The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับ 1-64

2.2 ผลผลติ และผลลัพธข์ องโครงการฯ ผลลพั ธ์
 สามารถลดผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมจากนำ้� เสีย
ผลผลติ
มีการตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารจัดการน้ำ� เสยี ของเรือนจำ� /ทัณฑสาน
ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน  น�้ำท่ผี า่ นการบ�ำบัดแลว้ สามารถน�ำกลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้

ตามความเหมาะสม

2.3 ระยะเวลาในการด�ำเนนิ โครงการฯ

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะท่ี 3 ระยะที่ 4
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566

เรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน เรือนจำ� /ทณั ฑสถาน เรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน เรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถาน
จ�ำนวน 47 แหง่ จำ� นวน 35 แห่ง จ�ำนวน 31 แห่ง จำ� นวน 32 แหง่
(ด�ำเนนิ การลงพื้นที่
(ด�ำเนินการลงพื้นที่ครบแลว้ แล้ว 12 แหง่ )
ทุกแหง่ )

2.4 ขอบเขตการสนบั สนนุ : เรือนจำ� /ทณั ฑสถาน จำ� นวน 143 แห่ง
2.5 ผลการลงพืน้ ที่เพ่อื ศึกษาและตรวจสอบการบริหารจัดการระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน กรมราชทัณฑ์และ ศอญ.จอส.พระราชทาน ได้ลงพ้ืนที่
เรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน จ�ำนวนท้ังส้นิ 59 แห่ง จากการลงพื้นท่สี ามารถสรปุ สาระส�ำคัญได้ ดงั น้ี

ปัญหา อุปสรรค และขอ้ จ�ำกัดท่ีพบ
 การจัดการไขมันท่ีเกิดจากการประกอบอาหารและการช�ำระล้างร่างกายของผู้ต้องขังยังไม่มี

ประสทิ ธภิ าพมากพอ บอ่ ดกั ไขมนั มขี นาดเลก็ ทำ� ใหไ้ ขมนั ไหลปะปนไปกบั นำ�้ เสยี ไหลลงสรู่ ะบบบำ� บดั
ภายนอก/แหลง่ นำ้� ธรรมชาติ
 บ่อเกรอะช�ำรุดทรุดโทรมและมีขนาดเล็ก กอปรกับสภาพการณ์ผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำท�ำให้ปริมาณ
ส่ิงปฏิกูลเพ่ิมข้ึนจนบ่อเกรอะไม่สามารถรองรับได้ ท�ำให้สิ่งปฏิกูลไหลล้นออกมาตามรางระบายน้�ำ
และไหลลงสู่บอ่ บำ� บดั น้�ำเสีย
 เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานสว่ นใหญ่ไมม่ กี ารผนั น้�ำฝนออกจากน�้ำเสยี
 เรอื นจ�ำมีพ้ืนทต่ี ้งั อย่ใู นตัวเมือง ไมม่ ีพื้นท่สี �ำหรบั การกอ่ สรา้ งระบบบำ� บดั ภายนอก อกี ทง้ั ไม่มีระบบ
บ�ำบัดน้ำ� เสียรวมของท้องถน่ิ
 เรอื นจำ� บางแหง่ ขดุ บอ่ บำ� บดั แบบบอ่ ดนิ ซง่ึ มขี นาดไมเ่ พยี งพอตอ่ การกกั เกบ็ นำ�้ เสยี ตามหลกั วชิ าการ
(ตามหลักวชิ าการ บอ่ บ�ำบดั แต่ละบ่อตอ้ งมีปรมิ าตรท่สี ามารถรองรับน�ำ้ เสียไดน้ านถึง 5 วนั )
 เรือนจ�ำทมี่ บี อ่ บ�ำบัดแบบคอนกรตี ท�ำงานไดไ้ มเ่ ตม็ ประสิทธิภาพ เน่อื งจากระบบบ�ำบดั น้ำ� เสียช�ำรดุ
(เครอ่ื งเติมอากาศ/เครอื่ งจำ� หนา่ ยไฟช�ำรุด) และปรมิ าณน�้ำเสียเกนิ ความสามารถในการบ�ำบัด
 ขาดผเู้ ชยี่ วชาญในการวางระบบบำ� บัดนำ�้ เสยี ทม่ี คี วามเหมาะสมกับเรือนจ�ำแต่ละประเภท
 ขาดความร้ใู นการดูแลรกั ษาระบบบ�ำบัดน้�ำเสยี
 ขาดงบประมาณในการดำ� เนนิ งานแกไ้ ขปญั หาน�้ำเสีย

5500 วารสารราชทัณฑ์

กระบวนการบำ� บดั น้�ำเสยี ตามหลักวชิ าการ
ทเ่ี รือนจำ� /ทัณฑสถานสามารถดำ� เนนิ การตามได้

(เหมาะส�ำหรับเรือนจำ� ท่ีมพี น้ื ที่)

ระบบ
บ�ำบัด
นำ�้ เสยี บ่อเกรอะ บ่อซึม บ่อดักไขมัน

ภายใน

ระบบ บอ่ ท่ี 1 บ่อเตมิ อากาศ
บ�ำบัด บอ่ ที่ 2 บอ่ ตกตะกอน
น�ำ้ เสีย บ่อที่ 3 บอ่ ผึ่ง (สามารถปลกู พืชน้�ำรว่ มดว้ ยเพ่อื ชว่ ยดูดซับสารพิษในน้ำ� )
ภายนอก

บ่อท่ี 4 บอ่ กักเก็บนำ�้ เพ่ือน�ำน้�ำที่ผ่านการบำ� บัดแลว้ กลับไปใช้ใหม่ (มีหรือไมม่ กี ไ็ ด้)

หมายเหตุ : ส�ำหรับเรือนจ�ำที่ไม่มีพื้นท่ี (ต้ังอยู่ในตัวเมือง) อาจพิจารณาการบ�ำบัดน�้ำเสียร่วมกับระบบบ�ำบัดน�้ำ
เสียรวมในท้องท่ี หรือหากท้องที่ไม่มีระบบบ�ำบัดน้�ำเสียรวม เรือนจ�ำสามารถติดต้ังถังบ�ำบัดน้�ำเสีย
สำ� เร็จรูปเพอ่ื ใช้ในการบ�ำบัดนำ้� เสียได้

วารสารราชทัณฑ์ 51

3. การประสานความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ทม่ี ีภารกิจเกี่ยวขอ้ งกับการจดั การน้ำ� เสีย
การบรหิ ารจดั การระบบบำ� บดั นำ้� เสยี เปน็ ภารกจิ ทตี่ อ้ งอาศยั ความรู้ ความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นในการวางแผน

จัดการ เพือ่ ใหผ้ ลลัพธท์ อี่ อกมาเปน็ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหามลพิษทางนำ้� ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง กรมราชทัณฑ์ตระหนกั ดี
วา่ เรอื นจำ� /ทณั ฑสถานไมส่ ามารถดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หานำ�้ เสยี ดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั การประสาน
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่มีภารกิจเก่ียวข้องกับการจัดการน้�ำเสียจึงเป็นการด�ำเนินงานท่ีจะช่วยให้การบริหาร
จัดการน�้ำเสียในระดับเรือนจ�ำมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและมีผลสัมฤทธ์ิท่ีเป็นรูปธรรม โดยภาคีเครือข่ายที่ได้ให้การ
สนบั สนุนเรือนจ�ำ/ทณั ฑสถานในด้านการพัฒนาระบบบำ� บดั นำ้� เสีย ได้แก่

3.1 ศอญ.จอส.พระราชทาน : ให้การสนับสนุนหลกั ในด้านบุคลากรผเู้ ชีย่ วชาญในการให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับ
การบริหารจัดการน้�ำเสียและการจัดการขยะ โดยได้ลงพ้ืนที่เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานร่วมกับเจ้าหน้าท่ีจากกรมราชทัณฑ์
เพอ่ื ตรวจสอบและตดิ ตามผลการดำ� เนินงานดังกลา่ วข้างต้น

3.2 องค์การบรหิ ารส่วนท้องถ่ิน : ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นอุปกรณ์ เครอื่ งมอื หรือเครื่องจกั รท่จี �ำเปน็ ในการ
กอ่ สร้างบอ่ บำ� บดั น้ำ� เสยี เช่น รถแบค็ โฮ เครอื่ งสูบน�้ำ เป็นต้น รวมถึงความช่วยเหลือดา้ นงบประมาณก่อสร้าง/พฒั นา
ระบบบำ� บดั น้ำ� เสยี ของเรือนจำ�

3.3 มณฑลทหารบก : ให้การสนบั สนนุ ดา้ นก�ำลังพลและอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื หรอื เคร่ืองจักรทจี่ �ำเปน็ ในการ
ก่อสรา้ งบ่อบ�ำบัดน�ำ้ เสยี เช่น รถแบ็คโฮ รถบรรทกุ ดนิ เป็นตน้

3.4 องค์การจดั การน�้ำเสีย : ใหก้ ารสนบั สนุนดา้ นความรูท้ างวชิ าการและคำ� แนะน�ำในการปรับปรงุ /พัฒนา
ระบบบำ� บัดนำ้� เสีย รวมถงึ บคุ ลากรและวทิ ยากรผู้เชีย่ วชาญในด้านการจัดการน�้ำเสีย โดยเมือ่ วันที่ 8 กุมภาพนั ธ์ 2564
กรมราชทัณฑ์และองค์การจัดการน้�ำเสียได้ลงนามใน “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการสนับสนุนและเสริมสร้าง
ศักยภาพในการบริหารจัดการน�้ำเสียระหว่างองค์การจดั การน้�ำเสียและกรมราชทณั ฑ์”

3.5 ส�ำนักงานส่ิงแวดล้อมจังหวัด : ให้บริการการเก็บตัวอย่างน้�ำทิ้งเพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพ รวมทั้ง
ประเมินผลกระทบของการบรหิ ารจัดการนำ้� เสยี ของเรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถานที่มตี อ่ ชุมชน

3.6 สถาบนั การศึกษา : ใหก้ ารสนบั สนนุ ความร้ทู างวชิ าการ เทคโนโลยี รวมถงึ งานนวตั กรรมทเ่ี กี่ยวข้องกบั
ระบบบำ� บัดนำ�้ เสยี

5522 วารสารราชทัณฑ์

นยั สำ� คญั ของการบรหิ ารจดั การนำ�้ เสียทม่ี ีต่อการบรหิ ารงานราชทณั ฑ์ในภาพรวม
การบริหารจัดการน้�ำเสียไม่เพียงแต่เป็นการด�ำเนินงานท่ีส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขาภิบาลเรือนจ�ำ

และสุขอนามัยของผู้ต้องขัง แต่ยังมีความสัมพันธ์เก่ียวเนื่องกับภารกิจด้านอื่น ๆ ของงานราชทัณฑ์ หากการบริหาร
จัดการน้�ำเสียภายในเรือนจ�ำไม่มีประสิทธิภาพ ผลกระทบอันดับแรกที่จะเกิดข้ึนคือสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมกับ
การอยอู่ าศยั เนอื่ งจากกลน่ิ เหมน็ ของนำ้� ทร่ี บกวนการใชช้ วี ติ ของผตู้ อ้ งขงั และผลกระทบอนั ดบั ทส่ี องคอื สขุ ภาพอนามยั
ของผูต้ ้องขงั เนอื่ งจากน้�ำเสียเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคหลายชนดิ เมอื่ เกดิ ผลกระทบท้ังสอง สง่ิ ทอี่ าจเกิดขึน้ ตามมา
คือ ความรู้สึกไม่พอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของผู้ต้องขัง สภาวการณ์นี้สามารถเป็นเหตุปัจจัยท่ีกระตุ้นให้เกิดการก่อ
ความไม่สงบภายในเรือนจ�ำเพ่ือเรียกร้องความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้ ซ่ึงท้ายท่ีสุดแล้วการก่อความไม่สงบดังกล่าวน�ำไปสู่
ปัญหาในงานควบคุมผู้ต้องขัง นอกจากน้ี ผลกระทบท้ังสองยังเก่ียวเนื่องกับการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
เพราะหากผู้ต้องขังอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะและมีร่างกายไม่สมบูรณ์แข็งแรง (เพราะได้รับ
ผลกระทบจากนำ�้ เสยี ) การพฒั นาพฤตนิ สิ ยั กอ็ าจจะมแี นวโนม้ ไมป่ ระสบผลสำ� เรจ็ เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ มไมเ่ ออื้ อำ� นวย
และร่างกายไมพ่ ร้อมสำ� หรบั การท�ำกจิ กรรมเพอื่ พัฒนาตนเอง

จะเห็นได้ว่าการบริหารจัดการน้�ำเสียของเรือนจ�ำมีความส�ำคัญอย่างย่ิงท้ังต่อเรือนจ�ำเองและชุมชนรอบข้าง
ส�ำหรับเรือนจ�ำ การบริหารจัดการน้�ำเสียถือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ด้านสุขอนามยั และสำ� หรบั ชุมชนรอบขา้ ง การบรหิ ารจัดการนำ้� เสียของเรือนจำ� เปน็ การดำ� เนนิ งานเพอ่ื ลดผลกระทบ
จากน�ำ้ เสยี ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดมลพิษทางสิ่งแวดลอ้ ม

วารสารราชทัณฑ์ 53

New Normalการฝึกอบรมแบบ

หรอื ความปกติแบบใหม่
กับชวี ิตท่ีไม่เหมอื นเดิมในยคุ โควิด 19
ของสถาบนั พัฒนาข้าราชการราชทณั ฑ์

อรรถสทิ ธ์ิ ทองแสง
ผอู้ ำ� นวยการสถาบันพัฒนาขา้ ราชการราชทณั ฑ์

จากกระแสภาวะวิกฤติของโลกท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว และจากกรณี
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) เมื่อต้นป ี
2563 ท่ีผ่านมาจนถึงขณะนี้ ถือได้ว่าเป็นโรคอุบัติใหม่และเป็นภาวะวิกฤติ
ท่ีส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในระยะยาวต่อทุกประเทศท่ัวโลก แสดงให้เห็น
ชัดเจนว่าภาครัฐต้องมีบทบาทส�ำคัญอย่างมากต่อการป้องกันและแก้ปัญหา
ภัยพิบัติท่ีไม่เคยคาดการณ์ล่วงหน้ามาก่อน ภาครัฐของประเทศใดท่ีสามารถ
บริหารจดั การต่อปัญหาดงั กล่าวไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ สามารถฟ้ืนตัวไดเ้ รว็
ปญั หาตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ผลกระทบกย็ อ่ มบรรเทาเบาบางลงไดอ้ ยา่ งแนน่ อน ผเู้ ขยี น
เองก็ยอมรบั ว่าตงั้ แต่เกดิ มา กเ็ พ่งิ เจอกับเหตกุ ารณโ์ รคระบาดทสี่ ่งผลกระทบ
อย่างวงกว้างและคาดว่าจะยาวนานและใกล้ตัวท่ีสุด ก็โรคระบาดโควิด 19
น่ีแหละครับ และยังส่งผลกระทบในทุก ๆ ด้านทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ
เทคโนโลยี ตอ้ งบอกว่าเป็นระดับโลกเลยทีเดยี ว ในประเทศไทยของเราเองก็
เช่นกัน ท�ำให้ต้องใช้มาตรการล็อคดาวน์ (Lock Down) ธุรกิจส่วนใหญ่
ต้องหยุดกิจกรรม วิถีชีวิตของผู้คนท้ังประเทศต้องปรับเปลี่ยนอย่างสิ้นเชิง
ท้งั ดา้ นการใช้ชวี ิตประจำ� วัน การรับประทานอาหาร การท�ำงาน การเดนิ ทาง
การเรยี น การฝกึ อบรม ยกเวน้ ธรุ กจิ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยสี อื่ สารทก่ี ลบั เปน็
โอกาสใหเ้ กดิ การขยายตวั และมกี ารพดู ถงึ คำ� ศพั ทใ์ หมท่ เ่ี รยี กกนั ตดิ ปากกนั วา่
“New Normal” หรอื “ความปกตแิ บบใหม่” ทจ่ี ะเกิดขนึ้ เพื่อการควบคุม
พฤตกิ รรมของคนในสงั คม โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ควบคมุ การแพรร่ ะบาดของ
โรคโควิด 19 และโรคระบาดโควิด 19 น้ีเอง ก็เป็นตัวเร่งให้เกิดการพัฒนา
อยา่ งยงั่ ยนื (Technology Disruption) เรว็ ยงิ่ ขน้ึ ในมมุ ของการพฒั นาทรพั ยากร
บุคคลของหลายองค์กร ได้เริ่มตระหนักว่าเร่ืองการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หลงั จากนี้จะท�ำอยา่ งไร? จะรอให้สถานการณ์โควิด 19 สิน้ สดุ หรือเบาบางลง

5544 วารสารราชทัณฑ์

กอ่ นหรอื ? ถงึ จะขับเคลื่อนงานตามแผนงานหรืองบประมาณทไี่ ดร้ บั การจดั สรร นีเ่ ป็นค�ำถาม
ส�ำคัญและเป็นโจทย์ชิ้นใหญ่จากผู้บริหารฯ ที่จะต้องหารูปแบบใหม่ ๆ มาใช้ในการพัฒนา
บุคลากร แทนการพัฒนาบุคคลากรแบบเดิม ๆ เช่น การฝึกอบรมในห้องเรียนแบบพบปะ
(Class room) โดยวิทยากรบรรยายในชั้นเรียนแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีวิธีการอบรม
ในรปู แบบอืน่ ๆ มาทดแทน เป็นตน้

ดงั นน้ั เมอ่ื โลกในยคุ ปจั จบุ นั มกี ารเปลย่ี นแปลงไป โดยเฉพาะการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี
ทีม่ ีบทบาทสำ� คญั ไดก้ ้าวหนา้ จากระดับ 1.0 มาถงึ ปัจจุบนั ซึ่งเปน็ ระดับ 4.0 และบางประเทศ
ก็ถึง ระดับ 5.0 ไปแล้วก็มี นอกจากน้ีแนวโน้มท่ีส�ำคัญคือ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence หรอื ท่เี รยี กกันว่า AI ) ไดเ้ ร่ิมเข้ามาแทนท่แี รงงานคนมากขึ้น จะเหน็ ได้วา่ กระแส
ความเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตา่ ง ๆ ทม่ี าเปน็ พลวตั ทำ� ใหท้ กุ องคาพยพตอ้ งมกี ารปรบั ตวั เอง
สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการราชทณั ฑใ์ นฐานะหนว่ ยงานระดบั กองทมี่ ภี ารกจิ ในการพฒั นาบคุ ลากร
ก็มีความจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วนท่ีจะต้องคิดค้นและแสวงหาแนวทางน�ำนวัตกรรมใหม่ ๆ
ทางเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการฝึกอบรมบุคลากร โดยเฉพาะในสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนจาก
โรคระบาดโควิด 19 ที่เป็นท้ังวิกฤติและโอกาส ส่งผลท�ำให้การฝึกอบรมในรูปแบบเดิม ๆ
(usual instruction) ที่เคยถือปฏิบัติย่อม ไม่สามารถน�ำมาใช้ได้อย่างแน่นอน เนื่องจาก
สถานการณ์ยงั ไมส่ ้นิ สดุ หรอื เบาบางลงที่จะด�ำเนินการรูปแบบเดมิ ๆ ได้ การพฒั นาการเรียนรู้
การอบรม จงึ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งเปลย่ี นแปลงไป ประกอบกบั การเรยี นรขู้ องคนรนุ่ ใหมท่ เี่ กดิ จาก
การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Technology Disruption) ผสมผสานกับพฤติกรรมแบบความปกติ
แบบใหม่ (New Normal) ท่เี กดิ จากการควบคุมโรคโควดิ 19 ผู้เขียนในบทบาทของผู้อำ� นวยการ
สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการราชทณั ฑ์ จงึ ไดม้ อบนโยบายใหก้ บั ทมี งานของสถาบนั พฒั นาขา้ ราชการ
ราชทัณฑ์ ด�ำเนินการศึกษาและวางแผนการฝึกอบรมแบบ New Normal เพื่อการพัฒนา
บคุ ลากรของกรมราชทัณฑ์ ประจ�ำปงี บประมาณ 2564 ในหลกั สตู รท่ีส�ำคัญ ๆ อาทิ หลกั สตู ร
นักศึกษาผ้บู ัญชาการเรอื นจ�ำ (นผบ.) หลักสตู รเจา้ พนักงานเรือนจ�ำ หลกั สตู รพนักงานราชการ
และลูกจ้างภาครัฐ หรือหลักสูตรอ่ืน ๆ ที่ก�ำหนดไว้ในแผนงานงบประมาณประจ�ำปีเป็นต้น
เพอ่ื นำ� มาทดแทนการฝึกอบรมในรปู แบบเดมิ (usual instruction) หรือท่ีเรยี กกนั วา่ ฝึกอบรม
แบบพบปะ (Class room) ดว้ ยการนำ� ระบบการเรยี นการสอนรปู แบบทางไกลหรอื e-training
มาช่วยเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการอบรมแทน ท้ังน้ี เพอ่ื ให้การฝกึ อบรมและพฒั นาบุคลากรของ

วารสารราชทัณฑ์ 55

กรมราชทณั ฑส์ ามารถดำ� เนนิ การตอ่ ไปได้ บคุ ลากรของกรมราชทณั ฑไ์ มเ่ สยี โอกาสในการไดร้ บั
การพฒั นาอบรมในหลักสูตรทสี่ �ำคญั ๆ ของกรมราชทัณฑ์ ด้วยการวางแผนการฝึกอบรมเปน็
รูปแบบผสมผสาน ก�ำหนดเป็น 2 ช่วงเวลา กล่าวคือ ช่วงที่ 1 เน้นการเรียนโดยให ้
ผู้เข้ารับการอบรมศึกษาโดยผ่านระบบ Online ในเนื้อหาวิชาที่เป็นวิชาการแทนการพบปะ
แบบเดิม และช่วงที่ 2 จัดการอบรมแบบพบปะในเนื้อหาวิชาท่ีมีความจ�ำเป็นท่ีไม่สามารถ
หลกี เลยี่ งได้ ซง่ึ กำ� หนดใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ เชน่ การอบรม
ทางยุทธวิธี การบรหิ ารเหตุการณ์ในสถานการณว์ ิกฤติ โดยกจิ กรรมในช่วงท่ี 2 น้ี สามารถท่ีจะ
ด�ำเนินการในภายหลังได้เมื่อสถานการณ์เริ่มเข้าสู่ในสภาวะปกติหรือเบาบางลงในระดับท่ี
ควบคมุ ไดแ้ ลว้

ผู้เขียนขอเรียนว่า การน�ำรูปแบบการฝึกอบรมแบบ New Normal หรือการอบรม
แบบ Online มาใช้ในปี 2564 ครง้ั น้ี ถือไดว้ า่ เป็นมติ ใิ หมข่ องกรมราชทณั ฑ์และเป็นครั้งแรก
ที่จัดให้มีการฝึกอบรมแบบ e-training ในหลักสูตรที่ส�ำคัญ โดยวิธีการอบรมแบบผสมผสาน
ทั้งแบบเรียนออนไลน์ (On-line) และแบบพบปะ เชน่ หลกั สูตรนกั ศกึ ษาผู้บญั ชาการเรือนจ�ำ
(นผบ.) รุ่นที่ 34 และหลักสูตรพนักงานราชการและลูกจ้างภาครัฐ รุ่นที่ 2 - 7 ซ่ึงผู้เขียนมี
ความเห็นเป็นส่วนตัวว่า ถึงแม้ในอนาคตสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคระบาดโควิด 19
จะหมดไปกต็ าม การนำ� ระบบการเรยี นหรือการฝกึ อบรมแบบออนไลน์ (On-line) มาปรบั ใช้
ในภารกิจของสถาบันพัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์จะสามารถตอบโจทย์และแก้ไขปัญหาต่อ
ความต้องการต่อการฝึกอบรมของข้าราชการและพนักงานราชการในสังกัดของกรมราชทัณฑ ์
ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะงบประมาณทไี่ มเ่ พยี งพอตอ่ การจัดฝกึ อบรมในหลกั สูตรหลักทสี่ ำ� คัญ
เชน่ นกั ศกึ ษาผบู้ ญั ชาการเรือนจ�ำ (นผบ.) และเจ้าหนา้ ท่ีราชทัณฑร์ ะดบั ผ้บู ังคบั บญั ชา (พศั ดี)
ซึ่งในข้อเท็จจริงมีข้าราชการจ�ำนวนมากท่ีตกค้างและมีคุณสมบัติครบถ้วน ท่ีมีสิทธิจะเข้ารับ
การอบรม แตไ่ มส่ ามารถจดั การอบรมได้ เนอื่ งจากขอ้ จ�ำกดั ของงบประมาณทไ่ี ด้รบั ไม่เพยี งพอ
หากน�ำระบบการเรียนหรือการฝึกอบรมแบบออนไลน์ (On-line) มาปรับใช้ จะสามารถ
สนับสนุนช่วยแก้ไขปัญหาการอบรมหลักสูตรที่ส�ำคัญท่ีไม่ทันต่อความต้องการของสถาบัน
พัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์ได้ในระดับหน่ึงและเพ่ือให้เห็นภาพชัดเจนว่าการเรียนออนไลน์
แบบ (e-training) เปน็ การด�ำเนนิ การเช่นไร ผู้เขียนขอเรียนให้ทราบแบบงา่ ย ๆ วา่ การเรียน
ออนไลน์แบบ (e-training) เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา ที่เข้ามาเปลี่ยนรูปแบบการเรียน

5566 วารสารราชทัณฑ์

การสอนแบบเดิม ๆ (usual instruction) โดยการน�ำเทคโนโลยีมาใชผ้ สมผสานร่วมกัน เชน่
อนิ เทอรเ์ นต็ อุปกรณส์ อ่ื สาร แพลตฟอร์มการเรียน (Platform) เป็นต้น เพือ่ สรา้ งห้องเรยี น
เสมือนจรงิ โดยผูค้ นท่วั โลกสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ การเรียนรู้นีไ้ ดอ้ ยา่ งท่ัวถึง และสะดวกรวดเรว็
โดยขจดั อปุ สรรคดา้ นสถานทแ่ี ละเวลา อยา่ งไรกต็ าม ถงึ แมว้ า่ จะมเี ทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ ขา้ มาชว่ ย
ในการเรียนการสอนแบบใหม่ก็ตาม ซ่ึงปัจุบันก�ำลังเป็นที่นิยมและหลาย ๆ องค์กรน�ำมาใช้
เพื่อแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องและข้อจ�ำกัดต่าง ๆ แต่ทุกส่ิงทุกอย่างก็ล้วนมีท้ังข้อดีและข้อเสีย
อยู่ในตัวของมันเอง ผู้เขียนจึงขอหยิบยกและมุมมองที่ส�ำคัญ ๆ ของการเรียนแบบออนไลน์
(e-training) ซ่งึ กม็ ีทั้งข้อดแี ละขอ้ เสยี ในประการส�ำคญั ๆ มาให้ผู้อา่ นได้มองเห็นภาพ ดังนี้

ข้อด ี

1. ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมฯ ไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งเดนิ ทางมารับการอบรมทส่ี ถาบนั ฯ เรยี กง่าย ๆ
ว่าอยู่ตรงไหนบนโลกน้ีก็เรียนได้ ขอเพียงแค่มีอุปกรณ์เช่ือมต่อกับอินเตอร์เน็ต เช่น
คอมพวิ เตอร,์ โนต้ บคุ๊ ตอ่ ใหอ้ ยตู่ รงสว่ นไหนของโลกทอ่ี นิ เตอรเ์ นต็ เขา้ ถงึ กส็ ามารถเรยี นออนไลน ์
ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย

2. ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถทบทวนเนอื้ หาทไ่ี มเ่ ขา้ ใจไดต้ ลอดเวลาหลงั การบรรยาย
ในแต่ละวิชาเสร็จส้ินในทุก ๆ วัน เพราะมีการบันทึกเนื้อหาการบรรยายไว้ในระบบ เรียกง่าย ๆ
ว่าทบทวนการเรียนตรงจุดที่ไม่เข้าใจได้ตลอด ซึ่งถือเป็นข้อดีอันโดดเด่นอีกด้านส�ำหรับ
การเรียนออนไลน์ คือสามารถย้อนกลับไปทบทวนในเนื้อหาที่ยังไม่ค่อยเข้าใจหรือมีข้อสงสัย
ต่าง ๆ ได้ ซึ่งการเรียนการสอนปกติหากผ่านไปแล้วคือผ่านไปเลย จะย้อนกลับมาใหม่
คงเป็นเร่อื งล�ำบากพอสมควรนา่ ด ู

3. ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถตง้ั คำ� ถามหรอื ขอ้ เสนอแนะใด ๆ ผา่ นระบบการสอนแบบ
ออนไลน์ ไดต้ ลอด ซงึ่ วทิ ยากรสามารถตอบขอ้ ซกั ถามหรอื สง่ เอกสารใด ๆ เขา้ ในระบบออนไลน์
เสมอื นการเรียนแบบปกติได ้

4. ผู้เข้ารับการอบรมมีความกล้าและมั่นใจในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น เพราะ
ไม่ตอ้ งแสดงตวั ตนอากัปกริ ยิ าหนา้ ชั้นเรียนหรอื ในหอ้ งบรรยาย

5. ผู้เข้ารับการอบรมเข้าเรียนเกือบ 100% ทุกวิชา เพราะการเรียนในช้ันเรียนปกติ
มักจะพบปัญหาผู้เข้ารับการอบรมขาดเรียนหรือสารพัดข้ออ้าง ซ่ึงจริงบ้างเท็จบ้างก็ม ี

วารสารราชทัณฑ์ 57

แตพ่ อเรยี นในระบบออนไลน์ แมป้ ว่ ยไมห่ นกั หนาสาหสั กย็ งั สามารถเปดิ อนิ เตอรเ์ นต็ โปรแกรม
เข้าเรียนได้

6. ประหยัดงบประมาณท้ังในส่วนของวิทยากรและผู้เข้ารับการอบรม ที่ไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่น ค่าอาหาร ค่าท่ีพัก ค่าสังสรรค์ (หลังอบรมในแต่ละวัน)
และคา่ พาหนะ เปน็ ตน้

ข้อเสยี

1. อาจจะต้องเข้มงวด เช่น ต้องเปิดกล้องสด ๆ ตลอดเวลา เพราะอาจมบี า้ งท่ผี ู้เขา้ รบั
การอบรมปิดกล้อง โชวร์ ูปนิง่ แลว้ หนีไปท�ำอยา่ งอนื่ หรือไมต่ งั้ ใจเรียน

2. การพัฒนาความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงกับวิทยากรและเพ่ือน
ผเู้ ข้ารับการอบรมด้วยกันทำ� ไดย้ ากกวา่ การอบรมแบบปกติ (แบบพบปะ)

3. อาจมีค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติมกรณีท่ีต้องอัปเดตซอฟต์แวร์ เพื่อให้เข้าถึงโปรแกรม
ออนไลน์หรือจ่ายเงินเพ่ิมเพื่ออัปเกรดเป็นอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงหรือต้องพัฒนาทักษะ
ในการใช้แตล่ ะโปรแกรมตลอดเวลา (technology skills) หากใชโ้ ปรแกรมการเรียนออนไลน์
โดยไมม่ คี า่ ใช้จ่าย (โปรแกรมฟรี)

4. ตรวจสอบความสงสัยและความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม อาจท�ำได้ยากกว่า
การอบรมแบบปกติ (หอ้ งเรยี น) เพราะการเรยี นแบบออนไลน์ วทิ ยากรไมส่ ามารถควบคมุ สภาพ
บรรยากาศในช้ันเรียนได้ดีเท่ากับการเรียนในห้องเรียนปกติ เช่น ผู้เข้ารับการอบรมคนใด
แสดงออกทางสหี น้า ท�ำหน้ามึนงง สงสัย หรืออยากถามแตไ่ ม่กล้าถาม เป็นต้น

5. การสร้างแรงจูงใจ (motivation) ในห้องเรียนแบบปกติ (usual instruction)
ท�ำได้ดีกว่า กระตุ้นได้ดีกว่า เพราะเป็นการเผชิญหน้ากันท�ำให้เห็นสภาพความพร้อมหรือ
ความไม่พร้อมของผเู้ ข้ารับการอบรมแตล่ ะคนไดล้ ะเอยี ดกวา่

ท้ายท่ีสุดน้ี จากบทความที่ผู้เขียนได้กล่าวไปท้ังหมด ผู้เขียนเห็นว่าการที่จะเลือก
การฝึกอบรมเป็นแบบใด? จากการอบรมแบบปกติดังที่เคยถือปฏิบัติมาคือแบบพบปะ
ในชั้นเรียน (usual instruction) หรือการเรียนแบบออนไลน์น้ัน ผู้เขียนเห็นว่าที่สุดแล้ว
เราไม่ควรเลือกแบบใดแบบหน่ึงเป็นการเฉพาะระหว่างการอบรม (online learning) กับ
การอบรมแบบพบปะในชั้นเรียนปกติ (usual instruction) เพราะทุกรูปแบบต่างก็มีข้อด ี
ขอ้ เสยี ในตวั มนั แมแ้ ตผ่ เู้ ขยี นเอง หากสอบถามเปน็ สว่ นตวั ในฐานะผมู้ ารบั การอบรม กย็ งั อยาก
มาอบรมท่สี ถาบนั พัฒนาข้าราชการราชทณั ฑเ์ พราะไดพ้ บปะพี่ ๆ เพ่ือน ๆ น้อง ๆ เพื่อนร่วมร่นุ
และวทิ ยากรแบบ face to face ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งเลือกกข็ อเลอื กแบบผสมผสาน (Blended) คอื
มีการอบรมบางส่วนในภาควิชาการที่เป็นออนไลน์ (e – training ) และบางส่วนท่ีเป็นแบบ
พบปะในชั้นเรยี นทต่ี ้องท�ำกจิ กรรมรว่ มกัน กจ็ ะทำ� ใหก้ ารฝกึ อบรมแบบ New Normal หรือ
ความปกติแบบใหม่ กับชีวิตท่ีไม่เหมือนเดิมในยุคโควิด 19 ของสถาบันพัฒนาข้าราชการ
ราชทัณฑ์มีความสมบูรณ์ มีความทนั สมัย และมคี วามพรอ้ มในระดบั หนึ่งต่อการรบั มือกบั การ
เปล่ยี นแปลงไดอ้ ย่างเท่าทนั

5588 วารสารราชทัณฑ์

รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย
กลมุ่ งานราชทณั ฑ์ต่างประเทศ กองทัณฑวิทยา

ตลอดหลายเดือนท่ีผ่านมา ระบบงาน
ราชทัณฑ์ท่ัวโลกต่างได้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19
ไม่มากก็น้อย แต่กระนั้น ภารกิจงานควบคุม
และแก้ไขผู้ต้องขังผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ
ในเรือนจ�ำยังคงต้องด�ำเนินต่อไป ซึ่งในวารสาร
ราชทัณฑฉ์ บับน้ี คณะผ้เู ขยี นไดร้ วบรวมข่าวคราว
ความเคลื่อนไหวท่ีน่าสนใจจาก 4 ประเทศ
ดว้ ยกนั ดังน้ี

1. ไอร์แลนด์

“กรมราชทัณฑ์ไอรแ์ ลนด์บรจิ าคจักรยานชว่ ยเหลอื นักเรียนชาวแกมเบยี ”

ท่ีประเทศไอร์แลนด์ กรมราชทัณฑ์ได้จัดโครงการบริจาคจักรยานให้แก่นักเรียนชาวแกมเบียในทวีปแอฟริกา
ที่ประสบปัญหาการเดินทางระยะไกลจากบ้านไปโรงเรียน โครงการน้ีเกิดข้ึนจากความร่วมมือของหลายภาคส่วน
ได้แก่บริษทั CADO และสโมสรโรตารไ่ี อรแ์ ลนด์ ท่รี ่วมกันประสานงานให้นกั โทษในเรอื นจ�ำเปิด Shelton Abbey และ
Loughan House ชว่ ยกนั ซ่อมแซมจักรยานท่ถี กู ทงิ้ หรือไม่เปน็ ที่ตอ้ งการแล้ว จำ� นวนทง้ั หมด 1,440 คัน เพื่อนำ� ไป
มอบให้แกน่ กั เรียนทั่วประเทศแกมเบีย ซงึ่ ชว่ ยให้นกั เรยี นเหลา่ นี้สามารถลดค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง แลว้ น�ำเงินไปใช้
ในด้านอื่น ๆ ท่ีจ�ำเป็น ทั้งน้ี นับเป็นเวลา 5 ปีแล้วท่ีสโมสรโรตาร่ีไอร์แลนด์ได้เก็บสะสมจักรยานจากบ้านเรือน
ท่ัวไอร์แลนด์และส่งให้นักโทษในเรือนจ�ำซ่อมแซม นาย Mark Lydon ผู้บัญชาการเรือนจ�ำ เปิดเผยว่า โครงการน ้ี
ท�ำให้นักโทษได้รู้สึกสัมผัสถึงชุมชนและภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือ หรือ สร้างผลกระทบทางบวกให้แก่ชีวิตของเยาวชน

วารสารราชทัณฑ์ 59

ในทวีปแอฟริกา และนี่เป็นเพียงตัวอย่างกิจกรรมต่าง ๆ ที่เรือนจ�ำได้จัดให้แก่นักโทษ เพ่ือให้มีทักษะที่จ�ำเป็นและ
เกดิ ประโยชน์เมือ่ กลับคืนสสู่ งั คม โดยโครงการน้ี ชว่ ยฝกึ สอนใหน้ กั โทษไดม้ ีความเช่ยี วชาญในเร่อื งกลไกของจักรยาน
ถึงขนาดได้รับประกาศนียบัตรรับรอง เพิ่มโอกาสให้สามารถมีชีวิตที่ดีได้ภายหลังปล่อยตัว นอกจากน้ี จะเห็นได้ว่า
นักโทษที่เข้าร่วมโครงการแสดงความตั้งใจอย่างมาก ด้วยความมุ่งหวังท่ีจะสร้างความภาคภูมิใจและเป็นส่วนร่วม
ในกจิ กรรมทีช่ ่วยเหลอื ผู้อืน่

2. สหรัฐอเมริกา

“ระบบ MailGuard ของกรมราชทณั ฑม์ ลรฐั แมสซาชเู ซตส์”

กรมราชทณั ฑม์ ลรฐั แมสซาชเู ซตส์ (MADOC) ได้ประกาศเจตนารมณ์อยา่ งเป็นทางการเม่อื เดือนพฤษภาคม 2563
ท่ีจะจัดตั้งโครงการน�ำร่องที่ทัณฑสถาน Souza-Baranowski (Souza-Baranowski Correctional Center) และ
ทัณฑสถานอ่ืน ๆ อย่างน้อยหกแห่งเป็นเวลาหน่ึงปี เพื่อยกเลิกการใช้จดหมายปกติที่จับต้องได้ (physical mail)
ดว้ ยการนำ� เอานวตั กรรมระบบ “MailGuard” ซึ่งไดร้ บั สิทธบิ ตั รดา้ นการสื่อสารอัจฉรยิ ะมาใช้ ทัง้ นี้ เพ่อื แกไ้ ขปญั หา
การลักลอบซุกซ่อนยาเสพติดในจดหมายถึงผู้ต้องขัง รวมถึงเพื่อใช้ส�ำหรับตรวจสอบข้อมูลและสร้างระบบข่าวกรอง

ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ระบบ MailGuard มหี ลกั การ
ท�ำงาน คือ จดหมายปกติท่ีจับต้องได้
(physical mail) ของผู้ต้องขังจะถูกส่ง
ถึงบริษัทในมลรัฐฟลอริดาเพื่อสแกน
ลงในฐานข้อมูล ซึ่งจดหมาย บัตรและ
รูปถ่ายต่าง ๆ ท่ีได้รับการสแกนแล้ว
จะถกู สง่ กลบั ไปทตี่ ู้ kiosks หรอื แทบ็ เลต็
ภายในเรือนจ�ำ เพ่ือให้เจ้าหน้าที่และ
ผ้ตู ้องขงั ไดด้ ูในรปู แบบสำ� เนา
อยา่ งไรกต็ าม มรี ายงานเพม่ิ เตมิ วา่ การดำ� เนนิ การตดิ ตง้ั ระบบ “MailGuard” ดงั กลา่ วเกดิ ความลา่ ชา้ เนอ่ื งจาก
Edward G. Wright ซ่ึงเป็นผู้ต้องขังในทัณฑสถาน Souza-Baranowski ได้ร้องเรียนต่อศาล และศาลก็เห็นด้วยว่า
กรมราชทัณฑ์ได้ละเมิดพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของรัฐแมสซาชูเซตส์ เน่ืองจากนโยบาย
การยกเลกิ การใชจ้ ดหมาย (physical mail) และเปล่ียนเป็นระบบ paperless mail นั้น ไม่มกี ระบวนการการรับฟัง
ความคดิ เห็นสาธารณะ (Public Hearing) ตลอดจนมีขอ้ ถกเถียงในประเด็นตา่ ง ๆ เชน่ การไม่เคารพความเปน็ ส่วนตวั
และอาจเป็นการล่วงละเมิดโดยการเขา้ ถึงขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของผู้ต้องขัง ตลอดจนคนทต่ี ดิ ตอ่ ดว้ ย ท่สี �ำคัญคอื ประเด็น
การจ�ำกัดการเข้าถึงอุปกรณ์สื่อสารและการสร้างความไม่เท่าเทียมแก่ผู้ต้องขังบางกลุ่ม อาทิ ผู้พิการบางประเภท
ดงั กรณผี ูท้ ไี่ ด้รบั บาดเจ็บทส่ี มอง และมคี วามบกพร่องทางสายตาบางประเภท ไม่สามารถใชแ้ ทบ็ เล็ตเพอ่ื เข้าถงึ ข้อมูล
จดหมายท่ีถูกสแกนมาได้ อีกท้ังผู้ต้องขังท่ีถูกขังเด่ียว (solitary confinement) ซึ่งมีการก�ำจัดสิทธิในการเข้าถึง
อุปกรณ์แท็บเล็ตอยู่แล้ว โดยนโยบายใหม่นี้จะส่งผลกระทบต่อคนท่ีถูกจ�ำกัดสิทธิและคนชายขอบมากท่ีสุด
อย่างไมเ่ หมาะสม

6600 วารสารราชทัณฑ์

3. นวิ ซแี ลนด์

“ส�ำนักผู้ตรวจราชการนิวซีแลนด์เผยแพร่รายงานเรือนจ�ำหญิงภูมิภาค
โอค๊ แลนด์มกี ารพัฒนาด้านการบริหารจัดการเรอื นจ�ำทด่ี ขี ึ้น”

ส�ำนักผู้ตรวจราชการด้านงานราชทัณฑ์แห่งประเทศ
นวิ ซีแลนดเ์ ผยแพร่รายงานผลการติดตามการบริหารเรอื นจ�ำหญงิ
ภูมิภาคโอ๊คแลนด์ เมื่อวันท่ี 27 มกราคม 2564 ด้วยตระหนัก
ว่า ในหลายปีท่ีผ่านมา เรือนจ�ำประสบปัญหาและความท้าทาย
ด้านจ�ำนวนผู้ต้องขังความมั่นคงสูงท่ีเพิ่มขึ้น และจ�ำนวน
ผู้ต้องขังหญิงระหว่างพิจารณาคดีที่เพิ่มข้ึนเป็นเท่าตัว อย่างไรก็ดี
Ms. Lynette Cave อธิบดีกรมราชทัณฑ์ส่วนภูมิภาคตอนเหนือ
กลา่ ววา่ เรอื นจำ� ไดน้ ำ� รายงานผลการตรวจการดำ� เนนิ การเรอื นจำ�
เมอื่ เดอื นมถิ นุ ายน 2563 มาพฒั นาการบรหิ ารจดั การเรอื นจำ� และ
รู้สึกยินดีที่ผู้ตรวจราชการด้านงานราชทัณฑ์สังเกตเห็นถึงการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีข้ึน เช่น การจัดต้ังโครงการ
สร้างสนามเพิ่มเติมส�ำหรับกิจกรรมสันทนาการเพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับอากาศบริสุทธิ์มากข้ึน รวมถึงปรับปรุง
ร้วั แดนความมั่นคงสงู และอาคารสถานท่ี ใหม้ คี วามปลอดภยั มากขึน้ การติดต้ังระบบบนั ทกึ และรายงานเพื่อให้อธบิ ดี
สว่ นภมู ภิ าคและผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ� สามารถตรวจสอบไดร้ ะหวา่ งชว่ งเวลาปลอ่ ยตวั ผตู้ อ้ งขงั นอกเรอื นนอน การแตง่ ตงั้
เจา้ หนา้ ทห่ี ลกั สตู รการดแู ลบตุ รสำ� หรบั เผา่ เมารปี ระจำ� ศนู ยแ์ มแ่ ละเดก็ ตำ� แหนง่ วา่ งของเจา้ พนกั งานทลี่ ดลง (วา่ ง 10 ตำ� แหนง่
จาก 285 ต�ำแหน่ง) การแต่งต้ังผู้จัดการและพยาบาลปฏิบัติการประจ�ำศูนย์สุขภาพเป็นการถาวร การเพิ่มการ
ตรวจสอบดูแลข้อร้องเรียนของผู้ต้องขังโดยมุ่งเน้นก�ำหนดกรอบระยะเวลาในการด�ำเนินการแก้ไข การพัฒนา
กระบวนการอนุญาตให้เย่ียมญาติ และการปรับปรุงหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ส�ำหรับผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�ำ
ความม่นั คงสงู เป็นตน้
นอกจากนี้ เจ้าหน้าท่ีต้องประเมินและบริหาร
จดั การความจำ� เปน็ ในการปฏบิ ตั กิ ารตามรายวนั วา่ ผตู้ อ้ งขงั
รายใดท่ีสามารถใช้เวลานอกเรือนนอนด้วยกันได้ รวมถึง
ปัจจัยเก่ียวกับประเภทผู้ต้องขังว่าเป็นผู้ต้องขังระหว่าง
พิจารณาคดีหรือนักโทษเด็ดขาด เป็นพวกที่ชอบแยกตัว
หรอื อยกู่ บั คนสว่ นใหญไ่ ด้ ชนั้ ความมนั่ คงของผตู้ อ้ งขงั และ
ปัจจัยอื่น ๆ เช่น ความตึงเครียดระหว่างกลุ่มพรรคพวก
ผู้ตอ้ งขังและความสัมพันธแ์ บบค่คู ดี
ประเด็นท่ีต้องให้ความส�ำคัญอีกประเด็นหน่ึง คือ การให้บริการด้านสุขภาพ จ�ำนวนผู้ต้องขังหญิงที่ม ี
จ�ำนวนมากกอปรกับความซับซ้อนของโรคท่ีพบในผู้หญิงน้ัน ส่งผลกระทบต่อก�ำลังพลของเจ้าหน้าท่ีที่อาจไม่เพียงพอ
ต่อการดูแลหรือน�ำส่งผู้ต้องขังไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลและการขาดแคลนห้องรักษาพยาบาล ซ่ึงปัญหาดังกล่าว
ไดร้ ับการแกไ้ ขโดยการรกั ษาพยาบาลผ่านทางไกลและการจดั หาเคร่ือง x-ray เพอ่ื ให้บริการภายในเรือนจ�ำ

วารสารราชทัณฑ์ 61

ทั้งน้ี อธิบดีกรมราชทัณฑ์ส่วนภูมิภาคตอนเหนือ กล่าวท้ิงท้ายว่า “ทุกการเปล่ียนแปลงท่ีด�ำเนินการไปนั้น
กเ็ พอ่ื ใหผ้ กู้ ระทำ� ผดิ ไดเ้ ขา้ ถงึ การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพและดา้ นสขุ ภาวะทดี่ ี รวมถงึ ไดร้ บั โอกาสในการเปลย่ี นแปลงตนเอง
ผ่านการพัฒนาพฤตินิสัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาและการจ้างงาน จุดมุ่งหมายของเรา คือ การให้โอกาสพวกเขา
ไดม้ ชี ีวติ ที่ปราศจากอาชญากรรมและลดจ�ำนวนเหย่อื ทีไ่ ดร้ ับผลจากการกระท�ำผดิ ”

4. สกอ๊ ตแลนด์

“โครงการศิลปะส�ำหรบั ผตู้ อ้ งขังท่เี ป็นพ่อที่เรือนจ�ำ HMP Glenochil”

กรมราชทัณฑ์สก๊อตแลนด์ โดยเรือนจ�ำ Glenochil ได้จัดโครงการ “สุนัขจ้ิงจอก Ochie” เพ่ือให้ผู้ต้องขัง
ไดแ้ สดงออกถงึ ความปรารถนาในการใชศ้ ลิ ปะสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สอ่ื สารกบั บตุ รวยั เยาวใ์ นขณะทต่ี นเองถกู คมุ ขงั ในเรอื นจำ�
โครงการน้ีได้รับรางวัลการพัฒนาส่วนบุคคล ด้วยเนื้อหากิจกรรมท่ีช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสท�ำของเล่นเพื่อการสื่อสาร
หรอื เพ่อื การศกึ ษา ซึง่ สามารถถูกใช้ในระหว่างชว่ งการเยีย่ ม หรือสามารถมอบให้เป็นของขวัญเชน่ กนั

ครู Marie - Ann ผู้สอนศิลปะในโครงการน้ี กล่าวว่า มีหลักฐานเพิ่มขึ้นที่แสดงให้เห็นถึงบทบาทส�ำคัญของ
ความสัมพันธ์ครอบครัวท่ีแน่นแฟ้นจะช่วยให้เกิดการพัฒนาพฤตินิสัยที่ประสบความส�ำเร็จของผู้ต้องขังท่ีเป็นบิดา
หรือมารดา ย่ิงไปกว่านั้น ความสัมพันธ์ของบิดามารดาในเชิงบวกเป็นกุญแจส�ำคัญต่อภาวะทางอารมณ์ท่ีดีของ
บุตรผู้ต้องขัง โครงการฯ นี้ นอกจากช่วยให้ผู้ต้องขังได้ท�ำสิ่งพิเศษให้แก่ลูกของตนเองแล้ว ยังเป็นโอกาสที่ผู้ต้องขัง
สามารถพฒั นาทกั ษะจนไดร้ บั ประกาศนยี บตั รคณุ วฒุ ดิ ว้ ย การทำ� ของเลน่ ตกุ๊ ตา และหนุ่ สวมมอื ชว่ ยใหผ้ ปู้ กครองสามารถ
เลน่ และสอ่ื สารกบั ลกู ๆ ไดใ้ นลกั ษณะทม่ี คี วามหมายมากขนึ้ ทำ� ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จและเคารพตนเอง ตลอดจน

รสู้ กึ ถงึ การเปน็ สว่ นหนงึ่ ของครอบครวั
ท้งั น้ี ผู้เขา้ ร่วมโครงการคนหน่งึ เลา่ ถึง
ความภาคภูมิใจที่ได้ประดิษฐ์ของเล่น
เหล่านี้ให้แกบ่ ุตรสาว ซ่ึงชอบของเล่น
ชนิ้ นมี้ าก และภรรยาของเขากเ็ ชน่ กนั
ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกดีมากเมื่อเวลา
เห็นหน้าของลูกและภรรยา ถือเป็น
สงิ่ วเิ ศษมากทไ่ี ดท้ ำ� อะไรใหแ้ กล่ กู สาว
ของตนเอง และขอบคุณมากท่ี
โครงการน้ีให้โอกาสเป็นส่วนหน่ึง
ของชวี ิตครอบครัว”

แหล่งทม่ี าของข้อมลู
เว็บไซตก์ รมราชทัณฑไ์ อร์แลนด์ https://www.irishprisons.ie/bikes-received-students-africa/
บทความ Physical Mail Could Be Eliminated at Federal Prisons, by Marcia Brown and David Dayen, The American

Prospect, February 24, 2021
เว็บไซต์กรมราชทัณฑ์นิวซีแลนด์https://www.corrections.govt.nz/news/2021/release_of_independent_inspectorates_

follow_up_report_into_arwcf
เวบ็ ไซตก์ รมราชทัณฑส์ กอ๊ ตแลนด์ http://www.sps.gov.uk/Corporate/News/News-7294.aspx

6622 วารสารราชทัณฑ์

การเฝ้าระวัง
ป้องกัน

และ

ควบคุม

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19) ในเรอื นจ�ำ

กนกวรรณ จิว๋ เช้อื พนั ธุ์
ผอู้ ำ� นวยการกองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์

ความส�ำเร็จของการเฝ้าระวังและการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) ในเรอื นจำ� ของกรมราชทณั ฑ์ เกดิ จากการใหค้ วามสำ� คญั ของผบู้ รหิ าร ในการกำ� หนดนโยบาย
คัดกรอง ด้วยการจัดท�ำพื้นที่ส�ำหรับแยกกักโรคผู้ต้องขังแรกรับอย่างน้อย 14 วัน แม้ว่าอดีตที่ผ่านมา
กรมราชทัณฑ์จะมีแนวทาง ท่ีให้เรือนจ�ำทุกแห่ง จะต้องจัดท�ำพื้นท่ีแรกรับส�ำหรับผู้ต้องขังรับใหม่ แต่ก ็
ไมส่ ามารถดำ� เนนิ การใหส้ ำ� เรจ็ ไดท้ งั้ หมด เนอ่ื งจากปญั หาผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ� จนเกนิ ความจปุ กติ จนกระทง่ั
เกิดการระบาดของโควดิ  - 19 (COVID - 19) กระจายไปทว่ั โลก ผูบ้ รหิ ารเลง็ เห็นความส�ำคญั ของการจัดทำ�
พ้ืนที่แยกกักโรคส�ำหรับผู้ต้องขังแรกรับ โดยเร่ิมจากการ ท�ำ Teleconference ซักซ้อมความเข้าใจ
ในการจัดเตรียมพ้ืนท่ีและจัดสรรงบประมาณในการดำ� เนินงานดังกล่าว อย่างเร่งด่วน การก�ำชับมาตรการ
ตรวจคัดกรอง การท�ำแผนรองรับสถานการณ์การระบาดระยะต่าง ๆ การรณรงคใ์ สห่ นา้ กากอนามัย การลา้ งมอื
เปน็ ต้น นอกจากนี้ มาตรการ “คนในไม่ใหอ้ อก คนนอกไม่ใหเ้ ข้า” ไดแ้ ก่ การงดเยี่ยมญาติ การงดการอบรม
โดยวทิ ยากรภายนอก งดนำ� ผตู้ อ้ งขังออกทำ� งานภายนอกเรือนจำ� และการห้ามบคุ คลภายนอกเขา้ เรือนจ�ำ
ถือเป็นจดุ แขง็ ทีท่ ำ� ให้เกดิ การด�ำเนินงานทเ่ี ป็นรปู ธรรมอย่างชดั เจน

วารสารราชทัณฑ์ 63

นอกจากนี้ กรมราชทัณฑ์ยังให้ความส�ำคัญในการพัฒนาบุคลากร ด้วยการให้ความรู้และสร้าง
ความเข้าใจกับผู้บริหารเรือนจ�ำ โดยการบรรยายผ่าน Teleconference จากบุคลากรผู้เช่ียวชาญจาก
กรมควบคุมโรค เช่น รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ผอ.กองโรคติดต่อทั่วไป ผอ.กองระบาดวิทยา เป็นต้น
ท�ำให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการระบาดของโควิด - 19 (COVID - 19)
และตระหนักถึงอัตราการแพร่ของโรค ท่ีจะสูงมากและควบคุมได้ยากหากเกิดการติดเชื้อในเรือนจ�ำ
ปัจจัยพื้นฐานที่ส�ำคัญคือความร่วมมือในการด�ำเนินงานตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข และ
การปฏิบัติตามมาตรการท่ีกรมราชทัณฑ์ก�ำหนด อย่างเคร่งครัด ของ ผู้บริหารเรือนจ�ำและบุคลากร

ทางการแพทยใ์ นเรอื นจำ� ตลอดจนหน่วยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ี

ขอ้ สง่ั การรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงยตุ ธิ รรม

ประเทศไทยมีเรือนจ�ำและทัณฑสถานทั่วประเทศ 143 แห่ง โดยที่ความจุ
ปกตขิ องเรอื นจำ� สามารถ รองรบั ผตู้ อ้ งขงั ได้ 254,302 คน คดิ เปน็ พน้ื ทเ่ี รอื นนอน

ส�ำหรับผตู้ ้องขงั ท้งั ส้นิ 305,312 ตารางเมตร ปจั จุบนั มปี ระชากรผ้ตู ้องขงั
ทัง้ ประเทศ 376,499 คน (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2563) ซง่ึ เกนิ
ความจเุ รอื นจำ� อยกู่ วา่ 123,000 คน ดว้ ยสถานการณด์ งั กลา่ ว ทำ� ให้
ประเทศไทย มีจ�ำนวนผู้ต้องขังสูงเป็นอันดับ 6 ของโลก
นอกจากน้ี หากพิจารณาจากสัดส่วนผู้ต้องขังต่อแสน
ประชากรแล้ว ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้ต้องขัง 535
คน ตอ่ ประชากร 100,000 คน สงู เปน็ อันดบั 4
ของโลก (TIJ, 2563)

6644 วารสารราชทัณฑ์

จึงสง่ ผลให้เกิดความแออัดในการใช้ชวี ิตในเรอื นจำ� เฉลี่ยน้อยกว่า 1 ตารางเมตร โดยเฉพาะเวลา
นอนรวมกันภายในเรือนนอน ต้องใช้เวลาอยรู่ วมกนั นานกวา่ 14 ช่วั โมง เป็นอยา่ งน้อย รวมถึงพนื้ ทท่ี ต่ี ้อง
ใช้ ในการ ท�ำกิจวัตรประจ�ำวนั เชน่ การรบั ประทานอาหาร การทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ เป็นต้น จากปญั หาส�ำคัญ
ดังกล่าว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม นายสมศักด์ิ เทพสุทิน จึงได้สั่งการและมอบนโยบายเพิ่มพื้นที่
เรอื นนอน หรอื การท�ำทีน่ อน 2 ชน้ั และการสรา้ งห้องกกั โรค เพอื่ แก้ไขปญั หาดังกล่าว

นโยบายกรมราชทณั ฑ์

กรมราชทณั ฑ์ ไดจ้ ดั ทำ� มาตรการปอ้ งกนั เฝา้ ระวงั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
โคโรนา 2019 หรอื โรค COVID - 19 มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตงั้ แตเ่ ดอื นมกราคม 2563 จนถงึ ปจั จบุ นั โดยมาตรการ
ท่ีส�ำคัญและนับเป็นจุดแข็งท่ีท�ำให้การด�ำเนินงานป้องกันโควิด - 19 (COVID - 19) ในเรือนจ�ำ ประสบ
ความสำ� เร็จ คอื มาตรการ “คนในหา้ มออก คนนอกห้ามเขา้ ” และนโยบาย “หอ้ งกกั โรค 14 วัน” ไดแ้ ก่

1. การประสานความร่วมมอื

1.1 การประสานความร่วมมือกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง

1.2 ใหเ้ รอื นจำ� /ทณั ฑสถาน ประสานความรว่ มมอื กบั โรงพยาบาลแมข่ า่ ย หนว่ ยงานสาธารณสขุ
ในพ้นื ที่ในการเฝา้ ระวงั ควบคมุ โรค และหน่วยงานสงั กดั มหาดไทยในจังหวดั

1.3 ตรวจคน้ หา Covid - 19 เชิงรกุ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ และหน่วยงานอื่น ๆ

วารสารราชทัณฑ์ 65

2. มาตรการในเรอื นจำ�

2.1 มาตรการคัดกรอง ซักประวัติ ตรวจหาเชื้อโควิด - 19 (COVID - 19) ผู้ต้องขังที่เข้าใหม่
ทุกราย ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงการประสานส่งต่อผู้ต้องขังท่ีมีความเส่ียงสูงไปยัง
โรงพยาบาลแม่ข่าย

2.2 การแยกกักผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกรายอย่างน้อย 14 - 21 วัน ภายใต้แนวคิด ให้สงสัย
ว่าผู้ต้องขังรับใหม่ทุกรายเป็นผู้ติดเช้ือ (วิธีการกักตัวให้ครบ 14 วัน จะยึดผู้ต้องขังรับใหม่ที่เข้าห้อง
แยกกกั คนสุดทา้ ย เป็นหลัก และนับต่อจนครบ 14 วนั )

2.3 มาตรการ “คนในหา้ มออก คนนอกห้ามเข้า” โดยการ งดเย่ยี มญาตติ ามปกติ แต่จดั ให้
มีการเย่ียมญาติผ่านช่องทาง Application Line ทดแทน การงดน�ำผู้ต้องขังออกท�ำงานสาธารณะหรือ
การฝึกวิชาชีพนอกเรือนจำ� ห้ามบุคคลภายนอกเขา้ ทำ� กิจกรรมภายในเรอื นจำ� เป็นต้น

2.4 ให้ความรู้กับผู้ต้องขัง เช่น การจัดท�ำวีดีทัศน์ “เร่ืองเล่าชาวเรือนจ�ำ” ในการบอกเล่า
สถานการณ์เก่ียวกับโรคโควิด - 19 (COVID - 19) ภายนอกเรือนจ�ำ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง
ให้กับผู้ตอ้ งขัง และลดความวติ กกังวลของญาติ

2.5 เนน้ การท�ำความสะอาดเรอื นจ�ำอยา่ งต่อเน่ืองและสมำ่� เสมอ

6666 วารสารราชทัณฑ์

2.6 การจดั ระบบอาสาสมคั ร
สาธารณสุขเรือนจ�ำ (อสรจ.) เพื่อช่วยงาน
สถานพยาบาล

2.7 จัดหาหน้ากากอนามัยให้เจ้าหน้าท่ี
และผตู้ อ้ งขงั ทุกราย

2.8 จดั เตรยี มหอ้ งแยกโรค หรอื พนื้ ทสี่ ำ� หรบั รองรบั
การระบาด

2.9 เจา้ หนา้ ทแ่ี ละผตู้ อ้ งขงั ทกุ ราย ตอ้ งยดึ หลกั การเวน้ ระยะหา่ ง
ทางสังคม (Social distancing)

2.10 ด�ำเนินการตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั
2.11 การจัดท�ำทนี่ อน 2 ช้ัน เพอ่ื เพิม่ พน้ื ที่ภายในเรือนจำ� ลดความแออัด และ
ทำ� ใหม้ พี ืน้ ที่เพยี งพอส�ำหรบั การแยกกกั โรคทม่ี ีประสิทธภิ าพ
2.12 มาตรการคัดกรองก่อนปล่อยตัว รวมทั้งการประสานโรงพยาบาลแม่ข่าย หรือ
หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องกรณผี ูต้ อ้ งขงั ท่ปี ล่อยตวั เป็นผู้ติดเชือ้ หรือมคี วามเสยี่ งสูง
2.13 เนน้ ยำ้� แนวทางปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั เจา้ หนา้ ทรี่ าชทณั ฑ์
ในการปฏิบัติงาน เพ่ือป้องกันการรับเช้ือ และอาจน�ำเช้ือไปสู ่
ผตู้ อ้ งขงั ได้

วารสารราชทัณฑ์ 67

3. มาตรการติดตามสถานการณ์

3.1 การจดั ตงั้ WAR ROOM ระดบั ผบู้ รหิ ารกรมราชทณั ฑ์ เพอ่ื ตดิ ตามสถานการณ์ และสามารถ
แก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างทนั ทว่ งที

3.2 จัดตงั้ ทมี ติดตามสถานการณ์ 24 ชัว่ โมง เพอื่ รายงาน WAR ROOM ผบู้ ริหารกรมราชทัณฑ์
และประสานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในการรับแจ้งผู้ต้องขังสัมผัสเสี่ยงสูงที่รับเข้ามา
ในเรือนจำ�

ความทา้ ทายในการรบั มอื การระบาดของโรคโควดิ -19 (COVID - 19)

มาตรการปอ้ งกนั โควดิ  - 19 (COVID - 19) ทกี่ รมราชทณั ฑ์ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิ
ภายใต้ข้อจ�ำกัดของเรอื นจ�ำและทัณฑสถาน แตก่ รมราชทัณฑ์ได้พยายามแก้ไขปัญหาและ

ปรับแนวทางปฏิบัติเพ่ือให้สามารถด�ำเนินการตามนโยบายให้ดีที่สุด ในการป้องกัน
มิให้เกิดการแพร่ระบาดภายในเรือนจ�ำ
สบื เน่ืองจาก เรอื นจ�ำ/ทณั ฑสถาน เปน็ สถานทีเ่ ฉพาะทจี่ �ำเป็นตอ้ ง
ให้ความส�ำคัญและเข้มงวดอย่างมาก ในเร่ืองการป้องกันมิให้
เชื้อโควิด - 19 (COVID - 19) เข้ามาแพร่ระบาดภายในเรือนจ�ำ
เพราะหากเกิดการแพร่ระบาดอาจท�ำให้ควบคุมได้ยากและ
อัตราการแพร่ระบาดจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เน่ืองจาก
เป็นสถานทท่ี ่มี คี นอยรู่ ่วมกนั จ�ำนวนมากอยา่ งแออัด
ภายในสถานท่ีจ�ำกดั ไดแ้ ก ่

6688 วารสารราชทัณฑ์

1. หลัก Social distancing

ท่ีควรห่างกนั 1 - 2 เมตร ซ่งึ เรือนจำ� แตล่ ะแหง่
ล้วนมีจ�ำนวนผู้ต้องขังเกินความจุปกติของพื้นท่ี
เรือนนอนในเรือนจ�ำแทบทุกแห่ง (ความจุปกต ิ
1.2 ตารางเมตร/คน)

กรมราชทัณฑ์และกระทรวงยุติธรรม ได้พยายาม
แก้ไขปัญหาด้วยแนวทางการเพิ่มพื้นที่นอน 2 ช้ัน ให้ทุกเรือนจ�ำ
ร่วมกับการออกมาตรการให้เรือนจ�ำทุกแห่งจัดหาหน้ากากอนามัยให้
ผตู้ อ้ งขงั ทกุ คนอยา่ งนอ้ ยคนละ 2 ชนิ้ โดยทก่ี ำ� ชบั ผตู้ อ้ งขงั ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กาก
อนามัยตลอดเวลาแม้ในเวลานอน

2. การจัดสถานทส่ี ำ� หรับ quarantine ผู้ต้องขังรับใหม่ อยา่ งนอ้ ย 14 - 21 วนั

เนือ่ งจากเรอื นจำ� แต่ละแหง่ มผี ้ตู ้องขงั เขา้ ใหม่เกอื บทุกวัน ท�ำให้ตอ้ งมกี ารบริหาร
จัดการแยกกักโรค ภายใต้บริบทของเรือนจ�ำและข้อจ�ำกัดด้านพื้นท่ี แต่เรือนจ�ำทุกแห่งต้อง
ด�ำเนินการแยกกักโรคอย่างเคร่งครัด ผู้ต้องขังรับใหม่บางเรือนจ�ำจึงอาจต้องอยู่ในห้องกักโรคมากกว่า
14 วัน เน่ืองจากจะต้องนับผู้ต้องขังรับใหม่ คนสุดท้ายที่เข้าห้องกักโรค จนครบ 14 วัน จึงจะสามารถ
ปลอ่ ยตัวผู้ตอ้ งขังทงั้ หมดที่อยภู่ ายในห้องกักโรคนั้น ๆ กลับเข้าแดนตามปกติได้

3. การจดั หาหนา้ กากอนามัยใหม้ เี พียงพอส�ำหรบั ผู้ต้องขังและเจ้าหนา้ ทท่ี กุ ราย ในช่วงแรก

ของการระบาด จะพบปัญหาการขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรค เช่น หน้ากากอนามัย
เจลแอลกอฮอล์ กรมราชทัณฑ์ ได้ด�ำเนินการแก้ปัญหาด้วยการจัดท�ำหน้ากากอนามัยชนิดผ้าใช้เอง และ
มอบใหเ้ รอื นจำ� และทัณฑสถาน ท่ีขาดแคลน

การรับมือกับการระบาดของโรค
ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื COVID-19
ของกรมราชทัณฑ์ ในห้วงเวลาท่ีผ่านมานั้น
สิ่งส�ำคัญประการหนึ่งคือความร่วมมืออันดี
จากกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นผลมาจาก
การลงนามในความร่วมมือกันของกระทรวงสาธารณสุขกับกรมราชทัณฑ์
การให้ความส�ำคัญในการป้องกัน การระบาดของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ผู้บริหาร
ทุกระดับ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์และบุคลากรทางการแพทย์ในเรือนจ�ำ
ภายใต้การด�ำเนินงานของโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท�ำความ ดี เพ่ือชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ที่สร้างพ้ืนฐานอันเข้มแข็งในการรับมือกับโรคระบาด และผู้ต้องขัง
ในเรือนจ�ำท่วั ประเทศสามารถเข้าถงึ การบรกิ ารทางการแพทย์ไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ

วารสารราชทัณฑ์ 69

แนวทางการดแู ลสขุ ภาพจิต
ผ้ตู ้องขงั ปว่ ยจิตเวช

สำ� หรับเจา้ หน้าทที่ ป่ี ฏบิ ตั ิงานในเรอื นจ�ำและทณั ฑสถาน

มณฑริ า อนิ ทรยี งค์
สำ� นกั เลขานกุ ารกรมราชทณั ฑ์

เม่ือผู้ต้องขังเข้ามาอยู่ในเรือนจ�ำ มีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนมากมาย ทั้งเร่ืองของ
การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง และการถูกจ�ำกัดอิสรภาพ
ซ่ึงการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ เหล่านี้ อาจท�ำให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตขึ้นได้ หากผู้ต้องขังท่ีเริ่มมีปัญหา
สุขภาพจิตและไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจท�ำให้เกิดปัญหาต่อการควบคุมในเรือนจ�ำ
ตามมา กรมราชทัณฑ์ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการดูแลสุขภาพจิตของผู้ต้องขัง จึงได้ก�ำหนด
แนวทางในการให้บริการด้านสุขภาพจิตแก่ผู้ต้องขัง เพ่ือให้ผู้ต้องขังสามารถเข้าถึงการบริการ
ด้านสุขภาพจิตและได้รับการดูแลอย่างครอบคลุมและทั่วถึง อย่างไรก็ตาม ด้วยจ�ำนวนบุคลากร
ทางการแพทย์และสุขภาพจิตท่ีปฏิบัติงานในเรือนจ�ำและทัณฑสถานท่ัวประเทศท่ีมีจ�ำกัด อาจท�ำให้
การให้บริการดังกล่าวยงั ไมส่ ามารถดำ� เนนิ ไปได้อย่างเตม็ ศกั ยภาพ รวมไปถึงเจา้ หน้าทีท่ ีป่ ฏบิ ตั งิ าน
ในเรือนจ�ำและทัณฑสถานอาจขาดความเข้าใจในลักษณะหรือธรรมชาติของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต/
ผู้ป่วยจิตเวช ท�ำให้ผู้ต้องขังกลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างเหมาะสม บทความนี้จึงมี
วัตถุประสงค์เพ่ือเป็นแนวทางในการดูแลผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจิตหรือมีอาการป่วยด้วยโรค
ทางจิตเวชส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบตั ิงานในเรอื นจ�ำและทณั ฑสถาน

7700 วารสารราชทัณฑ์

กระบวนการใหบ้ ริการด้านสุขภาพจิตแก่ผตู้ อ้ งขงั 1

ระยะแรกรับ
1. ผตู้ อ้ งขงั ทกุ รายจะตอ้ งผา่ นการคดั กรองโดยแบบประเมนิ ทาง
สุขภาพจิต ดังน้ี
1.1 แบบประเมนิ ภาวะสขุ ภาพจติ ผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� ไทย
(Prisoner Mental Health Questionnaire : PMHQ – Thai)
1.2 แบบประเมินซมึ เศรา้ และฆ่าตัวตาย (2Q 9Q 8Q)
1.3 แบบคดั กรองโรคจติ
หากพบว่ามีคะแนนเกนิ เกณฑป์ กติ หรอื มอี าการอน่ื ๆ ที่บง่ บอกวา่
อาจมีปัญหาด้านสุขภาพจิต จะมีการตรวจประเมินเพ่ิมเติมโดยนักจิตวิทยา
พยาบาล แพทย์หรือจิตแพทย์ นอกจากนี้ ยังมีการประเมินด้วยแบบคัดกรองและ
สง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยทใ่ี ชย้ าและสารเสพตดิ เพอื่ รบั การบาํ บดั รกั ษา กระทรวงสาธารณสขุ (บคก.กสธ.) V.2
เพื่อประเมินระดับความรุนแรงในการใช้สารเสพติดของผู้ต้องขัง เป็นกลุ่มผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด เพื่อจ�ำแนกเข้าหลักสูตร
การบำ� บดั ฟน้ื ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ ท่ีเหมาะสมตอ่ ไป
2. หากผตู้ อ้ งขงั มปี ระวตั กิ ารเจบ็ ปว่ ยจากโรงพยาบาลภายนอกมาใหใ้ นกรณมี โี รคประจำ� ตวั และรกั ษาตอ่ เนอ่ื ง
จะประสานให้ญาติรับยาจากทางโรงพยาบาลเพ่ือรักษาต่อเนื่อง หรือประสานเพ่ือด�ำเนินการย้ายสิทธิการรักษามายัง
โรงพยาบาลในพืน้ ท่เี รอื นจ�ำ
3. ให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเอง แนะน�ำการดูแลตนเองขณะอยู่ในเรือนจำ� หากมีอาการเจ็บป่วย
ใหป้ ระสานสถานพยาบาล
ระหว่างคุมขงั
1. การดูแลรักษาในกรณีผู้ต้องขังป่วยจิตเวชที่ได้รับการวินิจฉัยและรับประทานยา ให้ได้รับการรักษา
อยา่ งต่อเนอื่ งโดยมแี พทย์ หรือจิตแพทย์ทำ� การตดิ ตามการรกั ษาเปน็ ระยะ
2. หากเกินศักยภาพการรักษาพยาบาลในเรือนจ�ำ จะส่งตัวผู้ต้องขังไปรับการรักษาพยาบาลยังโรงพยาบาล
ภายนอก
3. ให้การดูแลดา้ นการส่งเสริม ป้องกนั และรกั ษาเบื้องต้น เช่น การจัดกิจกรรมเนื่องในวันสขุ ภาพจิตเรือนจ�ำ
ทุกวนั ท่ี 20 พฤษภาคม ของทกุ ปี การให้ความรู้ทางดา้ นสขุ ภาพจิตผ่านทางส่ือตา่ ง ๆ เชน่ ปา้ ยนทิ รรศการ วีดทิ ัศน์
และโปสเตอร์ เปน็ ต้น และการใหบ้ ริการคลินิกคลายเครียดซ่ึงเป็นคลินิกให้ค�ำปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตโดยเจา้ หน้าท่ี
ทีมสุขภาพจิตของเรอื นจ�ำ
4. ในกรณีที่ไม่สามารถให้การปรึกษาได้เน่ืองจากผู้ต้องขังมีปัญหาสุขภาพจิตรุนแรงหรือมีอาการป่วย
ทางจิตเวชก�ำเริบ ให้ประสานสถานพยาบาลในการส่งต่อผู้ต้องขังเพื่อเข้ารับการบ�ำบัดรักษาต่อไป รวมถึงการให้
ความชว่ ยเหลือในดา้ นอนื่ ๆ เช่น การติดต่อญาติ การฝกึ วิชาชีพ เป็นตน้

1 ศนู ยส์ ขุ ภาพจติ กองบรกิ ารทางการแพทย์ กรมราชทณั ฑ.์ (2558). แนวทางการดแู ลสขุ ภาพจติ และจติ เวชแกผ่ ตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน
ตามพระราชบัญญตั สิ ุขภาพจิต พ.ศ. 2551. พิมพค์ รั้งที่ 1. โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย : กรุงเทพฯ

วารสารราชทัณฑ์ 71

ระยะก่อนปลอ่ ย
1. มีการคัดกรองซ้�ำด้วยแบบประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้ต้องขังในเรือนจ�ำไทย (Prisoner Mental Health
Questionnaire: PMHQ-Thai) แบบประเมินซมึ เศรา้ และฆา่ ตัวตาย (2Q 9Q 8Q) และแบบคดั กรองโรคจติ
2. จัดเตรียมข้อมูลประวัติการรักษาและติดต่อญาติผู้ดูแลผู้ต้องขังหลังพ้นโทษ เพ่ือการดูแลรักษาอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง หากพบภาวะอนั ตรายและจำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ รบั การบำ� บดั รกั ษาตอ่ ใหท้ ำ� หนงั สอื สง่ ตวั ผตู้ อ้ งขงั เพอ่ื ไปรบั การรกั ษา
ตอ่ เนอ่ื ง
3. เม่ือปล่อยตัวผู้ต้องขังป่วยจิตเวชพ้นโทษ ให้ท�ำหนังสือแจ้งแก่ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือให้ได้รับ
การดูแลอย่างต่อเนื่อง
4. ให้ความรผู้ ู้ตอ้ งขังในการดูแลตัวเอง การรกั ษาต่อเนอ่ื งภายหลงั พน้ โทษ

โรคทางจิตเวชทพ่ี บไดบ้ ่อยในเรือนจำ� และทัณฑสถาน2

1. โรคจติ เภท
โรคจิตเภท เป็นโรคจิตประเภทหน่ึงที่พบได้บ่อย โรคจิตเภท หรือ Schizophrenia เป็นโรคทางจิตท่ีมี
ความผดิ ปกตขิ องกระบวนการคิด พฤติกรรม และอารมณ์ มีลกั ษณะความคดิ การรับรู้ และอารมณ์มคี วามบิดเบือน
และไม่เหมาะสม ถึงแม้จะมีสติสัมปชัญญะและความสามารถทางสติปัญญาท่ีเป็นปกติก็ตาม ซึ่งโรคจิตเภทนี้อาจมี
การดำ� เนนิ โรคแบบตอ่ เนอ่ื ง หรอื เกดิ ขน้ึ ในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ กไ็ ด้ ผปู้ ว่ ยโรคจติ เภทอาจมอี าการประสาทหลอน
คอื มกี ารรับร้ทู างประสาทสมั ผัสทั้ง 5 (รปู รส กลิน่ เสียง สมั ผสั ) ทง้ั ๆ ทีไ่ มม่ สี ิ่งกระตนุ้ เช่น ไดย้ นิ เสียงคนพูดกบั ตนเอง
ท้ัง ๆ ทีไ่ มม่ ีใครพูดด้วย อาการหลงผิด คอื มีการรบั รสู้ ิ่งกระตนุ้ ท่ีผดิ เพีย้ นไป เช่น เข้าใจวา่ ที่เพอ่ื นคุยกันกำ� ลังวางแผน
จะท�ำร้ายตนเอง หรือ คิดว่ามีมนุษย์ต่างดาวฝังเครื่องติดตามตัวไว้ที่สมองของตนเอง มีความคิดในลักษณะแปลก ๆ
และส่งผลให้มีพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปจากปกติ เช่น ไม่ดูแลสุขอนามัย มีพฤติกรรมก้าวร้าวอย่างท่ีไม่เคยเป็น
มาก่อน หรืออาจเฉยชา ไร้อารมณ์ ไม่เข้าสังคม การบ�ำบัดรักษาสามารถท�ำได้โดยการให้พบแพทย์เพ่ือรับการรักษา
ด้วยยาทางจติ เวช

2 ศูนย์สุขภาพจิต กองบริการทางการแพทย์ กรมราชทัณฑ์. (2563). คู่มือแนวทางการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้ต้องขัง
ในเรอื นจำ�/ทัณฑสถาน. จาก https://drive.google.com/file/d/1bxHRQaQHdgFSIIUzfutihAkSrPHd3YJa/view

7722 วารสารราชทัณฑ์

2. โรคซึมเศรา้
ผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า (Depression) จะเผชิญ

กบั ความรสู้ กึ ทตี่ กตำ�่ ระดบั พลงั งานในตวั เองลดลงจากเดมิ
การเข้าร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ลดลง มีความสนใจ
ความสนุกสนาน หรือการจดจ่อต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงลดลง
ความเคารพหรอื คณุ ค่าในตนเองลดลง (Self Esteem)
ผู้ป่วยมักจะมีความคิดว่าตนเองไร้ค่า ท้อแท้ ส้ินหวัง
อาจมีอารมณ์ฉุนเฉียว หรือซึมเศร้า มีพฤติกรรม
ขาดความสนใจในการดูแลตนเอง การนอนหลับและ
การกินเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีพฤติกรรมแยกตัว
ไม่สุงสิงกับใคร ในผู้ป่วยบางรายอาจมีพฤติกรรมพยายาม
ท�ำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตาย การบ�ำบัดรักษาสามารถท�ำได้
โดยการให้พบแพทย์เพอื่ รับการรกั ษาด้วยยาทางจติ เวช นอกจากนี้
สามารถให้ค�ำปรึกษา โดยรับฟังด้วยท่าทีท่ีพร้อมรับฟังในสิ่งท่ีเขาคิด
ไม่ต�ำหนิ หรือด่วนสรุปว่าเขาไม่ควรท�ำอย่างนั้นอย่างนี้ หากพบว่าผู้ป่วยมีพฤติกรรมท�ำร้ายตนเองหรือมีความคิด
ฆ่าตัวตาย ควรรีบให้ความช่วยเหลือและป้องกันอย่างเร่งด่วน อย่าปล่อยให้อยู่คนเดียว เก็บของมีคมหรืออุปกรณ ์
ท่ีอาจใช้ท�ำร้ายตวั เองได้ ในกรณีจำ� เปน็ อาจจะตอ้ งน�ำส่งโรงพยาบาล/โรงพยาบาลจิตเวช เพอ่ื รบั การชว่ ยเหลอื ต่อไป
3. โรควิตกกงั วล
โรควิตกกังวล หรือ Anxiety disorders เป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มประชากรทั่วไป ตามเกณฑ์
การวินิจฉัยจะสามารถแบง่ โรคในกลุม่ นี้ออกได้ถึง 12 โรค โรคทส่ี ามารถพบไดบ้ อ่ ยในเรอื นจำ� ได้แก่ โรคกงั วลทว่ั ไป
(Generalized anxiety disorder หรือ GAD) โดยผ้ปู ่วยจะมีความกงั วลทม่ี ากเกินไปต่อเหตุการณ์หรอื กิจกรรมตา่ ง ๆ
และความกังวลเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนเป็นระยะเวลานานอย่างน้อย 6 เดือน ผู้ป่วยรู้ตัวแต่ไม่สามารถควบคุมความกังวล
เหล่านี้ได้ และมีอาการทางกายรว่ มดว้ ย เช่น อาการกระสับกระส่าย ปวดเม่อื ยกล้ามเน้อื ออ่ นเพลีย หงดุ หงิด สมาธ ิ
ลดลง นอนหลับยากหรือหลับไม่สนิท หลับ ๆ ตื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ควรค�ำนึงว่าอาการวิตกกังวลอาจเกิดมาจาก
โรคทางกาย เช่น โรคหัวใจ โรคของต่อมไทรอยด์ ภาวะน�้ำตาลในเลือดต่�ำ หรือบางรายเป็นผู้ป่วยในกลุ่มโรคจิตเวช
ซ่ึงอาจจะมีอาการวิตกกังวลมาร่วมด้วย เช่น โรคซึมเศร้า (Depressive disorders) โรควิตกกังวลเก่ียวกับอาการ
ทางกาย (Somatization disorder) และโรคการปรบั ตัวผดิ ปกตริ ว่ มกับอารมณ์วติ กกงั วล (Adjustment disorder
with anxious mood) ซ่ึงเกิดจากการเจอเหตุการณท์ ่ีสรา้ งความกดดัน อยา่ งไรก็ตามเมอ่ื เหตุการณห์ รอื ปัจจยั ทีส่ รา้ ง
ความกดดันดังกลา่ วหมดไปแล้ว อาการก็จะหายไปภายใน 6 เดือน ในขณะที่ผูป้ ่วยโรคแพนกิ (Panic Attack) และ
โรคกังวลทว่ั ไป จะมีอาการโดยไมจ่ ําเป็นตอ้ งมีเหตุการณ์ที่สรา้ งความกดดัน การบำ� บดั รักษาสามารถทำ� ได้โดยการใช้ยา
ทางจิตเวชและการให้ค�ำปรึกษา
สำ� หรบั เจา้ หน้าทท่ี ี่ปฏิบตั งิ านในเรอื นจำ� และทัณฑสถาน สามารถสงั เกตอาการต่าง ๆ เหลา่ น้ี3 ท่อี าจจะเป็น
สัญญาณของปัญหาสุขภาพจิต ซ่ึงหากพบอาการดังกล่าวในผู้ต้องขัง ให้ด�ำเนินการแจ้งต่อบุคลากรทางการแพทย์
เพ่ือท�ำการประเมนิ เพ่ิมเติมต่อไป

3 Parekh. R. (2018). Warn Signs of Mental Illness. Retrieved from https://www.psychiatry.org/patients-families/warning-signs-
of-mental-illness

วารสารราชทัณฑ์ 73

1. การเปลี่ยนแปลงของการนอนหรือการกิน
เชน่ นอนหลบั หรอื กนิ มากเกนิ ไป หรอื มคี วามสนใจในการ
ดูแลสุขอนามัยสว่ นบุคคลลดลง

2. มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ มีการ
เปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อย่างรวดเร็วและรุนแรง หรือมี
ความรสู้ กึ ซมึ เศรา้

3. มีภาวะถอนตวั จากสงั คม ไมเ่ ข้าสังคม หรือมี
การสญู เสียความสนใจในสิง่ ที่ปกตผิ ้ตู ้องขังใหค้ วามสนใจ

4. สญู เสยี การดำ� เนนิ กจิ วตั รประจำ� วนั ทงั้ ในดา้ น
การเรียน การท�ำงาน หรือการปฏสิ มั พันธ์ทางสงั คม เช่น
ไม่สามารถเรียน ท�ำงาน หรือด�ำเนินกิจวัตรประจ�ำวัน
ได้ตามปกตทิ ี่เคยท�ำในเรือนจำ�

5. มีปัญหาด้านการคิด ได้แก่ ไม่มีสมาธิ มีปัญหาด้านความจ�ำ การคิดเป็นเหตุเป็นผล และการอธิบาย
สงิ่ ตา่ ง ๆ

6. มีความอ่อนไหวต่อส่ิงเร้าเพิ่มข้ึน มีความไวต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ ท้ังภาพ เสียง กล่ิน หรือสัมผัส โดยอาจมี
พฤติกรรมหลีกเลีย่ งส่ิงเร้าต่าง ๆ ทเี่ กิดขนึ้

7. มคี วามเฉยชา สูญเสียความสนใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ
8. รสู้ กึ ขาดการตดิ ตอ่ กบั สงั คม อาจมคี วามรสู้ กึ วา่ รา่ งกายกบั จติ ใจไมเ่ ปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั และมคี วามรสู้ กึ
ถูกตัดขาดจากสังคม รู้สกึ ไมเ่ ชือ่ มโยงหรอื กับสังคม
9. ขาดการคิดแบบเป็นเหตุเป็นผล อาจมีความคิดที่ผิดแผกไปจากความจริง หรือมีความคิดท่ีว่าตนเอง
มีพลังในการเปลย่ี นแปลงหรือมีอิทธิพลต่อเหตกุ ารณห์ นึ่ง ๆ
10. มีความวติ กกงั วล รู้สกึ กลวั หรอื หวาดระแวงบคุ คลรอบขา้ ง หรอื มคี วามรู้สกึ วิตกกังวลเป็นอย่างมาก
11. มีพฤตกิ รรมท่แี ปลกประหลาดไปจากปกติ
อาการดังกล่าวข้างต้น ไม่ได้บ่งบอกว่าผู้ต้องขังจะป่วยด้วยโรคทางจิตเวชท้ังหมด แต่เป็นสัญญาณท่ีระบุว่า
ควรมีการประเมินเพิ่มเติมเพื่อระบุหาสาเหตุของอาการที่เกิดข้ึนต่อไป และหากผู้ต้องขังมีปัญหาสุขภาพจิตหรือ
มีอาการป่วยด้วยโรคทางจิตเวชจะได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมและทันท่วงที ทั้งน้ี ผู้ต้องขังที่ได้รับการดูแล
อย่างเหมาะสม จะสามารถดำ� เนินกจิ วัตรปกติได้ในเรือนจำ� และสามารถอยู่รว่ มกับผูอ้ ื่นได้อย่างปกตสิ ุข

รายละเอยี ดแผนผังการให้บริการดา้ นสขุ ภาพจติ และจิตเวชแกผ่ ู้ตอ้ งขัง
ในเรอื นจ�ำและทณั ฑสถาน ผู้อา่ นสามารถศกึ ษาไดผ้ า่ น QR code ทีป่ รากฏ

7744 วารสารราชทัณฑ์

แรลู้จะักผกลับกโารรคศวึกษณั าคโรวาคมชุกวณั โรคแฝง

ในเรือนจ�ำกลางคลองเปรม

แพทยห์ ญงิ รวมทพิ ย์ สุภานนั ท์
ทณั ฑสถานโรงพยาบาลราชทณั ฑ์

วัณโรคเป็นโรคท่ีพบครั้งแรกเม่ือ 2,400 ปี ก่อนคริสตกาลจากกระดูกสันหลัง

มมั มใ่ี นอยี ปิ ต์ และมบี นั ทกึ จากวรรณกรรมของ Hipopocrated ชาวกรกี โบราณเมอ่ื ประมาณ
460 ปี ก่อนคริสตกาล ว่ามีการระบาดของโรคในยุคน้ัน วัณโรคหรือทีบี เป็นโรคติดต่อ
ทางเดินหายใจจากคนสู่คน (airborne transmission) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียช่ือ
Mycobacterium tuberculosis โดยการติดเช้ือสามารถเกิดได้ทุกอวัยวะของร่างกาย
สว่ นใหญ่มักพบทปี่ อด อวยั วะอื่น ๆ เชน่ ต่อมนำ�้ เหลือง สมองและเย่ือหมุ้ สมอง กระดกู สันหลัง
ชอ่ งทอ้ ง ระบบสบื พันธุ์ เป็นตน้

การแพร่กระจายเช้อื วัณโรค เกดิ จากผปู้ ว่ ยวัณโรค ไอ จาม พดู ตะโกน หวั เราะหรอื รอ้ งเพลงออกมาพร้อมกับ
น้�ำลายหรือเสมหะ ท�ำให้เกิดละอองฝอยฟุ้งกระจายออกมา การติดเช้ือวัณโรคเกิดข้ึนเม่ือสูดเอาเช้ือเข้าไปถึงถุงลม
ในปอด ระยะแรกระบบภมู ิคุ้มกนั ของรา่ งกาย เม็ดเลอื ดขาวชนิด Macrophage จะท�ำการลอ้ มเชือ้ วณั โรคไว้ ระยะน้ี
เรียกว่าการติดเช้ือวัณโรคแฝง ระยะน้ีผู้ติดเชื้อจะไม่มีอาการและไม่สามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น ซึ่งหากระบบ
ภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่สามารถก�ำจัดหรือควบคุมเช้ือได้ เชื้อวัณโรคจะแบ่งตัวและเพ่ิมจ�ำนวนอย่างรวดเร็ว ท�ำให้
ปว่ ยเปน็ วัณโรค หากเข้าสู่กระแสเลอื ดกจ็ ะแพร่กระจายไปยงั อวัยวะสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

วารสารราชทัณฑ์ 75

ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการแพร่กระจายเช้ือวณั โรค มดี ังน้ี

 ปจั จยั ดา้ นผปู้ ่วย เชน่ ป่วยเป็นวณั โรคในปอด หลอดลม มอี าการไอ จาม หรือมแี ผลโพรงในปอด
 ปจั จยั ด้านสง่ิ แวดล้อม เช่น แสงแดดส่องไมถ่ งึ อากาศถ่ายเทไมด่ ี
 ปัจจัยด้านระบบบริการ เชน่ การกระต้นุ ใหไ้ อ พ่นยา การใหย้ าไม่ถกู ต้อง รักษาไมค่ รบ
สรปุ แผนภมู ิ : การตดิ เชือ้ และป่วยเป็นวณั โรค

สมั ผัสผ้ปู ่วยวณั โรค

รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 30
ไมต่ ิดเชอ้ื ตดิ เช้ือวัณโรค

ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 10
ไม่ปว่ ย ป่วยเป็นวัณโรค

ไมไ่ ดร้ บั การรกั ษา ได้รับการรักษา
รอ้ ยละ 50 - 65 หาย
เสียชวี ิตภายใน 5 ปี

7766 วารสารราชทัณฑ์

องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทย
เปน็ 1 ใน 14 ประเทศของโลกที่มีภาระวัณโรคสงู
(High Burden Country Lists) จากผลการ
ดำ� เนนิ งานในปี 2562 มผี ปู้ ว่ ยวณั โรคขนึ้ ทะเบยี น
รายใหม่ 86,949 ราย (ร้อยละ 80) โดย
ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง
ต่อการป่วยเป็นวัณโรคและวัณโรคดื้อยา ซึ่ง
อบุ ตั กิ ารณข์ องโรคสงู กวา่ ประชากรทว่ั ไป 6 - 8 เทา่
เน่ืองมาจากสภาพความแออัดในห้องขังและ
การระบายอากาศที่ไม่เพียงพอ อีกท้ังปัจจัยจาก
ผู้ต้องขังที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่�ำ ภาวะทุพโภชนาการ
ท�ำใหเ้ กิดการแพรร่ ะบาดตดิ เชื้อวัณโรคไดง้ ่าย ปจั จุบันเพ่อื ยตุ ิ
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรควัณโรค องค์การอนามัยโลกจึงมี
มาตรการให้การรักษาวัณโรคแฝงในกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงสูง ซ่ึงผู้ต้องขัง
ในเรอื นจ�ำกอ็ ยใู่ นกลุม่ เปา้ หมายน้ี เน่อื งจากผ้ตู อ้ งขังในเรอื นจ�ำทม่ี ีเชอื้ วณั โรคแฝง
มีโอกาสจะพัฒนาเป็นวัณโรคในระยะแพร่กระจาย ซึ่งนอกจากจะติดต่อกับผู้ต้องขังด้วยกันแล้ว ยังมีโอกาสแพร่โรค
ให้แกเ่ จ้าหนา้ ทร่ี าชทัณฑ์ ครอบครวั สังคมและชมุ ชนอีกดว้ ย

ข้อมูลการคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในเรือนจ�ำปี 2561 ผู้ต้องขังที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์ปอด 285,367 ราย
ใน 143 เรือนจ�ำทั่วประเทศ ตรวจพบผู้ตอ้ งขังป่วยทีม่ วี ณั โรคระยะแพร่กระจาย 2,473 ราย

อาการของโรควัณโรคปอด ไดแ้ ก่ ไอเร้อื รงั นานกวา่ 2 สัปดาห์ ไอเป็นเลอื ด ไขท้ ุกวนั นาน 1 สัปดาห์ เหงือ่ ออกมาก
ผิดปกติในตอนกลางคืน น้�ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุใน 1 เดือน ที่ผ่านมาการวินิจฉัยโรควัณโรคปอดนอกจาก
อาการท่ีสงสัยแล้ว ยังต้องอาศัยผลตรวจเอกซเรย์ทรวงอก ผลตรวจเสมหะประกอบกันด้วย เสมหะที่ดีนั้น
ควรเป็นเมือก เหนียว เป็นยวง ขุ่นข้นมีสีเหลืองคล้ายหนอง ให้เก็บหลังตื่นนอนทันทีก่อนแปรงฟัน และเก็บเม่ือถึง
สถานพยาบาลหรอื โรงพยาบาล ควรจัดจุดเก็บเฉพาะเพอ่ื ลดการแพรก่ ระจายเช้อื โดยเนน้ หลกั การอากาศถา่ ยเทจาก
จดุ สะอาดกวา่ ไปยังจุดสะอาดน้อย ควรให้มแี สงแดดส่องถึง

การรกั ษาโรควณั โรคโดยทว่ั ไป ใชย้ ารบั ประทาน 4 ชนดิ ระยะเวลารกั ษาอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น หากตดิ เชอื้ วณั โรค
ในกระดูกหรอื สมองตอ้ งใชเ้ วลารกั ษาอยา่ งน้อย 12 เดอื น

วัณโรคแฝง (Latent TB infection : LTBI) หมายถึง ผู้ที่ได้รับเช้ือและติดเชื้อวัณโรคแฝง

อยใู่ นรา่ งกาย แตร่ า่ งกายมภี มู คิ มุ้ กนั สามารถยบั ยง้ั การแบง่ ตวั ของเชอื้ วณั โรคได้ ไมม่ อี าการผดิ ปกตใิ ด ๆ และไมส่ ามารถ
แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้ ดังนั้นการรักษาวัณโรคแฝงคือป้องกันการป่วยเป็นวัณโรคในอนาคต สูตรยาท่ีใช้รักษาวัณโรคแฝง
มีหลายสตู ร อาทิ 3HP เป็นการรบั ประทานยา 2 ชนดิ สปั ดาห์ละครั้ง ใช้ระยะเวลา 3 เดอื น (จำ� นวน 12 ครงั้ ) หรอื
1HP ใช้ยา 2 ชนิด รับประทานวันละคร้ัง เป็นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนเริ่มการรักษาวัณโรคแฝงจ�ำเป็นท่ีจะต้อง
ซกั ประวัติ ตรวจรา่ งกาย และเอกซเรย์ทรวงอกก่อนวา่ ไม่ป่วยเปน็ โรควณั โรค

จากการศึกษาความชุกของวัณโรคแฝงและการให้ยาไอโซไนอะซิดเพื่อป้องกันการเกิดวัณโรคในเรือนจ�ำของ
ประเทศไทย ความรว่ มมอื ระหวา่ ง HIV-NAT ศนู ยว์ จิ ยั โรคเอดส์ สภากาชาดไทย เรอื นจำ� กลางคลองเปรม และทณั ฑสถาน

วารสารราชทัณฑ์ 77

โรงพยาบาลราชทัณฑ์ เก็บข้อมูลผู้ต้องขังในเรือนจ�ำกลางคลองเปรมแดน 6 ท่ีสมัครใจเข้าโครงการต้ังแต่
สงิ หาคม 2561 ถึงพฤศจิกายน 2562 จำ� นวน 1,032 ราย ได้รับการตรวจหาเชื้อวัณโรคแฝง 1,002 ราย พบผลตรวจ

เป็นบวก 466 ราย (ร้อยละ 46.5) นอกจากนี้ยังพบการติดเช้ือทางเลือดจากอาสาสมัครผู้ต้องขัง เช่น
พบการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 29 ราย (ร้อยละ 2.9) ติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบี 61 ราย
(รอ้ ยละ 6.1) ไวรสั ตับอกั เสบซี 57 ราย (ร้อยละ 5.7) ซฟิ ลิ สิ 47 ราย (ร้อยละ 4.7)
ซง่ึ ผตู้ อ้ งขงั ทต่ี รวจพบวา่ มเี ชอื้ วณั โรคแฝงไดร้ บั ยาไอโซไนอะซดิ รบั ประทานขนาด
300 มิลลิกรัมต่อวัน นาน 6 เดือน และ 9 เดอื น ในผูท้ ่มี ภี าวะภมู คิ ้มุ กัน
บกพร่องร่วมด้วย มีอาสาสมัครผู้ต้องขังจ�ำนวน 356 ราย ที่สามารถ
รับประทานยาจนครบได้ตามก�ำหนด ส่วน 27 ราย (ร้อยละ 7.1)
หยุดรับประทานยาไอโซไนอะซิดเน่ืองจากมีผลข้างเคียงจากยา
ซงึ่ ปจั จยั ทส่ี มั พนั ธก์ บั การเกดิ ผลขา้ งเคยี งจากยาพบวา่ มกี ารตดิ เชอื้
ไวรสั ตบั อกั เสบบแี ละตดิ เชอ้ื ไวรสั ตบั อกั เสบซรี ว่ มดว้ ย โดยอาการ
ทพี่ บมากทีส่ ดุ คือ คลน่ื ไส้ (รอ้ ยละ 27) อาเจยี น (ร้อยละ 24.3)
ผ่นื คัน (ร้อยละ 21.6) ออ่ นเพลยี (รอ้ ยละ 8.1)
การติดตามผลการศึกษาพบว่าเกิดอุบัติการณ์การเกิด
โรควณั โรค 12 ราย (ชว่ งระหว่าง สิงหาคม 2561 - พฤศจิกายน 2562)
โดยแบ่งเป็นอาสาสมัครที่ได้รับยาไอโซไนอะซิด 4 ราย และ
ไม่ได้รับยาไอโซไนอะซิด 8 ราย ท้ังหมดเป็นวัณโรคท่ีไวต่อยา
ซ่ึงเดิมอุบัติการณ์การเกิดโรควัณโรคของเรือนจ�ำกลางคลองเปรม
ในปี 2560 (ตุลาคม 2560 - กนั ยายน 2561) จำ� นวน 67 ราย (1,077
รายต่อแสนประชากร) และในปี 2561 (ตลุ าคม 2561 - กนั ยายน 2562)
จ�ำนวน 48 ราย (771 รายตอ่ แสนประชากร) จะพบว่าอุบตั ิการณก์ ารเกิดโรค
วณั โรคมแี นวโนม้ ลดลง
ส�ำหรับมาตรการการป้องกันการแพร่กระจายเช้ือวัณโรค ควรคัดกรองผู้ต้องขัง

ที่มีอาการสงสัยโดยเร็ว โดยเฉพาะผู้ท่ีมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้สูงอายุท่ีมีโรคประจ�ำตัวเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ผู้ที่มี BMI น้อยกวา่ 18.5 ใหท้ ำ� การแยกออกจากผตู้ อ้ งขงั อ่นื ๆ ควรใหส้ วมใส่หน้ากากอนามัยปดิ ปาก
และจมูกตลอดเวลา ส่งเข้ารับการวินิจฉัยและรักษาโดยเร็ว ควบคุมสภาพแวดล้อมในห้องแยก ส�ำหรับในเรือนนอน
พิจารณาการระบายอากาศด้วยวิธธี รรมชาติ เชน่ เปดิ ชอ่ งระบายลม หรือใช้พัดลมชว่ ยให้ลมไหลหมุนเวยี นในหอ้ ง

ขอขอบพระคุณ แพทย์หญงิ อญั ชลี อวิหิงสานนท์ และคณะทำ� งาน HIV-NAT
ศูนย์วจิ ัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย

7788 วารสารราชทัณฑ์

โรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ จตพุ ร ธิราภรณ์
ของกรมราชทัณฑ์ กองพัฒนาพฤตินสิ ยั

ในบริบทความผกู พันทางสังคม

โรงเรียน เปน็ สถานท่สี ำ� คัญอย่างยิ่งในการปลกู ฝงั ความคดิ ค่านิยม ทัศนคติ และกระตุ้นใหเ้ ดก็ และเยาวชนมี
ความรกั และเคารพในความถกู ต้อง ความซื่อสัตย์สจุ รติ มจี ติ สาธารณะ มีความพอเพยี ง ความเปน็ ธรรมและรับผิดชอบ
ต่อสังคม ท้ังน้ีเด็กและเยาวชน ซ่ึงจะเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญ ฐานะเป็นก�ำลังของประเทศโดยมีบทบาทต่อการพัฒนา
ประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ ในอนาคตรวมถงึ ดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรมดว้ ย ดงั นน้ั การใหค้ วามรดู้ า้ นความยตุ ธิ รรมผสมผสาน
กบั สรา้ งคา่ นยิ มและทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ ง ดว้ ยกระบวนการสง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการมสี ว่ นรว่ มในเรอ่ื งความยตุ ธิ รรมอยา่ ง
เป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นการบูรณาการให้เด็ก เยาวชน ครูอาจารย์ ผู้ปกครอง และขยายออกสู่สังคมในวงกว้าง
เพื่อเป็นการวางรากฐานอนาคตของชาติให้เป็นกลไกขับเคล่ือนการป้องกันปัญหาอาชญากรรมต่อไปในอนาคต
การปลกู ฝงั จติ ส�ำนกึ ให้เดก็ และเยาวชนรกั ความยตุ ธิ รรม เคารพกฎหมาย ท้ังนีอ้ ย่างทีเ่ ห็นได้ง่ายและเป็นรปู ธรรมท่ีสุด
คอื การมวี นิ ยั นน้ั ควรทจี่ ะมกี ารดำ� เนนิ การปลกู ฝงั ตงั้ แตว่ ยั เยาว์ เพอ่ื ใหส้ ามารถเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ มี่ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ท่ีดีงามได้ อนึ่งประเทศไทยนั้นในทุกพื้นท่ีมีโรงเรียนและสถานศึกษาระดับต่าง ๆ นับตั้งแต่ชั้นปฐมวัย ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา และการศึกษาสายอาชีพ ซึ่งหากได้รับการปลูกฝังบ่มเพาะ ให้เด็กและเยาวชนในโรงเรียนหรือสถาบัน
การศึกษาเหล่านี้ให้มีจิตส�ำนึกรักความเป็นธรรม ศรัทธาในคุณธรรม ด้วยวิธีการท่ีเป็นธรรมชาติย่อมจะบังเกิดผลดี
และเป็นการปลกู ฝงั ทัศนคตทิ ด่ี ีจนกระทง่ั เตบิ โตเป็นผใู้ หญ่ได้

วารสารราชทัณฑ์ 79

กระบวนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนน้ันมีความแตกต่างจากกระบวนการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ โดยเฉพาะ
อยา่ งยงิ่ เดก็ จะมคี วามจดจอ่ อยกู่ บั การเรยี นรไู้ ดไ้ มน่ านนกั จงึ มกี ารพยายามคดิ คน้ นวตั กรรมการศกึ ษาตา่ ง ๆ เพอ่ื ดงึ ดดู
ความสนใจใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรไู้ ดอ้ ย่างเตม็ ที่ ขอ้ ค้นพบอยา่ งหนง่ึ ท่ีไดร้ ับการยอมรับกนั เป็นสว่ นใหญ่ คอื การจดั การ
เรียนรู้แบบการเรียนผสมผสานกับการเล่น กล่าวคือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีความน่าสนใจโดยสอดแทรกเน้ือหา
วิชาการลงไปเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งท�ำให้เด็กเกิดการคิด วิเคราะห์และจดจ�ำในขณะที่เข้าร่วมกิจกรรม ท้ังยังเป็น
การเปดิ ประสบการณใ์ หม่ ๆ ใหเ้ กิดความนา่ สนใจ ดังเช่นการเรยี นรู้และปลูกฝั่งค่านิยมความยุติธรรมและการปอ้ งกัน
การกระท�ำความผิดของเด็กในโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ ซึ่งด�ำเนินการโดยหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรม
บรู ณาการความรว่ มมอื กบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย และกรงุ เทพมหานคร ในการพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ของประเทศใหม้ ีความพร้อมในการเตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ เสริมสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ และปลกู ฝังจติ สำ� นึกใหก้ บั เดก็
และเยาวชนในโรงเรียน สถานศึกษา ในเรอ่ื งกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม การมวี ินัย การเคารพและไมล่ ะเมิด
สิทธิผอู้ นื่ การสร้างภูมิคมุ้ กนั ในการปอ้ งกนั ตนเอง มใิ ห้ตกเปน็ เหยื่อของยาเสพติด และภัยอาชญากรรม หรอื ตอ้ งตก
เปน็ ผู้กระทำ� ความผิดเพ่อื น�ำไปสปู่ ระเทศไทยในอนาคตความเปน็ สงั คมเคารพกฎหมาย (Culture of Lawfulness)

การจัดกิจกรรมภายใต้การด�ำเนินงานโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ ของกระทรวงยุติธรรม โดยให ้
หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม น�ำภารกิจของหน่วยงานมาประยุกต์เป็นกิจกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้
เพื่อปลูกฝังและปรับเปล่ียนพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนในวัยเรียน ซ่ึงก�ำลังเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงให้เป็น
“คนดี” ควบคกู่ ับการเปน็ “คนเก่ง” ทมี่ พี ร้อมดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และภูมิคุม้ กัน รู้เท่าทนั ในการป้องกันตนเอง
จากภัยต่าง ๆ เพื่อมิให้ตนเองตกเป็นเหยื่อหรือต้องตกเป็นผู้กระท�ำผิด สามารถด�ำรงชีพในสังคมได้อย่างปกติสุข
ในหัวข้อหลัก 4 ประการ คอื

1. การป้องกนั ตนเองจากภยั สังคม

การเรียนการสอนภายในโรงเรยี นในทุกระดบั จ�ำเปน็ ตอ้ ง เสรมิ สรา้ งทักษะ ความรู้ ความเขา้ ใจ
ให้กบั เด็กและเยาวชนใหเ้ หมาะสมกบั แตล่ ะชว่ งวัยให้รจู้ ักป้องกนั ตนเอง ร้เู ทา่ ทนั ภัย อันตรายต่าง ๆ ที่
อาจเกดิ ขนึ้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ดก็ และเยาวชนกลายเปน็ ผกู้ ระทำ� ผดิ หรอื ตกเปน็ เหยอื่ โดยรเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์

2. การสรา้ งจติ ส�ำนกึ และวนิ ยั ในตนเอง

การน้อมน�ำศาสตร์พระราชามาสร้างจิตส�ำนึกและระเบียบวินัยให้กับเด็กเล็กจนถึงวัยเรียน
ซ่ึงเป็น ช่วงวัยที่สามารถปลูกฝังลักษณะนิสัยผ่านกระบวนการเรียนรู้ การคิดอย่างมีเหตุผลมากขึ้น
การสร้างจติ สำ� นึกและ ระเบียบวนิ ัยจะท�ำใหเ้ ดก็ สร้างนิสยั ในการควบคุมตนเอง อันจะช่วยใหส้ ามารถ
ดำ� รงชีวติ อยรู่ ว่ มกับผ้อู ื่นในสงั คมได้ โดยไมล่ ะเมิดสิทธหิ รือประพฤตผิ ดิ มารยาทของสงั คม การฝึกวินยั
ให้กับเด็กและเยาวชนจ�ำเป็นต้องกระท�ำอย่างต่อเนื่อง สม่�ำเสมอ และค่อยเป็นค่อยไป ยืดหยุ่นได้
ตามสภาพของเดก็ และเยาวชน

8800 วารสารราชทัณฑ์

3. การรเู้ ท่าทันและหา่ งไกลจากยาเสพตดิ

เด็กและเยาวชนในวัยเรียน เป็นกลุ่มที่มีโอกาสตกเป็นเหยื่อได้ง่าย เน่ืองจากความไม่รู้เท่าทัน
และเป็นวัยท่ีอยากรู้อยากลอง การป้องกันเพ่ือมิให้เด็กและเยาวชนตกเป็นเหย่ือหรือเก่ียวข้องกับ
ยาเสพติดนั้น ครอบครัว ชุมชน หน่วยงานราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนและสถาบันการศึกษา
จะเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญ ในการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ
ทศั นคตทิ ถ่ี ูกต้องเกยี่ วกับโทษของยาเสพตดิ

4. การตอ่ ตา้ นการทุจริตคอร์รปั ชัน

เพ่ือให้เด็กและเยาวชนเติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ เป็นก�ำลังส�ำคัญในการสร้างสังคมและ
พัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรือง จึงต้องมีการสร้างวัฒนธรรมในการรักและเคารพความถูกต้อง
ความดี ซอื่ สัตย์ ซ่ือตรง และจิตสำ� นกึ ไม่ยอมรบั และตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชน่ั ในทุกรปู แบบให้เกดิ ขน้ึ
ในสงั คมโดย เริม่ วางรากฐานต้งั แตเ่ ด็กและเยาวชน

กรมราชทัณฑ์ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
ยตุ ธิ รรม ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานทร่ี จู้ กั ในวงกวา้ ง มปี ระวตั ศิ าสตร์
ความเปน็ มายาวนาน อกี ทงั้ มภี ารกจิ ทโ่ี ดดเดน่ ทง้ั ดา้ นการ
ควบคมุ ผกู้ ระทำ� ผดิ และแกไ้ ขผกู้ ระทำ� ผดิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยได้ด�ำเนินโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ ด้วยการ
ผสมผสานภารกิจของกรมราชทัณฑ์ในฐานะการป้องกัน
สงั คมให้พ้นจากอันตราย ควบคมุ ผกู้ ระท�ำความผดิ คดิ ค้น
ศกึ ษาพัฒนาวิธีการแกไ้ ขฟื้นฟผู ู้กระท�ำผดิ เพื่อส่งคืนคนดี
กลับสู่สังคม จึงเป็นแหล่งรวมตัวอย่างกรณีศึกษา และ
มีบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถจ�ำนวนมาก ในการนี้
เม่ือกรมราชทัณฑ์ได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตาม
โครงการโรงเรยี นยตุ ธิ รรมอปุ ถมั ภ์ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจ
เช่น การน�ำผู้ต้องขังออกมาถ่ายทอดประสบการณ์ชีวิต
การท�ำผิดคิดพลาด ประมาทในการใช้ชีวิต เพ่ือส่งต่อ
ประสบการณแ์ ละเปน็ แนวทางในการปอ้ งกนั ตนเองใหก้ บั
เด็กและเยาวชน หรือการน�ำเสนอกระบวนการปฏิบัติต่อ
ผูต้ ้องขงั การถูกจ�ำกัดอิสรภาพ เพอ่ื ท�ำให้เดก็ และเยาวชน
ตระหนักถึงผลการกระท�ำอันเน่ืองจากการกระท�ำ
ต่างระเบียบของสังคม เป็นต้น ซ่ึงมีความสอดคล้องกับ

วารสารราชทัณฑ์ 81

ทฤษฎีความผูกพันทางสังคม (Social Bond Theory)1 เปนทฤษฎีที่มีอิทธิพลอยางย่ิงตอการทํานาย พฤติกรรม
การกระทําผิดของมนุษย ทราวิส เฮอรสชิ (Travis Hirschi) เปนผูคิดคนโดยเช่ือวามนุษยเรามีแนวโน้มจะกระทํา
ผิดกฎหมายเปนทุนเดิมอยู่กอนแลวเพียงแตควบคุมเอาไวเทานั้น เหตุท่ีมนุษย์สามารถควบคุมไวไดและไม่กระท�ำผิด
เน่ืองจากกลัววาจะทําให้เสียความสัมพันธอันดีกับเพื่อนฝูงครอบครัวพ่ีนอง เพื่อนบาน ครูอาจารย นายจาง เป็นต้น
นอกจากน้ัน ทราวิส เฮอรสชิ (Travis Hirschi) ยงั ไดก ลาวถงึ องคประกอบความผูกพนั ตอ สังคม (Elements of the
social bond) ซ่งึ มอี ิทธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมการกระทําผดิ วาแบง เปน 4 องคป ระกอบ ดังนี้

1. ความผูกพัน (Attachment) หมายความถึง การที่บุคคลมีความผูกพันหรือ

ความรักใคร กับบุคคลอื่น หรือมีความสนใจกับความรูสึกนึกคิดของบุคคลอ่ืนซ่ึงความผูกพันนี้เปน
องคประกอบพ้ืนฐานท่ีสําคัญที่สุดท่ีจะทําใหบุคคลมีพัฒนาการการยอมรับคานิยมและบรรทัดฐาน
ของสังคม สงผลใหบุคคลสรา งความรูสกึ ทจี่ ะควบคมุ ตนเองใหเ ปน บคุ คลที่ดใี นสังคม ดังน้นั ความผกู พัน
จงึ เปน องคประกอบดา นอารมณหรอื ดานความรักของพันธะหรอื สญั ญาผกู มัดทบ่ี คุ คลมีตอ สงั คม

2. ขอ ผกู มดั (Commitment) หมายความถงึ การทบี่ คุ คลผกู มดั กบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ตาม

ทํานองคลองธรรมของสังคม กลาวคือ ไดศึกษาเลาเรียนเพื่อท่ีจะประกอบอาชีพท่ีสุจริต และเพ่ือท่ีจะ
ไดประสบความสาํ เรจ็ ในชีวติ ซึ่งจะสง ผลใหบ คุ คลไมอ ยากกระทําผิดกฎหมาย เน่อื งจากจะเปน การเสีย่ ง
ตอ การสญู เสยี ความสาํ เรจ็ ในชวี ติ ดงั นนั้ ขอ ผกู มดั จงึ เปน องคป ระกอบดา นความมเี หตุ มผี ลของพนั ธะหรอื
สัญญาผูกมัดทบ่ี คุ คลมีตอสงั คม

3. การเขารวม (Involvement) หมายความถึง การทีบ่ ุคคลไดเขารวมกจิ กรรมตา ง ๆ

ของสังคมเป็นเหตุใหบุคคลถูกจํากัดเวลาที่จะไปประกอบอาชญากรรม เน่ืองจากเวลาสวนมากไดถูกใช
ไปกบั กจิ กรรมของสงั คม ดงั นน้ั การเขา รว มจงึ เปน องคป ระกอบดา นกจิ กรรมของพนั ธะหรอื สญั ญาผกู มดั
ท่บี คุ คลมตี อสงั คม

4. ความเช่ือ (Belief) หมายความถึง การยอมรับคานิยม และบรรทัดฐานทางสังคม

รวมไปถึงศีลธรรมและจริยธรรมดวย เนื่องจากคนเราเชื่อวากฎหมายเปนส่ิงที่ถูกตอง มิอาจฝาฝืนได 
จึงไมกระทําผิด การมีความเชื่อหรือยอมรับบรรทัดฐาน กฎเกณฑของสังคมก็คือการทําใหบุคคล
ไมเ หน็ ดว ยกบั การละเมดิ กฎหมาย เพราะกฎหมายเปน บรรทดั ฐานหรอื กฎเกณฑข องสงั คม ทค่ี นในสงั คม
ยึดถือรวมกัน การละเมิดกฎเกณฑของสังคมเปน การกระทําท่ีตรงกันขา มกับเจตนารมณและความหวัง
ของคนอืน่ ๆ ในสงั คม

1 พรชัย ขนั ต.ี (2558). ทฤษฎอี าชญาวทิ ยา : หลักการ งานวจิ ยั และนโยบายประยุกต์. กรงุ เทพ ฯ : มหาวิทยาลัยรังสติ .

8822 วารสารราชทัณฑ์

ดังกล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่าโครงการโรงเรียน
ยุติธรรมอุปถัมภ์ ของกรมราชทัณฑ์ ซึ่งได้ด�ำเนินการ
ในพ้ืนท่ีโรงเรียนต่าง ๆ โดยการสร้างความร่วมมือกับ
ภาคีเครือข่ายเรือนจ�ำและทัณฑสถานกับโรงเรียนและ
สถานศึกษาอย่างเป็นวงกว้างท่ัวประเทศ เป็นจุดเริ่มต้น
การปลูกฝังความคิด ค่านิยม ทัศนคติ และกระตุ้นให้
เด็กและเยาวชนมีความรักและเคารพในความถูกต้อง
ความซ่ือสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ มีความพอเพียง
ความเป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม อีกท้ังเด็กและ
เยาวชนในฐานะผู้เรียนได้เกิดแนวคิดจากการเรียน
ด้วยการมีส่วนร่วมกิจกรรมด้วยการใช้ทักษะในทุกมิต ิ
บูรณาการการเรียนรู้อย่างแท้จริง รวมถึงครู อาจารย์
บุคลากรทางการศึกษาซ่ึงอยู่ในโรงเรียนเป็นที่ตั้งก็ยังได้
สัมผัสประสบการณ์แปลกใหม่เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ใน
งานการศกึ ษาไดอ้ กี ดว้ ย นบั เปน็ การประสานความรว่ มมอื
ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั เพอ่ื พฒั นาเดก็ และเยาวชนซง่ึ จะ
เป็นอนาคตของประเทศต่อไปร่วมกันอย่างแท้จริงและ
ที่ส�ำคัญการด�ำเนินงานโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ ของ
กรมราชทัณฑ์ ยังมีบริบทท่ียึดโยงกับสังคม กระชับ
ความผูกพันทางสังคมให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเพ่ือ
อนาคตประเทศไทยทก่ี า้ วไปสูส่ งั คมท่สี งบสขุ

แหล่งท่มี าของขอ้ มลู
เว็บไซต์ ของ กระทรวงยตุ ิธรรม : www.moj.go.th
เวบ็ ไซต์ ของ กรมราชทัณฑ์ : http://www.correct.go.th
เว็บไซต์ ของ สำ� นกั งานกิจการยตุ ธิ รรม : www.oja.go.th

วารสารราชทัณฑ์ 83

การเลยี้ งสุนัข ในเรอื นจำ�

เพือ่ การบ�ำบดั เอกกมล ลวดลาย
ทณั ฑสถานหญิงกลาง

โดยทว่ั ไปสำ� หรบั คนทรี่ กั สตั วจ์ ะเขา้ ใจวา่ การเลย้ี งสตั วน์ นั้ นบั วา่ เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการชว่ ยใหผ้ ทู้ เี่ ลยี้ งสตั วน์ น้ั
ได้รู้สึกมีความสุข โดยในปัจจุบันมีการน�ำสัตว์มาเล้ียงเพื่อช่วยในการบ�ำบัดส�ำหรับผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุ ซึ่งมีการศึกษา
เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์นั้นมีส่วนช่วยในการฟื้นฟู บ�ำบัด ให้แก่ผู้ป่วยและผู้สูงอายุให้มีสภาวะทางจิตใจดีข้ึน ไม่ว่า
จะเปน็ การเล้ยี งสตั ว์ประเภทตา่ ง ๆ เช่น สุนัข แมว นก ปลา รวมถงึ สัตว์อ่ืน ๆ กต็ าม การเลี้ยงสตั วเ์ หล่านตี้ ่างมผี ล
ต่อจิตใจของผู้เล้ียงท�ำให้ผู้เล้ียงเกิดความรู้สึกเข้าใจถึงความรักและมีความรู้สึกอ่อนโยน เพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้านั้น การเล้ียงสัตว์ ก็ได้น�ำมาเป็นแนวทางการบ�ำบัด รักษาอาการอีกรูปแบบหน่ึง โดยผลจาก
การศกึ ษาวิจยั ในเรื่องของการน�ำสัตว์เล้ยี งมารกั ษาบ�ำบดั น้นั จากการประเมินผล พบวา่ กลุ่มผู้ทเี่ ขา้ รับการบ�ำบัดดว้ ย
สัตว์เลี้ยงน้ัน จะมีค่าคะแนนทางจิตใจสูงกว่า กลุ่มผู้ท่ีไม่ได้รับการบ�ำบัดอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยท่ีเป็น
โรคซมึ เศรา้ ทมี่ อี าการดขี นึ้ ภายหลงั ทไี่ ดเ้ ขา้ รว่ มการบำ� บดั กจิ กรรมเลยี้ งสตั วบ์ ำ� บดั นอกจากนี้ ยงั มกี ารเผยแพรบ่ ทความ
การศกึ ษาในเรอื่ งการเลยี้ งสตั วบ์ ำ� บดั ในวารสาร Current Georontol Geratic Research ปี 2014 ของสถาบนั สขุ ภาพ
แห่งชาตสิ หรัฐอเมรกิ า ในการศกึ ษาเร่อื ง The Benefit of Pet and Animal-Assisted Therapy to the Health
of Older Individuals โดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวัดประสิทธิภาพการรักษาโรคซึมเศร้าและจิตเภท
ด้วยการเล้ียงสัตว์บ�ำบัด ซ่ึงจากการศึกษาพบว่า สัตว์เล้ียงประเภทสัตว์สี่ขา ช่วยพัฒนาสุขภาพจิตได้ดีขึ้น
คลายความเครียด ลดความเหงา และ ความโดดเด่ยี ว แกผ่ ปู้ ่วยได้
8844 วารสารราชทัณฑ์

จากแนวความคิดการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบ�ำบัดท่ีมีผลต่อการพัฒนาสุขภาพจิตในเบื้องต้นน้ัน
ซึ่งแนวทางการบ�ำบัดดังกล่าวมีความสอดคล้องตามแนวนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(นายสมศักด์ิ เทพสทุ ิน) ในการใหก้ รมราชทัณฑ์ ดำ� เนนิ โครงการเลี้ยงสนุ ขั เพอ่ื การพัฒนาพฤตนิ ิสัยผ้ตู ้องขงั
เพ่ือน�ำมาใช้กล่อมเกลาจิตใจให้แก่ผู้ต้องขังได้มีความรัก ความรู้สึกอ่อนโยนผ่านกระบวนการการเล้ียงสัตว ์
ซึ่งโปรแกรมการพัฒนาพฤตินิสัยด้วยการเลี้ยงสุนัขน้ัน ถือได้ว่าเป็นกระบวนการหน่ึงท่ีน�ำมาใช้ในการพัฒนา
พฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขังไม่เพียงแต่ประเทศไทยเท่านั้น ยังรวมถึงอีกหลาย ๆ ประเทศที่ได้เห็นถึงความส�ำคัญของ
โปรแกรมการเลี้ยงสุนัขที่ส่งผลต่อสภาพจิตใจ และช่วยขัดเกลา พัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขัง อย่างเช่น ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ และแอฟริกาใต้ เป็นต้น ซึ่งบทความฉบับน้ีจะน�ำเรื่องราวดี ๆ ท่ีหลายประเทศ
ไดน้ �ำแนวทางการเลี้ยงสุนขั มาใชบ้ ำ� บัด และใช้ในการแก้ไขพฒั นาพฤตนิ สิ ัยให้แกผ่ ู้ตอ้ งขงั ในรูปแบบต่าง ๆ

ส�ำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นประเทศท่ีน�ำรูปแบบการให้บริการสัตว์เลี้ยงบ�ำบัดมาใช้พัฒนาจิตใจ
โดยเฉพาะการน�ำสัตว์เล้ียงประเภทสุนัขมาให้บริการให้แก่ผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุในการเลี้ยงดูสัตว์เหล่าน้ี เพื่อช่วยลด
อาการซึมเศร้าหรือรู้สึกโดดเดี่ยว ซึ่งในเรือนจ�ำในประเทศสหรัฐอเมริกาหลายแห่งได้มีการน�ำสุนัขมาเล้ียงโดยเน้น
สง่ เสริมใหผ้ ตู้ ้องขงั ไดร้ ับการพฒั นาพฤตินิสัย ผา่ นกระบวนการเลีย้ งดสู ัตวเ์ ลย้ี งอยา่ งประเภทสุนัข

เพ่ือให้ผู้ต้องขังเหล่าน้ันได้มีการขัดเกลาทางด้านจิตใจ มีความรู้สึกรักและห่วงใยต่อสัตว์ที่พวกตนดูแล
ที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาด้านจิตใจของผู้ต้องขังต่อไปในอนาคต การเลี้ยงสุนัขไม่เพียงแต่ช่วยให้ผู้ต้องขังได้รับ
การผ่อนคลายเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงการฝึกสุนัขให้เป็นผู้ช่วยท�ำภารกิจต่าง ๆ ภายในเรือนจ�ำอีกด้วย ซ่ึงในเรือนจ�ำ
หลายแห่งได้มีหลักการฝึกสุนัข K - 9 ซ่ึงใช้ในภารกิจต่าง ๆ ของเรือนจ�ำ เช่น การตรวจค้นโทรศัพท์ การปราบกลุ่ม
จลาจลภายในเรือนจ�ำ การค้นหายาเสพติด รวมถึงใช้เดินลาดตระเวนควบคู่ไปกับเจ้าหน้าท่ีในการเดินตรวจตรา
ภายในเรือนจ�ำอีกด้วย ซึ่งการฝึกสุนัขในเรือนจ�ำนอกจากจะช่วยให้ผู้ต้องขังท่ีดูแลได้เรียนรู้และฝึกทักษะต่าง ๆ
ผ่านการฝึกสุนัขแล้ว ยังช่วยสร้างความปลอดภัยในเรือนจ�ำอีกทางหนึ่งด้วย ซ่ึงมีหลากหลายโปรแกรมที่ทางเรือนจ�ำ
ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้น�ำมาฝึกใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขัง เช่น Pawsitive Partners Prison Program, Prisoners Assisting

วารสารราชทัณฑ์ 85

With Support Dogs (PAWS), and Prisoners Overcoming Obstacles and Creating
Hope (POOCH) เป็นต้น

ประเทศออสเตรเลียเป็นอีกหน่ึงประเทศท่ีมีการฝึกสุนัขโดยผู้ต้องขังภายในเรือนจ�ำ มีเรือนจ�ำ
จ�ำนวน 23 แห่ง ใน 6 รัฐ ของประเทศออสเตรเลีย ได้น�ำรูปแบบโปรแกรมการเล้ียงสุนัขมาใช้ในการพัฒนา
พฤตินสิ ัยใหแ้ กผ่ ตู้ ้องขงั โดยการฝกึ สนุ ัขในเรือนจำ� ในประเทศออสเตรเลียน้ัน จะเน้นให้ผ้ตู อ้ งขังไดด้ ูแลสนุ ัขทตี่ ้อง
ได้รับการอนุบาลก่อนจะส่งตัวสุนัขที่ผู้ต้องขังเล้ียงไปให้แก่ครอบครัวที่ต้องการอุปการะพวกสุนัขที่ผู้ต้องขังเหล่านี้
ได้เลี้ยงดูต่อไป โดยกลุ่มผู้ต้องขังที่เป็นผู้ดูแลสุนัขเหล่าน้ีเป็นผู้ต้องขังที่ป่วยอยู่โรงพยาบาล โดยจะท�ำหน้าที่ในการ
ดูแลและฝึกสุนัข ในแต่ละรุ่นเป็นเวลา 6 - 12 สัปดาห์ ซ่ึงจะเน้นให้พวกสุนัขได้เรียนรู้ถึงวิธีการปรับตัวให้อยู่กับผู้คน

และฝึกให้ปฏิบัติตามค�ำสั่งทั่ว ๆ ไป เช่น การนั่ง
การว่ิงเก็บของ การทักทายเจ้าของ กลิ้งไปกล้ิงมา
ตามค�ำส่ัง ซง่ึ จากการประเมนิ พบว่า 60 เปอร์เซนต์
ของสุนัขที่ผ่านการฝึกภายในเรือนจ�ำ สามารถ
ปรับตัวและอยู่กับครอบครัวผู้อุปการะได้อย่างมี
ความสุข ที่ส�ำคัญการฝึกสุนัขดังกล่าวยังช่วยให้
ผู้ต้องขังเกิดการเรียนรู้ เกิดการฝึกฝน เช่นทักษะ
ความอดทน การรกู้ ารเขา้ ใจถงึ สญั ชาตญาณของสนุ ขั
รวมถึงทักษะต่าง ๆ ท่ีได้เรียนรู้จากการเล้ียงสัตว ์
ซึ่งผู้ต้องขังท่ีผ่านการฝึกอบรมให้แก่สุนัขจะได้รับ
ใบรบั รองการผ่านการอบรมสุนขั อกี ดว้ ย
ประเทศอังกฤษก็มีการน�ำโปรแกรมการฝึกสุนัขมาใช้เป็นโปรแกรมเพ่ือการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
โดยผู้ต้องขังท่ีท�ำการฝึกสุนัขจะต้องได้รับการฝึกจากเจ้าหน้าท่ีผู้เช่ียวชาญในการฝึกสุนัข เพ่ือน�ำไปฝึกสุนัขต่อไป
โดยสุนัขส่วนใหญ่ท่ีเข้ารับการฝึกจะเน้นเป็นสุนัขที่ใช้ฝึกเพ่ือการตรวจค้นยาเสพติด โปรแกรมในการเลี้ยงสุนัข
ในเรอื นจำ� ของอังกฤษทีโ่ ดดเดน่ คือ โปรแกรม the Garth Prison Pet Program in Lancashire ซ่งึ ในเดือนมนี าคม 2021
ทางการอังกฤษต้ังเป้าหมายไว้ว่าจะมีการขยายโครงการฝึกสุนัขในเรือนจ�ำได้ถึง 46 แห่ง ทั่วประเทศ ซึ่งการ
ส่งเสรมิ โปรแกรมการเลีย้ งสุนัขในเรือนจำ� ไม่เพยี งแตจ่ ะชว่ ยในการฝึกพฒั นาจติ ใจผู้ตอ้ งขงั แลว้ แต่ยงั มสี ่วนในการช่วย
ให้เรือนจ�ำหลาย ๆ แห่งในประเทศอังกฤษเกิดความปลอดภัย จากการน�ำสุนัขท่ีผ่านการฝึกฝนมาเป็นผู้ช่วยในงาน
ตรวจคน้ สง่ิ ของต้องห้ามภายในเรือนจ�ำ ซ่ึงระหวา่ ง เมษายน 2019 ถึง มีนาคม 2020 มีการตรวจคน้ และพบสง่ิ ของ
ตอ้ งหา้ มกว่า 2,000 กวา่ ช้นิ ทีม่ กี ารตรวจค้นพบภายในเรือนจ�ำ ที่ต่าง ๆ ในประเทศอังกฤษ
ในประเทศแคนาดามีการน�ำโปรแกรมการฝึกสุนัขมาใช้ในการแก้ไขพัฒนาจิตใจผู้ต้องขัง โดยเน้นในกลุ่ม
ผตู้ อ้ งขงั หญงิ เพอ่ื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไดเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมและปรบั ทศั นคตใิ นเชงิ บวก โดยมเี รอื นจำ� ทเ่ี ขา้ รว่ ม เชน่
Nova Institution for Women in Truro, Nova Scotia, และ the Burnaby Correctional Center for Women
ซ่งึ ไมเ่ พยี งแตก่ ารเล้ียงสุนขั เทา่ นัน้ ยังรวมถึงมีการเลย้ี งสตั วป์ ระเภทอ่ืน ๆ อาทิ เช่น หนู หมู นก ปลา ม้า แมว อีกด้วย
ซ่ึงผู้ต้องขังจะได้มีสัตว์เลี้ยงเหล่านี้เป็นเพื่อน และช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้คลายความกังวล ระหว่างต้องโทษภายใน
เรือนจำ� อกี ทางหนึ่ง ซง่ึ การนำ� สตั วเ์ ลีย้ งมาให้ผตู้ อ้ งขงั หญงิ ช่วยดแู ลเนือ่ งจากผูต้ อ้ งขังหญงิ เป็นกลมุ่ ทีม่ ีความเปราะบาง
มีความรู้สึก และอารมณ์ท่ีอ่อนไหว ดังน้ันการเลี้ยงสัตว์จึงเป็นอีกตัวช่วยท่ีดีในการคลายเหงาให้แก่ผู้ต้องขังหญิง
และเสรมิ สร้างความสุขในเวลาที่คดิ ถงึ ครอบครัวได้

8866 วารสารราชทัณฑ์

ประเทศแอฟริกาใต้ นับเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีการน�ำรูปแบบการเลี้ยงสัตว์มาช่วยในการ
พฒั นาจติ ใจผตู้ อ้ งขงั โดยมโี ปรแกรมเลยี้ งสตั วเ์ ปน็ เพอื่ น หรอื ทเี่ รยี กวา่ Companion animal programs
โดยทาง กรมราชทัณฑ์ ซึ่งจัดให้เป็นโปรแกรมในการช่วยพัฒนาจิตใจให้แก่ผู้ต้องขัง โดยจะมีการแบ่งกลุ่ม
ผู้ตอ้ งขงั ออกเป็น ๒ กลุ่ม คอื กลมุ่ A และ กลมุ่ B โดยผตู้ ้องขงั ทเ่ี ขา้ ร่วมโปรแกรมจะได้รบั การประเมินทกุ ๆ
6 เดือน โดยในกลุ่ม A จะได้รับสิทธิพิเศษในการดูแลสุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงของตน ซ่ึงผู้ต้องขังท่ีเล้ียงสุนัขดังกล่าว
เมอ่ื ไดร้ บั สทิ ธใิ นการเปน็ เจา้ ของแลว้ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบในคา่ ใชจ้ า่ ยในการเลย้ี งดสู นุ ขั ทต่ี นเองเลย้ี งและดแู ลรบั ผดิ ชอบ
ในดา้ นตา่ ง ๆ ในการดแู ลสนุ ัขขณะต้องโทษภายในเรือนจ�ำ

ซง่ึ จากการศกึ ษาพบวา่ การเลยี้ งสนุ ขั ภายในเรอื นจำ� มผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผตู้ อ้ งขงั ไปในทศิ ทางทด่ี ี
จากการศึกษาของ Babara & David (2016) ชี้ว่า มีเรือนจ�ำจ�ำนวนกว่า 290 แห่ง ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มี
การน�ำโปรแกรมการเลี้ยงสุนัขภายในเรือนจ�ำมาใช้ในการฝึกพัฒนาจิตใจให้แก่ผู้ต้องขังพบว่ามีผลต่อการพัฒนาจิตใจ
ให้แก่ผู้ต้องขังที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยของ Tyler M. Han และคณะ (2018) ที่ศึกษา
การฝึกสุนัขในเรือนจ�ำในการช่วยเจ้าหน้าที่เรือนจ�ำในหลายรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า สุนัขท่ีได้รับการฝึก
ในเรือนจ�ำนั้น มีส่วนช่วยให้ผู้ต้องขังได้เกิดการพัฒนาและยังช่วยให้เรือนจ�ำได้มีการตรวจค้นสิ่งของต้องห้ามต่าง ๆ
ควบค่ไู ปกบั การฝึก ซึง่ เป็นประโยชนต์ อ่ การฝกึ สุนัขภายในเรือนจ�ำ

โดยโปรแกรมท่ีด�ำเนินการภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานในการเล้ียงสัตว์ประเภทต่าง ๆ เพ่ือการปรับเปล่ียน
พฤติกรรมและใช้เพ่ือการบ�ำบัดแก้ไขฟื้นฟูให้แก่ผู้ต้องขัง เรียกว่า Pet Facilitated Therapy in Correctional
Institutions ( PFT) นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมอ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวกบั การเลย้ี งสัตวอ์ ีกเปน็ จ�ำนวนมาก เชน่ โปรแกรมส�ำหรบั
การเย่ียมชม ( Visitation Programs) เปน็ โปรแกรมสำ� หรบั ใหผ้ ู้เข้าเยี่ยมชมเรือนจำ� /ทัณฑสถานไดม้ คี วามใกลช้ ดิ กบั
สัตว์เล้ียงไว้ภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน โปรแกรมการเลี้ยงดูอนุบาลสัตว์ป่า (Wildlife Rehabilitation Programs)
ซ่ึงเป็นโปรแกรมในการช่วยเหลืออนุบาลสัตว์ป่าก่อนปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติ โปรแกรมด้านบริการทางชุมชนและ
การฝกึ วิชาชพี (Vocational & Community Service Programs) ทเี่ น้นให้การดแู ล ฝึกฝน มา้ ปา่ รวมถงึ การฝึกสนุ ขั
ควบคู่ไปด้วย ในการส่งเสริมให้ผู้ต้องขังเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสัตว์ภายในชุมชนเพื่อการฝึกวิชาชีพ แต่
อย่างไรก็ตามในการดูแลสัตว์เลี้ยงต่าง ๆ ในเรือนจ�ำนั้น มีข้อท่ีต้องค�ำนึงถึงแนวทางการดูแลสัตว์เล้ียงเหล่านั้น

วารสารราชทัณฑ์ 87

ทั้งในด้านสถานท่ี ประเภทของสตั ว์ที่จะน�ำมาเลย้ี ง ทงั้ น้ี เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมทงั้ แกต่ วั ผู้เลีย้ งและ
พนื้ ทใ่ี นการดแู ลเลยี้ งสตั วแ์ ตล่ ะประเภทควบคกู่ นั ไปดว้ ย ซง่ึ เรอื นจำ� ในตา่ งประเทศทนี่ ำ� สตั วต์ า่ ง ๆ ไปเลยี้ ง
ส่วนใหญ่จะมีการก�ำหนดพ้ืนที่จัดระบบการดูแลในการเล้ียงดูสัตว์ประเภทต่าง ๆ ไว้อย่างเป็นระบบ
ซึ่งในต่างประเทศการเลี้ยงสัตว์ในเรือนจ�ำจะเน้นเล้ียงสัตว์ในเรือนจ�ำที่มีพื้นท่ีเพียงพอต่อการเล้ียงสัตว ์
ประเภทเรือนจ�ำการเกษตร หรือเป็นเรือนจ�ำลักษณะเรือนจ�ำเปิด เพราะจะมีพ้ืนที่ในการท�ำกิจกรรมและ
ฝึกสัตว์เล้ียงต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ดังน้ันจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการที่จะต้องพิจารณาถึงพื้นท่ีในการเลี้ยงสัตว ์
เรือนจ�ำทุกแห่งท่ีมีความเหมาะสมสามารถเลี้ยงสัตว์แต่ละชนิดได้ เช่นในเรือนจ�ำในต่างประเทศตามท่ีได้กล่าวไว้
อีกทั้งต้องมีการดูแลเร่ืองการจัดการก�ำจัดของเสียต่าง ๆ ที่เกิดจากการเลี้ยงสัตว์ ท่ีหากไม่รักษาความสะอาดดีพอจะ
ก่อใหเ้ กิดโรคและส่งผลต่อสุขภาพของผู้ตอ้ งขงั ภายในเรอื นจ�ำ จึงตอ้ งค�ำนึงถงึ เร่อื งความสะอาดและการบรหิ ารจดั การ
การเลย้ี งสัตว์อยา่ งเปน็ ระบบและเหมาะสมเป็นอย่างยิง่
ดงั นน้ั การเลยี้ งสตั ว์ ไมว่ า่ จะ
เป็นสุนัขหรือสัตว์ประเภทใด ๆ
ก็ตาม หรือแม้แต่การจัดกิจกรรม
อื่ น  ๆ ที่ เ ป ็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ เ ป ็ น
เชิงสร้างสรรค์แล้ว นับได้ว่าเป็น
แนวทางที่ส�ำคัญในการส่งเสริมและ
พัฒนากระบวนการแก้ไขพัฒนา
ให้แก่ผู้ต้องขังในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม ที่จะมีส่วนส�ำคัญ
ในการช่วยให้ผู้ต้องขังได้รับการปรับเปล่ียนทัศนคติเข้าใจและแบ่งปันความรัก ความรู้สึก และแนวคิด
ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมเหล่านั้นได้น�ำไปปรับเปล่ียนพฤติกรรมของตนเองขณะต้องโทษอยู่ในเรือนจ�ำ/
ทณั ฑสถาน อีกท้ังเพื่อสามารถเตรียมตนเองพร้อมกลับไปสสู่ งั คมอีกคร้งั และยังจะช่วยเพ่อื บำ� บัดผ่อนคลาย ลดความ
วติ กกงั วลตา่ ง ๆ ใหแ้ กผ่ ตู้ อ้ งขงั กอ่ ใหเ้ กดิ กำ� ลงั กาย กำ� ลงั ใจในการทจี่ ะเขา้ รว่ มหรอื แกไ้ ขพฒั นาตนเองในโปรแกรม หรอื
กิจกรรมต่าง ๆ ตามที่เรือนจ�ำได้ก�ำหนดไว้ จึงนับได้ว่ากระบวนการพัฒนาพฤตินิสัยเป็นแรงขับเคลื่อนท่ีส�ำคัญ
ในการช่วยเหลือผู้ต้องขังให้สามารถปรับเปล่ียนตนเองขณะต้องโทษในเรือนจ�ำ เพื่อกลับไปใช้ชีวิตในสังคมและ
ครอบครวั ได้อยา่ งมคี วามสุข อกี ครั้งตอ่ ไป

แหล่งที่มาของข้อมูล
https://journals.sagepub.com/doi/pdf/10.1177/0032885516671919
https://www.corrections1.com/k-9-detection/articles/how-to-start-a-k-9-unit-in-a-correctional-facility-

ooeYqJnwCqFPWKtk/file:///C:/Users/USER/Downloads/2015Mercer_GibsonJFP.pdf
https://www.csc-scc.gc.ca/publications/fsw/pet/pet-06-eng.shtml
https://dmh.go.th/news/view.asp?id=2259
https://www.heritage.org/crime-and-justice/commentary/the-rehabilitative-potential-having-prisoners-raise-train-dogs
https://www.wellbeingintlstudiesrepository.org/cgi/viewcontent.cgi?article=1001& context=anitobe
8888 วารสารราชทัณฑ์

กระท�ำช�ำเรา
ความหตามมายใหม่

วชั รากร ชาวตะโปน
กองกฎหมาย

1. บทนำ�

ความผดิ เกยี่ วกบั เพศในประเทศไทยถกู บญั ญตั ขิ น้ึ ครงั้ แรกในกฎหมายตราสามดวง ตามพระอยั การ
ลักษณะผัวเมีย และได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมความผิดดังกล่าวเรื่อยมา เช่น พระราชก�ำหนดลักษณะข่มขืน
ล่วงประเวณี ร.ศ.118 กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.1271 ซ่ึงในปัจจุบันความผิดดังกล่าวได้บัญญัติไว้ใน
ประมวลกฎหมายอาญา ลกั ษณะ 9 ความผดิ เกย่ี วกบั เพศ ซงึ่ เมอื่ ปี พ.ศ. 2562 ไดม้ กี ารแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวล
กฎหมายอาญา ในส่วนความผดิ เกี่ยวกบั เพศ2 โดยได้แก้ไขเพิ่มเตมิ ในหลายประเด็น แตผ่ ูเ้ ขียนมีความสนใจ
ในประเด็นการเพิม่ เติมบทนยิ ามคำ� วา่ “กระท�ำชำ� เรา” ในมาตรา 1 (18) “กระท�ำชำ� เรา” หมายความวา่
กระทำ� เพอ่ื สนองความใครข่ องผกู้ ระทำ� โดยการใชอ้ วยั วะเพศของผกู้ ระทำ� ลว่ งลำ�้ อวยั วะเพศ ทวารหนกั
หรือช่องปากของผู้อ่ืน และการก�ำหนดความผิดฐานการกระท�ำอนาจารโดยการล่วงล�้ำในมาตรา 278
มาตรา 279 และมาตรา 280 “การกระทำ� อนาจารโดยใช้วัตถหุ รอื อวัยวะอนื่ ซึ่งมใิ ช่อวัยวะเพศล่วงลำ้�

1 สุมนัส ต้ังเจริญกิจกุล, “ความผิดเกี่ยวกับเพศ : ศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรากับการกระทําอนาจาร,”
(วทิ ยานิพนธม์ หาบัณฑิต คณะนิคศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, 2552), น.15-19

2 พระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ที่ 27) พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 136 ตอนท่ี 69 ก
วันที่ 27 พฤษภาคม 2562 มีผลใช้บังคับเม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2562 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ บทนยิ ามคำ� วา่ “กระทำ� ชำ� เรา” ในบทบญั ญตั คิ วามผดิ เกย่ี วกบั เพศและบทบญั ญตั คิ วามผดิ เกยี่ วกบั
ศพในประมวลกฎหมายอาญาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับลักษณะการกระท�ำช�ำเราตามธรรมชาติ และปรับปรุงบทบัญญัติ
ความผิดเก่ียวกับเพศบางประการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย และเพื่อให้ความคุ้มครองบุคคลซ่ึงถูกกระท�ำ
ทางเพศกลมุ่ ตา่ ง ๆ มากยง่ิ ขนึ้ เชน่ เดก็ ผอู้ ยภู่ ายใตอ้ ำ� นาจของผกู้ ระทำ� และผซู้ งึ่ ไมส่ ามารถปกปอ้ งตนเองได้ อกี ทงั้ เพอ่ื ปอ้ งปราม
มิให้มีการกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบหรือรับประโยชน์จากผู้ซึ่งค้าประเวณีหรือจากการค้าประเวณี จึงจ�ำเป็นต้องตรา
พระราชบัญญตั ินี้

วารสารราชทัณฑ์ 89

อวยั วะเพศหรอื ทวารหนกั ของบคุ คลอนื่ ” โดยในบทความนผ้ี เู้ ขยี นไดศ้ กึ ษาความผดิ ฐานขม่ ขนื กระทำ� ชำ� เรา
ความผดิ ฐานกระทำ� อนาจารตามกฎหมายเดมิ และกฎหมายใหม่ พรอ้ มแนวคำ� พพิ ากษาศาลฎกี าทเี่ กยี่ วขอ้ ง

2. ความผิดฐานขม่ ขนื กระท�ำชำ� เรา และความผดิ ฐานกระท�ำอนาจาร
ตามกฎหมายเดมิ

2.1 การกระทำ� ช�ำเราตามกฎหมายเดิม
การกระทำ� ชำ� เราตามกฎหมายเดมิ (มาตรา 276 วรรคสอง (เดมิ ) และมาตรา 277 วรรคสอง (เดมิ ))
หมายความถึง การกระท�ำเพ่อื สนองความใครข่ องผ้กู ระทำ� โดยการใช้อวยั วะเพศของผู้กระท�ำกระท�ำกับ
อวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของผู้อน่ื หรือการใช้สง่ิ อืน่ ใดกระทำ� กับอวยั วะเพศหรอื ทวารหนกั
ของผู้อ่ืน จากบทนิยามน้ี สามารถแยกการกระท�ำช�ำเราออกเป็น
(1) การใชอ้ วัยวะเพศของผ้กู ระท�ำ “กระทำ� กบั ” อวัยวะเพศ ผอู้ ่นื ไมว่ ่าจะเปน็ หญงิ หรอื ชาย
(2) การใช้อวยั วะเพศของผ้กู ระทำ� “กระทำ� กบั ” ทวารหนัก ผอู้ ื่นไมว่ า่ จะเป็นหญิงหรอื ชาย
(3) การใช้อวัยวะเพศของผูก้ ระทำ� “กระทำ� กับ” ชอ่ งปาก ผูอ้ นื่ ไม่วา่ จะเปน็ หญงิ หรอื ชาย
(4) การใชส้ ่งิ อน่ื ใด “กระทำ� กบั ” อวยั วะเพศ ผู้อืน่ ไมว่ ่าจะเป็นหญงิ หรอื ชาย
(5) การใช้ส่งิ อนื่ ใด “กระทำ� กับ” ทวารหนกั ผู้อนื่ ไมว่ ่าจะเปน็ หญิงหรอื ชาย
2.2 ค�ำพพิ ากษาศาลฎกี าเกีย่ วกับความผดิ ฐานขม่ ขนื กระทำ� ชำ� เรา
(1) กรณีความผิดฐานกระท�ำช�ำเราสำ� เร็จ
ค�ำพิพากษาศาลฎีกาท่ี 6323/2557 กรณีที่ผู้กระท�ำใช้อวัยวะเพศของตนกระท�ำช�ำเรา
จะเปน็ ความผิดส�ำเรจ็ ไดต้ ่อเมื่อหากเป็นกรณีชายกระท�ำต่อหญิง ต้องเปน็ การใช้อวยั วะเพศของชายล่วงลำ�้
หรอื สอดใสเ่ ขา้ ไปในอวัยวะเพศ ทวารหนกั หรอื ช่องปากของหญงิ หากเปน็ กรณชี ายกระทำ� ตอ่ ชายดว้ ยกัน
ต้องเป็นการใชอ้ วยั วะเพศของชายผ้กู ระทำ� ลว่ งล�ำ้ หรอื สอดใส่เขา้ ไปในทวารหนกั หรือชอ่ งปากของชายผถู้ กู
กระท�ำ หากเป็นกรณีหญิงกระท�ำต่อชาย ต้องเป็นกรณีให้อวัยวะเพศชายผู้ถูกกระท�ำล่วงล้�ำเข้าไปใน
อวัยวะเพศของหญงิ ผกู้ ระทำ� ส่วนกรณีทผ่ี ้กู ระท�ำใชส้ ่ิงอื่นใดกระท�ำชำ� เรา จะเปน็ ความผิดส�ำเร็จได้ตอ่ เมือ่
หากเป็นกรณีชายกระท�ำต่อหญิง ต้องเป็นการใช้ส่ิงหนึ่งสิ่งใดล่วงล�้ำเข้าไปในช่องคลอด หรือทวารหนัก
ของหญิง หากเป็นกรณีชายกระท�ำต่อชายด้วยกัน ต้องเป็นการใช้ส่ิงหน่ึงส่ิงใดล่วงล้�ำหรือสอดใส่เข้าไป
ในทวารหนักของผู้ถูกกระท�ำ หรือให้อวัยวะเพศชายของชายผู้ถูกกระท�ำล่วงล�้ำหรือสอดใส่เข้าไป
ในชอ่ งปากหรอื ทวารหนกั ของผกู้ ระทำ� หากเปน็ กรณหี ญงิ กระทำ� ตอ่ ชาย ตอ้ งเปน็ การใชส้ งิ่ หนงึ่ สงิ่ ใดลว่ งลำ้�
หรือสอดใส่เข้าไปในทวารหนักของชาย หรือให้อวัยวะเพศของชายล่วงล้�ำหรือสอดใส่เข้าไปในช่องปาก
หรือทวารหนักของหญิง หากเป็นกรณีหญิงกระท�ำต่อหญิงด้วยกัน ต้องเป็นการใช้ส่ิงหนึ่งสิ่งใดล่วงล้�ำ
หรือสอดใส่เข้าไปในช่องคลอดหรือทวารหนักของหญิงผู้ถูกกระท�ำ ดังน้ัน การที่จ�ำเลยท่ี 1 ซึ่งเป็นชายใช้
ปากอมอวยั วะเพศของผูเ้ สียหายที่ 1 ซง่ึ เป็นเด็กชายอายุ 11 ปเี ศษ จงึ ถอื ไดว้ า่ ชอ่ งปากของจำ� เลยท่ี 1 เป็น
สง่ิ อน่ื ใดทีใ่ ช้กระท�ำกบั อวยั วะเพศของผเู้ สียหายที่ 1 แลว้ การกระทำ� ของจ�ำเลยท่ี 1 จึงเป็นความผดิ ตาม
มาตรา 277 วรรคสาม

9900 วารสารราชทัณฑ์

(2) กรณีความผดิ ฐานพยายามกระทำ� ช�ำเรา
ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5448/2557 จ�ำเลยเพียงใช้อวัยวะเพศของจ�ำเลยถูไถเสียดสีกับ
อวัยวะเพศของผู้เสียหายโดยเจตนากระท�ำช�ำเราผู้เสียหาย แต่เม่ือมิได้มีการสอดใส่เพ่ือที่จะใช้อวัยวะเพศ
ของจ�ำเลยล่วงล้�ำเข้าไปในอวัยวะเพศของผู้เสียหาย จึงยังไม่เป็นการกระท�ำช�ำเราอันเป็นความผิดส�ำเร็จ
ตามความหมายของมาตรา 277 วรรคสอง การกระทำ� ของจำ� เลยคงเป็นความผิดฐานพยายามกระท�ำช�ำเรา
2.3 การกระทำ� อนาจารตามกฎหมายเดิม
การกระทำ� อนาจารมไิ ดม้ กี ารนยิ ามความหมายไวใ้ นประมวลกฎหมายอาญา แตต่ ามแนวคำ� พพิ ากษา
ศาลฎกี าและตามต�ำรากฎหมายไดใ้ ห้ความหมายว่า การกระทำ� อนาจาร หมายถึง การกระท�ำท่ไี ม่สมควร
ทางเพศต่อร่างกายของบุคคลอ่ืน3 หรือความประพฤติน่าอับอาย ลามก น่าบัดสี ท�ำให้เป็นท่ีอับอาย
เปน็ ทนี่ า่ รงั เกยี จแกผ่ อู้ น่ื ในทางเพศ โดยตอ้ งกระทำ� ตอ่ เนอื้ ตวั รา่ งกายของบคุ คลดว้ ย4 เชน่ กอดจบู ลบู คลำ�
สมั ผสั อวยั วะทางเพศ แตถ่ า้ มใิ ชก่ ระทำ� ในทางเพศ เชน่ กอดผหู้ ญงิ เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายมใิ หถ้ กู ทำ� รา้ ยรา่ งกาย
ไมเ่ ป็นการกระทำ� อนาจาร5
2.4 ค�ำพพิ ากษาศาลฎีกาเกี่ยวกบั ความผิดฐานกระทำ� อนาจาร
คำ� พพิ ากษาศาลฎกี าที่ 5551/2559 จำ� เลยใชม้ อื ของจำ� เลยหรอื เหรยี ญกษาปณถ์ ไู ถกบั อวยั วะเพศ
ของผู้เสียหายภายนอกโดยไม่ได้ล่วงล�้ำเข้าไปในอวัยวะเพศของผู้เสียหาย การกระท�ำของจ�ำเลยไม่เป็น
ความผิดฐานกระท�ำช�ำเราผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรคสาม (เดิม) คงเป็น
ความผิดฐานกระทำ� อนาจารแก่เดก็ อายุไม่เกนิ สิบหา้ ปตี ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคหนง่ึ

3 หยุด แสงอุทัย, กฎหมายอาญา ภาค 2-3, พิมพ์คร้ังท่ี 11 (กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553)
น.188-189

4 ทวเี กยี รติ มนี ะกนษิ ฐ, คำ� อธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคความผดิ และลหโุ ทษ, พมิ พค์ รงั้ ที่ 15 (กรงุ เทพมหานคร : สำ� นกั พมิ พว์ ญิ ญชู น,
2561) น.206

5 โปรดดคู ำ� พิพากษาศาลฎกี าที่ 970/2477

วารสารราชทัณฑ์ 91

ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6816/2554 ความผดิ ฐานพยายามขม่ ขนื กระท�ำช�ำเราหญงิ น้ัน ผกู้ ระทำ�
จะตอ้ งใชอ้ วยั วะเพศของตนกระทำ� ในลกั ษณะใกลช้ ดิ พรอ้ มทจี่ ะใชอ้ วยั วะเพศสอดใสก่ บั อวยั วะเพศของหญงิ
ผถู้ กู กระทำ� การกระทำ� ของจำ� เลยทใ่ี ชแ้ รงกายบงั คบั ฉดุ กระชากลากตวั ผเู้ สยี หายเขา้ ไปในหอ้ งนำ�้ ลอ๊ กประตู
ห้องน�้ำ ถอดกางเกงช้ันนอกและกางเกงในของผู้เสียหายออก แล้วจับนมและอวัยวะเพศของผู้เสียหาย
ซึ่งถือเป็นการกระท�ำการลวนลามผู้เสียหายแล้ว แต่จ�ำเลยยังไม่ได้ถอดกางเกงท่ีตนเองสวมใส่ออก
การกระทำ� ของจำ� เลยจงึ ยงั ไมถ่ งึ ขน้ั ทพ่ี ยายามใชอ้ วยั วะเพศของตนเองสอดใสเ่ ขา้ ไปในอวยั วะเพศของผเู้ สยี หาย
จึงถือว่าลักษณะการกระท�ำความผิดของจ�ำเลยยังไม่อยู่ในวิสัยท่ีจะกระท�ำการข่มขืนกระท�ำช�ำเราผู้เสียหายได้
การกระท�ำของจ�ำเลยจึงเป็นความผิดเพียงฐานกระท�ำอนาจารผู้เสียหายเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส
เทา่ น้ัน

ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า ความผิดฐานการกระท�ำช�ำเราส�ำเร็จต่อเมื่ออวัยวะเพศหรือสิ่งอ่ืนใดของ
ผู้กระท�ำล่วงล้�ำเข้าอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของผู้อื่น ฉะนั้น หากอวัยวะเพศของผู้กระท�ำ
ไม่ล่วงล�้ำเข้าไปอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากผู้ถูกกระท�ำ หรือสิ่งอ่ืนใดไม่ล่วงล�้ำเข้าไปอวัยวะเพศ
หรือทวารหนกั 6 ไมเ่ ปน็ ความผิดฐานกระทำ� ช�ำเรา แต่อาจเป็นเพยี งความผิดฐานพยายามกระทำ� ช�ำเรา หรอื
ความผิดฐานกระท�ำอนาจาร แล้วแต่กรณี โดยพิจารณาจากเจตนาของผู้กระท�ำ หากมีเจตนาจะใช ้
อวยั วะเพศหรือสงิ่ อ่นื ใดลว่ งล�้ำอวยั วะเพศ ทวารหนักหรอื ช่องปากผู้อน่ื แลว้ ย่อมเป็นความผิดฐานพยายาม

6 การใช้สิ่งอื่นใดกระท�ำช�ำเราตามความหมายดังกล่าวนั้น โดยสภาพจะถือว่าเป็นความผิดเฉพาะการกระท�ำกับอวัยวะเพศหรือ
ทวารหนักเท่าน้ัน ไม่อาจรวมถึงช่องปากได้ ฉะน้ัน การอวัยวะเพศเทียม น้ิวมือ หรือสิ่งอื่นใดท่ีมิใช่อวัยวะเพศล่วงล้�ำเข้าไปใน
ช่องปากผอู้ ื่นจึงไม่เป็นความผดิ ฐานกระท�ำช�ำเรา ส่วนจะเป็นการกระทำ� อนาจารหรือไม่ พจิ ารณาตามบทบญั ญัติทเี่ กย่ี วขอ้ ง

9922 วารสารราชทัณฑ์

กระท�ำช�ำเรา แต่หากไม่มีเจตนาจะใช้อวัยวะเพศหรือส่ิงอ่ืนใดล่วงล้�ำอวัยวะเพศ ทวารหนักหรือช่องปาก
ผอู้ น่ื แล้ว แม้วา่ จะใกล้ชิดกับการกระท�ำชำ� เราส�ำเรจ็ เพยี งใด กเ็ ปน็ เพยี งความผิดฐานกระทำ� อนาจาร

3. การกระท�ำชำ� เรา และการกระทำ� อนาจารโดยการล่วงลำล้ ตามกฎหมายใหม่

3.1 การกระท�ำช�ำเราตามกฎหมายใหม่
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (18) บัญญัติวา่ “กระท�ำชำ� เรา” หมายความวา่ กระท�ำเพ่อื
สนองความใคร่ของผู้กระท�ำ โดยการใช้อวัยวะเพศของผู้กระท�ำล่วงล�้ำอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือ
ชอ่ งปากของผ้อู นื่ การกระท�ำชำ� เราตามกฎหมายใหม่ สามารถแยกลกั ษณะของการกระท�ำได้ ดังน้ี
(1) การใชอ้ วัยวะเพศชาย “ล่วงล�้ำ” อวยั วะเพศหญงิ อนั เปน็ การกระท�ำช�ำเราตามธรรมชาติ
(2) การใช้อวัยวะเพศชาย “ล่วงล้ำ� ” ทวารหนกั ไมว่ า่ ของชายหรอื หญงิ
(3) การใชอ้ วยั วะเพศชาย “ลว่ งลำ�้ ” ช่องปากไม่วา่ ของชายหรอื หญงิ
ดังนั้น การล่วงลำ้� (Penetration) โดยอวัยวะเพศ ตามกฎหมายใหม่น้ีจึงเปน็ สาระส�ำคญั ของ
การกระท�ำชำ� เรา7
3.2 การกระท�ำอนาจารโดยการลว่ งลำ้�
นอกจากความผดิ ฐานการกระทำ� อนาจารดงั ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว คือ การกระท�ำไมส่ มควรทางเพศต่อ
ร่างกายบุคคลแลว้ ปจั จุบนั ประเทศไทยได้กำ� หนดความผิดฐานอนาจารใหม่ข้นึ ซง่ึ อาจจะเรียกว่า “ความผดิ
ฐานกระทำ� อนาจารโดยการลว่ งลำ�้ ” ในมาตรา 278 วรรคสอง และมาตรา 279 วรรคส่ี โดยมีความสรุปว่า
“ถ้าการกระท�ำอนาจาร เป็นการกระท�ำโดยใช้วัตถุหรืออวัยวะอื่นซึ่งมิใช่อวัยวะเพศล่วงล�้ำอวัยวะเพศ
หรือทวารหนักของบุคคลอื่นหรือเด็ก ผู้กระท�ำต้องระวางโทษ...” โดยก�ำหนดให้การกระท�ำที่มีลักษณะ
เปน็ การลว่ งลำ้� อวยั วะเพศหรอื ทวารหนกั ของบคุ คล โดยใชว้ ตั ถหุ รอื อวยั วะอน่ื ซงึ่ มใิ ชอวยั วะเพศ เปน็ ความผิด
ฐานอนาจารในลักษณะร้ายแรงที่ผู้กระท�ำต้องรับโทษหนักขึ้น โดยมีระวางโทษเทียบเท่าการข่มขืน
กระทำ� ชำ� เราผูอ้ ื่น8 เช่น การใชน้ ้วิ มือ หรืออวัยวะเพศปลอมล่วงล้�ำอวัยวะเพศหรือทวารหนกั ของบคุ คลอนื่
เป็นต้น ในทางกลับกัน หากผู้กระท�ำใช้น้ิวมือล่วงล้�ำเข้าไปในช่องปากผู้อื่น จะไม่เป็นความผิดฐานกระท�ำ
อนาจารโดยการล่วงล�้ำตามมาตรานี้ และไม่เป็นความผิดฐานกระท�ำช�ำเราด้วย ส่วนจะเป็นความผิดฐาน
อนาจารตามปกตหิ รือไม่ ต้องพิจารณาจากขอ้ เท็จจริงเปน็ กรณี ๆ ไป
3.3 ค�ำพพิ ากษาที่เก่ียวขอ้ ง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5567/2562 จากบทบัญญัติที่แก้ไขใหม่ดังกล่าวยังคงบัญญัติว่า
การกระทําโดยใช้วัตถุหรืออวัยวะอ่ืนซึ่งมิใช่อวัยวะเพศล่วงล�้ำอวัยวะเพศหรือทวารหนักของผู้อ่ืนยังเป็น
ความผิดอยู่ มิได้เปน็ เรื่องท่ีกฎหมายบัญญัติ ในภายหลงั บัญญตั ใิ หก้ ารกระทาํ เช่นนน้ั ไม่เปน็ ความผดิ ต่อไป
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคสอง เพียงแต่เปล่ียนฐานความผิดจากข่มขืนกระทําชําเรา
เปน็ ความผิดอนาจารโดยการล่วงล�ำ้ เทา่ นนั้

7 ทวีเกียรติ มีนะกนษิ ฐ, “ความหมายของ “การกระทำ� ชำ� เรา”ตามกฎหมายทแี่ กไ้ ขใหม่ The Definition of “Rape” under the
amended Law,” วารสารนติ ศิ าสตร,์ เล่ม 3, ปที ี่ 48, น.618-619 (2562).

8 เอกสารประกอบการพิจารณา ร่างพระราชบญั ญัตแิ ก้ไขเพิ่มประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ความผดิ เกี่ยวกับเพศ)

วารสารราชทัณฑ์ 93

ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7469/2562 (ประชมุ ใหญ)่ กรณีเปน็ เรือ่ งกฎหมายที่บญั ญัติในภายหลงั
ก�ำหนดองค์ประกอบความผิดฐานกระท�ำช�ำเราว่า จะต้องเป็นการใช้อวัยวะเพศของผู้กระท�ำล่วงล้�ำ
อวยั วะเพศ ทวารหนกั หรอื ชอ่ งปากของผถู้ ูกระท�ำ จึงจะเข้าเกณฑ์เปน็ ความผดิ อนั เปน็ การปรบั ปรุงนิยาม
ค�ำว่า “กระท�ำช�ำเรา” ให้ชัดเจนและสอดคล้องกับลักษณะการกระท�ำช�ำเราทางธรรมชาติ ดังนั้นเมื่อคดี
ได้ความว่า การกระท�ำของจ�ำเลยที่ใช้มือจับอวัยวะเพศของผู้เสียหายรูดข้ึนลงแล้วใช้ปากของจ�ำเลย
ดูดและอมอวัยวะเพศของผู้เสียหาย โดยไม่ได้ใช้อวัยวะเพศของจ�ำเลยล่วงล�้ำอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือ
ช่องทางปากของผู้เสียหาย จึงไม่เป็นการกระท�ำช�ำเราเด็กอายุยังไม่เกินสิบสามปีตาม ป.อ. มาตรา 277
วรรคสาม (เดิม) อกี ต่อไป ปญั หาต้องวินิจฉัยตอ่ ไปว่า การกระทำ� ดังกล่าวเป็นความผิดฐานกระทำ� อนาจาร
แก่เด็กอายุยังไมเ่ กินสบิ ห้าปตี าม ป.อ. มาตรา 279 วรรคแรก (เดมิ ) หรือเปน็ ความผดิ ฐานกระท�ำอนาจาร
แกเ่ ด็กอายุยังไมเ่ กนิ สิบสามปโี ดยการลว่ งล�ำ้ ตาม ป.อ. มาตรา 279 วรรคห้า (ที่แก้ไขใหม)่ ศาลฎีกาโดยมติ
ที่ประชุมใหญ่เห็นว่า แม้การกระท�ำของจ�ำเลยดังกล่าวจะไม่ได้เข้าไปในอวัยวะเพศของผู้เสียหายก็ตาม
แตก่ ็เปน็ การกระทำ� ที่ไม่สมควรทางเพศอนั เป็นการล่วงเกินผเู้ สียหายแลว้ จงึ เป็นการล่วงล�้ำอวยั วะเพศของ
ผู้เสียหาย เป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 279 วรรคหา้ (ทแ่ี กไ้ ขใหม่)

4. บทสรปุ

เดมิ ก่อนมกี ารแก้ไขเพ่มิ ประมวลกฎหมายอาญาน้ัน การกระทำ� ช�ำเรา ตามมาตรา 276 วรรคสอง
และมาตรา 277 วรรคสอง หมายถงึ “การกระทำ� เพอื่ สนองความใครข่ องผกู้ ระทำ� โดยการใชอ้ วยั วะเพศของ
ผูก้ ระท�ำกระท�ำกบั อวยั วะเพศ ทวารหนกั หรือชอ่ งปากของผู้อน่ื หรอื การใช้ส่ิงอ่ืนใดกระท�ำกบั อวยั วะเพศ
หรือทวารหนักของผู้อ่ืน” ค�ำว่า “การกระท�ำกับ” จึงหมายถึง การร่วมประเวณี จึงต้องมีการสอดใส ่
อวยั วะเพศหรอื ส่ิงอ่ืนใดของผูก้ ระท�ำเขา้ ไปในอวยั วะเพศ ทวารหนัก หรือชอ่ งปากของผูถ้ กู กระทำ� เพียงแต่
การสมั ผสั ภายนอกจงึ ไมเ่ ปน็ การกระทำ� ชำ� เรา9 แตส่ ว่ นจะเปน็ การพยายามกระทำ� ชำ� เราหรอื เปน็ การกระทำ�
อนาจารหรือไม่ จะต้องพิจารณาจากเจตนาของผู้กระท�ำเป็นส�ำคัญ ต่อมาเม่ือมีการแก้ไขเพิ่มเติมนิยาม
คำ� วา่ “กระทำ� ช�ำเรา” จากเดมิ ทใี่ ชค้ ำ� ว่า “กระทำ� กบั ” เป็น “ล่วงล�้ำ” และจำ� กดั เฉพาะกรณที ่ีผู้กระทำ� ใช ้
อวัยวะเพศล่วงล�ำ้ อวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของผ้อู ่ืนเท่าน้ัน10 แต่หากเปน็ กรณีทผ่ี กู้ ระท�ำใช้วตั ถุ
หรืออวยั วะอนื่ ซ่งึ มใิ ช่อวัยวะเพศลว่ งลำ้� อวยั วะเพศหรือทวารหนกั ของผู้ถูกกระทำ� เป็นความผิดฐานกระทำ�
อนาจารโดยการล่วงลำ้� ซ่ึงมีโทษเท่ากับกระทำ� ชำ� เรา

9 คณพล จนั ทรห์ อม, หลักพืน้ ฐานกฎหมายอาญา เล่ม 1, (กรงุ เทพมหานคร : ส�ำนกั พิมพ์วิญญูชน, 2563) น.44-46
10 เพง่ิ อา้ ง

9944 วารสารราชทัณฑ์

E-Commerce ราชทัณฑ์ GPGPTHAI WWW.GPGPTHAI.COM

เรอื นจำ� 10 เขต

เขต 1

ของดีทณั ฑสถานบําบัดพเิ ศษพระนครศรีอยุธยา

“ตู้โฟเมก้า” วัตถุดิบในการฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้ต้องขังประเภทไม ้
หายากและมรี าคาแพงมาก ทัณฑสถานฯ จึงน�ำวตั ถดุ บิ อน่ื ๆ มาใชท้ ดแทนไม้
อาทิ การน�ำโฟเมก้ามาผลิตประกอบเป็นตู้เก็บของ รูปแบบและขนาด
ต่าง ๆ ซึ่งไดร้ ับความนิยมจากประชาชนเปน็ อย่างมาก สงั เกตจากยอดจ�ำหน่าย
ผลิตภณั ฑใ์ นนิทรรศการผลิตภณั ฑ์ราชทณั ฑ์ทีจ่ ัดขน้ึ ทุกปี

035-241658 ต่อ 103

เขต 2

ของดีที่เรือนจ�ำจงั หวดั นครนายก ของดีเรือนจ�ำอำ� เภอกบนิ ทร์บุรี

“ชุดรับแขกหวาย” เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น ไม้ช้ินเล็กได้ถูกน�ำมาดัดแปลงและประกอบเป็น
เอกลักษณ์ที่สร้างช่ือเสียงและได้รับความนิยมมากที่สุด ข้าวของ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ เปน็ ผลิตภัณฑ์ที่น่าใชห้ รอื น�ำมา
ของเรอื นจำ� แหง่ น้ี เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ท่ี ำ� จากหวายผสมโลหะ ประดับตกแต่งบนเรือนท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็นนาฬิกาแขวน
จึงมีโครงสร้างแข็งแรง ทนทาน และมีลวดลายสวยงาม หรือต้ังโต๊ะ ตู้จดหมาย โคมไฟ ตะกร้าผลไม้ กระถางไม้
ทันสมัย นั่งสบาย ดอกไม้ประดับ และของช�ำร่วยอีกมากมาย เป็นการ
สนับสนุนการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ผลงานทุกชิ้น
ประณตี สวยงาม ท้ังการออกแบบและฝีมือ

037-311280 ตอ่ 18 037-281176 ต่อ 18
วารสารราชทัณฑ์ 95

เขต 3

ของดเี รอื นจำ� จงั หวัดศรีสะเกษ

เรือนจ�ำจังหวัดศรีสะเกษ มีการฝึกวิชาชีพให้กับผู้ต้องขังด้าน
การจกั สาน งานชา่ งไม้ และการนวดแผนไทย หอ้ งนวดแผนไทย เปดิ ใหบ้ รกิ าร
แกบ่ คุ คลทว่ั ไปทบี่ รเิ วณดา้ นหนา้ เรอื นจำ� ดว้ ยบรรยากาศแบบเปน็ กนั เอง สถานที่
สะอาด สะดวกสบาย พรอ้ มดว้ ยฝีมือการนวดช้ันยอด และบรกิ ารทีน่ า่ ประทบั ใจ

045-611585 ต่อ 21

ของดีเรอื นจ�ำจงั หวดั อ�ำนาจเจรญิ

เรอื นจำ� จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ ไดเ้ ลง็ เหน็ ความลำ้� คา่
ของรากไม้ และได้น�ำมาสร้างสรรค์ เป็นผลิตภัณฑ ์
และเคร่ืองเรือนจากรากไม้ เช่น ชุดรับแขกรากไม้ ท่ีให้
ความงามอยา่ งธรรมชาติ เปน็ การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่
และไมส่ ูญเปลา่

045-511464

เขต 4

ของดีทเ่ี รือนจำ� จังหวดั สกลนคร ของดีที่เรอื นจำ� จังหวดั หนองคาย

“โซฟาแบบขากวาง” จากวิสัยทัศน์อันกว้างไกล “ต่ังใหญ่” ผลิตภัณฑ์จากไม้เบญพรรณเน้ือแข็ง
ในการจัดให้มีการฝึกอบรมวิชาชีพในเรือนจ�ำ ท�ำให้เกิด ชิ้นใหญ่ ท�ำให้เห็นความงามของลวดลายเนื้อไม้ตาม
ผลิตภัณฑ์จากฝีมือของผู้ต้องขังออกมาอย่างหลากหลาย ธรรมชาติ นอกเหนือไปจากความทนทาน มีอายุการ
ในรูปแบบทีส่ วยงาม เชน่ โซฟาแบบขากวาง ซ่ึงเปน็ งานที่ ใช้งานนานนับสิบปี ในขนาดที่เหมาะสมและใช้งาน
ผลิตจากไม้สัก จงึ มีคณุ สมบตั ทิ ่แี ข็งแรง คงทน มีลวดลาย ได้เอนกประสงค์ เป็นผลงานที่ภาคภูมิใจจากฝีมือของ
สวยงามในเนือ้ ไม้ ผสมผสานกับการขัดเกลาเน้อื ไมจ้ นเกดิ ผู้ตอ้ งขังเรอื นจำ� แหง่ นี้
รูปลักษณ์ท่ีงดงาม เป็นความภูมิใจในการน�ำเสนอให้เป็น
ของดีของเรอื นจ�ำแห่งนี้

042-712579 042-411503
9966 วารสารราชทัณฑ์

เขต 5 053-451060 ตอ่ 14

ของดีเรือนจ�ำอ�ำเภอเทงิ

ดว้ ยลวดลายอนั สวยงามตามธรรมชาตขิ องไมส้ กั ทอง ทำ� ให้
ผลิตภัณฑ์ท่ีแปรรูปจากไม้ชนิดน้ีทรงคุณค่าท้ังสีสันที่ปรากฎเป็น
สีเหลืองทองดุจอ�ำพันและลวดลายในเนื้อไม้ที่ละเอียดอ่อน ไม่ว่าจะ
เป็นชิงช้าไม้สักทอง เตียงกลึงไม้สักทอง หรือเตียงนอนธรรมชาติ
จากปีกไม้สักทอง จึงล้วนเป็นส่ิงประดิษฐ์จากธรรมชาติให้คุณค่า
อย่างยง่ิ

ของดีทเ่ี รือนจำ� อำ� เภอฝาง

“พวงกญุ แจไหมประดิษฐ์” เปน็ ผลงานฝมี ือจากผู้ต้องขังหญิง ได้จาก
การนำ� ไหมพรมมาถกั เปน็ รูปร่างตา่ ง ๆ หลากหลายสีสันและรปู แบบ สามารถ
น�ำมาใช้เป็นพวงกุญแจที่ห้อยโทรศัพท์ ห้อยกระเป๋า แสดงให้เห็นถึง
ความละเอยี ดอ่อนที่แต่งอยู่ในจติ ใจของผตู้ ้องขังหญิงจากเรือนจำ� ฯ แห่งนี้

053-451060 ต่อ 14

เขต 6

ของดเี รอื นจําจังหวัดพิษณโุ ลก 055-311485

“โต๊ะหมู่บูชาขาสงิ ห์ หมู่ 9” ทําจากไมส้ กั เป็นผลติ ภณั ฑ์
ทข่ี น้ึ ชอ่ื ของเรอื นจาํ ฯ แหง่ น้ี มลี กั ษณะทโี่ ดดเดน่ และเปน็ เอกลกั ษณ์
คือลวดลายท่ีสลักเสลาอย่างงดงามที่ด้านหน้าต้ังและลูกโต๊ะหมู ่
ทั้ง 9 ตัว รวมทั้งขาสิงห์ ซึ่งเป็นศิลปะไทยโบราณอย่างหน่ึงทําให้
โต๊ะหมู่มีความอ่อนช้อยงดงาม และคงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมไทย
โดยแท้

055-311485 ของดเี รอื นจ�ำจงั หวัดเพชรบรู ณ์

ผลิตภัณฑ์จากรังไหม การประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากรังไหม
เป็นผลงานของผู้ต้องขังหญิงจากเรือนจําฯ แห่งน้ีที่ได้รับการฝึกฝน
วิชาชีพมาแล้วเป็นอยา่ งดี เพ่อื สามารถนําความสามารถน้ีไปประกอบ
อาชพี ภายหลงั พน้ โทษได้ การแปรรปู เปน็ พานพมุ่ สกั การะ, ชอ่ ดอกไม,้
ตุก๊ ตา และ ของชํารว่ ยในเทศกาลตา่ ง ๆ ล้วนงดงามด้วย สสี ันรปู แบบ
ประณีตด้วยฝีมือที่ละเอียดอ่อนเสมือนจิตใจที่ได้รับการขัดเกลา
มาแล้ว

วารสารราชทัณฑ์ 97

เขต 7

ของดีเรือนจําจังหวดั สมุทรสาคร ของดเี รอื นจาํ อาํ เภอทองผาภมู ิ
เคร่ืองเบญจรงค์ เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีโดดเด่น และ
เ นื่ อ ง จ า ก เ รื อ น จํ า อํ า เ ภ อ ท อ ง ผ า ภู มิ อ ยู ่ ใ น
เป็นที่รู้จักกันดีด้วยรูปทรงที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ภูมิประเทศแห่งป่าเขา ของดีจากเรือนจําแห่งน้ี จึงเป็น
ภาชนะต่าง ๆ เช่น ถ้วย ชาม หรือชุดน�้ำชา ล้วนถูก ผลติ ภณั ฑ์จากไม้เน้อื แขง็ ทีโ่ ดดเดน่ ไดแ้ ก่ ชดุ สนามปกิ นกิ
แตง่ แตม้ ดว้ ยศลิ ปะลายไทย ทอี่ อ่ นชอ้ ย และสสี นั ครบครนั พับได้ ซงึ่ เป็นผลติ ภัณฑท์ มี่ กี ารออกแบบท่ที นั สมยั ลงตัว
ตามแบบอย่างเครื่องเบญจรงค์โบราณโดยแท้ ทําให้ งดงามด้วยสจี ากเนื้อไม้ธรรมชาติ แข็งแรงทนทาน
ผลติ ภณั ฑ์ เหลา่ น้ี มรี าคา และมคี า่ ควรแกก่ ารสะสมไวเ้ ปน็
เจ้าของ ดว้ ยบ่งบอกถึงรสนยิ มที่สูงส่ง

034-411021 ตอ่ 15 034-599317 ตอ่ 600

เขต 8

ของดีเรือนจําจงั หวัดชมุ พร ของดีเรือนจ�ำจงั หวัดพังงา

เคานเ์ ตอร์บารพ์ ร้อมเกา้ อี้ 4 ตัว ถอดประกอบได้ ชิงช้าไม้เน้ือแข็ง ของเรือนจ�ำจังหวัดพังงา เป็น
จากตอไม้กระถินณรงค์ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นเอกลักษ์เฉพาะของ เรือนจ�ำฯ แห่งน้ี
ความคงทนถาวร ปลอดภยั จากการกดั แทะของมด แมลง รูปทรงสวยงาม แข็งแรง อ่อนช้อยด้วยลวดลายแกะสลัก
และปลวก งดงามด้วยลวดลายเน้ือไม้ตามธรรมชาต ิ บรเิ วณพนกั พงิ เหมาะสำ� หรบั เดก็ ๆ เลน่ แกวง่ ไกวไดอ้ ยา่ ง
ที่พร้อมการออกแบบให้มีความสะดวกในการใช้สามารถ ไม่ต้องเกรงอนั ตรายจากการตกจากทส่ี ูง
ถอดประกอบได้

077-511211 ตอ่ 13 076-412051 ต่อ 12
9988 วารสารราชทัณฑ์

เขต 9

ของดที ัณฑสถานเปดิ บา้ นนาวง

“เกษตรกรรมตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจแบบพอเพียง” จาก
สภาพพืน้ ทที่ ่ีเปน็ ที่ราบสลับเนนิ เขาท่ีทอดยาว จากเทอื กเขาบรรทดั จงึ เป็น
สถานทที่ ี่ฝึกอบรมวิชาชพี ให้แกผ่ ูต้ อ้ งขงั ในการทาํ การเกษตร แบบพอเพยี ง
ตามแนวพระราชดําริ มีการปลูกพืช เล้ียงสัตว์ และสร้างชีวิตให้ดําเนิน
ตามทางสายกลาง เพ่ืออนาคตหลังจากพวกเขาจะได้รับอิสรภาพเพื่อเป็น
คนดขี องสังคมในอนาคต

074-606133

ของดเี รอื นจําอาํ เภอเบตง

“ชุดน้�ำชาม้าเบตง (โต๊ะถอดประกอบได้)” เพ่ือให้กลมกลืนกับ
วถิ ชี ีวติ เรียบง่ายของชาวเบตง เรอื นจาํ อาํ เภอเบตงจึงได้ประดษิ ฐ์ ชุดนำ�้ ชา
มา้ เบตงเปน็ ของดจี ากเรอื นจาํ ฯ ชดุ นำ�้ ชามา้ เบตง ทำ� จากไมเ้ นอ้ื แขง็ ขนาด
4 คน ในสภาพแขง็ แรง แต่แลดูอบอ่นุ สำ� หรับสมาคมวงเลก็ ๆ ได้พบปะ
พูดคุยกนั ออกแบบให้สะดวกตอ่ การดแู ลในระบบถอดประกอบได้

073-231313 ตอ่ 16

เขต 10

ของดเี รอื นจาํ กลางคลองเปรม ของดเี รอื นจําพเิ ศษกรุงเทพมหานคร

เรอื นจาํ กลางคลองเปรม สนองตอบการฝกึ อบรม เก้าอ้ีหวายเพลินจิต ส่ิงประดิษฐ์จากลวดดัด
วิชาชีพให้แก่ผู้ต้องขัง มีผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนไม้ ผลิต เป็นผลงานท่ีโดดเด่นของเรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร
เครอ่ื งเรือน ชัน้ วางของประกอบดว้ ยไม้ทีไ่ ด้รับความนยิ ม ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือจากสมาชิกเรือนจําฯ ที่ผ่านการ
อยา่ งสงู มาโดยตลอด ทงั้ มคี ณุ ภาพนานาชนดิ และไดแ้ สดง ฝึกอบรมวิชาชีพมาแล้วเป็นอย่างดี ผลงานบางชิ้นได้รับ
ในงานนิทรรศการผลติ ภณั ฑร์ าชทัณฑเ์ ปน็ ประจ�ำทุกปี รางวัลจากการประกวด ผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ปีแล้วปีเล่า
ดว้ ยหวายท่มี ีคุณภาพ การออกแบบท่ีทนั สมัย

02-5895245 02-5917060
วารสารราชทัณฑ์ 99


Click to View FlipBook Version