The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับที่ 1-60

วารสารราชทัณฑ์

ว า ร ส า ร เ พ่ื อ ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า แ ล ะ ร อ บ รู ้ ใ น ง า น ร า ช ทั ณ ฑ ์

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อเสรมิ สร้างความร้แู ละทศั นะเกย่ี วกับงานราชทณั ฑ์ สารจากบรรณาธกิ าร
2. เพอื่ เผยแพรก่ ิจกรรมเกย่ี วกับงานราชทัณฑ์
3. เพ่อื เป็นสอ่ื กลางในการแสดงความคิดเหน็ และแลกเปล่ยี นความรู้ วารสารราชทัณฑ์ฉบับน้ี เป็นวารสารราชทัณฑ์
ประสบการณแ์ ละปัญหาขัดข้องในการบรหิ าร ฉบบั แรกของปที ี่ 65 พ.ศ. 2560 ฉบบั ที่ 1 ขอเรม่ิ ดว้ ยการ
แสดงความยินดีและขอต้อนรับท่านอธิบดีกรมราชทัณฑ์
คณะกรรมการอำ�นวยการวารสารราชทัณฑ์ คนที่ 35 คือ ท่านพันต�ำรวจเอกณรัชต์ เศวตนันทน์
โดยการน�ำประวัติการรับราชการของท่านมาน�ำเสนอ
• อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ ประธานทปี่ รึกษา แก่ท่านผู้อ่าน ส�ำหรับเน้ือหาภายในของวารสารฉบับนี้
• รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ ์ ท่ปี รึกษา ยังคงเปี่ยมไปด้วยสาระและเร่ืองราวต่างๆ ท่ีน่าสนใจ
• รองอธิบดกี รมราชทัณฑ์ ที่รับผดิ ชอบ ประธานคณะกรรมการ ในงานราชทัณฑ์ ท่ีได้คัดสรรมาน�ำเสนอต่อท่านผู้อ่าน
การปฏิบตั ริ าชการของสถาบันพัฒนา อำ�นวยการ เหมือนเช่นเคย โดยเฉพาะนโยบายอธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้าราชการราชทัณฑ์ 3ส. 7ก. ดงั นี้ 3ส. คือ สะอาด สจุ ริต และเสมอภาค 7ก.
• หัวหน้าผตู้ รวจราชการกรม กรรมการ คอื กักขงั แกไ้ ข กฎหมาย กรอบ กล่ันกรอง ก�ำลังใจ และ
• ผู้อำ�นวยการสำ�นักทณั ฑวทิ ยา กรรมการ กลับตัว ซึ่งรายละเอียดของนโยบายและทิศทางในการ
• ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั ทณั ฑปฏบิ ัติ กรรมการ บริหารงานราชทัณฑ์ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน
• ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นาพฤตนิ สิ ยั กรรมการ ซงึ่ ไดน้ �ำมาเสนอตอ่ สมาชกิ และผสู้ นใจเหมอื นเชน่ เคย
• ผูอ้ �ำ นวยการกองคลัง กรรมการ กองบรรณาธิการต้องขอขอบคุณท่านสมาชิก
• ผอู้ �ำ นวยการกองการเจา้ หน้าท ี่ กรรมการ ทกุ ทา่ นทไ่ี ดร้ ว่ มกนั สนบั สนนุ โดยการสมคั รสมาชกิ วารสาร
• ผู้อ�ำ นวยการกองแผนงาน กรรมการ ราชทัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ในโอกาสนี้ ขอเชิญท่านสมาชิก
• ผอู้ �ำ นวยการกองนิตกิ าร กรรมการ ท่านผู้อ่านและผู้สนใจทุกท่าน ส่งบทความที่เก่ียวกับ
• ผอู้ ำ�นวยการสถาบนั พฒั นา บรรณาธิการ งานราชทัณฑ์หรือเกี่ยวกับงานในกระบวนการยุติธรรม
ขา้ ราชการราชทัณฑ์ และเลขานกุ าร เพ่ือลงในวารสารราชทัณฑ์ พร้อมท้ังสมัครเป็นสมาชิก
• หวั หน้าศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาการเรยี นรู้ ผ้ชู ว่ ยบรรณาธกิ ารและ วารสารราชทัณฑ์ ประจ�ำปี 2560 ในอัตราค่าสมาชิก
ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ปีละ 100 บาท ท่านจะได้รบั วารสาร จ�ำนวน 3 ฉบบั และ
ขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสน ี้
คณะเจา้ หนา้ ทีป่ ระจ�ำ กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ์
ไพรัตน์ ขมนิ ทกลู
• นางพรเอ้อื ง ตรที อง ประจำ�กองบรรณาธกิ าร บรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ์
• นายปรชี า เครอื จนั ทร์ ประจำ�กองบรรณาธกิ าร
• นางสาวมาริสา วิรยิ ะรมั ภ ์ ประจ�ำ กองบรรณาธกิ าร วารสารราชทัณฑ์ 1
• นางสาววีรนชุ น่มิ เงนิ ประจ�ำ กองบรรณาธิการ
• นางสาวฑติ ฐติ า ธิติธรรมพฤกษ ์ ประจำ�กองบรรณาธกิ าร
• นางอญั ชุรี ทองโชต ิ ประจ�ำ กองบรรณาธิการ
• นายวฒั นา ศรนารายณ์ ประจำ�กองบรรณาธิการ
• นางปรียา สวา่ งเนตร หัวหนา้ การเงนิ และบัญชี
• นางสุวรรณา ตระกลู พานิชย์ เจ้าหน้าที่การเงนิ และบญั ชี
• นายทฆิ ัมพร หอ่ มกระโทก เจา้ หน้าท่กี ารเงนิ และบญั ชี
• นายสุวิชัย ศรีทองพิมพ์ หวั หนา้ พัสดุ
• นางนฤมล เครือจันทร ์ เจา้ หน้าที่พัสดุ
• นางสาวขวัญใจ ไกรสงั ข์ พสิ ูจนอ์ กั ษร
• นางสาวสุภรภคั พยัคฆาคม พิสจู นอ์ ักษร
• นายกิตติพงษ์ เกดิ นอ้ ย พสิ ูจน์อักษร
• นางสาวจีระพนั ธ์ ศรีเสนพลิ า พิสจู น์อกั ษร

สารบัญ

6 นโยบายเนน้ หนกั ของอธิบดีกรมราชทัณฑ์
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

10 ขา่ วกรมราชทณั ฑ์
13 ข่าวพัฒนาบุคลากร

15 การมีสว่ นรว่ มของประชาชน ในการบรหิ ารราชการ ยุค Thailand 4.0
18 ขา้ ราชการไทยกับการขบั เคลอื่ นส่ปู ระเทศไทย 4.0
22 สังคมปลอดภัย ดว้ ยกรมราชทัณฑ์
34 กว่าจะมาเป็นข้อก�ำหนดแมนเดลา (The Mandela Rules)
41 เรอื นจำ� ส�ำหรบั ผู้ตอ้ งขงั ระหว่างการพจิ ารณาคดี
45 คนื คนดี มีคุณคา่ ส่สู ังคม ตามศาสตร์พระราชา
49 สรปุ ย่อคำ� วินจิ ฉัย พ.ร.บ. ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540
52 ตามมาเยือนถนิ่ วงั ทอง ตอนที่ 1 เรอื นจ�ำกลางพิษณโุ ลก
60 รวมตวั สร้างตน เพ่ือเปน็ “ผลติ ผล คนดี”
68 การพัฒนาผูต้ ้องขงั ด้วย “พลวัตร 8 ประการ” เรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี
76 คกุ ไทย ในอดตี เรือนจ�ำจงั หวัดระนอง
80 การฝึกอบรมและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์สู่ความเป็นเลศิ
87 ภาวะ Burn-out ปญั หาในการท�ำงานที่ไมธ่ รรมดา

89 แบบสำ� รวจความคิดเหน็ ในการจัดท�ำวารสารราชทณั ฑ์
90 Good Products Good People

100 ใบสมัครสมาชิกวารสารราชทัณฑ์ ปที ี่ 66 ประจ�ำปี พ.ศ. 2561

2 วารสารราชทัณฑ์

ประวตั ิ

พันตำ� รวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์

อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ กระทรวงยตุ ิธรรม (ผบู้ ริหารระดับสงู )

วัน/เดือน/ปเี กดิ 16 มถิ ุนายน 2503 (เกษียณอายุราชการ 2563)

ประวตั ิการศกึ ษา

- ปรญิ ญาตรี (พ.ศ. 2526) : รปบ.(ตร.) โรงเรียนนายรอ้ ยต�ำรวจ รุ่นท่ี 36
- ปริญญาโท (พ.ศ. 2530) : M.P.A. (Public Affairs) Kentucky State

University (U.S.A.), 1987
- ปริญญาเอก (พ.ศ. 2534) : Ph.D. (Criminology) Florida State

University (USA), 1991
- Chevening Fellowship (พ.ศ. 2549) University of Birmingham (UK) 1996

ประกาศนียบตั ร

- 2556 หลักสตู รนกั บริหารการยุติธรรมทางปกครองระดบั สงู รนุ่ ที่ 5 (บยป.5)
- 2555 หลักสตู รวิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร สถาบันวชิ าการป้องกันประเทศ รนุ่ ที่ 54 (วปอ.54)
- 2554 หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดบั สูง วิทยาลัยการยุติธรรม รุน่ ท่ี 15 (บ.ย.ส. 15)
- 2553 หลักสูตรนักบริหารงานยุตธิ รรมระดับอัยการพิเศษฝ่าย ส�ำนักอัยการสูงสุด รนุ่ ที่ 2
- 2552 หลักสูตรผู้บรหิ ารระดับสงู สถาบันวทิ ยาการตลาดทุน รุ่นที่ 8 (วตท.8)
- 2551 หลกั สูตรนักบรหิ ารระดับสงู ส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน รนุ่ ท่ี 60 (นบส.60)
- 2548 ประกาศนยี บัตรฯ สถาบนั พระปกเกล้า รุ่นที่ 3 (ปรม.3)

เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์

- 2558 มหาวชิรมงกฎ (ม.ว.ม.)
- 2554 ประถมาภรณช์ ้างเผอื ก (ป.ช.)
- 2551 ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย (ป.ม.)

ประวตั กิ ารดำ� รงต�ำแหนง่ ในกระทรวงยุตธิ รรม

- อธบิ ดีกรมราชทณั ฑ์ (1 ต.ค. 60 - ปจั จุบนั )
- อธิบดีกรมคุมประพฤติ (18 ก.ย. 2558 - 30 ก.ย. 2560)
- อธิบดกี รมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ (ต.ค. 2555 - 22 ก.ย. 2558)
- ผูต้ รวจราชการกระทรวงยุตธิ รรม (ม.ค. 2555 - ก.ย. 2555)
- รองอธิบดกี รมสอบสวนคดีพิเศษ (ต.ค. 2551 - ม.ค. 2555)

เกยี รติประวตั ิ

- สมาชกิ สภาขบั เคลอ่ื นการปฏิรูปประเทศ (สปท.) พ.ศ. 2558
- ได้รบั รางวัลเกียรตยิ ศจกั รดาว พ.ศ. 2557
- ขา้ ราชการพลเรือนดีเดน่ พ.ศ. 2538
- หวั หนา้ นักเรยี นนายรอ้ ยต�ำรวจ รุน่ ที่ 36
- หวั หนา้ นักเรียนเตรยี มทหาร รุ่นท่ี 20

วารสารราชทัณฑ์ 3

ประวัติ

นางสาวเพลนิ ใจ แตเ้ กษม

รองอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์ (ฝ่ายพฒั นาพฤตนิ สิ ยั )

ประวัตกิ ารศึกษา

- ปริญญาตรีด้านสังคมวทิ ยาและมานุษยวิทยา เกียรตนิ ิยมอนั ดับ 1
จากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- ปรญิ ญาโทสังคมสงเคราะหใ์ นกระบวนการยตุ ธิ รรม
จากมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม

- Certificate, Probation Aftercare System จาก Singapore ทนุ Asian
- Certificate Crime Prevention and treatment of offenders
จาก Japan ทนุ UNAFEI

ประวัตกิ ารท�ำงาน

- นักสังคมสงเคราะห์
- หัวหนา้ ฝา่ ยคุมประพฤติ
- ผู้อำ� นวยการสว่ นติดตามและสอดส่อง
- หัวหนา้ กล่มุ งานพฒั นาระบบบรหิ าร
- หวั หนา้ ศูนย์วิจยั และพฒั นาดา้ นอาชญาวิทยา
- ผู้เชยี่ วชาญด้านการพัฒนาพฤตนิ ิสยั
- ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั วิจยั และพัฒนาระบบงานราชทณั ฑ์
- ผู้ตรวจราชการกรม
- ผอู้ �ำนวยการส�ำนักทณั ฑปฏิบัติ
- ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นทณั ฑวิทยา
- รองอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ (ฝ่ายพฒั นาพฤตนิ ิสยั )

ประสบการณ์ท�ำงาน

- เปน็ อาจารยบ์ รรยายพเิ ศษให้แกน่ กั ศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เขียนตำ� ราทางวิชาการให้มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
- เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์แกน่ ักศกึ ษาปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และมหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ

บัณฑิตย์
- เปน็ บรรณาธกิ ารวารสารอาชญาวิทยา นบั แตป่ ี พ.ศ. 2547 – 2557
- หัวหนา้ โครงการศกึ ษาวจิ ัยนบั แต่ปี พ.ศ. 2547 – ปจั จบุ นั รวม 28 เรอื่ ง ได้รบั รางวัลการประกวดผลงานวจิ ัย

จากกระทรวงยตุ ิธรรม 10 เร่ือง และจากกรมราชทัณฑ์ 4 เรอ่ื ง

4 วารสารราชทัณฑ์

ประวัติ
นายธวัชชัย ชยั วฒั น์
รองอธิบดกี รมราชทัณฑ์ (ฝา่ ยปฏิบตั ิการ)

อายุปัจจุบนั 55 ป ี วัน เดือน ปีเกดิ 25 มีนาคม 2505
วนั เกษียณอายุราชการ 1 ตลุ าคม 2565
ประวัตกิ ารศึกษา
- ปรญิ ญาตร ี : สังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยาบณั ฑิต
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
นิติศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- ปริญญาโท : พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)
สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์
- การศึกษาระดบั อ่นื ๆ : ประกาศนยี บตั รบัณฑติ ทางกฎหมายมหาชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาตร์
ประวัติการรับราชการ
บรรจุเขา้ รับราชการ 6 มิถนุ ายน 2531 ตำ� แหนง่ เจา้ พนักงานปกครอง (ปลัดอ�ำเภอ) ระดับ 3
ระยะเวลาปฏบิ ตั ิราชการรวม 29 ปี 8 เดอื น
ประวตั กิ ารท�ำงาน :
- ผบู้ ญั ชาการเรือนจำ� อำ� เภอเบตง จ.ยะลา เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานราชทัณฑ์ 8 พ.ศ.2543 (10 เดือน)
- ผูบ้ ัญชาการเรอื นจำ� พเิ ศษพัทยา จ.ชลบรุ ี เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานราชทัณฑ์ 8 พ.ศ.2544 (7 ปี)
- ผูบ้ ัญชาการเรือนจำ� จงั หวดั สมทุ รสาคร อ�ำนวยการ ระดบั สงู พ.ศ.2551 (4 ปี)
- ผู้บญั ชาการเรือนจำ� กลางฉะเชิงเทรา อำ� นวยการ ระดับสงู พ.ศ.2555 (2 ปี)
- ผู้บัญชาการเรือนจ�ำกลางพระนครศรอี ยธุ ยา อ�ำนวยการ ระดับสงู พ.ศ.2557 (7 วัน)
- ผู้บัญชาการเรอื นจำ� กลางพิษณโุ ลก อำ� นวยการ ระดับสูง พ.ศ.2557 (1 ปี 5 เดอื น)
- ผูบ้ ัญชาการเรอื นจำ� กลางชลบรุ ี อำ� นวยการ ระดับสูง พ.ศ.2558 (8 เดือน 20 วนั )
- ผบู้ ัญชาการเรือนจ�ำกลางคลองเปรม อ�ำนวยการ ระดบั สงู พ.ศ.2559 (1 ปี 6 เดือน)
- รองอธิบดกี รมราชทัณฑ์ (ฝ่ายปฏบิ ตั ิการ) บริหาร ระดบั ต้น พ.ศ.2561 – ปัจจุบนั
การฝึกอบรม - นักบริหารระดับสูง หลักสตู รที่ 1 รนุ่ ท่ี 79 สำ� นกั งาน ก.พ. พ.ศ.2556 – 2557
- วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 60 พ.ศ.2560 – 2561 (ก�ำลังศกึ ษา)
การศกึ ษาดงู าน - การศกึ ษาในระบบการอาชวี ศกึ ษา (Dual System) ประเทศสหพนั ธรฐั เยอรมนั นี (23 - 29 มนี าคม 2557)
การปฏบิ ัติงานพเิ ศษ
- คณะกรรมการ อ.ก.พ. จังหวัดสมทุ รสาคร พ.ศ.2555
- ประธานคณะกรรมการบริหาร สำ� นกั งานยตุ ิธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา 2557 จังหวดั พิษณโุ ลก 2558
- ประธานคณะกรรมการบริหารเรอื นจำ� กลุ่ม 10 พ.ศ.2559 – ปัจจุบนั
- คณะกรรมการ อ.ก.พ. กรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 – ปัจจบุ ัน
เหรียญ/เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ท่ีได้รบั
- ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) พ.ศ.2555 - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) พ.ศ.2552
ประวตั ผิ ลงาน - โครงการสมานฉันทแ์ ละทำ� คณุ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
- ชนะเลศิ ในผลงานโครงการ to be number one ระดบั เรอื นจ�ำทวั่ ประเทศ 2 ปีซอ้ น
ผลงานสำ� คัญด้านบริหารจดั การ
- โครงการราชทัณฑต์ �ำบล เรือนจำ� พเิ ศษพทั ยา จงั หวัดชลบรุ ี
- การแก้ไขปัญหาโทรศัพท์มอื ถือและยาเสพติด เรอื นจ�ำกลางฉะเชงิ เทรา เรอื นจำ� กลางพระนครศรีอยุธยา
เรอื นจำ� กลางพิษณุโลก เรือนจำ� กลางชลบรุ ี และเรอื นจ�ำกลางคลองเปรม

วารสารราชทัณฑ์ 5

นโยบายเน้นหนกั

ของอธบิ ดีกรมราชทัณฑ์
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
กองบรรณาธิการวารสารราชทณั ฑ์

ทุกวันนี้สังคมเคลือบแคลงสงสัยในการปฏิบัติงานของกรมราชทัณฑ์ เรือนจ�ำส่วนใหญ่มีสภาพเก่า
และทรุดโทรมเนื่องจากมีอายุการใช้งานมานาน มีลักษณะเป็นโรงเรือนท�ำให้ต้องควบคุมผู้ต้องขังแบบรวม
โครงสร้างอาคารต่างจากมาตรฐานสากล ประกอบกับจำ� นวนผู้ตอ้ งขงั ทีม่ ีมาก ท�ำให้อัตราส่วนของเจา้ หนา้ ท่ี
ตอ่ การควบคมุ ผู้ต้องขังไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล ทำ� ใหเ้ ป็นงานทีท่ ้าทายอย่างมาก

6 วารสารราชทัณฑ์

จากสถติ พิ บวา่ มผี ตู้ อ้ งขงั พยายามหลบหนแี หกหกั อยใู่ นหลกั สบิ คนเทา่ นนั้ ซงึ่ ยงั ไมถ่ งึ หลกั รอ้ ยคน ขอใหร้ กั ษาไว้
และพยายามให้ลดลงไปในที่สุด ทั้งนี้ ขอให้ตรวจสอบเพิ่มเติมว่าเป็นตัวเลขที่เชื่อถือได้หรือไม่เพราะอาจมีบางกรณีที่
ผู้ต้องขังหลบหนีและสามารถจับกุมได้ในทันที ท�ำให้ไม่มีการรายงานเข้ามาท่ีกรมราชทัณฑ์ จึงขอให้เจ้าหน้าที่
กรมราชทณั ฑบ์ รหิ ารงานตามความเปน็ จรงิ เพอ่ื ใหส้ ามารถแกป้ ญั หาไดต้ รงจดุ และจะไดร้ จู้ ดุ บกพรอ่ ง เชน่ ความมนั่ คง
แข็งแรงของอาคารสถานท่ี ประสิทธภิ าพการควบคมุ ความเครง่ ครัดรอบคอบของเจ้าหน้าท่ี เป็นต้น
อีกท้ัง สถานการณ์ปัจจุบันมีผู้ต้องขังที่พ้นโทษและกลับไปกระท�ำความผิดซ้�ำเป็นจ�ำนวนมาก ที่ผ่านมา
กรมราชทัณฑม์ ีนโยบายคืนคนดีสูส่ ังคม แตจ่ ากสถานการณ์กลบั กลายเปน็ ว่าคืนคนเดมิ เข้าส่สู ังคม ดงั น้นั การกระทำ�
ความผิดซ�้ำเป็นปัญหาหลักและปัญหาที่ต้องให้ความส�ำคัญ ทั้งการสร้างงานสร้างอาชีพให้กับผู้ต้องขัง ให้สมดุลกับ
การดูแลความปลอดภัยให้สังคม ไม่ควรเน้นผลักผู้ต้องขังออกสู่สังคมเพียงอย่างเดียวแต่ต้องให้ส�ำนึกผิดเมื่อได้รับโทษ
และเกรงกลัวต่อบาปด้วย
ปัญหาส�ำคัญของงานราชทัณฑ์ คือ กระบวนการทางอาญาของไทยเน้นไปท่ีการบังคับโทษ ซึ่งมีโทษจ�ำคุก
มากเกนิ ไป สง่ ผลใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ� ทำ� ใหผ้ ลของการแกไ้ ขพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ของผตู้ อ้ งขงั ไมเ่ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ เมอ่ื แกไ้ ข
ฟน้ื ฟเู ยยี วยาไมไ่ ดผ้ ล ทำ� ใหส้ ภาพภายในเรอื นจำ� มลี กั ษณะเสมอื นหนง่ึ เปน็ เรอื นเพาะชำ� อาชญากร ทผี่ า่ นมากรมราชทณั ฑ์
ถกู วพิ ากษว์ จิ ารณว์ า่ เหตใุ ดผตู้ อ้ งขงั หลายรายมโี ทษสงู ถงึ ประหารชวี ติ แตก่ ลบั ถกู คมุ ขงั จรงิ เพยี ง 10 กวา่ ปี เรอื่ งดงั กลา่ ว
จงึ เปน็ โจทยท์ ี่ต้องคิดพจิ ารณาแก้ไข

วารสารราชทัณฑ์ 7

อธิบดีกรมราชทัณฑ์ ได้มอบนโยบายการดำ� เนินงานท่สี ำ� คัญ

โดยยดึ หลัก 3ส. 7ก. ดงั น้ี 3ส. ได้แก่ สะอาด สุจริต และเสมอภาค

1 สะอาด

เรือนจ�ำต้องมีความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย ปราศจากยาเสพติด โทรศัพท์มือถือและส่ิงของต้องห้าม
ในเรือนจ�ำ

2 สุจรติ

เนน้ ย�้ำในเรอื่ งของความสจุ รติ บนพ้ืนฐานของสิง่ ท่ยี ดึ ถอื และไม่ปฏิบัติโดยเด็ดขาด ได้แก่
2.1 ไม่ซื้อขายต�ำแหน่ง ในการบริหารงานบุคคล จะใช้ระบบคุณธรรม (Merit System) โดยการพิจารณา
ความดคี วามชอบ การเลอื่ นตำ� แหนง่ จะพจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถ ผลงาน ความประพฤตแิ ละหลกั อาวโุ ส
2.2 ไม่ท�ำธุรกิจ การจัดซ้ือจัดจ้าง การขายของกับหน่วยงาน ให้ยึดถือการปฏิบัติงานตามระเบียบของทาง
ราชการอย่างเต็มที่
2.3 ไมเ่ บยี ดเบยี นผ้ใู ตบ้ งั คบั บญั ชา ไมเ่ รย่ี ไรเงนิ ขอใหผ้ บู้ ญั ชาการเรอื นจำ� /ผอู้ ำ� นวยการทณั ฑสถาน ปฏบิ ตั งิ าน
อยใู่ นพ้ืนท่ีเรือนจ�ำและทัณฑสถานทีร่ บั ผดิ ชอบ เพอื่ ให้ “งานได้ผลคนเปน็ สขุ ” “งานไดผ้ ล” คือ ไมม่ กี ารแหกหัก
หลบหนี เรือนจ�ำสะอาดภายใต้นโยบาย 5 ก้าวย่าง “คน” คือ ผู้ใต้บังคับบัญชามีความสุขสบายได้พักผ่อน
พอสมควร คณุ ภาพชีวติ ของผู้ต้องขงั พอใชไ้ ด้
2.4 ไม่ทรยศต่อวิชาชีพ ไม่ให้ผู้ต้องขังมีอิทธิพล
ต่อการท�ำงาน การได้มาซ่ึงประโยชน์ของผู้ต้องขังหรือ
การย้ายเรือนจ�ำต้องเป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
โดยใชห้ ลกั นติ ศิ าสตรเ์ ปน็ หลกั สว่ นการใชห้ ลกั ทางดา้ น
รัฐศาสตร์จะต้องปรึกษาหารือกันตามสมควรกับ
สถานการณ์และเหตุผลตามความจ�ำเป็น

8 วารสารราชทัณฑ์

3 เสมอภาค

ขอให้ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน และยึดม่ันในกฎระเบียบและกฎหมาย 7ก. ได้แก่ กักขัง แก้ไข
กฎหมาย การวางกรอบ กลั่นกรอง ก�ำลังใจ และกลบั ตวั

1 กักขัง

ภารกจิ หลกั ของกรมราชทัณฑ์ คอื การควบคุม กกั ขัง ผูก้ ระท�ำความผดิ ตามกฎหมาย มใิ หห้ ลบหนี เพื่อไม่ให้
เกิดเหตุการณ์การแหกหักหลบหนี ผู้บัญชาการเรือนจ�ำหรือผู้อ�ำนวยการทัณฑสถานจะต้องอยู่ในพ้ืนท่ีเพ่ือ
ป้องกันไม่ใหม้ เี หตรุ า้ ยเกิดขน้ึ รวมทง้ั การประสานงานกบั หน่วยงานอื่นๆ ในพ้ืนท่ขี อรบั ความชว่ ยเหลือ และ
หากมเี หตกุ ารณท์ ส่ี ำ� คญั หรอื รา้ ยแรงเกดิ ขน้ึ ตอ้ งรายงานใหอ้ ธบิ ดกี รมราชทณั ฑท์ ราบกอ่ น ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำ�
หรือผอู้ �ำนวยการทณั ฑสถานจะต้องรู้ 3 อย่าง ไดแ้ ก่ รูค้ น รู้พน้ื ที่ และรู้สถานการณ์

2 แก้ไข

กรมราชทัณฑ์จะยึดตามแนวทางนโยบาย 5 ก้าวย่างแห่งการเปลี่ยนแปลงกรมราชทัณฑ์ของพลเอกไพบูลย์
ค้มุ ฉายา อดตี รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม ตามกฎและกตกิ าเดมิ ทีม่ กี ฎเหลก็ เร่ืองการห้ามมยี าเสพติด
โทรศัพท์มือถือ และสิ่งของต้องห้ามต่างๆ การจัดระเบียบเรือนจ�ำ ฝึกวินัยและสมาธิให้แก่ผู้ต้องขัง รวมทั้ง
การสร้างการยอมรับของสงั คมเมื่อผ้ตู ้องขงั พ้นโทษ

3 กฎหมาย

ยึดหลักกฎหมาย รวมท้ังการควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ได้แก่ ข้อก�ำหนดขั้นต่�ำขององค์การ
สหประชาชาตใิ นการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั หรอื “ขอ้ กำ� หนดตามแมนเดลา” (Mandela Rules) และขอ้ กำ� หนด
สหประชาชาติวา่ ดว้ ยการปฏิบตั ิต่อผูต้ อ้ งขงั หญงิ ในเรอื นจ�ำ หรือ “ข้อกำ� หนดกรุงเทพ” (Bangkok Rules)

4 การวางกรอบ

วางกรอบการแกไ้ ขปญั หาโดยจำ� กดั พน้ื ทสี่ เี ทา (grey area) ใหน้ อ้ ยทสี่ ดุ และอยใู่ นความเหน็ ชอบของผบู้ งั คบั บญั ชา

5 กลัน่ กรอง

วเิ คราะหแ์ ละจัดวางระบบจ�ำแนก การจัดชัน้ การพกั การลงโทษและลดวนั ตอ้ งโทษของผ้ตู อ้ งขงั จากปัจจยั
ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ เพศ อายุ อาชพี ความรู้ รายไดก้ บั สทิ ธปิ ระโยชนท์ ผี่ ตู้ อ้ งขงั จะไดร้ บั เพอ่ื ประเมนิ ความเสย่ี ง
ที่จะไมก่ ลับไปกระท�ำความผดิ ซำ�้ หรือสร้างความเดือดร้อนของสงั คม

6 ก�ำลังใจ

ใช้หลักเมตตาธรรม สิทธิประโยชน์ผู้ต้องขังต้องได้รับการดูแลด้วยความเป็นธรรมและเป็นไปตามระเบียบ
กรมราชทัณฑ์ และขอให้เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานทุกแห่ง ด�ำเนินงานที่เก่ียวข้องกับโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำ� รติ า่ งๆ ของพระบรมวงศานวุ งศข์ องทกุ พระองคอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ใหก้ ารถวายงานประสบผลสำ� เรจ็
อยา่ งดีทสี่ ุด

7 กลบั ตัว

ผู้ต้องขังที่ได้รับการแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัย จะสามารถกลับตนเป็นคนดี อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างเป็นสุข
โดยไมก่ ระท�ำผิดซ�ำ้

วารสารราชทัณฑ์ 9

ขา่ วกรมราชทณั ฑ์

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายก
รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
เข้ามอบนโยบายให้กับผู้บัญชาการเรือนจ�ำ/
ผู้อ�ำนวยการทัณฑสถาน ข้าราชการ และ
เจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมราชทัณฑ์ พร้อมเดินทาง
เข้าตรวจเยี่ยมเรือนจ�ำกลางบางขวาง โดยมี
พันต�ำรวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดี
กรมราชทัณฑ์ ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ 29
ธนั วาคม 2560 ณ กรมราชทณั ฑ์ จงั หวดั นนทบรุ ี

10 วารสารราชทัณฑ์

กรมราชทณั ฑ์ รว่ มกบั กรมพลศกึ ษา ทำ� พธิ ี
ลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือ
ด้านกิจกรรมนันทนาการส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีและ
ผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน เพ่ือพัฒนา
ศักยภาพ ผู้น�ำกิจกรรมนันทนาการในเรือนจ�ำ/
ทณั ฑสถาน ในการสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมนนั ทนาการ
ทเี่ หมาะสมสำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั เมอ่ื วนั ที่ 8 ธนั วาคม
2560 ณ ห้องประชมุ บุญสม มาร์ตนิ สนามกฬี า
แหง่ ชาติ กรุงเทพมหานคร

วารสารราชทัณฑ์ 11

กรมราชทัณฑ์ ร่วมกับ ส�ำนักงานต�ำรวจ
แห่งชาติ ท�ำพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วย
ความร่วมมือการประสานด้านระบบฐานข้อมูล
ผู้กระท�ำผิด/ถูกคุมขังและใช้ประโยชน์ฐานข้อมูล
ด้านนิติวิทยาศาสตร์ เม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน
2560 ณ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร
12 วารสารราชทัณฑ์

ข่าวพฒั นาบุคลากร

หลกั สตู รขา้ ราชการราชทณั ฑบ์ รรจใุ หม่ (แรกรบั )

รุน่ ที่ 136 มีผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม จำ� นวน 100 คน ณ ศูนยฝ์ กึ อบรมขา้ ราชการราชทณั ฑป์ ระจำ�
ภาคเหนอื อ�ำเภอเมอื งลำ� ปาง จังหวัดลำ� ปาง

รุน่ ท่ี 137 ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม จำ� นวน 128 คน ณ ศูนย์ฝึกอบรมขา้ ราชการราชทณั ฑ์ประจ�ำ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อ�ำเภอสคี ิว้ จงั หวัดนครราชสมี า

รุน่ ที่ 138 มผี เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม จำ� นวน 150 คน ณ ศนู ยฝ์ กึ ยทุ ธวธิ ตี ำ� รวจกลาง อำ� เภอปากชอ่ ง
จงั หวัดนครราชสีมา

วารสารราชทัณฑ์ 13

อบรมหลกั สตู รคอมพวิ เตอรเ์ พอื่ การปฏบิ ตั งิ าน

ด�ำเนินการฝึกอบรม ระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม – 29 ธันวาคม 2560 รุ่นที่ 5 มีผู้รับการฝึกอบรม จ�ำนวน 100 คน
ณ สถาบนั พัฒนาข้าราชการราชทณั ฑ์ อำ� เภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบรุ ี

การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพอ่ื แลกเปลยี่ นความรูก้ ารบรหิ าร และปฏบิ ตั งิ าน
ราชทณั ฑ์ (สถานทตู อังกฤษสนบั สนนุ งบประมาณ)

ด�ำเนินการฝึกอบรม ระหว่างวันที่ 15 – 17 พฤศจิกายน 2560 รุ่นที่ 1 มีผู้รับการฝึกอบรม จ�ำนวน 12 คน
ณ สถาบนั พัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี

อบรมหลกั สตู รครฝู กราชทณั ฑร์ ะดบั ตน้

ดำ� เนินการฝกึ อบรม ระหวา่ งวันท่ี 27 พฤศจิกายน – 17 ธันวาคม 2560 รนุ่ ที่ 2 มีผรู้ ับการฝกึ อบรม จำ� นวน 60 คน
ณ กองก�ำกับการ 6 กองบังคับการพิเศษ กองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน ค่ายรามค�ำแหงมหาราช
อำ� เภอเมืองสโุ ขทยั จงั หวัดสุโขทัย

การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเสรมิ สรา้ ง
ประสทิ ธภิ าพการดำ� เนนิ การทางวนิ ยั

สถาบนั พฒั นาขา้ ราชการราชทณั ฑ์ รว่ มกบั กองการเจา้ หนา้ ท่ี
ดำ� เนนิ การฝกึ อบรม ระหวา่ งวนั ที่ 18 - 22 ธนั วาคม 2560
มีผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม จ�ำนวน 60 คน ณ สถาบันพฒั นา
ขา้ ราชการราชทณั ฑ์ อำ� เภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบรุ ี

14 วารสารราชทัณฑ์

การมีส่วนร่วมของประชาชน

ยในุคกาTรhบรaิหilาaรnรdาช4ก.า0ร

ดร.พทุ ธินนั ท์ คงสุวรรณ์
กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร

ท่ามกลางสภาพสังคมและส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในยุค
ปัจจุบันเป็นการกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนของนานาประเทศท่ัวโลก
ประเทศไทยเรากเ็ ชน่ เดยี วกนั ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลของการเปลยี่ นแปลงเหลา่ นนั้
ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองการปกครอง
โดยเฉพาะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีล�้ำหน้าอย่าง
กา้ วกระโดด ทำ� ใหป้ ระเทศถกู ผลกั ใหเ้ รง่ พฒั นาและสรา้ งความเจรญิ เพอ่ื ไปสู่
การเปน็ ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) และความเจรญิ ทม่ี าอยา่ งรวดเรว็
ไดส้ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทน่ี ำ� ไปสปู่ ญั หาของสงั คมทม่ี คี วามซบั ซอ้ น
มากขึน้ ตามไปดว้ ย ซึ่งหนว่ ยงานภาครัฐจ�ำเป็นต้องปรบั ตัวและเตรียมการ
รองรบั ใหท้ นั ตอ่ สถานการณค์ วามเปลยี่ นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยมกี ารเชอื่ มโยง
การพัฒนาในทุกมิติเพ่ือส่งมอบบริการสาธารณะ ที่มีประสิทธิภาพ
มีคุณภาพให้กับประชาชนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ

วารสารราชทัณฑ์ 15

นอกจากน้ี ระบอบการเมืองการปกครอง ประชาธิปไตย
แบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Democracy) ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั ประชาชน
ในการเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงท้ังทางการเมืองและการบริหารราชการ
ดังปรากฏอย่างชัดเจนในเนื้อหาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 และต่อเน่ืองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2560 ทใ่ี หส้ ทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนชาวไทยในหลายๆ มาตรา
ซ่ึงส่งผลให้เกิดกระแสการต่ืนตัวของประชาชน ในเร่ืองสิทธิมนุษยชน
มกี ารเรยี กรอ้ งสทิ ธใิ นการรบั รแู้ ละสทิ ธใิ นการเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม โดยประชาชน
เรียกร้องความเป็นธรรมในสังคมมากขึ้น มีการรวมตัวเป็นกลุ่มประชาสังคมและเริ่มเรียกร้องเข้ามามีส่วนร่วม
ในกระบวนการตัดสินใจ และบริหารงานภาครัฐ รวมทั้ง มีการเปิดโอกาสจัดพื้นที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการบรหิ ารงานราชการโดยตรงซงึ่ จะสง่ ผลใหภ้ าครฐั มคี วามจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งปรบั ตวั ใหท้ นั ตอ่ กระแสการเปลย่ี นแปลง
โดยต้องมีการเปิดระบบราชการเข้าสู่กระบวนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมที่ยอมรับ
และใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการบริหารราชการมากข้นึ
โดยทีก่ ระแสการปฏิรปู ภาครฐั (Public Sector-Reform) ทมี่ ุง่ แสวงหาแนวทางที่เหมาะสมในการสรา้ งระบบ
บริหารงานภาครัฐให้มีความทันสมัย มีความคล่องตัว มีความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรเพื่อจัดบริการ
สาธารณะและสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการหรือตอบสนองความต้องการของประชาชน
ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ดงั นนั้ จงึ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทห่ี นว่ ยงานภาครฐั ตอ้ งหนั มาใหค้ วามสำ� คญั และการสรา้ งความรว่ มมอื
จากทุกภาคส่วนในสังคมให้เข้ามามีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดินอย่างเป็นรูปธรรมมากย่ิงข้ึน
เพ่ือน�ำพาประเทศไทยพฒั นาไปสปู่ ระเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0)

การบริหารราชการแบบมสี ่วนรว่ ม (Participatiory Government)

เปน็ หลกั การในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ตามหลกั ธรรมมาภบิ าล (Good Government) ซงึ่ จะนำ� ไปสรู่ ะบบ
ราชการที่มีความสุจริต โปร่งใส เปดิ เผยข้อมลู เทีย่ งธรรม และมีการบรหิ ารงานทเ่ี น้นประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง รวมทัง้
มงุ่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนเปน็ สำ� คญั โดยทห่ี นว่ ยงานภาครฐั จะมกี ลไกการบรหิ ารราชการแบบมสี ว่ นรว่ มทีต่ ่อเนอื่ ง
และสรา้ งสรรค์ เปน็ องค์กรที่เปดิ ให้ประชาชนหรอื กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี สามารถเขา้ ถงึ ได้ มกี ารตดิ ตอ่ สอื่ สารสองทาง
กับประชาชนท้ังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการและน�ำข้อคิดเห็นของประชาชนมาประกอบการตัดสินใจขององค์กร
พร้อมทั้ง อธิบายเหตุผลรวมไปถึงการจัดกระบวนการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทันท่วงที ถูกต้อง
โปรง่ ใสและจรงิ ใจ
ด้วยเหตทุ ่ีกล่าวมาน้ี การบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม จึงหมายความถึง การบริหารราชการที่นำ� ผูม้ ีส่วนได้
สว่ นเสยี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกระบวนการวางแผน การตดั สนิ ใจ การดำ� เนนิ งาน และการประเมนิ ผล
โดยมกี ารจดั ระบบงานหรอื วธิ กี ารทำ� งานการจดั โครงสรา้ งและการสรา้ งวฒั นธรรม การทำ� งานของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ทเี่ ออื้ ตอ่
การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนหรอื ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารราชการ โดยเนน้ การทำ� งาน
ร่วมกันของทุกภาคส่วนทัง้ ในแนวระนาบ คอื สรา้ งความร่วมมือจากภาคประชาชน ภาคธรุ กิจ/ภาคเอกชน นกั วิชาการ
สื่อสารมวลชน ฯลฯ และแนวด่ิง คือบูรณาการการท�ำงานกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อเช่ือมโยงการท�ำงาน
และสรา้ งเอกภาพของการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน

16 วารสารราชทัณฑ์

อย่างไรก็ตาม ในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการจ�ำเป็นต้องก�ำหนด
รปู แบบการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและเงอื่ นไขการมสี ว่ นรว่ มและใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มตงั้ แตเ่ รม่ิ กระบวนการ
รวมท้ังการมีส่วนร่วมเป็นไปอย่างกว้างขวาง โดยผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมต้องเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือผู้มีส่วนได ้
ส่วนเสียทกุ ฝ่าย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม และทสี่ �ำคญั มีความจริงใจ เปิดเผย ซื่อสัตยใ์ หเ้ กียรตซิ ึง่ กนั และกัน ดังน้ัน
เราจึงควรทำ� ความเขา้ ใจกับระดับการมสี ว่ นร่วมของประชาชน และเงอ่ื นไขของการมสี ว่ นรว่ มตอ่ ไปนี้

ระดบั การมีส่วนรว่ มของประชาชน (Participation Spectrum)

ประกอบดว้ ยการมีส่วนรว่ มของประชาชน 5 ระดบั คอื

1. ระดบั การใหข้ อ้ มูลขา่ วสาร (To Inform)
2. ระดบั การปรกึ ษาหารือ (To Consult)
3. ระดับการเขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง (To Involve)
4. ระดับความร่วมมอื (To Collaborate)
5. ระดับเสรมิ อ�ำนาจประชาชน (Empower) ซ่งึ เปน็ ระดับทบ่ี ทบาทของประชาชนในการเข้ามามสี ่วนรว่ ม
อย่ใู นระดับสูงสดุ

เงอ่ื นไขการมีส่วนร่วมของประชาชน ไดแ้ ก่

1. การมีเสรีภาพในการเข้าร่วม คือ มีอิสระที่จะเข้ามามีส่วนร่วมหรือไม่ก็ได้ โดยการถูกบังคับไม่ว่าจะใน
รปู แบบใดไม่ถอื วา่ เปน็ การมีสว่ นร่วม

2. การมีความเสมอภาคในการเข้าร่วมกิจกรรม ทุกคนที่เข้าร่วมในกิจกรรมใดๆ ต้องมีสิทธิเท่าเทียม
กบั ผูเ้ ข้าร่วมประชมุ คนอ่ืนๆ

3. ความรคู้ วามสามารถของผเู้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม คอื ตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถเพยี งพอทจ่ี ะ
เขา้ รว่ มในกจิ กรรมนนั้ ๆ ซง่ึ หากกจิ กรรมทก่ี ำ� หนดไวม้ คี วามซบั ซอ้ นเกนิ ความสามารถ ของกลมุ่ เปา้ หมาย
ท่ีเข้าร่วมกิจกรรม ก็จะท�ำให้การมีส่วนร่วมเกิดข้ึนไม่ได้ นั่นแสดงว่าจะต้องมีการพัฒนาความรู ้
ความเข้าใจและศกั ยภาพใหเ้ ขาเหลา่ นนั้ กอ่ น เพ่อื ใหส้ ามารถเข้ามามีสว่ นรว่ มได้

ความส�ำเรจ็ ของการบรหิ ารราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม ซึ่งเป็นการทำ� งานร่วมกบั ภาคประชาชน
และภาคส่วนอื่นท่ีเกี่ยวข้องแบบหุ้นส่วนความร่วมมือไปสู่การยอมรับซ่ึงกันและกันในผลของการ
พัฒนาท่ีเกิดขึ้น ก่อให้เกิดประโยชน์กับทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน อันเป็นการสร้างพลัง ความร่วมมือในการขับเคลื่อนการพัฒนา
ระบบราชการไปสู่เป้าหมาย คือ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดินและตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง รวมท้ัง ผลของการพัฒนาที่เกิดประโยชน์ต่อคุณภาพ
ชวี ิตของคนในชมุ ชน สังคม และประเทศชาติอยา่ งย่งั ยืน

เอกสารอา้ งองิ : ศ.(พเิ ศษ) ดร. ทศพร ศิรสิ ัมพนั ธ์ ; Government Thailand 4.0

วารสารราชทัณฑ์ 17

ข้าราชการไทย

กบั การขับเคล่ือนสปู่ ระเทศไทย 4.0

กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทัณฑ์

“4 พันธกจิ รว่ ม”

ของขา้ ราชการยุคประเทศไทย 4.0

• การสง่ เสรมิ การทำ� งานทสี่ อดคลอ้ งเชอ่ื มโยงเปน็
บรู ณาการและสรา้ งจติ สำ� นกึ รบั ผดิ ชอบรว่ มกนั

• การสรา้ งสมั พนั ธมติ รและการสง่ เสรมิ การทำ� งาน
แบบประชารัฐ

• การส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและการคิด
สรา้ งสรรค์

• การปรบั เปลีย่ นภาครัฐเป็นรฐั บาลดิจทิ ัล

18 วารสารราชทัณฑ์

การปฏริ ูปประเทศเพอ่ื ไปส่กู ารเป็นประเทศไทย 4.0

ถือเป็นวาระแห่งชาติท่ีรัฐบาลและทุกภาคส่วนต่างให้ความส�ำคัญและ “ข้าราชการ” ซึ่งถือเป็นกลไกลหลัก
ในการขบั เคลอื่ นการเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ ว ตอ้ งเรง่ ปรบั ตวั ใหเ้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงและพฒั นาตนเอง รวมทงั้ สง่ เสรมิ
และสนบั สนนุ การพฒั นาผอู้ นื่ ใหม้ ขี ดี ความสามารถเหมาะสมในการทำ� งานเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของการพฒั นาประเทศ
คอื ประเทศไทยมีความม่นั คง มง่ั คั่ง และยัง่ ยนื เปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแลว้ ด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ที่ผ่านมา “ภาครัฐของไทย” มักจะถูกมองว่า มีการจัดการภาครัฐท่ีไม่เท่าทันการเปล่ียนแปลง ไม่ยืดหยุ่น
ไมค่ ลอ่ งตวั ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความถกู ตอ้ งของกระบวนการมากกวา่ ผลสมั ฤทธข์ิ องงาน การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน
ยงั ติดขัด ไมเ่ ชอื่ มโยงเป็นกระบวนการเดียวกนั การบริหารงานยึดติดกบั กรอบอ�ำนาจตามกฎหมายหลัก การประสาน
ความสัมพันธ์กบั ภาคสว่ นอืน่ เป็นไปในรปู แบบท่ภี าครฐั เปน็ ฝา่ ยนำ� ภาคส่วนอื่นเปน็ ฝ่ายตาม รูปแบบและวธิ ีการแก้ไข
ปัญหาส่วนใหญ่เร่ิมต้นจากภาครัฐเป็นผู้คิดและด�ำเนินการ ซึ่งในหลายครั้งไม่ได้น�ำปัญหาหรือความต้องการที่แท้จริง
ของประชาชนมาพิจารณา การปฏิบัติงานไมส่ อดคลอ้ งและไมท่ ันกบั การเปล่ยี นแปลงของสงั คม การใหบ้ รกิ ารท่ใี ห้กบั
ประชาชนและภาคเอกชนแม้จะมีการพัฒนาให้รวดเร็วและทันสมัย แต่เมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศแล้วยังม ี
ความลา่ ชา้ และไมส่ ามารถตอบสนองต่อความตอ้ งการได้เท่าที่ควร
ส�ำนักงาน ก.พ. ในการประชุมเม่ือวันที่ 16 มกราคม 2560 จึงได้ก�ำหนดแนวทางในการขับเคล่ือน
การเปลย่ี นแปลงไปสกู่ ารเปน็ ประเทศไทย 4.0 โดยให้ “ขา้ ราชการ” มพี นั ธกจิ รว่ มกนั ในการแกไ้ ขปญั หาทเี่ ปน็ รากฐาน
ของระบบและสร้างกลไกเชิงรุกเพ่ือสร้างจุดแข็งของประเทศใน 4 เรื่อง โดยพันธกิจในแต่ละเร่ือง มีความเห็นว่า
“ขา้ ราชการ” จะต้องปรบั มุมมอง เปล่ยี นทศั นคติ และรว่ มกนั ด�ำเนินงาน ดังน้ี

1. การส่งเสริมการท�ำงานที่
สอดคล้องเชื่อมโยงเป็นบูรณาการ
และสรา้ งจติ สำ� นกึ รบั ผดิ ชอบรว่ มกนั

ข้าราชการในฐานะกลไกขับเคล่ือนงานหลักภาครัฐ
ไม่ว่าจะปฏิบัติงานภายใต้หน่วยงาน กระทรวง กรมใดจะต้อง
ร่วมกันสร้างทัศนคติและการท�ำงานรูปแบบใหม่โดยปรับ
มุมมองจากการท�ำงานแบบเดิมที่ให้ความส�ำคัญกับการท�ำงาน “ให้เสร็จ” ตามกระบวนงานหรือตามตัวชี้วัด
(Key Performance Indicators) ท่ีตนได้รับมอบหมาย (Silo Mentality) มาเป็นการท�ำงาน “ให้บรรลุผลส�ำเร็จ
ร่วมกัน” คือ ประชาชนมีความผาสุก มีคุณภาพชีวิตท่ีดี สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรมและมีโอกาสเท่าเทียมกัน
เพือ่ ขจัดความเหลื่อมล�้ำ
ในการทำ� งาน จะตอ้ งมกี ารกำ� หนดเปา้ หมายรว่ มกนั มกี ารเชอื่ มโยงกลไก กระบวนการทำ� งาน รวมถงึ การบรหิ าร
ทรัพยากรของหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นเสมือนกระบวนงานเดียวกันต้ังแต่ต้นจนจบ (Alignment) มีการประสานและ
ท�ำงานไปด้วยกันเพื่อผลส�ำเร็จของงานร่วมกันโดยไม่แบ่งแยกว่าเป็นงานใครหน้าที่ใคร มีการแบ่งปันและใช้ทรัพยากร
ร่วมกัน มีการพูดคุยหารือ เปิดรับความคิดเห็นรวมทั้งร่วมแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นด้วยความแน่วแน่ ตั้งใจ (Intention)
และไว้ใจซึ่งกนั และกนั (Trust) พรอ้ มรับความเสย่ี ง และรับผดิ ชอบตอ่ ผลลพั ธท์ ่ีจะเกดิ ข้ึนร่วมกัน

วารสารราชทัณฑ์ 19

2. การสรา้ งพนั ธมิตรและการสง่ เสรมิ การทำ� งานแบบประชารฐั

ขา้ ราชการจะตอ้ งร่วมกันสรา้ งมติ ใิ หมข่ องการท�ำงานภาครฐั ดว้ ยการเปลยี่ นวิธีการท�ำงานแบบเดิมทเี่ นน้ การ
รวมศูนย์ มาสร้าง “พนั ธมิตร” (Partners) และทำ� งานรว่ มกับหน่วยงานและภาคส่วนอน่ื เพือ่ การไปสู่เป้าหมายตามที่
มเี จตจำ� นงคร์ ่วมกนั
ในการท�ำงานร่วมกันต้องปรับเปล่ียนรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอื่น

จากการเป็น “ผู้ปกครองและผู้คุมกฎระเบียบ” (Regulator) ในลักษณะ “ภาครัฐน�ำ
ภาคประชาชนตาม” เป็น “ผู้อ�ำนวยความสะดวก” (Facilitator) ในลักษณะ
“ภาคประชาชนนำ� ภาครฐั สนบั สนนุ ” สง่ เสรมิ ให้ “ประชาชน” และ “ภาคเอกชน”
ซ่ึงเป็นรากฐานของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานของภาครัฐ
(Citizen Engagement) มากขน้ึ โดยการสรา้ งเครอื ขา่ ยประชารฐั ในทกุ ดา้ น

ในการท�ำงานร่วมกัน ต้องมีการศึกษาและท�ำความเข้าใจองค์กรและ
ภารกิจของแต่ละฝ่ายหรือแต่ละภาคส่วนอย่างถ่องแท้ มีการวางแผน

การท�ำงานร่วมกนั ที่ชัดเจนท้งั ในระยะสนั้ ระยะกลาง และระยะยาว มีการน�ำ
จดุ แขง็ หรอื ความช�ำนาญของแต่ละฝา่ ยหรือภาคส่วนตา่ งๆ มาแบง่ ปนั เพอื่ สรา้ งประโยชน์ร่วมกนั (win-win solution)
มีการปรับรูปแบบและกระบวนการท�ำงานร่วมกันให้มีความยดื หยนุ่ โดยหาจดุ ร่วมบนความแตกตา่ งเพอ่ื ไปส่เู ปา้ หมาย
ตามพนั ธกจิ ทม่ี าดำ� เนนิ การรว่ มกนั เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละรกั ษาความไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั รวมทง้ั จดั ระบบงาน
ทเ่ี ออื้ ตอ่ การพดู คยุ หารอื สอ่ื สาร ถา่ ยทอด แลกเปลย่ี น แบง่ ปนั ขอ้ มลู ขา่ วสาร องคค์ วามรู้ เทคนคิ ดำ� เนนิ งานระหวา่ งกนั
เพ่ือสรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดและสรา้ งคณุ ค่าร่วมกนั ในการพัฒนางานและสรา้ งนวัตกรรมเพอ่ื ประชาชนและสังคม

3. การส่งเสริมใหเ้ กิดนวตั กรรมและการคดิ สร้างสรรค์

ขา้ ราชการจะตอ้ งรว่ มกนั สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รทเ่ี ออื้ ตอ่ การคดิ คน้ ออกแบบ แลว้ สรา้ งสรรค์ นโยบาย แนวคดิ
วิธีการ ผลิตภัณฑ์และการบริการ ที่มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและผู้รับบริการ
เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพและปรับปรุงการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
ในการท�ำงาน ต้องร่วมกันสร้างบรรยากาศการท�ำงานที่เปิดกว้าง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิด
หรือรูปแบบการท�ำงานแบบเดิม ท้าทายสิ่งใหม่ เปิดรับความคิดเห็นท่ีแตกต่างบนหลักเหตุและผล
แสวงหาโอกาสอย่างเหมาะสม ให้อิสระในการท�ำงาน พร้อมรับความเส่ียงที่อาจจะ
เกิดข้ึนจากการทดลองท�ำสิ่งใหม่ สนับสนุนการต่อยอดการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง ประยุกต์และใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ขององค์กร
และผลงานวิจัยและพฒั นาอย่างเต็มท่ี
ขา้ ราชการจะตอ้ งรว่ มกนั กระตนุ้ ใหท้ กุ คนคดิ ตา่ งไปจากเดมิ
โดยให้คิดว่าเราจะตัดอะไรท้ิงได้บ้างเราจะเช่ือมโยงหรือน�ำส่ิงใด
กับส่ิงใดมารวมกันแล้วสร้างเป็นส่ิงใหม่ได้บ้าง เราจะปรับสัดส่วน
อะไรได้บ้างและเราจะพลิกแพลงสิ่งท่ีเกิดข้ึนทุกวันให้ง่ายข้ึน ดีข้ึน
มีประสิทธิภาพมากข้ึนได้อย่างไร แล้วลงมือปฏิบัติติดตาม
ความคบื หน้าและวดั ผลลัพธท์ ี่เกิดขึ้นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

20 วารสารราชทัณฑ์

4. การปรบั เปล่ยี นภาครฐั เป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั

ขา้ ราชการทกุ คนจะตอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสรา้ ง
และพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยการพัฒนาตนเองให้เท่าทัน
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและน�ำเทคโนโลยีท่ีมี
อยู่ในปัจจุบันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมท้ัง จะต้อง
ร่วมสร้างระบบดิจิทัลในภาครัฐ ด้วยการร่วมออกแบบและ
พฒั นากลไก ระบบงาน ระบบการบรกิ าร รปู แบบการดำ� เนนิ งาน
ขององค์กร (Service and Work Process Redesign)
ใหเ้ ปน็ ระบบทมี่ กี ารเชอื่ มโยงและบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงาน
ภาครัฐด้วยกันเอง ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน และ
ระหว่างภาครัฐกับประชาชน เพื่อการสร้างคุณค่าร่วมกัน
ระหวา่ งทกุ ภาคสว่ น (Co-Creation) และเพอ่ื การพฒั นางาน
ภาครฐั ทมี่ ีมูลคา่ สูงขึ้น
ในการทำ� งาน จะตอ้ งรู้ เขา้ ใจและสามารถใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อยา่ งเหมาะสม
ต้องติดตามทิศทางและแนวโน้มของเทคโนโลยีอย่างต่อเน่ือง พร้อมรับและปรับตัว
ให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนารูปแบบ วิธีคิด และวิธีการท�ำงานให้สามารถ
ใช้ประโยชน์จากข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีอัจฉริยะ (Smart Technology)
ได้อยา่ งปลอดภัยและเกิดประโยชนส์ งู สดุ ต่อประเทศชาตแิ ละประชาชน

โดยสรปุ เพอื่ ใหภ้ าครฐั ปรบั ตวั ใหเ้ ทา่ ทนั และตอบสนองความคาดหวงั ของทกุ ภาคสว่ นในการกา้ วไป
สกู่ ารเปน็ ประเทศไทย 4.0 โดยการปรบั เปลยี่ นการทำ� งานจากแบบเดมิ ๆ ทคี่ นุ้ เคย คดิ ฝา่ ยเดยี ว ทำ� ฝา่ ยเดยี ว
มาท�ำงานแบบประสานความร่วมมือโดยไม่แบ่งแยกว่าเป็นหน้าท่ีของใคร สร้างสัมพันธมิตรการท�ำงานกับ
ภาคส่วนต่างๆ เพอื่ ไปสูเ่ ปา้ หมายเดียวกนั ในรูปแบบประชารัฐ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมและน�ำเทคโนโลยีดจิ ิทัล
มาใช้เพ่ือสร้างให้เกิดรัฐบาลแบบเปิดท่ีมีการสร้างคุณค่าร่วมกับระหว่างทุกภาคส่วน อันจะน�ำไปสู่การเป็น
รฐั บาลท่มี ีคณุ ธรรม โปร่งใส เป็นท่ีเช่ือม่ัน ศรัทธาของประชาชนและสังคมโลก
“ข้าราชการไทย” ในฐานะกลไกขับเคล่ือนภาครัฐที่ส�ำคัญ ต้องเปล่ียนแปลง (Change) โดยต้อง
ก้าวออกจากกรอบความคิดและวิธีการท�ำงานแบบเดิม พร้อมท้าทายสิ่งใหม่ แก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล
ต้องสามารถประสานการท�ำงานร่วมกัน (Collaboration) เพ่ือไปสู่เป้าหมายเดียวกันทั้งภายในหน่วยงาน
เดยี วกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานของรฐั กบั เอกชน และระหวา่ งหนว่ ยงานรฐั กบั ประชาชนเพอ่ื เปน็ การสรา้ งคณุ คา่
รว่ มกนั ตอ้ งมปี ญั ญาสรา้ งสรรค์ (Creative Intelligence) โดยรว่ มกนั สรา้ งสรรคผ์ ลงานทเี่ ปน็ เลศิ (Creative)
และใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื สรา้ งความประทบั ใจและการมสี ว่ นรว่ มจากประชาชน และทส่ี ำ� คญั
คอื จะต้องร่วมสรา้ งภาคราชการทป่ี ลอดคอร์รัปชั่น ยึดมั่นในความซ่ือสัตย์ ซอ่ื ตรง โปรง่ ใส ไม่เลือกปฏบิ ัติ
และมีคณุ ธรรม (Corruption free)

ที่มา: http://www.ocsc.go.th

วารสารราชทัณฑ์ 21

สังคมปลอดภัย

ขอ้ กำ� หนดแมนเดลา

กฎหมายบงั คับโทษ (พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560)

“ใช้อาวธุ ทำ� ร้ายกนั ” “เปิดตลาดมืด” - การควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั นอกเรอื นจำ�
- การจดั ใหม้ อี ปุ กรณใ์ นการ
“พยายามหลบหน”ี “ฝ่าฝนื ระเบียบขอ้ บงั คับ” ควบคมุ
- การควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ลกั ษณะ
“การสบู บุหร”ี่ “ขโมยสิง่ ของ” รา้ ยแรง
- การเกบ็ รกั ษาอาวธุ ปนื
“สูดดมทินเนอร”์ “การลกั ลอบสักลาย” - การควบคมุ การใชแ้ ละการ
รกั ษากญุ แจ
- การควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ในเวลา
กลางคนื และวนั หยดุ ราชการ
- การควบคมุ เครอ่ื งมอื และ
อปุ กรณ์
- การแยกคมุ ขงั
- การควบคมุ สงิ่ ของตอ้ งหา้ ม
- การตรวจนบั ยอดผตู้ อ้ งขงั
- การตรวจสภาพอาคารสถานท่ี
- การจดั ระเบยี บเรอื นจำ�

การรับตัวผตู้ ้องขงั การแยกผูต้ ้องขัง การจ�ำแนกลกั ษณะผ้ตู ้องขัง การควบคุมผู้ตอ้ งขัง

- รท. 101 - นักโทษเด็ดขาด - แผนการปฏบิ ัตติ ่อ - งานน�ำตัวผตู้ ้องขงั ไปศาล
- รท. 102 - ผู้ตอ้ งขังระหว่างการ ผตู้ อ้ งขงั รายบุคคล - งานวจิ ยั ผู้ตอ้ งขัง
- รท. 103 พิจารณาคดี (Sentence Plan) - งานเล่อื น - ลดชั้น
- เรอื นจำ� ศนู ยร์ ะหวา่ งการ - งานพักการลงโทษ
“ผูต้ อ้ งขังโรคจิต” พจิ ารณาคดี (Hub) - การลดวันต้องโทษ
- งานอภัยโทษ
“ยกพวกตีกัน” - งานย้ายผู้ต้องขัง
- งานสาธารณะนอกเรือนจำ�

“กดข่ขี ม่ เหงกนั ” “พฤติกรรมตอ่ ต้านเจ้าพนกั งาน”

“ประท้วงไมย่ อมทำ� งาน” “ทำ� ลายทรัพย์สินเรอื นจำ� ” “การลกั ลอบนำ� สิ่งของต้องหา้ มเข้าเรือนจำ� ”

“ชิงความเป็นใหญ”่ “เบีย่ งเบนทางเพศ”

ข้อกำ� หนดกรุงเทพ

22 วารสารราชทัณฑ์

ด้วยกรมราชทณั ฑ์ นายจริ วุฒิ ปญุ ญาสวัสด์ิ
กองแผนงาน
ขอ้ ก�ำหนดกรุงเทพ
แนวทางแก้ไขพัฒนาพฤตินิสยั ผ้ตู ้องขัง (นโยบายสังคม)

“ปัญหาการแกไ้ ขพฒั นาพฤตนิ ิสัย” “ปัญหาการบริหารโทษ” “ปญั หาการกระท�ำผิดซ�้ำ”

“ปญั หาการเปลย่ี นแปลงลักษณะผู้ต้องขงั ” “ปัญหาการประสานความรว่ มมอื ”

- การจดั โครงการอบรมตา่ งๆ - ครอบครวั
ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะและ - บรษิ ทั
ประเภทของผตู้ อ้ งขงั - ชมุ ชน
- การเตรยี มการจดั หางาน - ผพู้ น้ โทษ
- การเตรยี มสภาพรา่ งกายและ - เหยอื่
จติ ใจ - ตำ� รวจ
- การฝกึ วชิ าชพี เฉพาะ
- เรอื นจำ� โครงสรา้ งเบา

การปรบั เปลี่ยนพฤตนิ ิสัย การเตรียมการปลดปลอ่ ย คืนคนดสี สู่ งั คม การยอมรับจากสังคม

- การศกึ ษาวชิ าสามญั / - การปลอ่ ยตวั ครบกำ� หนดโทษ
สายอาชพี - การปลอ่ ยตวั คมุ ประพฤติ
- สคั คสาสมาธิ
- ธรรมะศกึ ษา/การพฒั นาจติ ใจ
- การฝกึ วชิ าชพี
- โปรแกรมเฉพาะตา่ งๆ เรอื นจ�ำเฉพาะทาง
- การเยย่ี มญาติ
- การรบั - สง่ จดหมายและพสั ดุ “Big Data” “Managing Oneself”
- การพบทนายความ
- การซอ้ื สนิ คา้ จากรา้ นสงเคราะห์
- การรอ้ งทกุ ข์ “ขาดแคลนอตั ราก�ำลงั ” “ผูต้ อ้ งขังเกนิ ความจุ”
- การรกั ษาพยาบาล
- การบำ� บดั ฟน้ื ฟยู าเสพตดิ
- การไดร้ บั สง่ิ จำ� เปน็ ขนั้ พนื้ ฐาน “ปญั หาการปกครองของเรือนจำ� ” “อิทธพิ ลการยอมรับจากสังคม”
(ทน่ี อน อาหาร เสอื้ ผา้ กำ� จดั ขยะ)

ขอ้ กำ� หนดแมนเดลา

วารสารราชทัณฑ์ 23

มีหลายคนบอกผมวา่

“หากไมม่ ีกรมราชทัณฑ์ สังคมจะไมป่ ลอดภยั
ไม่มีใครป้องกนั สังคม”


หากเรามองยอ้ นกลบั ไปภายในองคก์ รกรมราชทณั ฑจ์ ดุ เรม่ิ ตน้ ของการทำ� งาน
กรมราชทัณฑ์ได้เข้าสู่ยุคการท�ำงานภายใต้ยุทธศาสตร์กรมราชทัณฑ์เป็นหลัก ตั้งแต่
การใชแ้ ผนทิศทางกรมราชทัณฑ์ในทศวรรษหนา้ พ.ศ. 2536 – 2545 จนปัจจุบันได้
ยดึ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 4 ปี กรมราชทณั ฑ์ พ.ศ. 2559 – 2562 เปน็ เครอื่ งมอื การทำ� งาน
ของกรมราชทัณฑ์ ภายใต้นโยบายการท�ำงานของรัฐบาลในแต่ละยุคสมัยท่ีมุ่งเน้น
การท�ำงานเพื่อสร้างคนดีสู่สังคม กอปรกับกฎหมายต่างๆ ที่ได้ให้อ�ำนาจในการบังคับโทษและบริหารโทษต่อผู้ต้องขัง
อยา่ งเหมาะสม การแกไ้ ขพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ผตู้ อ้ งขงั เพอื่ คนื คนดสี สู่ งั คม ควบคกู่ บั การบรหิ ารงานราชทณั ฑใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
วิถีการท�ำงานของกรมราชทัณฑ์ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรมราชทัณฑ์ การปฏิบัติงานตามระเบียบกฎหมาย
และขอ้ สงั่ การโดยเครง่ ครดั และนโยบายตา่ งๆ ทำ� ใหก้ รมราชทณั ฑม์ กี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ ลำ� ดบั ในระยะทผ่ี า่ นมา
กรมราชทัณฑ์ได้พยายามเปล่ียนแปลงการท�ำงานด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีการท�ำงานท่ีมุ่งสร้างการยอมรับ
จากสงั คมดว้ ยแนวคดิ “สงั คมปลอดภยั ” ดว้ ยการวางมติ กิ ารบรหิ ารในหลายดา้ น ทง้ั การปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ
และสิ่งของต้องห้าม การควบคุมและแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังในเชิงคู่ขนานการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรือนจ�ำ
ให้ก้าวเดินไปอย่างเป็นระบบ มีการท�ำงานตามอุดมการณ์ มีการคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดข้ึนมีการวางแผน
การทำ� งานในทุกขน้ั ตอนทง้ั ในส่วนกลางและระดบั เรอื นจ�ำ/ทัณฑสถาน ให้มปี ระสิทธิภาพ มคี วามรกั ในองคก์ รของตน
และความตั้งใจทจ่ี ะพัฒนางานที่รับผิดชอบ
ถึงแม้กรมราชทัณฑ์ได้วางรากฐานการท�ำงานด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีการท�ำงานหรือเพิ่มมิติการท�ำงาน
ทีม่ งุ่ แกป้ ัญหามากขนึ้ ก็ตาม แต่ก็คงมปี ญั หาอย่ทู ่ีไมส่ ามารถควบคุมไดอ้ นั เน่อื งมาจากจ�ำนวนผู้ต้องขงั ท่ีเพ่มิ สูงขึ้นทกุ ปี
จนเกินความจุมาตรฐานที่จะรองรับได้ ปัจจุบันกรมราชทัณฑ์มีเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ท่ีอยู่ในสังกัด ทั้งสิ้น 143 แห่ง
มีผู้ต้องขังอยู่ในความควบคุมดูแลทั้งส้ิน จ�ำนวน 319,479 คน (1 พ.ย. 2560) ความจุมาตรฐานรองรับได ้
จ�ำนวน 120,815 คน เท่าน้นั จึงทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาตา่ งๆ ตามมามากมาย
(แนวโน้มงานราชทณั ฑใ์ นอนาคต. กลุ่มงานพัฒนาระบบทณั ฑปฏบิ ตั ิ. กรมราชทัณฑ์: นนทบุร,ี 2556)

1 ปญั หาดา้ นการแก้ไขพัฒนาพฤตนิ สิ ัยผ้ตู อ้ งขัง

การท่ีผู้ต้องขังมีจ�ำนวนมาก ท�ำให้ไม่สามารถด�ำเนินการจ�ำแนกแยกประเภทผู้ต้องขังออกมาได้อย่างชัดเจน
ทำ� ใหก้ ารปรบั หรอื แกไ้ ขพฤตกิ รรมไมก่ อ่ ประโยชนใ์ ดๆ และอาจเกดิ การถา่ ยทอดความรกู้ ารเปน็ อาชญากรรม เมอื่ พน้ โทษ
ออกไปแล้วโอกาสท่ีจะกระท�ำผิดซ้�ำอีกจึงเกิดขึ้นได้ รวมทั้ง อาจน�ำไปสู่การพัฒนาเป็นองค์กรอาชญากรรม ปัจจุบัน
ไดม้ ีการน�ำแนวคิดการแยกประเภทผูต้ อ้ งขังส�ำหรบั การควบคุม โดยแบง่ เรอื นจ�ำออกเป็น 4 กลุ่ม เริม่ จากกลุ่มเรือนจำ�
ฝา่ ยรบั ตวั ตอ่ มาจะเขา้ สเู่ รอื นจำ� ฝา่ ยควบคมุ ตามลกั ษณะประเภทคดี และจะเขา้ สเู่ รอื นจำ� เฉพาะทางสำ� หรบั การใหค้ วามรู้
เฉพาะทาง การฝึกวิชาชีพติดตัว สุดท้ายก่อนพ้นโทษจะเข้าสู่เรือนจ�ำเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย และมีการจัดท�ำ
แผนการปฏบิ ตั ิตอ่ ผตู้ อ้ งขงั รายบคุ คล (Sentence Plan) มีหลกั สูตรภาคบงั คบั ตามลักษณะแหง่ คดีกวา่ 10 หลักสตู ร

24 วารสารราชทัณฑ์

กรอบแนวคิดในการจดั การปัญหานักโทษล้นเรอื นจ�ำ

ปฏริ ูปแนวคิด กระบวนทัศน์ ปฏริ ูปแนวคิดกระบวนทศั น์
เพ่อื ปรบั เปลีย่ นพัฒนาวิธี
การปฏริ ปู กฎหมาย การลงโทษจ�ำคุกสำ� หรับ
ความผดิ บางประเภท

• เปลี่ยนประเภทยาเสพติดบางชนิดใหเ้ ป็นยาท่สี ามารถใชไ้ ด้ภายใต้การดแู ลของแพทย์
• เปลี่ยนวิธกี ารจำ� คกุ ด้วยการลงโทษด้วยวิธกี ารอน่ื ๆ
• เปลย่ี นฐานความผดิ บางประเภทไม่มโี ทษทางอาญา
• พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเตมิ ประมวลกฎหมายอาญา
• พ.ร.บ. วธิ ปี ฏิบตั เิ ก่ยี วกบั การกกั ขังตามประมวลกฎหมายอาญา
• ร่าง พ.ร.บ. ว่าด้วยระบบการติดตามตวั โดยการใชอ้ ุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในกระบวนการ

ยตุ ิธรรมทางอาญา

การปฏิรูปนโยบาย

• การเปล่ียนแปลงนโยบายดา้ นการปราบปรามยาเสพติดตามทก่ี ฎหมายก�ำหนด

การปฏิรปู กระบวนการพิจารณาคดี

• ย่ตี อ๊ กหรอื แนวการพิจารณาพพิ ากษาคดียาเสพติด
• ศาลใชแ้ นวทางการลงโทษจ�ำคกุ โดยวิธกี ารอ่ืน

การปฏิรปู รปู แบบวธิ กี ารบังคับโทษในเรือนจำ�

• อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตดิ ตามตวั หรอื Electronic Monitoring หรอื EM
ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

ทั่วประเทศมีนกั โทษถูกจ�ำคกุ อยู่ กว่ารอ้ ยละ 70 ลดจ�ำนวน
กวา่ 300,000 คน โดยมนี กั โทษ เปน็ คดยี าเสพตดิ นักโทษ
หญิงมีอยู่ประมาณ 42,000 ราย ในเรอื นจ�ำ

วารสารราชทัณฑ์ 25

2 ปัญหาการเปลีย่ นแปลงในทางลักษณะของผตู้ ้องขัง

จากเดมิ เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ทไี่ มไ่ ดก้ ระทำ� ผดิ โดยสนั ดาน หรอื เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ฐานเสพยาเสพตดิ แตป่ จั จบุ นั กรมราชทณั ฑ์
คมุ ขงั ผตู้ อ้ งขงั ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ผมู้ อี ำ� นาจ มอี ทิ ธพิ ลและเปน็ ผตู้ อ้ งขงั ทก่ี ระทำ� ผดิ โดยสนั ดานเพม่ิ มากขนึ้ การทกี่ รมราชทณั ฑ์
ตอ้ งควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั เหลา่ นถ้ี อื เปน็ เรอ่ื งทค่ี อ่ นขา้ งยากเนอ่ื งจากผตู้ อ้ งขงั เหลา่ นมี้ อี ทิ ธพิ ลและมอี ำ� นาจเงนิ สามารถทจี่ ะ
ชักจูงใหเ้ จ้าหน้าทีท่ ่ีขาดคณุ ธรรมของกรมราชทัณฑ์ใหล้ ะเว้นการปฏิบัตหิ นา้ ทีห่ รือปฏบิ ตั ิหน้าทโ่ี ดยมิชอบได้

3

ปัญหาบคุ ลากร

อตั ราก�ำลังเจา้ หน้าทไ่ี ม่เพียงพอท�ำให้เกดิ ความตรากตร�ำ ไม่มคี วามก้าวหน้าในอาชพี ขาดขวญั กำ� ลังใจในการ
ปฏิบตั ิงาน ขาดองคค์ วามร้คู วามสามารถเฉพาะในการปฏิบตั หิ น้าท่ี

ประเภท เพศชาย เพศหญิง รวม

ข้าราชการ 9,623 2,503 12,126

พนักงานราชการ 866 681 1,547

ลูกจ้างประจำ� 141 9 150

รวม 13,823

ที่มา: กองการเจา้ หน้าท่ี กรมราชทัณฑ์ (ขอ้ มลู 1 พ.ย. 2560)
อัตราสว่ นความจเุ จ้าหนา้ ทต่ี อ่ ผูต้ อ้ งขังทัง้ หมด 1 : 23
อตั ราส่วนความจเุ จ้าหน้าที่ควบคมุ ตอ่ ผตู้ ้องขงั ท้ังหมด 1 : 38 (เฉพาะท�ำงานฝ่ายควบคมุ )
อัตราส่วนความจเุ จ้าหน้าท่ีตอ่ ผตู้ ้องขงั ทง้ั หมดโดยเฉล่ียในตา่ งประเทศ 1 : 5
(ในต่างประเทศขึน้ กบั ประเภทผ้ตู ้องขงั หรือความเส่ยี ง)



4 ปัญหางบประมาณการจัดสร้างเรือนจ�ำท่ีใช้ควบคุมเฉพาะผู้ต้องขังที่มีอิทธิพลหรือ
ผตู้ อ้ งขงั ท่เี ปน็ รายสำ� คญั

เนื่องจากผู้ต้องขังเหล่านี้มักจะสร้างสัมพันธภาพกับเจ้าหน้าที่และชักจูงให้เจ้าหน้าท่ีกระท�ำความผิด ดังนั้น
การควบคุมผู้ต้องขังเหล่านี้จึงต้องใช้เคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ในการควบคุม โดยไม่ให้มีการติดต่อส่ือสารกับเจ้าหน้าที่
ลักษณะของเรือนจ�ำจะต้องถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ แต่ปัจจุบันยังไม่สามารถด�ำเนินการได้มากนักเพราะขาดแคลน
งบประมาณในการดำ� เนนิ งาน อยา่ งไรกต็ าม กรมราชทัณฑ์ไดก้ ่อสรา้ งแดนความมัน่ คงสงู สุด เชน่ เรือนจ�ำกลางเขาบิน
ถือได้ว่าเป็นเรือนจ�ำท่ีมีความปลอดภัยมากที่สุด ปัจจุบันมีเรือนจ�ำท่ีมีแดนความม่ันคงสูงสุด จ�ำนวน 2 แห่ง คือ
เรือนจ�ำกลางระยอง เรือนจ�ำกลางเขาบิน เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก (อยู่ระหว่างด�ำเนินการ) ส�ำหรับเรือนจ�ำกลาง
นครศรีธรรมราช อยใู่ นแผนการกอ่ สรา้ งปี 2561
เรือนจำ� อายตุ ั้งแต่ 100 – 127 ปี จำ� นวน 15 แหง่
เรือนจ�ำอายตุ งั้ แต่ 50 – 99 ปี จำ� นวน 46 แห่ง
เรอื นจำ� อายุตำ�่ กว่า 50 ปีลงมา จ�ำนวน 82 แห่ง

26 วารสารราชทัณฑ์

5 ปญั หาผูต้ อ้ งขังลน้ เรอื นจ�ำ

สภาวะนกั โทษลน้ คกุ หรอื ผตู้ อ้ งขงั ลน้ เรอื นจำ� ในประเทศไทย นบั เปน็ สภาวะทเี่ กดิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งมาโดยตลอด
จ�ำนวน 319,479 คน (1 พ.ย. 2560) ในขณะท่ี
ความจมุ าตรฐานของเรอื นจำ� ทจ่ี ะรองรบั ได้ จำ� นวน 120,815 คน
(คดิ จากพนื้ ทน่ี อน (ทง้ั ชายและหญงิ หารดว้ ย 2.25 ตรม./คน))
ความจเุ กลย่ี ยา้ ยของเรือนจ�ำทจี่ ะรองรบั ได้ จำ� นวน 232,373 คน
(คิดจากพื้นท่ีนอน (ชาย หารดว้ ย 1.2 ตรม./คน หญิง หารด้วย 1.1 ตรม./คน))
ความจุเต็มทข่ี องเรือนจ�ำที่จะรองรับได้ จำ� นวน 247,384 คน
(คดิ จากพื้นทน่ี อน รวมชั้นลอย (ชาย หารด้วย 1.2 ตรม./คน หญิง หารดว้ ย 1.1 ตรม./คน))
*พื้นทน่ี อน หมายถึง พ้นื ทภี่ ายในหอ้ งขงั โดยไมร่ วมพื้นท่หี อ้ งนำ้� (ขอ้ มลู ณ 1 พ.ย. 2560 สำ� นักทณั ฑวทิ ยา
กรมราชทัณฑ)์

สถติ กิ ารกระท�ำผดิ ซ้ำ� ของผตู้ อ้ งขงั ไทย (กองแผนงาน กรมราชทณั ฑ์ 2560)

ปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559

อัตราการกระทำ� ผดิ ซำ้� (%) 16.05 16.52 17.38 17.00

จากสถติ กิ ารกระทำ� ผดิ ซำ�้ ของผตู้ อ้ งขงั ไทย ตงั้ แตป่ ี 2556 – 2559 พบวา่ เฉลย่ี อตั ราการกระทำ� ผดิ ซำ้� 16.73%
ในกลมุ่ ผูต้ ้องขังท่ไี ด้รบั ปล่อยตวั ในระยะ 1 ปี

สถิติการกระทำ� ผดิ ซ�้ำของผู้ตอ้ งขังประเทศต่างๆ

(สบื คน้ จาก http://www.ncbi.n/m.nih.gov/pmc/articles/pmc4472929) (2016)

ITEM กระรทอ้ �ำยผลิดะซำ้� ผจตู้ ำ� ้อนงวขนัง ผูต้ระ้อหงขวงั่าคงดี ผตู้ ้องขงั หญงิ
สหรฐั อเมรกิ า 36% 2,145,100 (42304.2,660%0) (21105.0,750%0)
95,214 (1111.,9358%3 ) (44.,6420%5 )
อังกฤษ 50% 41,064 (2192.,4191%1 ) (83.,2379%6 )
ออสเตรเลยี 60% 70,018 (2290.,1472%7 ) (32.,4494%7 )
59% 12,722 (91.,8265%5 ) (110,.34350%)
ฝรั่งเศส 27% 64,193 (2113.,5896%5 ) (35,.782%7)
สิงคโปร์ 48% 56,805 (160,.29493%) (84.,3765%3 )
เยอรมนี 43% 1,649,804 (21020.1,020%0) 1(60.74,91%31)
ญีป่ ุน่ 14.4%

จนี

วารสารราชทัณฑ์ 27

จากสถิติผู้ต้องขังกระท�ำผิดซ�้ำในประเทศต่างๆ ตามตารางข้างต้น พบว่า ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่
มแี นวโนม้ กระทำ� ผดิ ซำ�้ สงู เพราะคนทเี่ ขา้ คกุ ในประเทศตะวนั ตก สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ผรู้ า้ ยจรงิ ๆ เปน็ พวกผรู้ า้ ยโดยสนั ดาน
แก้ไขยาก พวกมอื อาชีพ

ตารางเปรยี บเทียบอัตราการจ�ำคกุ ของผูต้ ้องขงั ไทยกบั ผูต้ ้องขังในกลุ่มอาเซียน

ล�ำดับ ประเทศ จ�ำนวนผูต้ ้องขัง จำ� นวนประชากร อัตราการจ�ำคกุ
(คน) ในประเทศ (คน) (ผ้ตู ้องขังต่อประชากร

100,000 คน)

1 ไทย 308,083 67.7 ลา้ น 455
(1 ก.ย.60)

2 สิงคโปร์ 12,722 5.74 ล้าน 222

3 ฟิลปิ ปินส์ 178,661 103.87 ล้าน 172

4 มาเลเซีย 51,602 30.86 ล้าน 167

5 เขมร 25,500 16.08 ลา้ น 159

6 เวียดนาม 130,679 94.19 ล้าน 139

7 บรูไน 565 0.423 ล้าน 134
8 พมา่ 70,000 54.8 ลา้ น 128
9 ลาว 8,201 6.88 ลา้ น 119
10 อินโดนีเซยี 225,025 261.87 ล้าน 86
11 ตมิ อร์เลสเต 669 1.2 ลา้ น 56

ทมี่ า: World Prison Population List (eleventh edition) International Centre for Prison Studies

จากตารางเปรียบเทียบจ�ำนวนผู้ต้องขังไทยกับผู้ต้องขัง
ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น สำ� รวจโดย World Prison Population List
(eleventh edition) International Centre for Prison Studies
ทส่ี ำ� รวจใน ปี ค.ศ. 2017 พบวา่ ประเทศไทยมจี ำ� นวนผตู้ อ้ งขงั มากทส่ี ดุ
ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น คอื มจี ำ� นวน 308,083 คน เมอ่ื เปรยี บเทยี บ
กับอัตราการจ�ำคุกของผู้ต้องขังต่อประชากร 100,000 คน พบว่า
ประเทศไทยมอี ตั ราส่วนผตู้ ้องขัง 455 คน มากทสี่ ดุ ในกลุม่ ประเทศ
อาเซียน นั่นหมายความว่าในจ�ำนวนประชากร 100,000 คน จะม ี
ผกู้ ระทำ� ผดิ มากถงึ 455 คน

28 วารสารราชทัณฑ์

ตารางเปรยี บเทียบจำ� นวนผตู้ ้องขังมากท่สี ุดทั่วโลก (223 ประเทศ)

ลำ� ดับ ประเทศ จำ� นวนผตู้ อ้ งขงั จำ� นวนประชากร อัตราส่วนผตู้ ้องขังตอ่ แนวโนม้ อัตรา
(คน) ในประเทศ (คน) ประชากร 100,000 คน การจ�ำคุก
ลดลง
1 สหรัฐอเมรกิ า 2,145,100 322.3 ล้าน 666 คงที่
สูงขึ้น
2 จีน 1,649,804 1,400 ลา้ น 118 ลดลง
สูงขึ้น
3 บราซิล 657,680 206.93 ล้าน 318 สงู ขนึ้

4 รัสเซยี 615,257 144.6 ลา้ น 425 สงู ขน้ึ
สูงข้ึน
5 อนิ เดยี 419,623 1,289.7 ล้าน 33 สูงขึ้น
สูงข้นึ
6 ไทย 308,083 67.7 ลา้ น 455 สงู ขึน้
(1 ก.ย.60) ลดลง
สูงขน้ึ
7 เม็กซิโก 233,469 121.9 ล้าน 192 สงู ข้ึน
สูงขนึ้
8 อิหร่าน 225,624 78.59 ล้าน 287 สูงขึ้น
ลดลง
9 อนิ โดนเี ซยี 225,025 261.87 ลา้ น 86 ลดลง
สูงขึ้น
10 ตรุ กี 221,607 80.14 ล้าน 277 สงู ขึน้
ลดลง
11 ฟลิ ปิ ปินส์ 178,661 103.87 ลา้ น 172 คงที่

12 แอฟรกิ าใต้ 161,984 55.58 ลา้ น 291

13 เวียดนาม 130,679 94.19 ล้าน 139

14 โคลอมเบีย 116,773 50.78 ล้าน 230

15 เอธโิ อเปยี 111,050 86.47 ลา้ น 128

17 อังกฤษ 86,294 58.76 ล้าน 146

27 เยอรมนี 64,193 83 ล้าน 77

35 ญป่ี นุ่ 56,805 126.93 ลา้ น 45

39 มาเลเซยี 51,602 30.86 ลา้ น 167

45 ออสเตรเลีย 39,152 24.16 ล้าน 169

82 สงิ คโปร์ 12,722 5.74 ลา้ น 222

223 ซานมารโี น 2 32,655 คน 6

ทีม่ า: World Prison Brief, Institute for Criminal Policy Research

วารสารราชทัณฑ์ 29

เมื่อเปรียบเทียบกับสถิติจ�ำนวนผู้ต้องขังท่ัวโลกที่ท�ำการส�ำรวจโดย World Prison Brief, Institute for
Criminal Policy Research ทีส่ ำ� รวจในปี ค.ศ. 2017 ดงั ตารางขา้ งต้นพบว่า ประเทศไทยมีจำ� นวนผูต้ อ้ งขงั มากเป็น
อนั ดบั ที่ 6 ของโลก ซึ่งผตู้ ้องขงั ส่วนใหญ่กระทำ� ผิดในคดยี าเสพติด

ตารางเปรยี บเทียบกบั สถิตจิ ำ� นวนผูต้ ้องขงั หญิงทัว่ โลก

อันดบั ประเทศ จ�ำนวนผตู้ ้องขังหญงิ (คน)
1 สหรฐั อเมรกิ า 215,700
2 จนี 107,131
3 รัสเซีย 48,538
4 ไทย 41,119
(1 ก.ย.60)
5 บราซิล 36,495
6 อินเดยี 17,834
7 เวยี ดนาม 13,638
8 ฟลิ ิปปินส์ 12,658
9 เม็กซโิ ก 12,132
10 พม่า 10,000
ทม่ี า : www.prisonstudies.org/world-prison-brief-data

เม่ือเปรียบเทียบกับสถิติจ�ำนวนผู้ต้องขังหญิงทั่วโลกที่ท�ำการ
ส�ำรวจในปี ค.ศ. 2017 ดังตารางข้างต้นพบว่า ประเทศไทยมีจ�ำนวน
ผตู้ อ้ งขงั หญงิ มากเปน็ อนั ดบั ท่ี 4 ของโลก ซง่ึ ผตู้ อ้ งขงั หญงิ สว่ นใหญก่ ระทำ�
ผิดในคดียาเสพติด โดยมีเหตุจูงใจในการกระท�ำผิดเกี่ยวข้องกับปัจจัย
ด้านเศรษฐกิจ ปัจจยั ดา้ นการศึกษา ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม
แนวทางปฏิบัติปัจจุบันท่ีจะให้จ�ำนวนผู้ต้องขังลดลง คือ
การบรหิ ารโทษดว้ ยการพระราชทานอภยั โทษ การพกั การลงโทษในกรณปี กติ
กรณพี เิ ศษ และการลดวนั ตอ้ งโทษดงั จะเหน็ ไดจ้ ากในปงี บประมาณ 2558
สามารถลดจ�ำนวนผู้ต้องขังได้จ�ำนวน 73,863 คน ปีงบประมาณ 2559
สามารถลดจำ� นวนผตู้ อ้ งขงั ไดจ้ ำ� นวน 73,025 คน และปงี บประมาณ 2560
สามารถลดจ�ำนวนผ้ตู อ้ งขังได้จ�ำนวน 41,962 คน

30 วารสารราชทัณฑ์

6 ปญั หาด้านการปกครองของเรือนจำ�

ผู้ต้องขังที่มีจ�ำนวนมาก ในขณะที่เจ้าหน้าท่ีมีจ�ำนวนน้อย ส่งผลให้เกิดความยากล�ำบากในการปกครองของ
เจ้าหน้าท่ี ถ้าผู้ต้องขังเกิดการประท้วงหรือรวมกลุ่มสร้างปัญหา จะท�ำให้เกิดความเสียหายในด้านการปกครองดูแล
ผู้ต้องขัง อีกท้ังผู้ต้องขังปัจจุบันมักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ผู้ต้องขังท่ีมีฐานะมักจะสร้างบารมีและมีล่ิวล้อเป็นผู้ต้องขัง
ที่ไม่มีก�ำลังทางฐานะ ท�ำให้สร้างปัญหาในการปกครองของเรือนจ�ำ ผู้ต้องขังที่มีฐานะมักจะลักลอบมีสิ่งของต้องห้าม
โดยการจ้างวานผู้ต้องขังที่ด้อยกว่าให้ด�ำเนินการ เม่ือเจ้าหน้าท่ีท�ำการจับกุมมักจะสืบไปไม่ถึงต้นตอ การมีส่ิงของ
ตอ้ งหา้ มจงึ แพรร่ ะบาดอยู่ในเรือนจำ� รวมท้ังเปน็ การสรา้ งเครือขา่ ยอาชญากรรมข้ึนภายในเรือนจำ� ด้วย

7 ปัญหาดา้ นการแหกหักหลบหนี

การท่ีสถานที่คุมขังอยู่ในสภาวะแออัด ท�ำให้สภาพความเป็นอยู่ของผู้ต้องขังและการจัดสวัสดิการให้กับ
ผู้ต้องขังในด้านต่างๆ ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงอาจเป็นมูลเหตุให้ผู้ต้องขังใช้เป็นข้อร้องเรียนหรือก่อการประท้วง
รวมทง้ั การกอ่ เหตุแหกหกั หลบหนี

8 ปัญหาการลักลอบนำ� สิ่งของต้องห้ามเข้าเรอื นจำ�

เกดิ จากผตู้ อ้ งขงั สว่ นใหญใ่ นปจั จบุ นั เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ทเี่ ปน็ ผมู้ อี ทิ ธพิ ล เปน็ ผคู้ า้ ยาเสพตดิ รายสำ� คญั ผตู้ อ้ งขงั เหลา่ น้ี
มีศักยภาพทางด้านการเงินสูงมาก สามารถที่จะลักลอบซ้ือสิ่งของต้องห้ามเข้ามาในเรือนจ�ำได้ เช่น การน�ำโทรศัพท ์
เขา้ ในเรอื นจำ� และจากปญั หาการลกั ลอบนำ� โทรศพั ทเ์ ขา้ เรอื นจำ� ทำ� ใหเ้ กดิ การสง่ั ยาเสพตดิ เขา้ ไปในเรอื นจำ� หรอื แมแ้ ต่
การสง่ั ยาเสพตดิ ภายนอกเรอื นจำ� ทมี่ ลี กั ษณะการดำ� เนนิ งานเปน็ องคก์ รอาชญากรรม ทำ� ใหภ้ าพลกั ษณข์ องกรมราชทณั ฑ์
ตอ่ สังคมคือภาพของการคอรร์ ัปชั่น ความล้มเหลวในการป้องกันปญั หาและไมส่ ามารถแก้ไขพฒั นาคนได้

วารสารราชทัณฑ์ 31

9 ปญั หาการบงั คบั โทษ

โดยเฉพาะเรื่องชะลอโทษประหารชีวิตท�ำให้คนไม่เกรงกลัวในการกระท�ำผิด ปัจจุบันมีรัฐ จ�ำนวน 97 รัฐ
ท่ียกเลกิ โทษประหารชีวิตโดยเด็ดขาด จากจ�ำนวนรัฐทั้งหมด 206 รฐั ทั่วโลก ประเทศไทยมกี ารประหารชวี ิตไปท้ังส้ิน
จ�ำนวน 319 ราย โดยใช้วิธีการยิงเป้า หลังจากนั้นได้เปลี่ยนวิธีการประหารมาเป็นการฉีดยาพิษเข้าสู่ร่างกายนักโทษ
โดยระหว่างปี 2546 – 2552 ไทยได้ลงโทษประหารชีวิตนักโทษ จ�ำนวน 6 ราย และหลังปี 2552 เป็นต้นมาจนถึง
ปัจจบุ นั ยงั ไม่มกี ารลงโทษประหารชีวติ เกดิ ขึน้ อย่างไรกต็ ามยงั มนี ักโทษในคดีทต่ี ดั สนิ เดด็ ขาดแลว้ รอการประหารอยู่
จ�ำนวน 182 ราย และนกั โทษท่ีคดีอยู่ระหว่างการอทุ ธรณ์/ฎกี าโทษประหารอีก จำ� นวน 285 ราย

10 ปัญหาการไม่ประสานความร่วมมือกับภาคสังคมในการติดตามดูแลผู้ที่พ้นโทษหรือ
ผ้ทู ่กี ำ� ลงั อยู่ในระหวา่ งการคุมประพฤติ

เพราะบคุ คลเหลา่ นเ้ี มอ่ื พน้ โทษไปแลว้ จะตอ้ งกลบั เขา้ ไปอยใู่ นสงั คมเดมิ และจำ� เปน็ จะตอ้ งอาศยั ชมุ ชนในการ
ช่วยกันดูแล และขาดการบูรณาการการท�ำงานในหน่วยงานภาคกระบวนการยุติธรรมทำ� ให้การทำ� งานไม่ประสานกัน
ไมร่ ่วมมือกนั จงึ ขาดความยัง่ ยืน

32 วารสารราชทัณฑ์

กรมราชทัณฑ์พยายามลดจ�ำนวนผู้ต้องขังตามมาตรการต่างๆ
ของกรมราชทณั ฑอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตจ่ ะพบวา่ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2549 เปน็ ตน้ มา
จ�ำนวนผู้ต้องขังจาก 152,625 คน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ท้ังๆ
ในชว่ งดงั กลา่ วมกี ารอภยั โทษ 8 ครงั้ โดยเฉลยี่ ครงั้ ละ 30,000 – 40,000 คน
และปล่อยตัวพ้นโทษการอภัยโทษเฉลี่ยคร้ังละ 9,000 – 10,000 คน
ปัจจุบันกรมราชทณั ฑม์ ยี อดผู้ต้องขังท้ังสิน้ 308,083 คน (1 ก.ย. 2560)
และโดยเฉล่ียผู้ต้องขังจะเพ่ิมขึ้นเดือนละ 2,000 – 3,000 คน แน่นอน
ทสี่ ดุ ในระยะเวลาอนั ใกลจ้ ำ� นวนผตู้ อ้ งราชทณั ฑอ์ าจจะเปน็ 400,000 คน
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซ่ึงโดยส่วนใหญ่ผู้ต้องขังเหล่าน้ีกระท�ำผิดในคด ี
ยาเสพตดิ ประมาณรอ้ ยละ 70 และรฐั บาลยงั ตอ้ งใชง้ บประมาณจำ� นวนมาก
ในการดแู ลผตู้ ้องขัง ประมาณ 12,000 ล้านบาทตอ่ ปี

11 ปัญหาการสรา้ งการยอมรับจากสังคม

ถงึ แมก้ รมราชทณั ฑไ์ ดด้ ำ� เนนิ การตามกฎหมายบงั คบั โทษดว้ ยการบรหิ ารจดั การงานราชทณั ฑภ์ ายใตข้ อ้ จำ� กดั
ต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง แต่การยอมรับจากสังคมในตัวผู้ต้องขังกลับไม่สูงขึ้นและสังคมยังมองผู้ต้องขังท่ีได้รับการ
ปลอ่ ยตวั แลว้ หรอื พน้ โทษในทางลบหรอื สงั คมยงั ไมป่ ลอดภยั มผี ลศกึ ษาเกยี่ วกบั การกระทำ� ผดิ ซำ�้ ดา้ นความตอ้ งการของ
ผตู้ อ้ งขงั ภายหลงั ปลอ่ ยตวั สาเหตกุ ารกระทำ� ผดิ ซำ้� พบวา่ ภายหลงั การปลอ่ ยตวั ผตู้ อ้ งขงั ทไ่ี ดร้ บั การปลอ่ ยตวั มคี วามตอ้ งการ
การยอมรบั และความเขา้ ใจอนั ดจี ากครอบครวั แตส่ งิ่ ทเ่ี ปน็ ปญั หาทผ่ี พู้ น้ โทษตอ้ งเผชญิ ภายหลงั พน้ โทษจำ� คกุ คอื ปญั หา
เรอ่ื งการขาดทพี่ กั อาศยั ปญั หาการถกู สงั คมตตี รา ปญั หาการขาดการคบหาสมาคม และปญั หาการถกู จำ� กดั สทิ ธใิ นดา้ นตา่ งๆ
เชน่ สทิ ธใิ นการเขา้ ทำ� งาน สทิ ธใิ นการประกอบอาชพี และสทิ ธทิ างการศกึ ษา นอกจากนก้ี ารกระทำ� ผดิ ซำ้� เกดิ ขน้ึ เพราะ
สงั คมเป็นผูป้ ระทับตราว่าเขามพี ฤตกิ รรมเป็นอาชญากร เม่ือเคยกระท�ำความผิดแล้วมักไม่ได้รับการยอมรบั จากสังคม
ท�ำให้เขาหวนกลับไปมีพฤติกรรมเช่นเดิม การมีครอบครัวแตกแยก ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่ดี รายได้ไม่เพียงพอ
ก็เป็นสาเหตใุ หม้ กี ารกระทำ� ผิดซำ�้ รวมท้ัง มีปจั จยั ที่ท�ำใหผ้ ูพ้ ้นโทษหวนกลับไปกระทำ� ผิดซ�้ำคือปัจจัยดา้ นชุมชนสังคม
ไมใ่ ห้การยอมรับการไมใ่ ห้โอกาส

อย่างไรก็ตามแม้กรมราชทัณฑ์ต้องเผชิญกับวิกฤติ
จ�ำนวนผู้ต้องขังล้นเรือนจ�ำและปัญหาการยอมรับจากสังคม
รวมถึงปัญหาต่างๆ แต่กรมราชทัณฑ์ยังคงด�ำเนินการควบคุม
และปราบปรามโทรศพั ทม์ อื ถอื ยาเสพตดิ ในเรอื นจำ� และทณั ฑสถาน
ไม่หยุดน่ิง ควบคู่กับการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังอย่างต่อเนื่อง
โดยมุง่ เป้าหมายการคืนคนดี มีคุณคา่ สูส่ งั คม ต่อไป
หลายๆ คนคงคดิ ตอ่ ไปวา่ แลว้ เราจะตอ้ งทำ� อยา่ งไรกบั
วกิ ฤติและปัญหาต่างๆ ไวเ้ จอกันฉบับหนา้ ครบั

วารสารราชทัณฑ์ 33

กว่าจะมาเปน็

ข้อก�ำหนดแมนเดลา

(The Mandela Rules)

ดร.พมิ พ์พร เนตรพุกกณะ
สำ� นักทัณฑวิทยา

ในช่วง 1 - 2 ปี ที่ผ่านมา หลายคนคงเคยได้ยินช่ือของ “ข้อก�ำหนด
แมนเดลา” มาบา้ งแลว้ อนั ทจี่ รงิ ขอ้ กำ� หนดแมนเดลา (The Mandela Rules) กค็ อื
“ข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง”
(The UN Standard Minimum Rules for the Treatment of Prisoners)
ซ่งึ ใชก้ นั มาตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1957 แต่ไดน้ ำ� มาทบทวนและปรับปรุงใหม่ แลว้ เปลยี่ น
ชอ่ื เรยี กเป็นข้อกำ� หนดแมนเดลานนั่ เอง
ขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตำ่� แหง่ สหประชาชาติ ถอื เปน็ แนวทางการดำ� เนนิ งาน
ที่ได้มาตรฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ถูกคุมขังในสถานท่ีควบคุมตัว ท่ีชาติต่างๆ
รวมถึงประเทศไทยใหก้ ารยอมรับวา่ เปน็ กรอบการท�ำงานในเรอื นจำ� ท่ีสำ� คญั โดย
สามารถใช้ในการติดตามและประเมินผลด้านการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังท่ีเหมาะสม
ถึงแมจ้ ะไม่ไดม้ ีสถานะเปน็ ข้อบงั คับ หรือข้อผกู พันทม่ี ีผลทางกฎหมายใดๆ

34 วารสารราชทัณฑ์

กระบวนการทบทวน

ข้อก�ำหนดมาตรฐานขั้นต�ำ่
แหง่ สหประชาชาติ

หลังจากท่ีประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ
ป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิด
ครงั้ ที่ 1 ไดม้ มี ตริ บั รองขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตำ่� ฯ เมอ่ื ปี
ค.ศ. 1955 ณ กรงุ เจนวี า และต่อมาได้รบั การเห็นชอบ
จากคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
เมอื่ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 1957 ทผ่ี า่ นมาประเทศตา่ งๆ ไดม้ กี ารนำ� ขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตำ�่ ฯ ไปใชเ้ ปน็ กรอบการทำ� งาน
ในระบบงานราชทัณฑ์กันอย่างแพร่หลายและต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ด้วยเหตุท่ีข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำฯ เกิดข้ึนมา
เป็นระยะเวลานานกว่า 50 ปี และนับต้ังแต่มีการน�ำข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำฯ ไปใช้ ได้เกิดการพัฒนาทางด้าน
สิทธิมนุษยชนและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่ส�ำคัญมากมาย สมควรได้รับการทบทวนและปรับปรุงใหม่ ดังน้ัน
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2010 ที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้รับมติที่ 65/230 อันเป็นการร้องขอให้
คณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม (Crime Prevention and Criminal
Justice – CCPCJ) จัดต้งั กล่มุ ผู้เช่ียวชาญระหวา่ งรฐั (Intergovernmental Expert Group) ข้นึ เพอ่ื แลกเปลย่ี นข้อมูล
ทางดา้ นแนวทางปฏบิ ตั อิ นั เปน็ เลศิ และการทบทวนปรบั ปรงุ ขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขนั้ ตำ�่ ฯ ทม่ี อี ยู่ เพอ่ื ใหส้ ามารถสะทอ้ น
ตอ่ ความกา้ วหนา้ และแนวทางปฏบิ ตั ิอันเป็นเลศิ ทางด้านศาสตร์การราชทณั ฑ์ในยุคปัจจุบนั
กลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญระหวา่ งรฐั เหลา่ น้ี ไมไ่ ดม้ าจากเฉพาะผแู้ ทนของรฐั เทา่ นน้ั แตย่ งั มนี กั วชิ าการผเู้ ชยี่ วชาญอสิ ระ
ผแู้ ทนหนว่ ยงานองคก์ รระหวา่ งประเทศ สถาบนั ภาคเี ครอื ขา่ ยของสหประชาชาติ ตลอดรวมถงึ องคก์ รทไ่ี มใ่ ชร่ ฐั เขา้ รว่ ม
ทง้ั นี้ กระบวนการทบทวนขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขนั้ ตำ�่ ฯ เนน้ วธิ กี ารมงุ่ เปา้ ไปทก่ี ารทบทวนเฉพาะบางประเดน็ ทเ่ี หน็ สมควร
ได้รับการทบทวนและปรับปรุงอย่างเร่งด่วนจากข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำฯ เดิม โดยท้ังหมด ได้มีการประชุมกลุ่ม
ผ้เู ชีย่ วชาญระหว่างรฐั จ�ำนวนรวม 4 ครง้ั ดังนี้
ครง้ั ท่ี 1 ณ กรงุ เวียนนา ประเทศออสเตรยี ระหวา่ งวนั ท่ี 31 มกราคม – 2 กมุ ภาพันธ์ 2012
ครั้งท่ี 2 ณ กรงุ บัวโนส ไอเรส ประเทศอารเ์ จนตนิ า ระหวา่ งวนั ที่ 11 – 13 ธนั วาคม 2012
คร้ังที่ 3 ณ กรงุ เวยี นนา ประเทศออสเตรีย ระหว่างวันท่ี 25 – 28 มนี าคม 2014
คร้งั ที่ 4 ณ เมืองเคปทาวน์ สาธารณรัฐแอฟรกิ าใต้ ระหว่างวนั ท่ี 2 – 5 มนี าคม 2015

วารสารราชทัณฑ์ 35

ในการประชุม 2 ครั้งแรก เป็นการอภิปรายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปถึงประเด็น 9 ด้าน และข้อก�ำหนดต่างๆ
ท่ีสมควรได้รับการทบทวนและปรับปรุง ซ่ึงต่อมาได้รับการเห็นชอบจากท่ีประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาต ิ
ใหด้ ำ� เนนิ การตามขอ้ สรุปดังกล่าว อนั ประกอบด้วยหัวข้อหลัก คอื

1. การเคารพตอ่ ศกั ดศ์ิ รีทีม่ มี าแต่กำ� เนดิ และคุณค่าในฐานะการเป็นมนุษยข์ องผตู้ อ้ งขัง
2. การให้บรกิ ารทางการแพทยแ์ ละสุขภาพ
3. การลงโทษและมาตรการทางวินัย รวมถึงบทบาทของเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ การขังเดี่ยว และ

การลดอาหาร
4. การสอบสวนการเสยี ชวี ติ ทกุ รปู แบบในระหวา่ งการควบคมุ และสญั ญาณหรอื ขอ้ กลา่ วหาใดๆ เกย่ี วกบั การ

ทรมาน หรือการปฏิบตั ติ อ่ ผู้ตอ้ งขงั ในลักษณะโหดร้ายและทารุณ
5. การปกปอ้ งและความตอ้ งการเฉพาะของกลมุ่ เปราะบางทสี่ ญู สน้ิ อสิ รภาพ การพจิ ารณาถงึ ประเทศทอี่ ยใู่ น

สถานการณย์ ากล�ำบาก
6. สิทธใิ นการเขา้ ถงึ ผแู้ ทนทางกฎหมาย
7. การรอ้ งเรยี นและการตรวจสอบอย่างเปน็ อสิ ระ
8. การทดแทนคำ� นยิ ามต่างๆ ทีล่ ้าสมยั
9. การฝึกอบรมเจา้ หน้าทท่ี ี่เกยี่ วขอ้ งในการน�ำข้อก�ำหนดมาตรฐานขน้ั ต�่ำฯ ไปปฏิบัติ
ส�ำหรับการประชุมคร้ังที่ 3 แม้ว่าที่ประชุมได้เห็นพ้องในการแก้ไขข้อความในข้อก�ำหนดหลายข้อ แต่ยังคง
ไม่ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงข้อก�ำหนดบางข้อเช่นกัน โดยหลักการส�ำคัญของการปรับปรุงและทบทวนข้อก�ำหนด
มาตรฐานขนั้ ต�่ำฯ นน้ั คือ การปรับปรุงครง้ั น้ี จะต้องไมท่ ำ� ให้มาตรฐานตา่ งๆ ทม่ี อี ยูล่ ดลงไปจากเดิม ด้วยเหตุนี้ เพ่ือให้
ไดข้ อ้ ยตุ แิ ละเหน็ พอ้ งในประเดน็ ขอ้ กำ� หนดทเี่ หลอื จงึ เกดิ การประชมุ ครงั้ ท่ี 4 ขน้ึ บนพนื้ แผน่ ดนิ สาธารณรฐั แอฟรกิ าใต้
และเปน็ การประชมุ ครง้ั สดุ ทา้ ย โดยทปี่ ระชมุ กลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญ ไดข้ อ้ ยตุ แิ ละเหน็ พอ้ งกบั รา่ งขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขนั้ ตำ�่ ฯ
ฉบับปรับปรุงท้ังหมด พร้อมต้ังช่ือข้อก�ำหนดนี้ว่า “ข้อก�ำหนดแมนเดลา” เพ่ือเป็นเกียรติแก่อดีตประธานาธิบดี
แอฟริกาใต้ผู้เป็นต�ำนาน “เนลสัน แมนเดลา” ผู้ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ในเรือนจ�ำถึง 27 ปี ท่ามกลางการต่อสู้ให้ได้มาซึ่ง
สิทธิมนุษยชนสากล ความเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตย และการสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมแห่งสันติ และต่อมา
ข้อก�ำหนดแมนเดลาได้รับการรับรองอย่างเป็นเอกฉันท์โดยที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ เมื่อวันท ่ี
17 ธนั วาคม ค.ศ. 2015

ประสบการณ์ในการทบทวน

ข้อกำ� หนดมาตรฐานขั้นตำ� แห่งสหประชาชาติ

ผเู้ ขยี นเองไดม้ โี อกาสเปน็ หนง่ึ ในคณะผแู้ ทนไปเขา้ รว่ มการประชมุ ครงั้ สดุ ทา้ ย
ณ ศนู ยป์ ระชมุ นานาชาตเิ คปทาวน์ เมอื งเคปทาวน์ สาธารณรฐั แอฟรกิ าใต้ ซง่ึ เปน็ การ
พจิ ารณาเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ในการแกไ้ ขขอ้ ความของขอ้ กำ� หนดทเ่ี หลอื ประมาณ 24 ขอ้
โดยทป่ี ระชมุ ประกอบไปดว้ ย ผแู้ ทนกวา่ 90 คน จาก 41 ประเทศ ผแู้ ทนจากสำ� นกั งาน
ข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ท่ีเป็นเครือข่าย
ร่วมกับสหประชาชาติ เช่น สถาบันกฎหมายสิทธิมนุษยชนและมนุษยธรรม
Raoul Wallenberg เป็นต้น องค์การอนามัยโลก (ประจ�ำส�ำนักงานภาคพ้ืนยุโรป)
กาชาดสากล และผเู้ ชยี่ วชาญอสิ ระในฐานะผสู้ งั เกตการณ์ ฯลฯ ซงึ่ ผเู้ ขา้ รว่ มการประชมุ

36 วารสารราชทัณฑ์

ทงั้ หมดไดต้ กลงทจ่ี ะยดึ มน่ั ตอ่ แนวทางทวี่ างไว้ 3 หลกั การ คอื
ประการแรก การเน้นย�้ำว่าการเปลี่ยนแปลงใดๆ ท่ีมีต่อ
ขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตำ่� ฯ จะตอ้ งไมเ่ ปน็ การทำ� ใหม้ าตรฐาน
ในข้อกำ� หนดฯ เหลา่ น้นั ดอ้ ยหรอื แย่ลงไปกวา่ เดิม อกี ทงั้ ต้อง
สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความก้าวหนา้ ของศาสตร์ดา้ นการราชทณั ฑ์
และแนวทางปฏิบัติอันดีท่ีเกิดข้ึนเมื่อไม่นานมานี้ อันจะช่วย
สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ สภาพทปี่ ลอดภยั มน่ั คงและมมี นษุ ยธรรมของ
ผตู้ อ้ งขัง ประการทส่ี อง การตระหนกั ถึงความจำ� เปน็ สำ� หรบั
กลุ่มผู้เช่ียวชาญที่จะยังคงด�ำเนินการทบทวนข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำฯ โดยน�ำปัจจัยลักษณะเฉพาะด้านสังคม
กฎหมาย และวฒั นธรรม รวมถงึ ขอ้ ผกู พนั ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศสมาชกิ มาพจิ ารณาดว้ ย และประการสดุ ทา้ ย
คอื การจดบนั ทกึ วา่ กระบวนการทบทวนน้ี ควรรกั ษาขอบเขตเนอ้ื หาของขอ้ กำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตำ่� ฯ ทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั
ในระหว่างการอภิปรายและพิจารณาทบทวนน้ัน กระบวนการต่างๆ ถือว่าไม่ง่ายและใช้เวลาค่อนข้างนาน
เพราะผู้แทนแต่ละประเทศต่างพิจารณาถ้อยค�ำและข้อความที่ใช้ในข้อก�ำหนดอย่างละเอียด ระมัดระวังและรอบคอบ
โดยมงุ่ รกั ษาผลประโยชนข์ องประเทศตนเองเปน็ หลกั โดยเฉพาะประเทศใดทมี่ ปี ระเดน็ หรอื การปฏบิ ตั ทิ เี่ กยี่ วขอ้ งและ
อาจไดร้ บั ผลกระทบหากขอ้ กำ� หนดฉบบั ปรบั ปรงุ นไี้ ดร้ บั การเหน็ ชอบ ดงั นนั้ ไมต่ อ้ งแปลกใจหาก คำ� บางคำ� หรอื ประโยค
บางประโยค อาจเกิดการถกเถียงอภิปรายระหว่างผู้เช่ียวชาญท่ีเข้าร่วมประชุมถึงคร่ึงชั่วโมง เช่น ค�ำว่า as soon as
possible (เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้) และ immediately (โดยทันที) ก็ถือว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญของ
ผูแ้ ทนบางประเทศ
บางประเด็นท่ีเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและมีความแตกต่างของปัญหาที่แต่ละประเทศต้องเผชิญ อาจใช้เวลา
ถกเถียงพูดคุยกันนานกว่าปกติ ผู้เขียนขอยกกรณีประเด็นเร่ืองการตรวจค้นร่างกายของเด็กท่ีมาเย่ียมบิดาหรือมารดา
ที่ถูกคุมขังในเรือนจ�ำ โดยประเด็นน้ีผู้แทนจากสวีเดนแสดงออกชัดเจนถึงการไม่เห็นด้วยกรณีท่ีข้อก�ำหนดจะเปิด
ช่องอนุญาตให้มีการตรวจค้นเด็กแบบล่วงล้�ำร่างกาย อันเป็นการละเมิดแนวทางการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน
ในขณะทผ่ี แู้ ทนจากประเทศอนิ เดยี ตอ่ ตา้ นขอ้ เสนอของผแู้ ทนสวเี ดนพรอ้ มยกกรณตี วั อยา่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศอนิ เดยี
ทก่ี ลมุ่ คา้ ยาเสพตดิ มกั ซกุ ซอ่ นยาเสพตดิ หรอื สงิ่ ของตอ้ งหา้ มเขา้ สเู่ รอื นจำ� โดยใชเ้ ดก็ เปน็ ชอ่ งทางบอ่ ยครง้ั ดงั นนั้ จงึ ควร
เปิดโอกาสใหเ้ จ้าหน้าทเ่ี รือนจ�ำสามารถตรวจค้นได้ หากมพี ฤตกิ ารณน์ า่ สงสยั
ด้วยเหตุน้ี ตลอดระยะเวลา 4 วันท่ีเข้าร่วมประชุม ถือว่าใช้ระยะเวลาตั้งแต่เช้าถึงเย็น โดยวันแรกมีพิธีเปิด
การลงคะแนนเลอื กเจา้ หนา้ ทผ่ี ทู้ ำ� หนา้ ทต่ี า่ งๆ ในการประชมุ การรบั รองวาระและแนวทางการประชมุ และเรม่ิ พจิ ารณา
อภปิ รายตามประเด็นขอ้ กำ� หนดต่างๆ ประมาณ 24 ขอ้ จนกระทัง่ วนั สุดทา้ ยของกำ� หนดการ เปน็ อกี เหตุการณ์ที่ตอ้ ง
จดจำ� เพราะท่ีประชุมต้องอย่อู ภิปรายสรปุ ผลการประชมุ กันถงึ ประมาณตสี อง จนเจา้ หน้าที่ของสถานทจ่ี ัดการประชุม
ตอ้ งขอเขา้ มาเคลยี รพ์ น้ื ทสี่ ำ� หรบั จดั หอ้ งประชมุ และเวทขี องกำ� หนดการวนั ตอ่ ไป ทำ� ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ตอ้ งยา้ ยออกมา
ใช้พื้นท่ีหน้าห้องประชุมเพื่อคุยกันต่อจนเสร็จ นอกจากน้ัน ในระหว่างการประชุม หากมีประเด็นท่ีดูเหมือนจะหา
ข้อสรุปไมไ่ ด้ภายในระยะเวลาท่กี ำ� หนด ประธานฯ จะมกี ารขอแบง่ กล่มุ ย่อยตามประเด็นเหล่านัน้ เพ่ือให้ผู้แทนซ่ึงเป็น
ผเู้ ชย่ี วชาญของบางรฐั ทย่ี งั ไมไ่ ดข้ อ้ สรปุ มโี อกาสพดู คยุ เจรจาประนปี ระนอมหาขอ้ ยตุ กิ นั อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการในวงเลก็ ๆ
จนกระทง่ั เกดิ การเหน็ พอ้ งและแจง้ ฝา่ ยอำ� นวยการประชมุ คอื สำ� นกั งานปอ้ งกนั ยาเสพตดิ และปราบปรามอาชญากรรม
แหง่ สหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime – UNODC) ใหน้ ำ� เรยี นประธานฯ และทป่ี ระชมุ ใหญ่
ทราบในภายหลัง

วารสารราชทัณฑ์ 37

อนึ่ง การประชมุ ผเู้ ชี่ยวชาญระหวา่ งรฐั เพือ่ ให้ไดม้ าซึง่ ขอ้ กำ� หนดแมนเดลานี้ ต้องถอื วา่ ประเทศไทย มีบทบาท
ส�ำคัญในกระบวนการ โดยนอกจากประเทศไทยได้ส่งคณะผู้แทนเข้าร่วมประชุมในแต่ละคร้ังแล้ว ยังม ี
นายวงศ์เทพ อรรถไกวัลวที ผู้อ�ำนวยการกองการตา่ งประเทศ สำ� นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรมในขณะนนั้ ไดร้ บั เลอื ก
ให้เปน็ สมาชกิ 1 ใน 5 ของคณะผบู้ รหิ าร (Bureau) ของกลุม่ ผูเ้ ชย่ี วชาญโดยรบั หน้าท่ีเป็นผูจ้ ดั ทำ� รายงานการประชุม
(Rapporteur) นอกจากนน้ั ในการประชมุ คร้ังสุดทา้ ยที่ได้ข้อสรปุ ท้งั หมด อธบิ ดีกรมราชทณั ฑ์ (นายวิทยา สรุ ยิ ะวงค)์
ยงั ได้รว่ มนำ� เสนอในหลายประเดน็ ทั้งการพัฒนาและร่างพระราชบญั ญัตริ าชทัณฑ์ฉบับใหม่ และอภิปรายในทป่ี ระชุม
ถงึ ข้อกำ� หนดบางขอ้ ทสี่ ามารถปรับปรงุ ให้สอดคล้องกบั การอนุวตั ิขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพได้

8 ประเดน็ ส�ำคญั ทม่ี ีการปรับปรงุ

เนอ่ื งจากวตั ถปุ ระสงคข์ องบทความนี้ ไมไ่ ดต้ อ้ งการแปลหรอื อธบิ ายขอ้ กำ� หนดแมนเดลาเปน็ รายขอ้ ทง้ั 122 ขอ้
ซ่ึงในอนาคตผู้เขียนคิดว่าคงมีการด�ำเนินการและเผยแพร่อย่างเป็นทางการออกมา โดยสถาบันเพ่ือการยุติธรรม
แห่งประเทศไทย อย่างไรก็ดี ในบทความน้ี ผู้เขียนขอสรุปให้เข้าใจเฉพาะประเด็นส�ำคัญ 8 ด้านที่ได้รับการปรับปรุง
เพ่มิ เติมในขอ้ กำ� หนดแมนเดลา ดังนี้

1. การเคารพศักดศ์ิ รีอันตดิ ตวั มาแตก่ ำ� เนดิ ของผู้ต้องขัง

หากอ่านข้อก�ำหนดแมนเดลาทั้งหมด จะเห็นถึงการสอดแทรกหลักการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังด้วยการเคารพ
ต่อศักดิ์ศรีและคุณค่าในฐานะมนุษย์ และการห้ามทรมานหรือการปฏิบัติ ตลอดจนการลงโทษท่ีย�่ำยี โหดร้าย ทารุณ
ไร้มนษุ ยธรรม โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การให้แนวทางการตรวจคน้ ผ้ตู ้องขังทเ่ี หมาะสมภายใตห้ ลกั การดังกลา่ ว เปน็ ต้น

2. การใหบ้ รกิ ารทางการแพทยแ์ ละสุขภาพ

ข้อกำ� หนดแมนเดลา ได้ระบุถงึ ความรบั ผิดชอบของรัฐในการดูแลสขุ ภาพของผู้ต้องขงั โดยควรเป็นมาตรฐาน
เทา่ เทยี มกนั กบั ทรี่ ฐั จดั ใหแ้ กป่ ระชาชนภายนอก และดำ� เนนิ การอยา่ งใกลช้ ดิ กบั หนว่ ยงานผมู้ หี นา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ
นอกจากน้ัน ในข้อก�ำหนดฯ ยังได้ให้รายละเอียดแนวทางเก่ียวกับการดูแลสุขอนามัยในเรือนจ�ำและบทบาทของ
เจ้าหนา้ ท่ีทด่ี แู ลสขุ ภาพของผตู้ อ้ งขัง

38 วารสารราชทัณฑ์

3. มาตรการและการลงโทษทางวนิ ยั

การเปลยี่ นแปลงสำ� คญั ในประเดน็ นี้ รวมถงึ การกำ� หนดแนวทางการใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการ การคมุ้ ครองอยา่ งมี
ขั้นตอนในกระบวนการทางวินัย และต้องมีการอธิบายให้ชัดเจนถึงการลงโทษทางวินัยท่ีห้ามกระท�ำ (เช่น
การห้ามด่ืมน�้ำ) ทั้งน้ี ข้อก�ำหนดฯ ยังสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่เรือนจ�ำใช้กลไกการป้องกันความขัดแย้งเพ่ือป้องกัน
การกระท�ำผิดทางวินัยและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ รวมท้ัง ได้จ�ำกัดการใช้การขังเด่ียว ซ่ึงในข้อก�ำหนด
แมนเดลาไดใ้ ห้ค�ำนิยาม และระบไุ ว้เป็นครั้งแรกในมาตรฐานระหว่างประเทศ

4. การสอบสวนการเสยี ชีวิตและการทรมานในระหวา่ งการควบคมุ

การปรบั ปรงุ ขอ้ กำ� หนดครง้ั น้ี ไดเ้ พมิ่ ขอ้ บงั คบั แกเ่ รอื นจำ� ในกรณเี กดิ การเสยี ชวี ติ การสญู หาย หรอื การบาดเจบ็
รุนแรง ซึ่งรวมถึง ข้อบังคับในการรายงาน การสอบสวน และการแจ้งครอบครัวหรือเพื่อนของผู้ต้องขัง นอกจากน้ัน
ข้อก�ำหนดแมนเดลายังได้ปรับปรุงให้มีการบริหารจัดการไฟล์ข้อมูลผู้ต้องขัง เพื่อให้เห็นความส�ำคัญของการบันทึก
เหตุการณแ์ ละขอ้ รอ้ งเรยี นตา่ งๆ

5. การคุ้มครองผูต้ ้องขังกลมุ่ ทม่ี คี วามเปราะบาง

ในภาพรวมขอ้ กำ� หนดฯ ไดอ้ ธบิ ายชดั เจนมากขน้ึ ในการใหเ้ รอื นจำ� ตอ้ งระบคุ วามตอ้ งการเฉพาะดา้ นสว่ นบคุ คล
ของผู้ต้องขังและมาตรการต่างๆ ท่ีน�ำมาตอบสนองต่อความต้องการเฉพาะเหล่านั้น ต้องไม่ถูกมองว่าเป็นการเลือก
ปฏิบตั ิ ในขอ้ ก�ำหนดแมนเดลายงั ได้เพมิ่ ข้อความในส่วนท่เี กีย่ วข้องกับเด็กทถ่ี กู คุมขังร่วมกบั บิดาหรือมารดาในเรือนจ�ำ
และยงั ไดเ้ ปล่ียนแปลงการให้ค�ำนยิ ามท่ลี ้าสมัยไปแล้วเกยี่ วกับผตู้ ้องขงั ที่มคี วามพกิ าร

6. การเขา้ ถึงผ้แู ทนทางกฎหมาย

ขอ้ กำ� หนดแมนเดลาไดป้ รบั ปรงุ ประเดน็ นใ้ี หท้ นั สมยั และขยายความครอบคลมุ
เพ่ิมเติม ไม่ใช่เฉพาะผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีและกระบวนการพิจารณาคดี
ทางอาญา แตไ่ ดร้ ะบคุ วามตอ้ งการของผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษาทางกฎหมายโดยละเอยี ดมากขนึ้
บนพื้นฐานของแนวทางและหลักการว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายของ
สหประชาชาติปี ค.ศ. 2012 อน่ึง ข้อก�ำหนดฯ ยังได้อธิบายชัดเจนถึงการที่ผู้ต้องขัง
ได้รบั อนญุ าตใหเ้ กบ็ และครอบครองเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับกระบวนการทางกฎหมาย

7. การรอ้ งเรยี นและกระบวนการสอบสวนทเี่ ปน็ อสิ ระ

ขอ้ กำ� หนดฯ เกย่ี วกบั การดำ� เนนิ การดา้ นขอ้ มลู สำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั และการเขา้ ถงึ
กลไกการร้องเรียนได้ถูกปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน เช่นเดียวกับการป้องกันมิให้เกิดการ
แกแ้ ค้น การท�ำใหอ้ ับอาย หรือผลที่เกิดขน้ึ ในทางลบอื่นๆ อันเปน็ ผลจากการร้องเรียน
อีกทั้ง ข้อก�ำหนดแมนเดลายังได้เพ่ิมข้อบังคับให้มีการใช้ระบบการสอบสวนปกต ิ
แบบสองชน้ั คอื การสอบสวนทงั้ ภายในและภายนอกโดยองคก์ รอสิ ระ ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ผลดีท่ีได้รับจากการติดตามสอดส่องจากภายนอก นอกจากน้ี ข้อก�ำหนดแมนเดลา
ยังได้ระบุอ�ำนาจของผู้ตรวจราชการและก�ำหนดให้มีการรายงานผลการตรวจสอบ
อยา่ งเป็นลายลกั ษณ์อักษรพรอ้ มสนับสนนุ ใหม้ กี ารเผยแพร่

วารสารราชทัณฑ์ 39

8. การฝึกอบรมเจา้ หนา้ ที่

การปรบั ปรงุ ทสี่ ำ� คญั คอื ขอ้ กำ� หนดแมนเดลาไดอ้ ธบิ ายถงึ ความจำ� เปน็ ในการใหเ้ จา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ รบั การ
ฝึกอบรมก่อนเข้าปฏิบัติหน้าท่ีในหน่วยงาน เช่นเดียวกับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องระหว่างการท�ำงาน
โดยเนอ้ื หาของหลกั สตู รทกี่ ลา่ วมา ควรสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ แนวทางปฏบิ ตั อิ นั เปน็ เลศิ ทเ่ี ปน็ ทปี่ ระจกั ษแ์ ละรว่ มสมยั
ประกอบด้วย ประเด็นด้านความปลอดภัยและม่ันคง แนวคิดเก่ียวกับการควบคุมเชิงพลวัตร (Dynamic
Security) การใช้ก�ำลังและเคร่ืองพันธนาการ ตลอดจนการบริหารจัดการผู้กระท�ำผิดท่ีนิยมใช้ก�ำลังและ
ความรนุ แรง โดยน�ำเทคนคิ เชงิ ป้องกนั และผ่อนคลายมาพิจารณาใชอ้ ยา่ งรอบคอบและตามความเหมาะสม
โดยสรุป อาจกล่าวได้ว่า ข้อก�ำหนดแมนเดลา เป็นการทบทวนและปรับปรุงข้อก�ำหนดมาตรฐาน
ขน้ั ตำ�่ แหง่ สหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบตั ิตอ่ ผ้ตู ้องขงั ทีใ่ ชม้ านานกวา่ 50 ปี ใหส้ อดคล้องและก้าวทันกบั การ
พฒั นาทางดา้ นการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั สทิ ธมิ นษุ ยชนและกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญาทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยใชร้ ะยะ
เวลาถึง 5 ปี ผ่านการด�ำเนินการหลายขั้นตอน โดยเฉพาะการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระหว่างรัฐถึง 4 คร้ัง
ท่ามกลางความพยายามให้ได้ข้อสรุปท่ีเห็นพ้องในทุกประเด็นจากผู้แทนประเทศและองค์กรต่างๆ กว่าจะได้
มาเป็นขอ้ ก�ำหนดฯ ฉบับใหม่
ส�ำหรับทง้ั 8 ประเด็นทีก่ ล่าวมา ถือเปน็ การเปลีย่ นแปลงและ
พัฒนาท่ีส�ำคัญของข้อก�ำหนดแมนเดลา ซ่ึงจะท�ำให้กรอบการท�ำงาน
เรือนจ�ำ ตลอดรวมถึงกลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานต่างๆ
ที่เก่ียวข้องก้าวสู่จุดเปล่ียนครั้งใหญ่ นอกเหนือไปจากแนวทางตาม
ข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต่�ำฯ เดิมท่ียังคงปรากฏอยู่ตามปกติใน
ขอ้ กำ� หนดฯ ท่ไี ด้รบั การทบทวนใหม่นี้
ทั้งนี้ ปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ได้ร่วมมือกับสถาบันเพื่อการ
ยุติธรรมแห่งประเทศไทย ประกาศผลักดันโครงการน�ำร่องให้
เรือนจ�ำพิเศษธนบุรี เป็นเรือนจ�ำต้นแบบ ตามข้อก�ำหนดแมนเดลา
ซ่ึงถือเป็นบทพิสูจน์การด�ำเนินงานของกรมราชทัณฑ์อีกครั้งว่า
จะสามารถปฏิบตั ิตามมาตรฐานของข้อกำ� หนดทัง้ 122 ขอ้ ได้สมบูรณ์
ครบถว้ นเพยี งใด และหากประสบผลสำ� เรจ็ ในอนาคตอาจวางแผนขยาย
เปา้ หมายการด�ำเนินงานไปยงั เรอื นจ�ำและทัณฑสถานแหง่ อืน่ ๆ ต่อไป

แหลง่ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ
1. ข้อก�ำหนดมาตรฐานข้ันต�่ำแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง (ฉบับเดิม)

https://www.unodc.org/pdf/criminal_justice/UN_Standard_Minimum_Rules_for_the_
Treatment_of_Prisoners.pdf
2. ข้อก�ำหนดแมนเดลา https://www.penalreform.org/resource/standard-
minimum-rules-treatment-prisoners-smr/

40 วารสารราชทัณฑ์

เรอื นจ�ำ

สำ� หรบั ผู้ตอ้ งขงั ระหว่างการพจิ ารณาคดี

ปัทมาวดี ปัทมโรจน์
ส�ำนกั ทณั ฑวทิ ยา

หลกั การและเหตุผล

กรมราชทัณฑ์ ได้ด�ำเนินการตามนโยบายของอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(พลเอกไพบูลย์ คุ้มฉายา) ในการแยกการควบคุมผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีออกจากผู้ต้องขัง
เดด็ ขาดเพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการพฒั นาแกไ้ ขพฤตนิ สิ ยั และการปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกตา่ งกนั เนอ่ื งจากผตู้ อ้ งขงั
ระหว่างการพิจารณาคดียังถือว่าเป็นผู้ท่ีบริสุทธิ์ตามกฎหมายยังไม่มีความผิด จึงไม่ควรจะได้รับ
การปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกบั ผตู้ อ้ งขงั ทเี่ ดด็ ขาดแลว้ อกี ทง้ั การแยกการควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี
ออกจากผู้ต้องขังเด็ดขาดจะท�ำให้ไม่เกิดการถ่ายทอดพฤติกรรมอาชญากรแก่กัน เป็นการพัฒนาการ
ปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนและมคี วามเปน็ มาตรฐานสากลมากขน้ึ โดยปจั จบุ นั
ได้กำ� หนดแนวทางการด�ำเนนิ งานใน 2 รปู แบบ

วารสารราชทัณฑ์ 41

รปู แบบท่ี 1 กลุม่ เรือนจ�ำท่อี ยูใ่ นจงั หวดั เดียวกนั

กลุ่มกรุงเทพมหานคร

โดยเรอื นจำ� พเิ ศษกรงุ เทพมหานคร และทณั ฑสถานบำ� บดั พเิ ศษกลาง เปน็ เรอื นจำ� ศนู ยร์ ะหวา่ งการพจิ ารณาคดี
เรือนจ�ำกลางบางขวาง เรือนจ�ำกลางคลองเปรม และเรือนจ�ำจังหวัดนนทบุรี เป็นเรือนจ�ำส�ำหรับควบคุม
ผูต้ อ้ งขังเดด็ ขาด

กล่มุ ล�ำปาง

โดยเรือนจ�ำกลางล�ำปาง เป็นเรือนจ�ำท่ีมีการแบ่งพ้ืนที่ส�ำหรับควบคุมผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีและ
ทัณฑสถานบำ� บดั พิเศษล�ำปาง เปน็ เรอื นจำ� ส�ำหรับควบคุมผ้ตู ้องขงั เดด็ ขาด

กลุ่มพระนครศรีอยธุ ยา

โดยเรือนจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเรือนจ�ำที่มีการแบ่งพื้นท่ีส�ำหรับควบคุมผู้ต้องขังระหว่าง
การพจิ ารณาคดี เรอื นจำ� กลางพระนครศรอี ยธุ ยา ทณั ฑสถานบำ� บดั พเิ ศษพระนครศรอี ยธุ ยา และทณั ฑสถาน
วยั หนมุ่ พระนครศรอี ยุธยา เป็นเรอื นจำ� สำ� หรบั ควบคุมผู้ต้องขังเด็ดขาด

กลมุ่ ขอนแก่น

โดยทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษขอนแก่น เป็นเรือนจ�ำศูนย์ระหว่างการพิจารณาคดีและเรือนจ�ำกลางขอนแก่น
เปน็ เรือนจ�ำส�ำหรับควบคมุ ผตู้ ้องขังเดด็ ขาด

กลุม่ นครศรธี รรมราช

โดยทัณฑสถานวัยหนุ่มนครศรีธรรมราช เป็นเรือนจ�ำศูนย์ระหว่างการพิจารณาคดีและเรือนจ�ำกลาง
นครศรีธรรมราช เป็นเรอื นจำ� ส�ำหรบั ควบคมุ ผู้ตอ้ งขงั เด็ดขาด

กลุ่มสงขลา

โดยเรือนจ�ำจังหวัดสงขลา เป็นเรือนจ�ำท่ีแบ่งพื้นที่ส�ำหรับควบคุมผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดี
เรอื นจำ� กลางสงขลา และทณั ฑสถานบำ� บดั พเิ ศษสงขลา เป็นเรือนจำ� สำ� หรบั ควบคุมผู้ตอ้ งขังเดด็ ขาด

กลมุ่ พิษณุโลก

โดยเรือนจ�ำจังหวัดพิษณุโลก เป็นเรือนจ�ำที่แบ่งพื้นท่ีส�ำหรับควบคุมผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดี และ
เรอื นจำ� กลางพิษณุโลก เปน็ เรอื นจ�ำส�ำหรบั ควบคมุ ผตู้ ้องขงั เดด็ ขาด

ส�ำหรับการด�ำเนินการจัดท�ำเรือนจ�ำ
ศูนย์ระหว่างการพิจารณาคดีในรูปแบบที่ 1 นี้
ส�ำนักทัณฑวิทยา ได้ด�ำเนินการวิเคราะห์ประโยชน์
ท่ไี ดร้ ับ และปญั หา อปุ สรรคของการด�ำเนนิ การ พบว่า
การด�ำเนินการในรูปแบบที่ 1 สามารถแยกการควบคุม
ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดอี อกจากผตู้ อ้ งขงั เดด็ ขาด
เพื่อประสิทธิภาพในการพัฒนาแก้ไขพฤตินิสัยและ
การปฏบิ ตั ทิ แ่ี ตกตา่ งกนั อกี ทง้ั ไมม่ ปี ญั หาในทางปฏบิ ตั ิ

42 วารสารราชทัณฑ์

เนอ่ื งจากมพี นื้ ทอี่ ยใู่ นจงั หวดั เดยี วกนั ทำ� ใหไ้ มม่ ปี ญั หาในเรอื่ งของเขตอำ� นาจศาล
รวมถึงการได้รับการเยี่ยมเยียนจากญาติ หรือทนายความ เป็นไปด้วยความสะดวก
เป็นต้น แต่ส�ำหรับในกลุ่มนครศรีธรรมราช ยังมีปัญหาในเร่ืองของลักษณะทางกายภาพของ
ทัณฑสถานวัยหนุ่มนครศรีธรรมราช เช่น ห้องเย่ียมญาติ/ทนาย/พนักงานสอบสวนไม่เพียงพอ
ระบบการฝากขังทางไกลยังไม่มีความสมบูรณ์ ขาดระบบเสริมความม่ันคงพื้นฐาน รวมทั้ง บุคลากร
ยงั ไมม่ คี วามชำ� นาญ เนอื่ งจากเดมิ ทณั ฑสถานวยั หนมุ่ นครศรธี รรมราช เปน็ เรอื นจำ� สำ� หรบั ควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั
เดด็ ขาดโทษปานกลางเทา่ นนั้ แตเ่ มอ่ื ตอ้ งมาควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดที ำ� ใหต้ อ้ งมกี ารปรบั บทบาทในการ
ทำ� งานใหม่ รวมทง้ั จำ� นวนเจา้ หนา้ ทไ่ี ปศาลมไี มเ่ พยี งพอ ซง่ึ จะตอ้ งไดร้ บั การจดั สรรเพมิ่ เตมิ จากกรมราชทณั ฑไ์ ปดำ� เนนิ การ
ปรับการด�ำเนินงานใหเ้ หมาะสมต่อไป

รปู แบบท่ี 2 เรือนจ�ำ/ทณั ฑสถานทมี่ ีเรือนจำ� อยูห่ า่ งไกล

เรือนจ�ำในรูปแบบนี้ เป็นกลุ่มเรือนจ�ำท่ีไม่อยู่ในพ้ืนที่เดียวกันและอยู่ห่างไกล ดังนั้น ส�ำนักทัณฑวิทยาจึงได้
วิเคราะหแ์ นวทางในการด�ำเนินการไว้ โดยก�ำหนดวิธกี ารในการดำ� เนนิ การสำ� หรับเรอื นจ�ำรูปแบบท่ี 2 ไว้ดงั น้ี

วธิ กี ารท่ี 1 ใชว้ ธิ ีการแบง่ แดน สำ� หรบั เรือนจ�ำทม่ี ีหลายแดนและสามารถแบง่ ใช้แดนใดแดนหน่งึ

สำ� หรับควบคมุ ผู้ต้องขังระหวา่ งการพจิ ารณาคดี

วิธีการท่ี 2 ใช้วิธีการกั้นพื้นที่ (Block Zone) แบ่งพ้ืนท่ีให้ชัดเจนส�ำหรับผู้ต้องขังระหว่าง

การพจิ ารณาคดแี ละผู้ตอ้ งขังเด็ดขาด

วิธีการที่ 3 ใช้วธิ ีการขยายกำ� แพง ในกรณที ่เี รอื นจำ� มพี น้ื ที่ภายนอกเพยี งพอ
วธิ กี ารท่ี 4 สร้างเรือนจ�ำใหม่ ส�ำหรับเรอื นจ�ำทม่ี ีขนาดเลก็ และไม่มีพ้นื ทภ่ี ายนอกเพยี งพอท่ีจะ

ขยายกำ� แพง

ทงั้ นี้ การดำ� เนนิ การแยกผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดอี อกจากผตู้ อ้ งขงั เดด็ ขาดโดยวธิ กี ารทงั้ สองรปู แบบนน้ั
ยังไม่เพียงพอท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์ที่กรมราชทัณฑ์ตั้งไว้ได้ จ�ำเป็นจะต้องมีวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องขังระหว่าง
การพิจารณาคดี และผู้ต้องขังเด็ดขาดที่แตกต่างกันด้วย จึงจะมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนของผู้ต้องขังระหว่าง
การพจิ ารณาคดีและผูต้ ้องขงั เด็ดขาด
ดงั นนั้ สำ� นกั ทณั ฑวทิ ยาจงึ ไดก้ ำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ เตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี
เพอ่ื ให้การดำ� เนนิ งานเปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั และถอื เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ ดงั นี้

(1) เสือ้ ผ้า กำ� หนดให้มไี ด้ไมเ่ กนิ 5 ชุด สำ� หรบั เส้อื ผา้ ทีท่ างราชการ
จดั ใหส้ ำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งอทุ ธรณ์ – ฎกี า กำ� หนดใหต้ ดิ แถบสไี วท้ แ่ี ขนเสอ้ื
เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับผู้ต้องขังระหว่างสอบสวนและผู้ต้องขังระหว่าง
การพจิ ารณาคดี
(2) เคร่ืองนอน ประกอบด้วย ผ้า 3 ผืน ส�ำหรับปูนอน ห่ม และ
หนนุ ศีรษะ

วารสารราชทัณฑ์ 43

(3) อาหาร ผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีอนุญาตให้สามารถส่ังซ้ืออาหารจากร้านสงเคราะห์ภายนอก
เรือนจ�ำได้ โดยญาตเิ ป็นผู้จัดการในเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ย ทัง้ นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามทีเ่ รอื นจำ� กำ� หนด
สว่ นผตู้ อ้ งขงั เดด็ ขาดสามารถสง่ั ซอ้ื อาหารจากรา้ นสงเคราะหภ์ ายนอกเรอื นจำ� ได้ โดยการกำ� หนดวนั ใหช้ ดั เจน
เช่น อนุญาตให้ซื้อได้สามวันต่อสัปดาห์
(4) การรักษาพยาบาล ให้เป็นไปตามที่เรือนจ�ำก�ำหนด โดยสอดคล้องกับข้อ 118 ข้อก�ำหนดขั้นต�่ำ
ขององค์การสหประชาชาติในการปฏบิ ัตติ อ่ ผ้ตู ้องขงั ทก่ี ำ� หนดวา่ ผตู้ อ้ งขังระหว่างการพจิ ารณาคดีตอ้ งไดร้ บั อนญุ าต
ใหพ้ บและรบั การรกั ษาจากแพทยห์ รอื ทนั ตแพทยข์ องตน หากมเี หตผุ ลสนบั สนนุ มากเพยี งพอและหากบคุ คลดงั กลา่ ว
สามารถรบั ผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายต่างๆ ทเี่ กดิ ขึน้ เองได้
(5) ทรงผม ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทก่ี รมราชทณั ฑก์ ำ� หนด ซง่ึ ผตู้ อ้ งขงั
ระหวา่ งการพิจารณาคดีใหต้ ัดผมทรงรองทรง
(6) การเย่ียมญาตแิ ละการพบทนายความ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บท่ี
กรมราชทัณฑ์ก�ำหนด แต่ควรจะมีการแยกเวลาหรือห้องเยี่ยมไม่ให้มีการ
พบเจอกบั ผู้ตอ้ งขงั ทค่ี ดเี ดด็ ขาดแล้ว
(7) การติดต่อกับญาติ ผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณา
คดที เี่ ขา้ ใหมแ่ ละตอ้ งการตดิ ตอ่ กบั ญาตใิ หท้ างเรอื นจำ� จดั ชอ่ งทาง
ใหผ้ ู้ตอ้ งขังไดต้ ดิ ตอ่ กบั ญาติ
(8) หนงั สอื ทอ่ี ยบู่ นเรอื นนอน จะตอ้ งเปน็ หนงั สอื ทที่ าง
เรอื นจำ� อนญุ าตและจดั หาให้ เชน่ หนงั สอื ทางศาสนา และอลั กรุ อาน
เปน็ ตน้
(9) การดโู ทรทัศน์ ใหเ้ ปน็ ไปตามรายการทีเ่ รือนจ�ำก�ำหนด
(10) การลงโทษผ้ตู อ้ งขงั ให้เป็นไปตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด
(11) กจิ กรรมทจี่ ะใชป้ ฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี ควรเปน็ กจิ กรรมลกู เสอื เพอื่ เขา้ ไปปรบั ปรงุ
ในเรื่องของวินยั และการอยูร่ ว่ มกัน
(12) การจดั ให้กบั ผูต้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดีท�ำงาน นั้น สามารถด�ำเนนิ การได้ถา้ ผตู้ ้องขังยนิ ยอม
ทำ� งาน ลักษณะของงานควรเปน็ งานรบั จ้าง เพื่อไมเ่ ป็นการปลอ่ ยเวลาว่างให้เสยี ประโยชน์
(13) ให้การจัดท�ำ Progress Note หรือการบันทึกพฤติกรรมของผู้ต้องขังทุกวัน ซ่ึงระบบน้ีเป็นการ
ด�ำเนินการเหมือนระบบของลูกเสือที่หัวหน้าหมู่จะมีหน้าท่ีในการบันทึกพฤติกรรมของผู้ต้องขังที่เป็นลูกหมู่
และน�ำผลรายงานเจ้าหน้าที่ทราบทุกวัน และเจ้าหน้าท่ีจะต้องวิเคราะห์และสรุปผลเชิงพฤติกรรมเพื่อเก็บไว้
เป็นหลกั ฐานในทุกเดือน
ปัจจุบัน ส�ำนักทัณฑวิทยายังคงด�ำเนินการตามนโยบายการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคด ี
อย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้มีการแยกการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีและผู้ต้องขังเด็ดขาดอย่างชัดเจน
ซึ่งสอดคล้องกับหลักกฎหมายและการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังตามหลักสากล ทั้งน้ี ส�ำนักทัณฑวิทยาจะด�ำเนินการ
ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การเพอื่ วเิ คราะหถ์ งึ แนวทางในการปฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสมสำ� หรบั ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี
ตอ่ ไป

44 วารสารราชทัณฑ์

คืนคนดี มีคุณคา่ สสู่ งั คม

ตามศาสตรพ์ ระราชา

นายมานพ ชมชน่ื
ผ้บู ญั ชาการเรอื นจ�ำจังหวัดบุรรี ัมย์

“คนื คนดี มคี ณุ คา่ สสู่ งั คม” ถอื ไดว้ า่ เปน็ ปณธิ าน อนั แรงกลา้ ทอี่ ยใู่ นจติ วญิ ญาณของขา้ ราชการกรมราชทณั ฑ์
ทุกคน เป็นแรงผลักดันในการท�ำงานด้วยความมุ่งม่ัน อดทน พร้อมท่ีจะเสียสละอ�ำนวยความยุติธรรม และส่งเสริม
การพฒั นาพฤตินิสยั เพ่อื คืนคนดีสูส่ ังคม เป็นคำ� สัญญาของขา้ ราชการกรมราชทัณฑ์

จากปณิธานท่ีมุ่งม่ันภายในจิตใจของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ข้างต้น ได้ถูกท้าทายจากกระแสแรงกดดัน
ทางสังคมมาอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา โดยมีปัจจัยทางด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และเทคโนโลยี
ไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ทำ� ใหร้ ะบบราชการ โครงสรา้ ง และทางการบรหิ ารตอ้ งปรบั กระบวนงาน กระบวนความคดิ
ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็ว ผู้เขียนได้ศึกษาวิเคราะห์หาข้อมูล จึงขอน�ำเสนอกรอบแนวคิดที่ปรากฏเป็น
ข้อเท็จจริงท่ีสามารถปฏิบัติได้ และเป็นไปอย่างย่ังยืนโดยการน้อมน�ำศาสตร์พระราชา มาปรับใช้เพ่ือเป็นแนวทาง
การพฒั นาผู้ต้องขงั เพื่อคนื คนดี มคี ุณคา่ ส่สู ังคมต่อไป

วารสารราชทัณฑ์ 45

ศาสตรพ์ ระราชา : องคค์ วามรใู้ นการพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยนื

จากปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทท่ี รงมพี ระราชดำ� รสั วา่ “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน
ชาวสยาม” ตลอดระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติพระองค์ได้ทรงท�ำตามที่ได้ม ี
พระราชดำ� รสั ไวอ้ ยา่ งจรงิ จงั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเรอ่ื งของการพฒั นาเพอื่ ปรบั ปรงุ และ
เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยให้เกิดความมั่นคงและมีความสุขอย่างแท้จริง ท้ังน้ ี
ส่ิงต่างๆ ที่พระองคท์ รงทดลองท�ำ ทรงรเิ ร่มิ และทรงแนะน�ำให้กับหน่วยงานหรอื ประชาชนในพ้ืนทตี่ ่างๆ ได้กอ่ ให้เกิด
องค์ความรู้อย่างมากมายที่เรียกว่า “ศาสตร์พระราชา” ซึ่งเป็นส่ิงท่ีเมื่อน�ำมาปฏิบัติแล้วจะเกิดผลท่ีเป็นประโยชน์
ต่อการด�ำเนินชีวิต จนเป็นที่ประจักษ์แก่ประชาชนชาวไทย โดยมีหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งถือเป็นกลไก
ส�ำคัญของการพัฒนาในทกุ ๆ ด้าน ประกอบด้วยหลกั สำ� คญั 3 ประการ คอื ความพอประมาณ ความมีเหตุมผี ล และ
มีภมู คิ มุ้ กนั ที่ดี และ 2 เง่ือนไข คือ การใชค้ วามรู้ควบคกู่ บั คณุ ธรรม

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื “หัวใจ
แหง่ ศาสตรพ์ ระราชา” สามารถดำ� รงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คง
และยงั่ ยนื ภายใตค้ วามเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ ของกระแส
โลกาภิวัตน์ โดยเป้าหมายส�ำคัญอยู่ท่ีการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความเข้มแข็งจาก
ภายในเริ่มต้นจากการพ่ึงพาตนเองและรวมตัวกัน
เปน็ กลมุ่ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หก้ บั ประชาชน สรา้ งความ
เขา้ ใจ เขา้ ถงึ สภาพปญั หาทผี่ า่ นมา ใหม้ ีการเติบโตใน
ทุกระดับอย่างมีคุณภาพ เข้าใจถึงแนวทางของการ
พัฒนาในอนาคตและสามารถประสานเชื่อมโยงกับ
ระบบเศรษฐกจิ
ศาสตร์ของพระราชา คือ ส่ิงท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงทดลองท�ำ ทรงมี
พระราชด�ำรัส ทรงริเร่ิมและทรงแนะน�ำให้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆ น�ำไปใช้เป็นองค์ความรู้แห่งการพัฒนา
ท่ีแท้จริง เป็นศาสตร์แห่งการครองตน เป็นแบบและตัวอย่างที่ดีในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข บนพื้นฐาน
ของการใช้ชวี ติ แบบพอประมาณหรอื ความพอเพยี ง
การด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการด�ำเนินชีวิตแบบปกติธรรมดา ซึ่งประชาชน
ทุกคนควรน้อมน�ำมาปฏิบัติ โดยเริ่มต้นด้วยการสร้างความพอเพียงให้เกิดข้ึน ในการดำ� เนินชีวิตของแต่ละบุคคลก่อน
รวมทง้ั การสรา้ งความรู้ ความสามารถ พฒั นาสง่ิ ทเ่ี ปน็ อยใู่ หด้ ขี นึ้ ใชช้ วี ติ แบบเรยี บงา่ ยไมฟ่ งุ้ เฟอ้ ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั
ช่วยกันท�ำช่วยกันคิด เอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน โดยใช้ความรู้ความสามารถความถนัดและความเชี่ยวชาญของตนเอง
ในการพฒั นางานและแนะนำ� ผอู้ น่ื คำ� นงึ ถงึ สง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม สงิ่ เหลา่ นยี้ อ่ มนำ� มาซง่ึ ความสามคั คปี รองดอง
อันจะเป็นภูมิคุ้มกันท่ีดีของสังคม รวมทั้ง การมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรและประเทศชาติให้มีความก้าวหน้า
อย่างมั่นคง มงั่ คงั่ และยง่ั ยืนสบื ไป

46 วารสารราชทัณฑ์

การประยุกต์ใชศ้ าสตร์พระราชา

ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการคนื คนดี สู่สงั คม

หลักการและเงื่อนไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะเป็นหลักการท่ีน�ำไปสู่ความสมดุล ความม่ันคง
ความย่งั ยนื ของชีวิต เศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยกอ่ ให้เกิดความผาสุกของประชาชนท�ำให้ครอบครัวอบอนุ
ชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ ความสามารถในการพง่ึ ตนเองทางเศรษฐกจิ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มการบรหิ ารการพฒั นาประเทศ
มีเสถยี รภาพและความเจริญก้าวหน้า และสดุ ท้ายบรรลเุ ปา้ หมายของการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน
ผเู้ ขียน ได้ศึกษาวิเคราะหแ์ ละสรุปได้ว่า หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หัวใจสำ� คัญ คอื “กระบวนการเรียนรู้
รว่ มกนั ของคนที่เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย” โดยมคี วามยัง่ ยนื เป็นหลกั เน้นความสำ� คญั ความม่นั คงของมนุษย์ และส่งเสริมให้มี
การพัฒนาบุคลากรเต็มท่ีศักยภาพของตน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดผลส�ำเร็จ จะต้องอาศัยหลักการ
ส�ำคญั 3 ประการ และ 2 เง่อื นไข เปน็ หลกั เพ่อื คืนคนดี มีคณุ คา่ สู่สังคม สามารถถ่ายทอดไดด้ งั นี้
1. ความพอประมาณ คือ ความพอดี ไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไป หมายถึงการรู้จักให้โอกาสแก่บุคคล
ในสิ่งที่สมควรได้ หรือตามความสามารถอย่างแท้จริง และรู้จักให้มีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเองด้วยตนเอง
บนพ้ืนฐานของการพึ่งตนเอง หลักการส�ำคัญของความพอประมาณ คือ การเรียนรู้จากแนวทฤษฎี เพ่ือรู้ถึงจุดแข็ง
มองหาศกั ยภาพ และรวู้ า่ พฒั นาอะไรเพมิ่ เพอื่ จะมองเหน็ กรอบ เหน็ แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ม่ี าจากการพฒั นาจากองคค์ วามรู้
2. ความมเี หตุผล คอื  การตดั สนิ ใจอย่างเป็นธรรม รอบคอบ และใช้เหตผุ ลบนพื้นฐานของความรแู ละข้อมูล
ที่ถูกต้องเทียงธรรม น�ำมาตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา โดยต้องมุ่งหวังผลประโยชนสวนรวมเป็นท่ีตั้ง หลักส�ำคัญของ
การใชเ้ หตผุ ล คอื การหาขอ้ มูลบนพ้นื ฐานความรอู้ ยา่ งมีเหตผุ ลน่นั เอง
3. ภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี คอื  การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม
ไม่ว่าจะเกิดเหตกุ ารณ์หรือความเปลยี่ นแปลง ในทางดีหรอื รา้ ย แตก่ ็ยังคงสามารถจะปรบั ตวั กับการเปลี่ยนแปลง และ
มศี กั ยภาพความสามารถจดั การในสภาวะวกิ ฤตไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การมภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ขี นึ้ อยกู่ บั การพฒั นาการแหง่ การ
เรียนรู้ เสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรม เพ่อื รองรับการเปลยี่ นแปลงจากภายในและภายนอก
เงื่อนไขจริยธรรมคุณธรรม หมายถึง การให้ความส�ำคัญกับความซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน เอื้อเฟื้อแบ่งปัน
มงุ่ ประโยชนส าธารณะหรอื ประโยชนส ว นรวม ดำ� เนนิ ชวี ติ แบบพอเพยี งการปราศจากผลประโยชนซ บั ซอ้ นแลว้ ยงั ตอ้ ง
ส่งเสรมิ คนดีและสร้างเครอื ขา่ ยคนดใี ห้เขา้ มามบี ทบาทและมสี ว่ นร่วม
เง่ือนไขความรู หมายถึง การให้ความส�ำคัญกับการจัดการความรูและการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อเฟื้อ
การเรียนรูการส่งเสริมเครือข่ายการเรียนรู พร้อมส่งเสริมพลังคนที่อ่อนแอและด้อยโอกาสที่เสียเปรียบในสังคมให้ม ี
ความสามารถในการเรยี นรูและสามารถปรบั ตวั รับการเปล่ียนแปลง

วารสารราชทัณฑ์ 47

จงึ กลา่ วไดว้ า่ การนำ� ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิ คอื การพฒั นา
ทส่ี มดลุ และยงั่ ยนื พรอ้ มรบั ต่อการเปลี่ยนแปลง ทุกดา้ น ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม
สภาพแวดลอ้ ม ความรู้ และเทคโนโลยี เปน็ แนวทางในการพฒั นาใหส้ ามารถพง่ึ ตนเอง
ในระดับต่างๆ อย่างเป็นขั้นตอน ลดความเสี่ยงหรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ
โดยอาศัยความพอประมาณและสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน
มีสติ และปัญญา การช่วยเหลือเก้ือกูล และความสามัคคี ใช้ความรู้ท่ีอยู่ในตนเองผสมผสาน
กับหลักวิชาการ ใช้การวางแผนและข้ันตอนการปฏิบัติอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง โดยตระหนัก
ในคุณธรรมความซอ่ื สตั ย์สุจริต ใช้สตปิ ัญญาและความเพียรในการด�ำรงชวี ติ
กล่าวโดยสรุป ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ มีบทบาท และภารกิจ ท่ีส�ำคัญในการ คืนคนดี มีคุณค่าสู่สังคม
โดยยดึ ถอื หลักกฎหมายความเปน็ ธรรมในสงั คม เพ่อื ความสงบเรียบร้อย ความม่นั คง และความสงบสขุ ของประชาชน
เปน็ หลกั การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดำ� เนนิ ชวี ติ และการปฏบิ ตั ริ าชการเพอื่ เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
เพื่อสร้างการรับรู้ ให้กับผู้ต้องราชทัณฑ์ ให้เขามีความประพฤติดีท้ังกายและวาจา มีวินัยต่อตัวเอง รู้จักกาลเทศะ
เพ่ือพ้นโทษจะได้ออกไปประกอบอาชีพอย่างสุจริต มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีสติ รู้ตนเองตลอดเวลา
มจี ติ ใจมนั่ คงและมงุ่ มนั่ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถแยกแยะสงิ่ ดชี ว่ั สง่ิ ทค่ี วรทำ� หรอื ไมค่ วรทำ� ตง้ั อยใู่ นเหตผุ ล รจู้ กั คดิ
ไตรต่ รอง สามารถท่จี ะด�ำรงชวี ิตใหอ้ ยู่อยา่ งถูกตอ้ งและดีงาม รู้จักค�ำวา่ เพยี งพอ พอประมาณ มเี หตุผล ไม่เบยี ดเบยี น
ตนเองและผู้อื่น ซ่ึงเป็นการสร้างความม่ันคงในการด�ำรงชีวิต อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขในสังคมเป็นการพัฒนาท่ีย่ังยืน
นอกจากการประยุกต์ใช้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ จรรยาบรรณ
ขา้ ราชการและปฏบิ ตั ติ ามนโยบายของพนั ตาํ รวจเอก ณรชั ต์ เศวตนนั ทน์ อธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ 3ส. 7ก. ทเ่ี นน้ ความสำ� คญั
ในเร่ือง ความสะอาด ความสุจริต และความเสมอภาค เพื่อสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้เรือนจ�ำเป็นเรือนจ�ำต้นแบบ
ส่ิงที่จะผลักดันนโยบายนี้ให้ส�ำเร็จได้ นั่นคือข้าราชการกรมราชทัณฑ์ท่ีจะเป็นแบบอย่างท่ีดีให้ผู้ต้องราชทัณฑ์เรียนรู้
เพอ่ื คืนคนดสี ่สู ังคม

บรรณานุกรม

[1] ไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2551). “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการภาครัฐ”. วารสาร
การจดั การภาครฐั และภาคเอกชน. ปที ี่ 15 ฉบบั ที่ 1 ( ม.ค.- เม.ย. 2551 ) หนา้ 67-107

[2] พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (2560, 12 มกราคม) “ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน”
[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/
TNPOL6101120010014 [5 กุมภาพนั ธ์ 2561]

[3] ดร.อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์ “แผนภาพศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน” [ออนไลน์]. เข้าถึงได ้
จาก https://goo.gl/3oe4gn [5 กุมภาพันธ์ 2561]

[4] “เศรษฐกิจพอเพียง” ปรัชญาของในหลวง กับการบริหารคน” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://
goo.gl/cay7WK [5 กุมภาพันธ์ 2561]

[5] วริ ชั วริ ัชนิภาวรรณ “การบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งในชมุ ชน” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ
ได้จาก https://goo.gl/YnfpTC [5 กุมภาพันธ์ 2561]

48 วารสารราชทัณฑ์

สรุปยอ่ ค�ำวินิจฉัย

พ.ร.บ. ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
พ.ศ. 2540

วีระเชษฐ์ จรรยากูล
นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำ� นาญการ

ส�ำนกั งานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี

ดว้ ย สำ� นกั งานปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม แจง้ วา่ สำ� นกั งานปลดั สำ� นกั นายกรฐั มนตรี โดยสำ� นกั งานคณะกรรมการ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ ได้จัดท�ำเอกสารเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. 2540 เชน่ สรปุ ยอ่ คำ� วนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสาร สรปุ ขอ้ รอ้ งเรยี นของคณะอนกุ รรมการ
พิจารณาและให้ความเห็นเร่ืองร้องเรียน สรุปข้อหารือของคณะอนุกรรมการตอบข้อหารือตามกฎหมายข้อมูลข่าวสาร
ของราชการ เป็นต้น และส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแล้วเห็นว่า เอกสารเผยแพร่ดังกล่าวข้างต้น
จะเปน็ ประโยชนเ์ พอื่ นำ� ไปใชป้ ระกอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ต่อไป จึงขอความอนุเคราะห์ในการเผยแพร่สรุปย่อค�ำวินิจฉัยและบทความ
จำ� นวน 2 เรือ่ ง ทางสือ่ ตา่ งๆ ของหนว่ ยงานนี้เพ่อื ส่งใหส้ ่วนราชการในการก�ำกบั ดแู ลต่อไป
ในการน้ี กองบรรณาธิการพิจารณาแล้วเพื่อให้เป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้ประกอบการปฏิบัติหน้าท่ีในการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 จึงได้น�ำสรุป
ย่อค�ำวนิ จิ ฉยั และบทความ จ�ำนวน 2 เรือ่ ง ดงั กล่าว เผยแพร่ในวารสารราชทัณฑ์ รายละเอียด ดังนี้

วารสารราชทัณฑ์ 49


Click to View FlipBook Version