่วมมือเพื่อให้โอกาสผู้พล้ังพลาด
ภายใต้พนั ธกิจทวี่ ่า : “คนชลรกั คนชล คนชลไมท่ อดทง้ิ คนชล คนชลให้โอกาสคนชล”

เพอ่ื ผลกั ดนั แนวความคดิ ดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ ไปทรี่ บั รอู้ ยา่ งกวา้ งขวาง ดร. ชาญ วชริ เดช ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� กลางชลบรุ ี
จึงเดนิ หนา้ สานฝนั ดว้ ยการเข้าไปน�ำเสนอแนวคดิ ในทปี่ ระชมุ สภาอุตสาหกรรมจงั หวดั ชลบรุ ี ถึง 2 คร้งั คือ การประชมุ
สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2562 และวันที่ 14 มกราคม 2563 และผลจากการน�ำเสนอ
แนวคิดและการการใช้เวทีดังกล่าวแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกันของผู้บัญชาการเรือนจ�ำกลางชลบุรี
กับผู้ประกอบการภาคธุรกิจที่เป็นสมาชิกสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี (สอท.ชลบุรี) จึงทราบว่า ผู้ประกอบการ
ภาคเอกชนในจงั หวดั ชลบรุ ี หลายรายประสบปญั หา ขาดแคลนแรงงานจำ� นวนมาก จนตอ้ งหนั ไปพงึ่ พาการจา้ งแรงงาน
ชาวต่างชาติ โดยที่ไม่ทราบมาก่อนว่ายังมีแรงงานคนไทยประเภทหน่ึงที่ถูกละเลยและมองข้าม คือ ผู้พลั้งพลาด
ในเรือนจ�ำ และจากความต้องการท่ีตรงกันของท้ังสองฝ่าย จึงเป็นจุดก�ำเนิดของการพัฒนาความร่วมมือของ
เรือนจ�ำกลางชลบุรี และสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี (สอท.ชลบุรี) ท่ีจะให้โอกาสผู้พลั้งพลาดได้รับการจ้างงาน
ท้ังในระหว่างการต้องโทษ และภายหลงั การพน้ โทษ ภายใต้ความต้องการเดียวกนั คอื “ภาคอุตสาหกรรมขาดแคลน
แรงงาน ผู้พลัง้ พลาดในเรอื นจำ� มีความพรอ้ มทดแทนแรงงานทีข่ าดแคลนได”้

ซึ่งรปู แบบของความร่วมมอื ที่กำ� หนดไว้ในระยะแรกคือ

การใช้พื้นท่ีภายนอกเรือนจ�ำกลางชลบุรี หรือเรือนจ�ำชั่วคราวบ้านบึง ในการจัดตั้งเป็นนิคม
อุตสาหกรรมฝึกอาชีพผู้พล้ังพลาด ในลักษณะคล้ายกันกับนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดที่มีการจ้างแรงงาน
ในภาคอุตสาหกรรมท่ีเป็นกลุ่มก้อน มีทักษะความช�ำนาญเทียบเท่าการท�ำงานในสถานประกอบการเดียวกัน
โดยคัดเลือกและน�ำผู้พลั้งพลาดท่ีเข้าหลักเกณฑ์ตามระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการจ่ายนักโทษเด็ดขาด
ออกทำ� งานทเี่ รอื นจำ� ชวั่ คราว ออกมาทำ� งานทนี่ คิ มอตุ สาหกรรมทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ จำ� ลองวถิ ชี วี ติ ใหค้ ลา้ ยคลงึ กบั สงั คม
ภายนอก มีการฝึกทักษะทางอาชีพในสาขาต่าง ๆ ที่ได้ตามมาตรฐานแรงงานอย่างจริงจัง การฝึกฝนท�ำงาน
ร่วมกันกับผู้อ่ืน การเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับกฎระเบียบของการท�ำงานในสถานประกอบการท้ังในแง่ของ
ผลผลติ ปริมาณของงาน กฎความปลอดภยั ในการทำ� งาน โดยมีเปา้ หมายส�ำคัญท่ตี ้งั ไว้ 3 ประการคอื

1. ผู้พล้ังพลาดจะได้รับการฝึกฝนทักษะและความช�ำนาญในวิชาชีพสาขานั้น ๆ เมื่อได้รับการปล่อยตัว
สามารถน�ำประสบการณ์ดังกล่าวไปสมัครเข้าท�ำงานในสถานประกอบการในเขตท่ีตั้งของ อีอีซี.
ขณะเดียวกันหากมีความมุ่งมั่นต้ังใจจะท�ำงานกับสถานประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการกับเรือนจ�ำฯ อยู่แล้ว
ก็สามารถไปสมัครเข้าท�ำงานท่ีโรงงานของผู้ประกอบการนั้น ๆ ซึ่งพร้อมจะอ้าแขนรับและเปิดโอกาสให ้
ผู้พล้งั พลาดไดเ้ ริม่ ต้นชีวติ ใหม่

4444 วารสารราชทัณฑ์

2. เ ม่ื อ มี ก า ร ท� ำ ง า น ฝ ึ ก วิ ช า ชี พ เ กิ ด ขึ้ น ผู ้ พ ลั้ ง พ ล า ด ก็ จ ะ ไ ด ้ ค ่ า ต อ บ แ ท น ใ น รู ป ข อ ง เ งิ น ร า ง วั ล
จากการท�ำงานฝึกวิชาชีพตามที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ เป็นการสร้างรายได้ในระหว่าง
การตอ้ งโทษเพอ่ื ให้ผพู้ ลัง้ พลาดมเี งนิ ทนุ เก็บออมไวใ้ นการเรมิ่ ตน้ ชีวิตใหม่เมอ่ื ปล่อยตวั

ประการท่ีสามเป็นเป้าหมายสูงสุดคือ การท�ำให้ผู้พลั้งพลาดได้เห็นถึงคุณค่าของการเป็นสมาชิกท่ีดี
ของสังคม การรักอิสรภาพ การท�ำหน้าที่พลเมืองดีด้วยการประกอบอาชีพที่สุจริต เป็นผู้ท่ีอดทนอดกล้ัน
ความเพยี รพยายาม รจู้ กั เรยี นรขู้ อ้ ผดิ พลาด การปรบั ตวั เขา้ กบั ผอู้ นื่ การมคี วามรบั ผดิ ชอบและซอื่ ตรงตอ่ หนา้ ท่ี
เคารพกฎระเบยี บ และเคารพกฎหมายบ้านเมอื ง อยูร่ ่วมกบั ครอบครัวและชุมชนได้อยา่ งม่ันคงผาสกุ

โดยในระยะแรกมีสถานประกอบการภาคเอกชนในจังหวัด 3 แห่ง แสดงเจตจ�ำนงเข้ามาสนับสนุนภารกิจ
ในด้านการฝึกวิชาชีพผู้พล้ังพลาด เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งงานที่อยู่ในความต้องการของภาคธุรกิจ
อุตสาหกรรม ได้แก่ การประกอบรถจักรยานทั้งรถจักรยานท่ัวไปและรถจักรยานไฟฟ้าในอนาคต การฝึกวิชาชีพ
ประกอบชั้นไม้วางสินค้า โดยที่ภาคเอกชนจะก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ขนาดใหญ่เพื่อเป็นสถานท่ีฝึกวิชาชีพ
ผู้พลั้งพลาดท่ีใกล้จะได้รับการปล่อยตัว และบริจาคอาคารส่ิงปลูกสร้างให้กรมราชทัณฑ์ตามระเบียบทางราชการ
เพ่ือใช้ประโยชน์ในภารกิจต่อไป ซึ่งในกระบวนการข้ันตอนดังกล่าว เรือนจ�ำกลางชลบุรี ได้ด�ำเนินการขออนุญาต
กรมราชทัณฑ์ ในการจัดตั้งเป็นศูนย์เตรียมการก่อนปล่อยเพ่ือฝึกวิชาชีพอุตสาหกรรม หรือนิคมอุตสาหกรรม
ฝึกอาชีพผู้พล้ังพลาดในพ้ืนที่เรือนจ�ำช่ัวคราวบ้านบึง และได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการจัดต้ังศูนย์เตรียมการก่อนปล่อย
พร้อมกับได้รับอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารโดยได้รับ
ความเห็นชอบจากกองออกแบบและก่อสร้าง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมเรียบร้อยแล้ว และนอกจากน้ีเพ่ือให้
การดำ� เนนิ โครงการชอบดว้ ยระเบยี บแบบแผนทเี่ กย่ี วขอ้ งทงั้ ในสว่ นของการใชท้ รี่ าชพสั ดเุ พอื่ ประโยชนข์ องทางราชการ
ดว้ ยการปฎบิ ตั ติ ามขอ้ แนะนำ� และแนวทางของสำ� นกั งานธนารกั ษพ์ น้ื ทช่ี ลบรุ ี รวมไปถงึ มกี ารขอแกไ้ ขกรอบวตั ถปุ ระสงค์
ของเรือนจ�ำช่ัวคราวบ้านบึงไปยังกระทรวงยุติธรรม เพ่ือขยายกรอบภารกิจการฝึกอาชีพให้ครอบคลุมในสาขาอื่น
นอกจากการฝกึ วชิ าชพี เกษตรกรรม และบดั นก้ี ระทรวงยตุ ธิ รรม ไดอ้ อกประกาศกระทรวงยตุ ธิ รรมกำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์
ของเรอื นจำ� ชั่วคราวบ้านบงึ เป็นท่ีเรียบรอ้ ยแลว้ เมอ่ื วันท่ี 30 กรกฎาคม 2563 นอกจากนีแ้ ล้วยังไดร้ ับการสนบั สนุน
ท่ีเข้มแข็งจากจังหวัดชลบุรี ในการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังเรือนจ�ำกลางชลบุร ี
ซึ่งคณะกรรมการท่แี ตง่ ตั้งนี้มีผู้วา่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี เป็นประธานคณะกรรมการ และมีหัวหนา้ ส่วนราชการประจำ�

วารสารราชทัณฑ์ 45

จงั หวดั หลายหนว่ ยงานองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และองคก์ รภาคเอกชนเขา้ รว่ มเปน็ คณะกรรมการ ซง่ึ คณะกรรมการ
ดังกล่าวจะท�ำหน้าท่ีให้ค�ำแนะน�ำในการส่งเสริมการฝึกวิชาชีพผู้พลั้งพลาดและการเตรียมการในระดับจังหวัดท่ีจะ
เข้ามาช่วยเหลือและให้ค�ำแนะน�ำก่อนผู้พล้ังพลาดจะได้รับการปล่อยตัวและเชื่อมโยงไปถึงการติดตามและให้
ความช่วยเหลอื ในระยะแรกหลงั ปล่อยตวั เปน็ ตน้

ส�ำหรับการด�ำเนินงานในระยะแรกนี้ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์เพ่ือฝึกวิชาชีพ
จำ� นวน 4 หลงั เม่ือวนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2563 โดยได้รบั เกียรติจาก นายสมศกั ดิ์ เทพสทุ ิน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
ยุติธรรม เป็นประธานในพิธี พร้อมผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม ผู้บริหารกรมราชทัณฑ์ และผู้ว่าราชการ
จังหวัดชลบุรี และองค์กรภาคเอกชนในจังหวัดเข้าร่วมเป็นเกียรติในพิธีเป็นจ�ำนวนมาก ท้ังนี้ การก่อสร้างอาคาร
ทง้ั 4 หลงั คาดวา่ จะเสร็จเรียบรอ้ ยภายในเดอื นพฤษภาคม 2564

แผนการด�ำเนนิ งานเพอื่ ส่งผพู้ ลัง้ พลาดเขา้ รบั การฝกึ วิชาชพี
นิคมอตุ สาหกรรมฝกึ อาชีพ ผ้ตู ้องโทษ ศูนยเ์ ตรียมการก่อนปลอ่ ย

เรอื นจ�ำชั่วคราวบา้ นบงึ

1. สำ� รวจและคดั เลอื กนกั โทษเดด็ ขาดทมี่ คี ณุ สมบตั ติ ามหลกั เกณฑก์ ารจา่ ยนกั โทษเดด็ ขาดออกทำ� งาน
ทีเ่ รอื นจ�ำชว่ั คราว

2. ประสานกบั สถานประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ เพอ่ื ทำ� การฝกึ อบรมทกั ษะการทำ� งานฝกึ วชิ าชพี
พน้ื ฐาน ก่อนเขา้ รบั การฝกึ วชิ าชีพ

3. ก�ำหนดจ�ำนวนผู้พลัง้ พลาดท่ีได้รบั การคดั เลอื กเข้ารบั การฝึกวิชาชพี ให้เหมาะสมกบั วัสดอุ ุปกรณ์
หรือเคร่ืองมือท่ีใช้ในการฝกึ วิชาชีพ และจากการประเมินความพรอ้ มของผู้ประกอบการท้ัง 3 ราย สามารถ
รองรับการฝึกวชิ าชพี ทง้ั 3 สาขา จ�ำนวน 350 - 400 คน

4. จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาการฝึกอาชีพผู้ต้องขัง เพื่อก�ำหนดขอบเขตการฝึกวิชาชีพ
กฎระเบียบในระหว่างการเข้ารับการฝึกวิชาชีพ และการก�ำหนดค่าตอบแทนหรือเงินรางวัลท่ีผู้พล้ังพลาด
จะไดร้ บั อันเปน็ ผลพลอยไดจ้ ากการฝกึ วชิ าชีพ

แผนงานในระยะท่ี 2 เนื่องจากเรือนจ�ำชั่วคราวบ้านบึง ยังไม่มีอาคารสิ่งปลูกสร้างอย่างอ่ืน นอกจาก
อาคารเอนกประสงค์ท่ีได้รับบริจาคท้ัง 4 หลัง ดังน้ัน การน�ำผู้พล้ังพลาดออกไปท�ำงานฝึกวิชาชีพ จึงเป็น
การท�ำงานแบบเช้าไปเย็นกลับ และเพื่อให้การจัดตั้งศูนย์เตรียมการก่อนปล่อยสอดคล้องกับนโยบายและ
แผนงานของกระทรวงยตุ ิธรรมในด้านการจดั ตัง้ นิคมอุตสาหกรรมราชทณั ฑ์ การแก้ไขปญั หาผู้ต้องขงั ลน้ เรอื นจำ� และ
การปฏบิ ตั ิราชการใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายเน้นหนัก ดร. อายุตม์ สินธพพันธุ์ อธิบดีกรมราชทณั ฑ์ Quick Win การสร้าง
วฒั นธรรมการใหโ้ อกาสและการเตรียมการก่อนปลอ่ ย

4466 วารสารราชทัณฑ์

ดร. อายุตม์ สินธพพันธ์ุ นโQยบาUยอIธCิบดKีกรมWราชINทณั ฑ์

อธิบดกี รมราชทณั ฑ์ 1 การกปาฏรปิบฏัติบติ ตั อ่ ติ ผ่อ้ตู ผ้อ้ตู งอ้ ขงงั ขใงัหให้เป้เปน็ ็นมมาาตตรรฐฐาานน
2 การกแากร้ไแขกป้ไญัขปหัญาหผาู้ตผอ้ ตู้ ง้อขงงัขลังลน้ น้เรเรืออื นนจจำ� �ำ
3 การกพารฒั พนัฒานอางอคงก์ ครก์ ใรหใ้ทหท้นั นัสสมมัยัยแแลละะโโปปรร่งง่ ใใสส

4 การกลับคืนสสู่ ังคมและติดตามผูพ้ ้นโทษ

เรือนจ�ำกลางชลบุรี จึงได้ด�ำเนินการขอรับงบประมาณสนับสนุนเพื่อก่อสร้างส่ิงปลูกสร้าง รองรับการ
ควบคุมผู้พล้ังพลาดในพื้นท่ีเรอื นจ�ำช่ัวคราวบ้านบงึ ประกอบดว้ ย รัว้ ตาข่ายตามแบบมาตรฐานลอ้ มรอบพื้นทโ่ี ครงการ
เนื้อท่ี 21 ไร่ อาคารเรือนนอน อาคารโรงอาบน้นำ อาคารโรงเล้ียงอาหาร และถนนภายในโครงการ และนอกจากน ี้
ได้ร่วมกับส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ เพ่ือวางแผนในการขยายเขต
ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐานมาใชใ้ นพนื้ ท่ี และจะขอรบั การสนบั สนนุ เงนิ งบประมาณสว่ นหนงึ่ สว่ นใดจากกรมราชทณั ฑ์
เพื่อให้นิคมอุตสาหกรรมฝึกอาชีพผ้พู ล้ังพลาด ศูนยเ์ ตรยี มการก่อนปลอ่ ยเพอ่ื ฝกึ วิชาชีพอุตสาหกรรม เรอื นจำ� ชวั่ คราว
บ้านบึง สังกัดเรือนจ�ำกลางชลบุรี มีความพรอ้ มและด�ำเนินการอยา่ งเต็มรูปแบบ และเปน็ ตัวแบบของโครงการจัดต้ัง
นิคมอุตสาหกรรมราชทณั ฑ์แห่งแรกของประเทศไทย

วารสารราชทัณฑ์ 47

การบริหาร

จัดระบบบ�ำบัดน้ำ� เสยี
ภายในเรอื นจ�ำ

เพอ่ื ส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ของผตู้ ้องขัง
และลดผลกระทบต่อชมุ ชน

กลมุ่ งานพฒั นาระบบดา้ นทัณฑวิทยา กองทณั ฑวทิ ยา

ปัญหาน้�ำเสียเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นพร้อมกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคม เมื่อมีความเจริญ
ของบ้านเมืองชุมชน ความต้องการใช้น�้ำในการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ก็เพ่ิมข้ึนตามมา จากรายงานสรุปสถานการณ์
มลพิษของประเทศไทย ปี 2561 พบว่าน้�ำเสียจากชุมชนท่ัวประเทศ จ�ำนวน 22 ล้านครัวเรือน หรือจากประชาชน
จ�ำนวน 66 ล้านคน คิดเป็น 9.7 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน น้�ำเสียเหล่านี้ถูกบ�ำบัดโดยระบบบ�ำบัดน้�ำเสียชุมชน
จ�ำนวน 95 แหง่ ซง่ึ ด�ำเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และองคก์ ารจดั การน�ำ้ เสยี อยา่ งไรก็ตาม ระบบบำ� บัด
มีความสามารถในการจดั การนำ�้ ได้เพยี ง 2.6 ลา้ นลูกบาศก์เมตรต่อวนั หรือประมาณ รอ้ ยละ 27 ของปริมาณน�ำ้ เสยี
ทั้งหมดเท่าน้ัน อัตราส่วนที่ไม่สมดุลกันระหว่างปริมาณน�้ำท้ิงกับความสามารถในการบ�ำบัดน้ีเองจึงเป็นสาเหตุหลัก
ท่ที �ำใหเ้ กดิ ปญั หานำ�้ เสียตามมา

นอกจากครัวเรือนปกติ เรือนจ�ำและทัณฑสถานนับว่าเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่ผลิตน้�ำเสียปริมาณมาก
อีกทั้งการบริหารจัดการน้�ำเสียในภาพรวมนั้นยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอ เน่ืองจากเหตุปัจจัยหลายประการ
เช่น จ�ำนวนผู้ต้องราชทัณฑ์ท่ีเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ืองท�ำให้ปริมาณน้�ำทิ้งเกินความสามารถของระบบบ�ำบัด ปัญหา
เครื่องมือหรือระบบบ�ำบัดช�ำรุด และปัญหาขาดงบประมาณหรือการสนับสนุนด้านค�ำแนะน�ำจากผู้เช่ียวชาญในการ
จัดการน้�ำเสีย เป็นต้น เม่ือน้�ำเสียไม่ได้รับการบ�ำบัดอย่างถูกต้อง ผลท่ีตามมาคือผู้ต้องขังมีแนวโน้มท่ีจะได้รับ
ผลกระทบทางสุขภาพ อีกท้ังประชาชนท่ีอาศัยโดยรอบแหล่งน�้ำท่ีเรือนจ�ำได้ปล่อยน้�ำเสียลงไปมีโอกาสที่จะได้รับ
ผลกระทบโดยตรงจากมลพิษทางนำ้�

กรมราชทัณฑ์ โดยกลุ่มงานพัฒนาระบบด้านทัณฑวิทยา กองทัณฑวิทยา ร่วมกับศูนย์อ�ำนวยการใหญ ่
จิตอาสาพระราชทาน (ศอญ. จอส.พระราชทาน) ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารจัดการน้�ำเสียในระดับ
เรือนจำ� เพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ของผูต้ ้องขงั ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานและลดผลกระทบต่อชมุ ชนจึงได้ก�ำหนดแนวทาง
การด�ำเนินงานเพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในเรือนจ�ำ โดยแบ่งการด�ำเนินงานส�ำคัญออกเป็น
3 ดา้ น ไดแ้ ก่ การสำ� รวจและรวบรวมขอ้ มลู พน้ื ฐานเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การระบบบำ� บดั นำ�้ เสยี ของเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน
ทั่วประเทศ การก�ำหนดแผนการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียภายในเรือนจ�ำ และ
การประสานความรว่ มมอื กบั หน่วยงานอ่ืนทม่ี ภี ารกจิ เก่ียวข้องกับการจัดการนำ�้ เสยี
4488 วารสารราชทัณฑ์

1. ขอ้ มลู พ้ืนฐานเกีย่ วกับการบริหารจัดการระบบบำ� บัดนำ้� เสียของเรอื นจ�ำ/ทัณฑสถานทั่วประเทศ

การใช้นำ�้ ภายในเรือนจำ� /ทณั ฑสถาน 1 แหง่

ปรมิ าณการใช้น้�ำ ปรมิ าณการใชน้ ้�ำ อัตราคา่ น้�ำประปาโดยเฉล่ยี
สงู สดุ โดยเฉลยี่ ตอ่ เดือน 215,000 บาท
โดยหน่วยงานท่ใี ห้บริการนำ้� ประปา
1,280 ลบ.ม./วนั 248 ลบ.ม./วัน ส�ำหรับภาครฐั มดี ว้ ยกนั 3 แหง่
ได้แก่ การประปานครหลวง
ปรมิ าณการใชน้ ำ้� การประปาส่วนภูมภิ าค
นอ้ ยสดุ และองค์การบรหิ ารสว่ นท้องถน่ิ

10 ลบ.ม./วัน

การจัดการน้�ำเสียภายในเรอื นจ�ำ/ทัณฑสถาน ประสทิ ธภิ าพของระบบบำ� บัดน้�ำเสยี
ภายในเรอื นจำ� /ทัณฑสถาน
อ่นื ๆ (จลุ ินทรยี ์บำ� บดั ปล่อยลงสแู่ หลง่ น้ำ� ธรรมชาติ
ระบบผสมผสาน) (รวมถงึ ไม่มรี ะบบบ�ำบดั ) รอ้ ยละ ใช้งานได้ดี ใชง้ านได้เตม็
รอ้ ยละ 9 รอ้ ยละ 29 ประสทิ ธิภาพ
26
ไมม่ ี
ปลอ่ ยน้ำ� เสยี
ตรงสู่เทศบาล
รอ้ ยละ 12

ระบบแบบปิด ระบบเติมอากาศ ใช้งานไม่ได้
(ระบบใหญ)่ รอ้ ยละ 35 (น้อยกวา่ 20%)
รอ้ ยละ 18 รอ้ ยละ 45
ใชง้ านไดบ้ างส่วน
(50%) ร้อยละ 14 ใชง้ านไดน้ อ้ ย รอ้ ยละ 12

2. โครงการติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การระบบบำ� บัดนำ้� เสียในเรอื นจำ�
เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานดา้ นการพฒั นาการบรหิ ารจดั การนำ้� เสยี ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย

และเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ กรมราชทณั ฑร์ ่วมกับ ศอญ.จอส.พระราชทาน จงึ ได้จดั ท�ำโครงการตดิ ตามและประเมนิ ผล
การบริหารจัดการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในเรือนจ�ำ เพ่ือให้ค�ำปรึกษา/ค�ำแนะน�ำเก่ียวกับการบริหารจัดการระบบบ�ำบัด
น้�ำเสียท่ีเหมาะสมกับเรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถานแต่ละแห่ง นอกจากน้ียงั มกี ารด�ำเนนิ การติดตามและประเมินผลการบรหิ าร
จัดการระบบบ�ำบดั นำ้� เสีย

2.1 สภาพปญั หาทางกายภาพของเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน

 อายุการใชง้ านยาวนาน (ก่อสรา้ งมานานกวา่ 50 ป)ี ระบบบ�ำบดั น้�ำเสยี ทม่ี ีอยู่
 สภาพเกา่ ขาดการดแู ลทีเ่ หมาะสมอย่างสมำ�่ เสมอ ไมส่ ามารถบ�ำบดั น�้ำเสยี
 ไมไ่ ด้ถูกออกแบบใหร้ องรบั ผ้ตู อ้ งขังจ�ำนวนมาก ไดต้ ามมาตรฐาน
 ปจั จุบนั เรือนจำ� /ทัณฑสถานทกุ แห่งมีจ�ำนวนผู้ตอ้ งขงั
เกินอัตราความจุปกติ 1 – 2.5 เท่า

วารสารราชทัณฑ์ 49


Click to View FlipBook Version