The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารราชทัณฑ์ ฉบับที่ 1-60

เรอื่ งที่ 1 คาดว่าในปีงบประมาณที่ใกล้จะถึงน้ีหลายๆ ท่านก็เตรียมเกษียณ
เกือบไม่ได้ อายรุ าชการแลว้ กรณเี พราะเหตอุ ะไร ทที่ า่ นอาจจะไม่ไดร้ บั บำ� นาญ
บำ� นาญ ขอให้อา่ นเรอื่ งน้คี รับ

เรอ่ื งนน้ี ายหนอ่ ย ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นอนบุ าลแหง่ หนง่ึ มหี นงั สอื ถงึ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถม
ศกึ ษา (สพป.นฐ.เขต 1) เพอ่ื ขอแกไ้ ขปเี กดิ ในทะเบยี นประวตั ขิ า้ ราชการจาก ปปปป เปน็ ปปปป แต่ สพป.นฐ.เขต
1 มีหนงั สือแจ้งใหน้ ายหน่อยใช้สิทธิตามพระราชบญั ญัตขิ อ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 นายหนอ่ ยจงึ มี
หนงั สืออุทธรณต์ อ่ คณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปิดเผยข้อมูลขา่ วสาร ซึ่งอยูใ่ นอ�ำนาจของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยฯ
ทจ่ี ะพจิ ารณาได้ตามมาตรา 25
ในการพิจารณาของคณะกรรมการฯ นายหน่อยชี้แจงว่าตนเองได้เปล่ียนนามสกุล และเกษียณอายุ
ราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 แต่รับบ�ำนาญไม่ได้เนื่องจากปีเกิดในทะเบียนประวัติข้าราชการไม่ตรงกับส�ำเนา
ทะเบยี นบา้ น และกไ็ มม่ สี ตู บิ ตั รไปยนื ยนั สว่ นเอกสารหลกั ฐานอน่ื ทม่ี ที งั้ หมดระบวุ า่ เกดิ ปี พ.ศ. ปปปป แตน่ ายหนอ่ ย
ได้น�ำส�ำเนาทะเบียนบ้านที่มีค�ำรับรองถูกต้องโดยผู้ช่วยนายทะเบียนอ�ำเภอ และต้นฉบับทะเบียนนักเรียน
ช้ันประถมไปให้คณะกรรมการฯ ตรวจดู ฝา่ ยผ้แู ทนสำ� นกั งาน ก.ค.ศ. ช้แี จงว่า มอี ำ� นาจแกไ้ ขโดยพิจารณาจาก
เอกสารหลกั ฐานท่ีสง่ ไปใหว้ ่าเชือ่ ถอื ไดห้ รอื ไม่ ถ้าเช่อื ถือได้จะแกไ้ ขให้ กรณีนสี้ ำ� นกั งาน ก.ค.ศ. ไม่ไดค้ รอบครอง
ทะเบียนประวัติข้าราชการ แต่เอกสารอยู่ท่ีส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ผู้แทน สพป.นฐ.เขต 1 ช้ีแจงว่าเป็น
ผเู้ กบ็ ทะเบยี นประวตั จิ รงิ แตเ่ มอ่ื ตรวจสอบหลกั ฐานแลว้ ไมต่ รงกนั และนายหนอ่ ยขอแกไ้ ขหลงั เกษยี ณอายรุ าชการ
ไปแลว้ จึงไม่มีอ�ำนาจในการแกไ้ ข แต่เป็นอ�ำนาจของส�ำนักงาน ก.ค.ศ.
คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ หลกั ฐานสำ� คญั ลำ� ดบั แรกคอื สตู บิ ตั ร
แตเ่ มอ่ื ไมม่ กี ด็ เู อกสารตอ่ ไปคอื ทะเบยี นบา้ นประกอบหลกั ฐานการศกึ ษาอกี 3 ฉบบั ทร่ี ะบตุ รงกนั จงึ นา่ เชอื่ ถอื ได้
ว่านายหน่อยเกิดปี พ.ศ. ปปปป จึงวินัจฉัยฯ ให้ส�ำนักงาน ก.ค.ศ. แก้ไขปีเกิดให้นายหน่อยตามท่ีขอแก้ไข
เรอ่ื งนน้ี า่ สนใจมากครบั เพราะคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ฯ มขี อ้ สงั เกตสำ� หรบั หนว่ ยงานของรฐั ดว้ ยวา่ หากขา้ ราชการ
พน้ จากราชการไปแล้ว ย่นื คำ� ข้อแก้ไขวนั เดอื น ปีเกดิ พร้อมเอกสารประกอบตามระเบยี บ หากทะเบียนประวตั ิ
ของผนู้ น้ั อยู่กบั หน่วยงานใด ใหห้ น่วยงานนั้นด�ำเนนิ การตามกฎหมายวา่ ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยจะ
ต้องเป็นผู้พิจารณาเบื้องต้นก่อนว่าจะแก้ไขให้ได้หรือไม่ตามพยานหลักฐานที่ยื่นประกอบว่าเชื่อถือได้หรือไม ่
หากเชอ่ื ถอื ไดก้ ใ็ หผ้ มู้ อี ำ� นาจสงั่ แกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง หากหลกั ฐานเชอ่ื ถอื ไมไ่ ด้ กต็ อ้ งมคี ำ� สง่ั ไมแ่ กไ้ ข และแจง้ สทิ ธอิ ทุ ธรณ์
ใหผ้ อู้ นื่ ยน่ื คำ� ขอแกไ้ ขทราบ หมายความวา่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ตอ้ งพจิ ารณารายละเอยี ดกอ่ น ไมใ่ ชย่ น่ื เกนิ กำ� หนด
กป็ ฏเิ สธแลว้ กรณนี ส้ี ำ� นกั งาน ก.ค.ศ. ยงั ไมพ่ จิ ารณาในชน้ั ตน้ กอ่ น จงึ ไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรา 25 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
ขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
เรอ่ื งขอแก้ไขวนั เดอื น ปเี กิด มไี ปท่ีคณะกรรมการข้อมลู ข่าวสารของราชการทกุ ปคี รับ หากท่านรู้จักใช้
สิทธิตามท่ีมีกฎหมายใหไ้ ว้ก็พอชว่ ยได้ แต่กข็ ้ึนอยู่กบั หลกั ฐานของทา่ น อยา่ นงิ่ นอนใจครับ
50 วารสารราชทัณฑ์

เรือ่ งที่ 2 บทความที่ผมจะน�ำมาเล่าเร่ืองนี้ดีมากๆ ครับ ประชาชน
รอ้ งเรียนได้ จะไดร้ วู้ า่ ถา้ ตนเองจะมสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยดแู ลชมุ ชน และถา้ ตนเอง
ไม่ต้องกลัว เดือนร้อนก็ไม่ต้องนิ่งเฉยอยู่ จะต้องท�ำอย่างไร จะเกิดอันตราย
หรอื เป็นการสรา้ งศตั รูหรอื ไม่ อ่านเรือ่ งนี้ได้เลยครับ

เรื่องน้ีชาวบ้านในต�ำบลโสมเยี่ยม จังหวัดอุดรธานี ได้รับความเดือดร้อนจากการประกอบกิจการฟาร์ม
เมลอ่ นของนาย ข. เนอ่ื งจากมกี ารใชส้ ารเคมสี ง่ กลน่ิ เดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชนทอ่ี ยใู่ กลเ้ คยี งจงึ รอ้ งเรยี นและพจิ ารณา
แกไ้ ข ซง่ึ หนว่ ยงานไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ตอ่ มานาย ก. ไดร้ บั มอบอำ� นาจจากนาย ข. เจา้ ของฟารม์
ผู้ถูกร้องเรียนมีหนังสือถึงองค์การบริหารส่วนต�ำบลขอส�ำเนาเอกสารแนบท้ายทุกหน้า และหนังสือร้องเรียนเพ่ือ
ดำ� เนนิ การฟอ้ งรอ้ งผรู้ อ้ งเรยี นกเู้ กยี รตยิ ศชอื่ เสยี งคนื มาแตห่ นว่ ยงานมหี นงั สอื แจง้ ปฏเิ สธโดยใหเ้ หตผุ ลวา่ การเปดิ
เผยจะเกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ร้องเรียนตามมาตรา 15 (4) นาย ข. จึงมีหนังสืออุทธรณ์ต่อ
คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสาร
คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ หนงั สอื ทร่ี อ้ งเรยี นเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ
กิจการฟาร์มเมล่อนของนาย ก. ท่ีเป็นผู้มอบอ�ำนาจให้นาย ข. ขอข้อมูลข่าวสารน้ัน นาย ก. สมควรได้รับข้อมูล
ข่าวสารเพอ่ื ใชป้ กป้องสทิ ธขิ องตนเอง และเม่ือพิจารณาแลว้ ไม่ปรากฏหลักฐานเพยี งพอว่าเมือ่ เปิดเผยแล้วจะเกิด
อันตรายต่อความปลอดภัยของผู้แจ้ง แต่หนังสือร้องเรียนเรื่องดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนแจ้งข้อมูล
การกระทำ� ทอ่ี าจเปน็ ความผดิ ตามกฎหมาย การเปดิ เผยชอ่ื ผรู้ อ้ งเรยี นอาจทำ� ใหไ้ มม่ ใี ครกลา้ ใหข้ อ้ มลู การกระทำ� ผดิ
กฎหมายแก่ราชการ จึงอาจท�ำให้การบังคับใช้กฎหมายเส่ือมประสิทธิภาพได้ นอกจากน้ีผู้ร้องเรียนรายนี้ยังเขียน
หนงั สอื รอ้ งเรยี นดว้ ยลายมอื อาจสบื ไดว้ า่ ใครเปน็ คนเขยี น พจิ ารณาแลว้ จงึ เหน็ ควรเปดิ เผยเฉพาะเนอ้ื หาในหนงั สอื
ร้องเรียน โดยปกปิดช่ือและข้อมูลอื่นของผู้ร้องเรียน และให้องค์การบริหารส่วนต�ำบลเปิดเผยเน้ือหาของหนังสือ
ร้องเรียน ด้วยการจัดพมิ พ์ข้อความตามหนังสอื รอ้ งเรยี นขน้ึ มาใหม่ โดยไม่มชี ่อื และขอ้ มูลอืน่ ของผู้รอ้ งเรียน พร้อม
ทั้งรับรองส�ำเนาถกู ต้องและส่งมอบให้นาย ข. เรอ่ื งนี้ผมขอเพิม่ เตมิ หากมีข้อสงสยั หน่อยวา่ 1) ในมาตรา 9 วรรค
สอง ถา้ ข้อมูลขา่ วสารมีส่วนต้องหา้ มไมใ่ ห้เปิดเผย ใหล้ บหรือตัดทอนได้ 2) มาตรา 11 วรรคสาม ข้อมลู ข่าวสาร
ของราชการท่ีจัดหาให้ต้องเป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วไม่ต้องไปจัดท�ำใหม่ วรรคสี่ ไม่ห้ามหน่วยงานของรัฐที่จะ
จัดขอ้ มูลข่าวสารข้นึ ใหม่ให้แก่ผูร้ ้องขอ กรณนี ี้ ผู้ร้องเรยี นเขยี นดว้ ยลายมือ คณะกรรมการวินิจฉยั ฯ เห็นว่าการลบ
ปกปิดไม่เพียงพอจงึ ให้หนว่ ยงานพิมพ์ข้ึนมาใหม่ ดอู ยา่ งไรกพ็ ิสจู นไ์ ม่ได้ว่าใครร้องเรยี น
ผรู้ อ้ งเรยี นจะไดร้ บั การคมุ้ ครองตามระเบยี บอยา่ งทส่ี ดุ ครบั เพอื่ ใหส้ ทิ ธไิ ดอ้ ยา่ งสบายใจ มสี ว่ นรว่ มในการ
บริหารงานของทอ้ งถ่นิ เปน็ หูเปน็ ตาใหห้ น่วยงานของรฐั ตอ่ ไป

ทั้งน้ี หากมีข้อสงสัยในการปฏิบัติหรือการใช้สิทธิตามพระราช
บญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 สามารถตดิ ตอ่ สำ� นกั งาน
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก
รัฐมนตรี โทร. 0 2283 4678

วารสารราชทัณฑ์ 51

ตามมาเยือนถ่ินวังทอง

เรือนจำ� กลางพิษณุโลก

สวัสดีครับ ตามไปเยือนคราวน้ีขอน�ำท่านผู้อ่านไปเยี่ยมเยือน
พนี่ อ้ งราชทณั ฑข์ องพวกเราทางภาคเหนอื กนั นะครบั กองบรรณาธกิ าร
วารสารราชทัณฑ์ ได้มีโอกาสเข้าร่วมศึกษาดูงานกับคณะผู้เข้ารับ
การฝกึ อบรมหลกั สตู ร ขา้ ราชการราชทณั ฑบ์ รรจใุ หม่ รนุ่ ที่ 136 เมอ่ื วนั ท ่ี
24 พฤศจกิ ายน 2560 ซึ่งผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมของเราได้ฝึกอบรมท่ศี นู ย์
ฝกึ อบรมข้าราชการราชทณั ฑป์ ระจ�ำภาคเหนือ อำ� เภอเมอื งลำ� ปาง
จังหวัดล�ำปาง โดยคณะครูฝึกจากสถาบันพัฒนาข้าราชการ-
ราชทัณฑ์ ได้น�ำคณะผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าศึกษาดูงาน
เรือนจำ� ความม่ันคงสงู สดุ แบบพิเศษ 1 ใน 5 ของประเทศ
ประจ�ำภาคเหนือ ได้แก่ เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก ซึ่งทาง
คณะกองบรรณาธิการวารสารราชทัณฑ์ และครูฝึก
สถาบันพัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์ ได้รับเกียรติในการ
ต้อนรับจากท่านผู้บัญชาการเรือนจ�ำกลางพิษณุโลก
ท่านณรงค์ จุ้ยเส่ย และคณะเจ้าหน้าที่ของเรือนจ�ำกลาง
พิษณุโลก ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่น และได้มีโอกาสเข้า
สัมภาษณ์ท่านผู้บัญชาการเรือนจ�ำ โดยท่านได้เล่าเรื่องราว
ความเป็นมาที่น่าสนใจของเรือนจ�ำกลางพิษณุโลก และแนวทาง
การปฏบิ ัตงิ านในการควบคมุ นกั โทษแบบพิเศษให้พวกเราฟงั ครบั

52 วารสารราชทัณฑ์

เรือนจ�ำกลางพษิ ณโุ ลก เดมิ ชอ่ื เรียกว่า เรอื นจ�ำเขตพษิ ณโุ ลก

สรา้ งเมอื่ ปี พ.ศ. 2490 ตง้ั อยตู่ ำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื งพษิ ณโุ ลก จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เนอ่ื งจากสถานทต่ี ง้ั เรอื นจำ�
อยู่ติดกับชุมชนและพ้ืนที่คับแคบ จึงก่อสร้างเรือนจำ� แห่งใหม่ในพื้นที่อ�ำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก โดยเปิดท�ำการ
เมอ่ื วนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2508 และเปลยี่ นชอ่ื เรอื นจำ� เขตพษิ ณโุ ลก เปน็ เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลก เมอื่ วนั ท่ี 21 พฤษภาคม 2512
ระหวา่ งปี 2543 – 2546 กรมราชทณั ฑไ์ ดก้ ่อสรา้ งทณั ฑสถานบ�ำบัดพเิ ศษพษิ ณุโลก ดา้ นหลังเรือนจำ� กลางพษิ ณโุ ลก
เพื่อรองรับผู้ต้องขังคดียาเสพติด ต่อมาจ�ำนวนผู้ต้องขังที่เข้ารับการบ�ำบัดยาเสพติดมีจ�ำนวนน้อยลงจึงได้ยกเลิกไป
กรมราชทัณฑ์จึงได้ก�ำหนดใหเ้ ปน็ เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลกแทนพน้ื ทเี่ ดมิ ทงั้ นี้ เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลกเรมิ่ เปดิ ดำ� เนนิ การ
ตงั้ แตว่ นั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2547

มอี ำ� นาจหน้าที่

ควบคุมนกั โทษเดด็ ขาด กำ� หนดโทษตง้ั แต่ 15 ปี ถงึ โทษ
ประหารชีวิต และผู้ต้องขังท่ีมีพฤติการณ์ไม่น่าไว้วางใจท่ี
กรมราชทณั ฑ์ได้ส่ังยา้ ยมาควบคมุ เป็นเรือนจ�ำความมั่นคงสงู สุด
แบบพิเศษ 1 ใน 5 แห่ง ของกรมราชทัณฑ์

สถานท่ีต้งั / พน้ื ทอี่ าณาเขต

ปัจจุบันตั้งอยู่เลขท่ี 999 หมู่ 8 ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอ
วงั ทอง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เปน็ หนว่ ยงานบรหิ ารราชการสว่ นกลาง
พ้ืนท่ีภายในเรอื นจำ� 77 ไร่ 3 งาน 87 ตารางวา พ้ืนทีภ่ ายนอก
เรอื นจำ� 159 ไร่ 2 งาน 95 ตารางวา รวมมพี นื้ ทอ่ี าณาเขตทง้ั หมด
236 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา

วารสารราชทัณฑ์ 53

ระบบความม่นั คง

ก�ำแพงเรือนจ�ำสูง 7 เมตร เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
ยาว 1,331 เมตร ก�ำแพงก้ันแดนสูง 4 เมตร เป็นคอนกรีต
เสริมเหล็กยาว 1,433 เมตร รั้วตาข่ายสูง 4 เมตร
ยาว 2,171 เมตร เปน็ รวั้ กำ� แพงตาขา่ ยถกั รวั้ ตาขา่ ยสงู 3 เมตร
ยาว 852 เมตร เป็นร้ัวก�ำแพงตาข่ายถัก รั้วตาข่ายรอบนอก
สูง 2.50 เมตร ยาว 1,526 เมตร เป็นรั้วก�ำแพงตาข่ายถัก
เครื่องตรวจสอบอาวุธแบบมือถือ จ�ำนวน 5 เครื่อง
เครื่องตรวจสอบอาวุธแบบเดินผ่าน จ�ำนวน 5 เครื่อง
เครื่องเอกซเรย์ จ�ำนวน 1 เครื่อง / Body Scan จ�ำนวน
1 เครอื่ ง เครอื่ งกน้ั ถนน จำ� นวน 1 ชดุ ระบบเปดิ – ปดิ ประตไู ฟฟา้
จ�ำนวน 7 ประตู ระบบรั้วไฟฟ้าแรงสูง จ�ำนวน 19 โซน
ระบบสัญญาเตือนภัยรอบบริเวณ จ�ำนวน 12 โซน
ระบบตรวจความเคลื่อนไหว จ�ำนวน 26 โซน ระบบกล้อง
โทรทศั นว์ งจรปดิ จำ� นวน 1 ระบบ (กลอ้ ง CCTV จำ� นวน 294 ตวั )
กล้อง IP Camera ติดต้ังบริเวณอาคารเรือนนอน 116 ตัว
ระบบการขยายเสยี งรอบบรเิ วณ จำ� นวน 1 ระบบ ระบบไฟฟา้
ส�ำรอง จ�ำนวน 1 ระบบ ระบบวิทยุส่ือสาร จ�ำนวน 1 ระบบ
ระบบเยยี่ มญาติ เช่น มวี ิดโี อคอนเฟอเรนส์ ระบบบนั ทกึ เสยี ง
ดกั ฟงั ระบบตัดสัญญาณโทรศพั ท์มือถอื (ปปส. 16 ตน้ )

ลกั ษณะทางกายภาพ เรอื นจ�ำกลางพษิ ณุโลก

โครงสรา้ งภายในเรอื นจ�ำ
- ฝา่ ยรักษาการณ์
ควบคมุ ดแู ลงานประตเู รือนจำ� แนวรั้ว และกำ� แพงสงู โดยรอบเรอื นจ�ำ หอ้ งเยีย่ มญาติดา้ นใน
- ฝา่ ยสวสั ดิการผตู้ อ้ งขัง
งานร้านสงเคราะหผ์ ูต้ ้องขัง งานโรงปรุงอาหารสด และงานแดนสูทกรรม
- ฝา่ ยควบคุมกลาง ควบคมุ ดูแลงานสว่ นกลางระหวา่ งแดนต่างๆ ภายในเรือนจ�ำ
แดน 1 แดนเตรียมปล่อย กลุ่มพิเศษ แดนสีขาว
ควบคมุ ดูแลผูต้ ้องขังช้นั เยี่ยม ทีม่ ีการจ�ำคุกต่อไปไมเ่ กิน 25 ปี และผู้ต้องขงั สูงอายุ เปน็ แดนเตรยี ม
ความพร้อมก่อนปล่อย ผู้ต้องขังที่ออกช่วยงานตามฝ่ายต่างๆ ภายในเรือนจ�ำ รวมถึงผู้ต้องขังกองงาน
จา่ ยนอกท่ีออกท�ำงานนอกเรือนจ�ำ

54 วารสารราชทัณฑ์

แดน 2 แดนแรกรับและสถานพยาบาล
ประกอบด้วย สถานพยาบาลเรือนจ�ำ และเป็นแดนแรกรับผู้ต้องขังท่ีย้ายเข้ามาใหม่ เพ่ือการตรวจคัดกรอง
วัณโรค ประเมินสุขภาพจิตผู้ต้องขัง ตรวจร่างกายทั่วไป พร้อมจัดท�ำประวัติการรักษาผู้ต้องขัง และแดน 2 ยังเป็น
ท่ีท�ำการของฝ่ายจำ� แนกลกั ษณะของผู้ตอ้ งขัง
แดน 3 แดนผู้ตอ้ งขงั ทีม่ กี ำ� หนดโทษสูง ควบคมุ ดแู ลผตู้ อ้ งขังทัว่ ไป
แดน 4 แดนก่อสรา้ ง Super Maximum Security อย่ใู นระหว่างการก่อสรา้ งแดนความม่นั คงสูงสุด
แดน 5 แดนผ้ตู ้องขงั ทม่ี ีกำ� หนดโทษสูง ควบคุมดูแลผ้ตู ้องขงั ทว่ั ไป
แดน 6 แดนความมนั่ คงสงู ควบคมุ พเิ ศษ แดนความมนั่ คงสงู ควบคมุ ดแู ลผตู้ อ้ งขงั ทม่ี พี ฤตกิ ารณไ์ มน่ า่ ไวว้ างใจ
ผ้ตู ้องขงั รายส�ำคญั และผู้ตอ้ งขังต้องโทษประหารชีวิต
แดน 7 แดนการศกึ ษาและพัฒนาจิตใจ
แดน 8 แดนสทู กรรม (โรงเลี้ยง)
แดน 9 แดนฝึกวิชาชีพกองงานช่างไม้/จักสาน และเป็นสถานท่ีจัดประชุม/อบรม/จัดกิจกรรมต่างๆ
ของเรือนจ�ำ

วารสารราชทัณฑ์ 55

การดำ� เนินงานตามนโยบายกระทรวงยตุ ิธรรมและกรมราชทณั ฑ์

ท่านผู้บัญชาการได้บอกกับพวกเราว่าการท�ำงานของท่าน มีเป้าหมายการท�ำงานท่ีชัดเจนตรงไปตรงมา
ซ่ือสัตย์สุจริตในการปฏิบัติงาน เรือนจ�ำกลางพิษณุโลกได้ด�ำเนินงานตามนโยบาย 3ส. 7ก. และนโยบาย 5 ก้าวย่าง
แหง่ การเปลยี่ นแปลงราชทณั ฑข์ องอธบิ ดกี รมราชทณั ฑอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสอดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวงยตุ ธิ รรม
1. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและโทรศัพท์มือถือ ส่ิงของต้องห้ามให้หมดไปจากเรือนจ�ำ มีการ
ตรวจปัสสาวะผู้ต้องขังท่ีย้ายเข้าใหม่ทุกคน และการสุ่มตรวจปัสสาวะผู้ต้องขังทุกเดือน เพื่อป้องกันผู้ต้องขังลักลอบ
เสพยาเสพติด รวมถึงการใช้โทรศพั ทม์ ือถอื ค้ายาเสพติดในเรือนจ�ำ กำ� หนดมาตรการดงั น้ี
มาตรการจ่โู จมตรวจคน้ กรณีปกติ
โดยดำ� เนนิ การทกุ วนั วนั ละ 2 ครง้ั โดยไมก่ ำ� หนดสถานท่ี
แน่นอน ตรวจคน้ ทีน่ อนผตู้ ้องขัง ตรวจคน้ ตเู้ ก็บของ และอาคาร
สถานท่ีภายในแดนควบคุมผู้ต้องขัง เพื่อป้องกันการคาดเดา
ของผ้ตู อ้ งขงั และป้องกนั การซุกซ่อนสงิ่ ของตอ้ งห้าม
มาตรการจู่โจมตรวจคน้ กรณีพเิ ศษ
โดยประสานกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทที่ หาร ตำ� รวจ และหนว่ ยงาน
ปกครองในพ้ืนที่
มาตรการตรวจปัสสาวะผ้ตู อ้ งขงั
ด�ำเนินการตรวจปัสสาวะผู้ต้องขังเข้าใหม่ ผู้ต้องขังกลับจากศาลและโรงพยาบาลทุกคน รวมถึงการสุ่มตรวจ
ผตู้ อ้ งขงั ภายในเรอื นจำ� และผู้ต้องขังกองงานจา่ ยนอกทกุ สัปดาห์
มาตรการควบคุมบุคคล/ส่งิ ของ/ยานพาหนะ เข้า–ออก เรอื นจำ�
การตรวจค้นผตู้ ้องขงั เขา้ –ออก เรือนจำ� ทกุ คน โดยผ่านเครือ่ งตรวจร่างกายทกุ คน (Body Scan)
การตรวจคน้ ตัวเจ้าหน้าท่ี และบุคคลภายนอกอย่างละเอยี ด การเข้า–ออก ตอ้ งลงชอื่ เวลา ภารกิจ สถานท่ี
และผลการตรวจค้นทกุ ครงั้
การตรวจคน้ ส่งิ ของท่ีจะเข้าในเรอื นจ�ำ ตอ้ งผา่ นการตรวจด้วยเครอ่ื งเอกซเรย์
การตรวจค้นยานพาหนะ เข้า–ออก เรือนจ�ำทกุ คนั อยา่ งละเอียด
มาตรการการควบคมุ ผูต้ อ้ งขงั รายสำ� คัญ
การหาขา่ วในเรอื นจำ� การดักฟงั การสนทนาทางหอ้ งเย่ยี ม จ�ำนวน 488 คน
การจดั ท�ำขอ้ มลู ผู้ตอ้ งขังท่มี พี ฤตกิ ารณต์ ้องควบคุมเป็นพเิ ศษ ตามคำ� สง่ั กรมราชทณั ฑ์ จ�ำนวน 15 คน
การจัดท�ำข้อมลู ผตู้ อ้ งขังท่มี ีพฤตกิ ารณ์ไมน่ า่ ไว้วางใจ ภายในเขต คำ� สั่งกรมราชทัณฑ์ จำ� นวน 293 คน
การจัดท�ำขอ้ มูลผูต้ อ้ งขงั คดีความผิดเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ เข้าขา่ ยเป็นผูร้ ้ายรายสำ� คญั จ�ำนวน 193 คน
มาตรการปฏิบัตสิ �ำหรบั เจ้าหนา้ ท่ ี
การจัดท�ำบญั ชีเฝ้าระวงั เจา้ หน้าทีท่ ่มี ีพฤตกิ ารณ์เกย่ี วขอ้ งกับยาเสพติดและมือถือ
บรู ณาการกับหน่วยงานในพ้ืนท่ี ในการตรวจสอบและยึดทรัพยส์ นิ
ให้บ�ำเหนจ็ ความชอบและสนบั สนนุ ใหเ้ จ้าหน้าที่ทช่ี ว่ ยปราบปรามยาเสพติดมคี วามกา้ วหนา้ ในหนา้ ทร่ี าชการ
ผลการดำ� เนินงานตามมาตรการ นำ� ผลมาส่เู รอื นจำ� ปลอดโทรศพั ท์มอื ถอื และยาเสพติด เป็นศูนย์เปอร์เซ็นต์

56 วารสารราชทัณฑ์

2. การด�ำเนินงานตามนโยบายการจัดระเบียบเรือนจ�ำ “วินัยเข้ม สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
ทุกตารางนิ้ว” เรือนจ�ำกลางพิษณุโลก ได้พัฒนาปรับปรุงทางด้านกายภาพเพ่ือให้สอดคล้องกับด้านการควบคุม
และการพัฒนาผู้ต้องขัง จากสาเหตุท่ีอัตราส่วนของเจ้าหน้าท่ีมีจ�ำนวนน้อยต่อจ�ำนวนผู้ต้องขัง จึงได้จัดท�ำร้ัวกั้น
แบ่งเขตพื้นท่ีภายในหรือบล็อคโซน เพ่ือจ�ำกัดพื้นท่ีผู้ต้องขังให้อยู่ในสายตาเจ้าหน้าที่ตลอดเวลา มีการใช้เทคโนโลยี
กลอ้ งวงจรปดิ ทค่ี วบคมุ ทกุ พน้ื ทใ่ี นเรอื นจำ� การดแู ลดา้ นความสะอาดความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยทกุ จดุ การเสรมิ สรา้ ง
ด้านความมั่นคงรวมถึงการมีสถานท่ีเหมาะสม และเพียงพอต่อการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขัง สอดคล้องตามมาตรการ
การจัดระเบยี บเรอื นจำ� ของกรมราชทัณฑ์และนโยบายของกระทรวงยตุ ิธรรม
นอกจากน้ี เรือนจ�ำกลางพิษณุโลกได้ด�ำเนินการรีไซเคิลน�้ำทิ้งจากร่องระบายน�้ำ เพ่ือน�ำกลับมาใช้ให้เกิด
ประโยชนใ์ นการรดนำ�้ สนามหญา้ /ตน้ ไมภ้ ายในเรอื นจำ� และการคดั แยกขยะรไี ซเคลิ ตามนโยบายการกำ� กบั ดแู ลองคก์ ร
ทดี่ ขี องกรมราชทณั ฑ์ ในการสรา้ งเรอื นจำ� สเี ขยี ว การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มรอบเรอื นจำ� กำ� จดั สมั ภาระผตู้ อ้ งขงั ทไ่ี มจ่ ำ� เปน็
เพือ่ ป้องกันการซุกซอ่ นสง่ิ ของตอ้ งหา้ มและเสรมิ สร้างวนิ ยั ให้กบั ผตู้ อ้ งขัง
ดา้ นระเบยี บวนิ ยั และการพฒั นาผตู้ อ้ งขงั เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลก ไดฝ้ กึ อบรมระเบยี บวนิ ยั ผตู้ อ้ งขงั เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
ความรับผิดชอบและการพัฒนาผู้ต้องขัง โดยมีการฝึกอบรมระเบียบวินัยผู้ต้องขังทุกแดน การฝึกอบรมผู้ช่วยเหลือ
การจัดกิจกรรมสัมพันธ์ การฝกึ ท่ากายบริหารสบิ ท่าพญายม และการประกวดการแขง่ ขันสวนสนามของกรมราชทัณฑ์
ผลการด�ำเนินงานปรากฏว่าผู้ต้องขังมีระเบียบวินัยยิ่งขึ้น เพราะมีกิจกรรมตลอดทั้งวัน เป็นการปลูกฝังนิสัย
ความรับผิดชอบให้ผู้ตอ้ งขัง นอกจากนี้ เรือนจำ� กลางพษิ ณโุ ลก ยงั ได้ด�ำเนินการตามนโยบายการเสรมิ สรา้ งและพฒั นา
ธรรมาภบิ าลผปู้ ฏบิ ตั งิ าน การตอ่ ตา้ นคอรร์ ปั ชนั่ เชน่ การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการตรวจรบั อาหารสำ� หรบั จดั เลยี้ งผตู้ อ้ งขงั
เพอื่ สรา้ งความโปร่งใสภายในองค์กร ปลกู ฝังความซอื่ สัตยส์ ุจรติ และคา่ นิยมทีถ่ ูกตอ้ งใหก้ ับบุคลากรขององค์กร
3. การพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ปัญหาใหญ่ของกรมราชทัณฑ์ คือ ข่าวของผู้ต้องขังที่พ้นโทษออกไปแล้ว
กลบั ไปกระทำ� ผดิ ซำ�้ อกี เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลกไดต้ ระหนกั ถงึ ปญั หานที้ ตี่ อ้ งดำ� เนนิ การแกไ้ ข ดว้ ยการบรู ณาการรว่ มกนั
ของฝ่ายต่างๆ ภายในเรือนจ�ำ การปลูกฝังจิตส�ำนึก เพื่อให้เกิดการปรับเปล่ียนทัศนคติของผู้ต้องขัง และการพัฒนา
ทักษะอาชีพให้กับผู้ต้องขังท่ีสามารถออกไปประกอบอาชีพได้จริง โดยเริ่มจากการยกระดับการปฏิบัติงานของ
ฝา่ ยจำ� แนกลกั ษณะผ้ตู อ้ งขัง เพื่อการปฏิบัติดา้ นการอบรมพัฒนาได้อย่างถกู ตอ้ ง การอบรมแก้ไขฟ้ืนฟูความผิดตามคดี
ตามลกั ษณะภูมิหลงั และความตอ้ งการของผ้ตู อ้ งขงั ในการประกอบอาชีพสุจริตหลงั พน้ โทษ ดงั น ี้

วารสารราชทัณฑ์ 57

การพฒั นาจติ ใจดว้ ยหลกั สตู รสคั คสาสมาธิ ของหลวงพอ่ วริ ยิ งั ค์ เขา้ มาอบรมพฒั นาจติ ใจใหส้ วดมนต์
อบรมธรรมะ เพ่อื ขัดเกลาจิตให้รจู้ กั แยกแยะความดี ความช่วั ปล่อยวาง รู้เท่าทันความโลภ โกรธ หลง และโครงการ
เรอื นจำ� เรอื นธรรม ปลกู ฝงั ในเรอ่ื งของบาปบญุ และผลกรรมของการกระทำ� ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทไ่ี ดร้ บั ลว้ นมาจากการกระทำ�
ของตนทั้งสนิ้ ท�ำใหม้ คี วามสงบในจิตใจ มสี ติรู้จักยบั ยงั้ กอ่ นกระทำ� และสามารถใชห้ ลกั ธรรมในการด�ำเนินชวี ติ ตอ่ ไป
การปรับทัศนคติ ดว้ ยการจดั กิจกรรมลกู เสือ ชมุ ชนบ�ำบัด การสรา้ งความเข้มแข็งทางใจ ปฏบิ ัตกิ าร
จิตวิทยา ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวสัมพันธ์ จิตอาสา พัฒนาชุมชน เพื่อให้ผู้ต้องขังเกิดส�ำนึกรักชาติ
ครอบครัว และตนเอง มุ่งมั่นกลบั ตวั เปน็ คนดี
การสร้างอาชีพ ให้มีความรู้ พร้อมพัฒนาทักษะความเช่ียวชาญด้วยการฝึกอบรมวิชาชีพ ระยะสั้น
และระยะยาว เพอ่ื ให้ผตู้ ้องขงั มีเปา้ หมายในชีวติ กำ� หนดให้ผู้ต้องขงั หน่งึ รายตอ้ งผา่ นการอบรมฝึกวิชาชีพ 1 หลักสตู ร
และผา่ นการรับรองจากสถาบันพฒั นาฝมี อื แรงงานแห่งชาติ เพอ่ื ใหส้ งั คมมคี วามม่นั ใจในทักษะฝีมอื อาชีพของผูต้ อ้ งขงั
4. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ย
การจำ� แนกลกั ษณะผตู้ อ้ งขงั ดว้ ยการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั เปน็ รายบคุ คล (Sentence Plan)
โดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะแรก คือ การจ�ำแนกลักษณะผู้ต้องขังเพื่อการควบคุม ระยะท่ีสอง คือ การส�ำรวจ
ความต้องการทางอาชพี สภาพเศรษฐกจิ ความพรอ้ มของครอบครวั ของผู้ต้องขังและการเพ่มิ พนู ทกั ษะความช�ำนาญ
การจัดอบรมเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ตามแนวทางท่ีกรมราชทัณฑ์ก�ำหนด และจัดฝึกอบรม
หลกั สตู รระยะสนั้ และระยะยาว เชน่ อาชพี ชา่ งตดั ผม ชา่ งแกะสลกั ชา่ งไม้ ชา่ งกรอบรปู และการประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู
ต�ำแหน่งงานว่าง โดยนักสังคมสงเคราะห์สัมภาษณ์ข้อมูลผู้ต้องขังเชิงลึก ส�ำรวจความต้องการ สภาพความพร้อม
ของครอบครวั ทีอ่ ยอู่ าศยั และสง่ ต่อหน่วยงานสนับสนนุ ทนุ ประกอบอาชพี
5. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื การหางาน และการประกอบอาชพี หลงั พน้ โทษ (การสรา้ งการยอมรบั จากสงั คม)
“นำ� เสนอถงึ ความมงุ่ มน่ั ในการสรา้ งผลติ ผลคนด”ี เรอื นจำ� กลางพษิ ณโุ ลก ไดด้ ำ� เนนิ การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ยตวั
ผู้ต้องขังและการติดตามผลหลังจากผู้ต้องขังพ้นโทษไปแล้ว รวมถึง การศึกษาข้อมูลในเชิงลึกของผู้ต้องขัง ท่ีออกไป
กระทำ� ผิดซ้ำ� อกี เพือ่ น�ำกลับมาเปน็ แนวทางในการพฒั นาผู้ต้องขงั ต่อไป นอกจากนี้ เรอื นจำ� กลางพิษณโุ ลก อยู่ในช่วง
การด�ำเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพ่ือรณรงค์ให้บุคคลภายนอกไม่กระท�ำความผิด ด้วยการถ่ายทอดประสบการณ์
จากผ้ตู อ้ งขังโดยตรง “คนหวั ใจสีขาว”

58 วารสารราชทัณฑ์

การติดตามข้อมูลผู้พ้นโทษ โดยการประสานข้อมูลการส่งต่อข้อมูลรวมกับองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ (อปท.) และการตรวจสอบขอ้ มลู ผพู้ น้ โทษทก่ี ระทำ� ผดิ ซำ้� ในระบบ DXC และประสานขอรบั การสงเคราะห์
หลังพ้นโทษในพ้ืนท่ี โดยการติดตามการมีงานท�ำของผู้พ้นโทษ และผู้สมัครเข้าร่วมโครงการแบรนด์สัญลักษณ์คนดี
และผพู้ น้ โทษทไ่ี ดร้ บั การปล่อยตัวตามพระราชกฤษฎกี าพระราชทานอภัยโทษ ปี 2558 – 2560 ตามแผนการรองรับ
การชว่ ยเหลอื ผูไ้ ดร้ ับการปลอ่ ยตวั ตามพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภยั โทษ
การประสานหนว่ ยงานสนบั สนนุ การประกอบอาชพี ผผู้ า่ นการบำ� บดั ฟน้ื ฟยู าเสพตดิ ระบบตอ้ งโทษ
ตามโครงการพัฒนารูปแบบการคนื คนดีสูส่ งั คม (น�ำรอ่ งจังหวัดพิษณโุ ลก) ปงี บประมาณ 2559 จำ� นวน 1 ราย อาชีพ
ท�ำสวนมะม่วง (ต่อยอด) และปีงบประมาณ 2560 จ�ำนวน 3 ราย อาชีพช่างอะลูมิเนียม เลี้ยงปลา และเพาะเห็ด
โดยการบูรณาการหน่วยงานในการติดตามผู้ได้รับทุนประกอบอาชีพ เช่น ศอ.ปส.จ.พล.ปปส.ภาค 6 และหน่วยงาน
ในพน้ื ที่
การสงเคราะห์ทุนประกอบอาชีพ คืนคนดีสู่สังคม เพื่อให้ผู้พ้นโทษมีทุนในการประกอบอาชีพ
มีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถกลับไปด�ำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข น�ำผลมาสู่สังคมมีเจตคติท่ีดีและให้โอกาสผู้พ้นโทษ
ไดม้ ชี วี ติ ใหม่ โดยไมห่ วนกระทำ� ผดิ ซ้�ำอกี โดยการคดั เลอื กผพู้ น้ โทษไมเ่ กนิ 1 ปี และผตู้ อ้ งโทษเหลอื โทษไมเ่ กนิ 6 เดอื น
จำ� นวน 10 ราย
ทา้ ยนท้ี า่ นผบู้ ญั ชาการไดบ้ อกกบั เราวา่ เจา้ หนา้ ทที่ นี่ เี่ กง่ มาก ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 1 นวตั กรรม
การพฒั นางานราชทณั ฑ์ ประจำ� ปี 2560 ประเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ กระทะหงุ ขา้ วผตู้ อ้ งขงั ระบบหมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟา้ นอกจากน้ี
ก็มีกจิ กรรมใหผ้ ้ตู ้องขังแปลอักษรรูปหัวใจ ขบั เสภา ชมรมคนหวั ใจสขี าว เพื่อเปน็ การสรา้ งจติ ส�ำนกึ ทีด่ ีใหร้ จู้ กั กลบั ตัว
กลับใจพร้อมท่ีจะกลับตนเป็นคนดีและท�ำประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม และท่านผู้บัญชาการได้กล่าว
อย่างหนักแน่นถึงแนวทางการท�ำงานว่าจะด�ำเนินการตามนโยบายของกรมราชทัณฑ์ และจะพัฒนางานเรือนจ�ำ
ใหด้ ที ี่สดุ โดยจะเน้นเร่อื งการควบคมุ พัฒนาและปรับปรุงประสทิ ธิภาพเสริมความมนั่ คงของเรือนจ�ำต่อไป

วารสารราชทัณฑ์ 59

รวมตวั สรา้ งตน เพือ่ เป็น

“ผลิตผล คนดี”

นายสุวรรณ สวุ รรณทวี
เรือนจ�ำจังหวดั ปทุมธานี

การสรา้ งแบรนดส์ ญั ลกั ษณ์ “ผลติ ผล คนด”ี ของกรมราชทณั ฑ์

เป็นโครงการที่ดี ช่วยรับรองคุณภาพรับรองผลิตผลคนดี ให้สามารถน�ำ
ไปประกอบอาชีพได้ดีย่ิงข้ึน กรมราชทัณฑ์มุ่งเน้นการให้ความรู้ ฝึกอบรม
เพ่ิมทักษะ เพ่ิมความสามารถให้กับผู้ต้องขัง เพื่อให้มีโอกาสได้เข้าถึงงาน
ภายหลังจากการพน้ โทษกลบั ไปอยรู่ ว่ มกบั สังคมได้อย่างปกติสขุ

ฝา่ ยการศกึ ษาและพฒั นาจติ ใจ เรอื นจำ� จงั หวดั ปทมุ ธานี ประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ตู้ อ้ งขงั ทกี่ ำ� ลงั จะพน้ โทษจำ� นวนหนง่ึ
ไดร้ ว่ มกนั ทำ� โครงการ “รวมตัวสรา้ งตน เพื่อเปน็ ผลิตผล คนด”ี เป็นการนำ� แนวนโยบายกรมราชทณั ฑ์ มาด�ำเนินการ
เพื่อขยายผลต่อยอด เริ่มต้นให้ผู้ต้องขังท่ีก�ำลังจะพ้นโทษได้พัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์
ต่อการดำ� รงชวี ติ เรยี นรู้และฝกึ ฝนจนเกิดความช�ำนาญ เพอื่ เตรยี มนำ� ไปประกอบอาชีพในอนาคต
รวมตัวกนั เปน็ กลุม่ เชอื่ มต่อเป็นเครือข่ายเดียวกนั โดยอาศัยความเป็นเพอื่ นของผตู้ อ้ งขงั ทม่ี ีสถานการณช์ วี ิต
คล้ายคลงึ กนั เผชญิ ปัญหาเหมอื นกนั มาใช้ชีวิตอยใู่ นเรือนจำ� ด้วยกนั นานนบั ปี มคี วามรกั ใครส่ นิทสนม มีความผกู พัน
รกั สามคั คกี นั ชกั ชวนมารวมตวั กนั เปน็ กลมุ่ เพอื่ ใหม้ ศี กั ยภาพ มคี วามแขง็ แกรง่ ในการดำ� เนนิ งานมากขน้ึ สรา้ งเครอื ขา่ ย
ร่วมกันคิด ร่วมกันค้า ช่วยกันประกอบอาชีพ ช่วยเหลือ พึ่งพาซ่ึงกันและกัน ให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างม่ันคง
สรา้ งตนเปน็ “ผลติ ผล คนดี” ตามนโยบายของกรมราชทัณฑ์ โดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั คือ
1. สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ใหม้ พี ลงั รวมตวั สรา้ งตน เพอ่ื เปน็ ผลติ ผล คนดี ใหผ้ พู้ น้ โทษไมก่ ลบั ไปกระทำ� ผดิ ซำ�้ อกี
2. รวมตวั เปน็ เครอื ข่าย รว่ มมอื ร่วมใจ ใหค้ ำ� แนะน�ำ ช่วยเหลอื สนับสนุนซงึ่ กนั และกนั
3. จำ� หนา่ ยสนิ คา้ หรอื งานดา้ นบรกิ ารของสมาชกิ เครอื ขา่ ย เพอ่ื สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หก้ นั และกนั
ปัจจุบันผู้ต้องขังภายในเรือนจ�ำจังหวัดปทุมธานี มีจ�ำนวนประมาณ 2,000 คน และมีแนวโน้มจะมีจ�ำนวน
เพมิ่ มากขน้ึ อกี จากผตู้ อ้ งขงั ทง้ั หมด ผตู้ อ้ งขงั คดยี าเสพตดิ มจี ำ� นวนมากทสี่ ดุ และมผี กู้ ระทำ� ผดิ ซำ�้ ครงั้ ที่ 2-3 กลบั เขา้ มา
รบั โทษจำ� นวนมาก นบั วา่ เปน็ ปญั หาใหญ่ ทย่ี ากจะหาทางแกไ้ ขใหห้ มดไปในเวลาอนั รวดเรว็ ได้ ผพู้ น้ โทษออกไปสว่ นใหญ่
ไมอ่ ยากหวนกลบั มาเปน็ นกั โทษอกี แตเ่ นอื่ งจากสงั คมไมค่ อ่ ยยอมรบั หางานทำ� ไมไ่ ด้ ไมม่ ที นุ ไมม่ ชี อ่ งทางการประกอบ
อาชีพ ไม่มีเงินเพียงพอที่จะใช้จ่ายเล้ียงดูครอบครัวและตัวเอง จึงท�ำให้ผู้ต้องขังส่วนหนึ่ง ต้องกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ
สรา้ งปญั หาใหก้ บั ประเทศชาติ สังคม ชมุ ชน และครอบครัวเป็นอยา่ งย่งิ

60 วารสารราชทัณฑ์

ฝา่ ยการศึกษาและพฒั นาจติ ใจ ได้เล็งเห็นถึงปญั หาสำ� คญั น้ี จึงไดป้ ระชาสมั พันธใ์ หผ้ ู้ต้องขังทกี่ ำ� ลังจะพ้นโทษ
จำ� นวนหนง่ึ ไดเ้ รม่ิ ทำ� โครงการ “รวมตวั สรา้ งตน เพอื่ เปน็ ผลติ ผล คนด”ี นำ� เอาทกั ษะ ความรู้ ความสามารถในหลายๆ ดา้ น
ของผู้ต้องขังท่ีมีอยู่และผู้ต้องขังท่ีเรือนจ�ำอบรมให้ความรู้ มารวมตัวเป็นเครือข่าย ในรูปแบบเราไม่ทิ้งกัน ให้ความ
ร่วมมือช่วยเหลือ ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาซึ่งกันและกัน ช่วยกันซ้ือ ช่วยกันใช้ ช่วยกันขาย ช่วยกันสนับสนุน ส่งเสริม
ผลิตภณั ฑ์ของสมาชกิ ในกลุ่มและกลมุ่ อ่นื ๆ ที่สามารถกระทำ� ได้
จึงได้เตรียมการวางแผนเตรียมความพร้อมด�ำเนินการเบ้ืองต้น ก่อนน�ำไปด�ำเนินการจริงหลังพ้นโทษ เพื่อให้
ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย น�ำไปสู่การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้ผู้พ้นโทษออกไปได้มีความมั่นคง
ในการด�ำรงชีวิต ครอบครัวมีความสุข สังคมยอมรับที่กลับมาเป็นคนดี มีผู้คนรักใคร่ อยู่ในสังคมได้ดี ไม่กลับไป
กระทำ� ผดิ ซำ�้ อกี เปน็ การชว่ ยแกป้ ญั หา และเปน็ ชอ่ งทางในการดำ� เนนิ ชวี ติ ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ทพี่ น้ โทษออกไปไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก
ผตู้ อ้ งขงั ทตี่ อ้ งการเขา้ รว่ มโครงการจำ� นวนมาก เบอ้ื งตน้ มี 16 คน ไดใ้ หค้ วามคดิ เหน็ แนวคดิ ความตอ้ งการไว้ ดงั นี้

ไพฑูรย์ คดี พ.ร.บ.เช็ค
เดมิ ผลติ เฟอรน์ เิ จอร์ รบั ตกแตง่ ภายใน จำ� หนา่ ยขา้ วสารสนิ คา้ มวลชน
ต้องการเปิดศนู ย์จ�ำหนา่ ยสินคา้ ของโครงการ ทจ่ี ังหวดั ปทมุ ธานี
ตนประสงค์จะเปิดร้านค้าตัวอย่างในเขตจังหวัดปทุมธานี เพ่ือเป็น
ศนู ยก์ ลางการจำ� หนว่ ยสนิ คา้ ของสมาชกิ ในโครงการ และเครอื ขา่ ยอนื่ ๆ ดว้ ย
เปน็ ศนู ยต์ ดิ ตอ่ ประสานงาน ทพ่ี กั พงิ ชว่ั คราวใหค้ วามชว่ ยเหลอื เบอื้ งตน้
แก่สมาชิกท่ีพ้นโทษออกมาใหม่ ต้องการขยายการตลาดไปยังลูกค้า
กลุ่มร้านสหกรณ์ ร้านคา้ ร้านสวสั ดิการในหน่วยงานราชการ รฐั วิสาหกิจ มหาวิทยาลยั โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม
รา้ นอาหาร ห้างสรรพสนิ คา้ ซปุ เปอรม์ าเกต็ ตลาดนดั ยา่ นชมุ ชน และร้านคา้ ย่อยตามหมู่บ้านจัดสรร ร้านอาหาร อนื่ ๆ
ทว่ั ประเทศ โดยมฝี า่ ยการตลาดตดิ ตอ่ ขายกบั ลกู คา้ รายใหญโ่ ดยตรง สรา้ งหนว่ ยรถขายเคลอื่ นทเ่ี ขา้ ถงึ ชมุ ชน จดั โปรโมชนั่
การขายอื่นๆ เพื่อให้สินค้าของสมาชิกได้เข้าถึงผู้บริโภค เพ่ิมโอกาสให้ขายสินค้าได้มากขึ้น ซึ่งก็มีทุนเดิมอยู่แล้ว
ก่อนเขา้ เรอื นจำ�

บุญเยี่ยม คดียาเสพติด
รบั ออกแบบ-ผลติ เฟอรน์ ิเจอร์
ตอ้ งการเปดิ รา้ นขายสนิ คา้ ของโครงการทล่ี าดกระบงั กรงุ เทพมหานคร
มคี วามรใู้ นหลายดา้ น เคยเปน็ ผชู้ ว่ ยงานดา้ นเอกสาร และออกแบบตา่ งๆ
ในฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิตใจภายในเรือนจ�ำ เมื่อพ้นโทษออกไป
ตอ้ งการอยอู่ าศยั กบั พอ่ แมแ่ ละครอบครวั ทบี่ า้ นลาดกระบงั กรงุ เทพมหานคร
จึงต้องการท�ำงานออกแบบผลิตเฟอร์นิเจอร์ทางอินเตอร์เน็ตอยู่ท่ีบ้าน
เมื่อได้รับงานมาจึงจะออกควบคุมงานผลิตติดต้ังที่หน้างานเป็นครั้งคราว จึงเข้าร่วมโครงการ ช่วยกันประกอบอาชีพ
คอยช่วยเหลือกัน จึงต้องการเปิดร้านขายสินค้าของโครงการเพ่ือสร้างรายได้อีกทางหน่ึง ซ่ึงมีความสามารถ
ดา้ นการออกแบบเป็นทนุ เดิมอยแู่ ล้ว

วารสารราชทัณฑ์ 61

บดินทร์ คดชี ิงทรัพย์
รับออกแบบผลิตภณั ฑ์ ผลิตน�ำ้ สมุนไพรเพื่อสขุ ภาพ
ตอ้ งการเปิดร้านขายสินค้าของโครงการ ทีจ่ ังหวัดปทมุ ธานี

เมื่อพ้นโทษออกไป ตนต้องการท�ำงานด้านออกแบบเอกสาร
แคต็ ตาล็อกสินค้า ใบปลวิ พมิ พส์ ติก๊ เกอรฉ์ ลากสินคา้ รับออกแบบผลิต
เฟอร์นิเจอร์และอ่ืนๆ ให้กับเพ่ือนๆ สมาชิกในโครงการในราคากันเอง
ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตให้กับเพื่อนๆ ด้วย ต้องการผลิต

น้�ำสมุนไพรเพ่ือสุขภาพ เข้าร่วมจำ� หน่ายในโครงการ โดยรับซอื้ วตั ถุดิบจากเพ่อื นในโครงการ ต้องการเปดิ ร้านคา้ เล็กๆ
ดา้ นหนา้ เปน็ พน้ื ทข่ี ายสนิ คา้ ดา้ นหลงั แบง่ เป็นพนื้ ท่ีผลติ น้�ำสมนุ ไพร เวลาวา่ งรับออกแบบงานใหก้ ับเพอ่ื นในโครงการ
ซ่ึงมีความสามารถด้านการออกแบบท่ีได้เรยี นรู้จากเรือนจ�ำ

รังสรรค์ คดีร่วมฆา่
ต้องการผลิตน้�ำตาลทรายแดงธรรมชาติ น้�ำตาลสด ขนมหวาน
ต้องการเปดิ ร้านขายสินค้าของโครงการ ทจ่ี ังหวัดสงิ ห์บรุ ี

ตนกระท�ำผิดเพราะความใจร้อน ขาดสติ ไม่ยั้งคิดก่อนกระท�ำ
หากยอ้ นไดต้ นจะไมก่ ระทำ� ผดิ เลย กอ่ นตอ้ งโทษทำ� งานเปน็ พนกั งานบรษิ ทั
ผลิตน�้ำตาลทรายยี่ห้อดังแห่งหนึ่ง ซ่ึงวัตถุดิบที่โรงงานน้ีใช้ในการผลิต
น้�ำตาลก็คืออ้อย ตนจึงคิดว่าวัตถุดิบในการผลิตตนเองก็มีอยู่แล้ว

จึงต้องการผลิตน�้ำตาลทรายแดงธรรมชาติ ไม่ใช้สารฟอกสีในการผลิต ซ่ึงดีต่อสุขภาพของผู้บริโภค ส่วนหนึ่งจะผลิต
น้�ำตาลสดบรรจุขวดขาย ขนมหวานต่างๆ เพื่อน�ำสินค้าท่ีผลิตได้มาส่งให้เพื่อนๆ และต้องการรับสินค้าอื่นๆ
ของเพ่ือนในโครงการไปจ�ำหน่ายท่ีบ้านและชุมชนใกล้เคียง เพื่อเป็นรายได้เพ่ิมและได้ช่วยเหลือเพื่อนสมาชิกด้วย
ซง่ึ ทางบา้ นปลกู ออ้ ยเป็นทุนเดมิ อยู่แล้ว

ศภุ กร คดยี าเสพติด
ตอ้ งการปลกู พชื เศรษฐกจิ พอเพยี ง แปรรปู อาหาร ทจี่ งั หวดั นครนายก
ต้องการเปดิ รา้ นขายสนิ คา้ ของโครงการท่คี ลองส่ี จังหวดั ปทุมธานี

ในระหวา่ งทตี่ นเองยงั ตอ้ งรบั โทษอยู่ ตอ้ งการใหแ้ มป่ ลกู พชื ผกั สมนุ ไพร
ส่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารให้กับเพ่ือนในโครงการ หากพืชผัก
สมนุ ไพรทปี่ ลกู ลน้ ตลาด กต็ อ้ งการนำ� มาแปรรปู เปน็ อาหารสำ� เรจ็ รปู ตอ่ ไป
ต้องการให้แม่เปิดร้านขายสินค้าของโครงการท่ีบ้านแม่คลองส ่ี

จงั หวดั ปทมุ ธานี จะทำ� ใหไ้ ดม้ รี ายไดพ้ อเลยี้ งตวั เอง ตอ้ งการหาชอ่ งทางการประกอบอาชพี ใหแ้ มท่ ำ� กอ่ น เมอื่ ตนพน้ โทษ
ออกไปจะได้ช่วยแม่ท�ำงาน เป็นการตอบแทนพระคุณ ตนต้ังใจอย่างจริงจังว่า จะกลับตัวไปเป็นคนดีของคุณแม่ให้ได้
เพื่อความภูมิใจและตอบแทนพระคุณแม่ที่เลี้ยงดูเรามา และจะไม่ขอกลับไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดอีกโดยเด็ดขาด
ซง่ึ ทางบ้านมีการคา้ ขายเป็นทุนเดิมอย่แู ล้ว

62 วารสารราชทัณฑ์

วริ ัตน์ คดที �ำร้ายร่างกาย
ต้องการช่วยงานประชาสัมพันธ์ การตลาดสนิ ค้าของโครงการ
ตอ้ งการสีข้าวสารทีจ่ งั หวดั อุบลราชธานี และสง่ ขายร่วมกบั โครงการ
ตนมีอาชีพรับจ้างท่ัวไป รับจ้างติดตั้งลิฟต์ไฟฟ้า และเป็นคนชอบ
ร้องเพลง เลน่ ดนตรี ทำ� ใหเ้ ม่อื เข้ามารบั โทษในเรือนจ�ำ วิรัตนไ์ ดเ้ ข้ารว่ ม
เป็นนักดนตรีประจ�ำเรือนจ�ำ และเป็นท่ีรักของเพ่ือนๆ ในวงดนตรี
เมื่อพ้นโทษออกไป วิรัตน์มีความตั้งใจท่ีจะเข้าร่วมโครงการ เพ่ือเป็น
ทีมงานประชาสัมพันธ์ จดั โปรโมช่ัน ในการจดั จ�ำหนา่ ยสนิ ค้าของเพอื่ นๆ ในโครงการ ต้องการสีข้าวสารชนิดตา่ งๆ เชน่
ข้าวเหนียว กข.6 ข้าวหอมมะลิ มาขายส่งร่วมกับโครงการ และตนเองต้องการรับสินค้าของเพ่ือนๆ สมาชิกกลับไป
ใหญ้ าตพิ น่ี อ้ งขายทจี่ งั หวดั อบุ ลราชธานี เพอื่ ชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการขนสง่ ดว้ ย และมคี วามสามารถดา้ นการรอ้ งเพลง และ
ชอบในการวางแผนการตลาด

กิตตศิ กั ดิ์ คดีเสพยาเสพติด
ตอ้ งการสขี า้ วสารสง่ ขาย และเปิดร้านขายสินคา้ โครงการที่
จังหวดั ยโสธร
ก่อนต้องโทษมีอาชีพรับจ้างทั่วไป ติดเพื่อนเลยต้องพลาดหลงไป
เสพยาเสพติด ต้องการสีข้าวสารของตนเองและญาติพี่น้องมาขายร่วม
กับโครงการ ไม่ต้องการให้พ่อค้าคนกลางและโรงสีกดราคา จึงต้องการ
น�ำข้าวสารหอมมะลิ 105 ทุ่งกุลาร้องไห้ ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวกล้อง
ขา้ วเหนยี วกลำ�่ ขา้ วเหนยี ว กข.6 ขา้ วคณุ ภาพดี เขา้ มาจำ� หนา่ ยรว่ มในโครงการ และตอ้ งการนำ� สนิ คา้ อนื่ ๆ ของโครงการ
กลบั ไปเปดิ ร้านขาย ปลกี -ส่ง ท่บี า้ นดว้ ย

ประยงค์ คดียาเสพติด
ตอ้ งการสขี ้าวสาร ปลกู ถว่ั และพืชผักสง่ ขาย
ต้องการขายสนิ ค้าของโครงการ ทอ่ี ำ� เภอท่าตมู จงั หวัดสุรินทร์
เมอ่ื พน้ โทษออกไปตอ้ งการเขา้ รว่ มโครงการ เพอ่ื สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั
โดยน�ำข้าวสารของตนเองและญาติพี่น้องท่ีบ้านเกิดจังหวัดสุรินทร ์
สขี า้ วสารหอมมะลิ 105 ทงุ่ กลุ ารอ้ งไหม้ าสง่ ขายใหโ้ ครงการ เมอ่ื เกบ็ เกย่ี ว
ข้าวเสร็จต้องการปลูกถ่ัวและพืชผักชนิดอ่ืนๆ ด้วย ต้องการรับสินค้า
ของโครงการไปขาย ปลีก-ส่ง ที่บ้านอ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร ์
ตนต้องการหารายได้หลายทาง เพื่อให้เพียงพอในการใช้จ่ายของ
ครอบครัวในชีวิตประจ�ำวัน จึงไม่ต้องการหวนกลับไปยุ่งเกี่ยวกับ
ยาเสพติดอีก อยากมีชีวิตที่ดี มีความสุขอยู่กับครอบครัว ไม่ต้องการ
กลับมาตอ้ งโทษ ใหล้ �ำบากอยู่อย่างทกุ วนั น้ี

วารสารราชทัณฑ์ 63

สนุ ทร คดอี นาจาร
ทำ� เกษตรกรรม ตอ้ งการรบั จ้างผลติ เคร่ืองประดับ
ขายสินค้าของโครงการ ทจี่ ังหวดั อดุ รธานี
เม่ือพ้นโทษออกไปตนต้องการท่ีจะกลับไปช่วยงานด้านเกษตรกรรม
ที่บ้าน ปลูกมัน ข้าวโพด อ้อย พืชผักอ่ืนๆ เป็นวัตถุดิบในการแปรรูป
อาหารเข้าร่วมโครงการ ช่วงเวลาว่างจากงานเกษตรกรรม ตนต้องการ
รับงานผลิตเคร่ืองประดับเงินทองมาท�ำท่ีบ้าน เพราะตนได้รับการฝึก
ทักษะการผลติ ภายในเรือนจำ� มานาน จนมคี วามช�ำนาญพอทีจ่ ะรับงานรับจา้ งผลติ เองได้แลว้ จงึ อยากประกอบอาชีพ
ดา้ นนตี้ อ่ ไปดว้ ย และตอ้ งการนำ� สนิ คา้ ของโครงการไปขายทบ่ี า้ นจงั หวดั อดุ รธานี เพอื่ เปน็ การเพมิ่ รายไดเ้ ลยี้ งดคู รอบครวั
และไดช้ ่วยเหลือเพอ่ื นๆ อกี ทางหนึง่

ประมวล คดพี ยายามฆ่า
ตอ้ งการเปิดร้านขายสินคา้ ของโครงการ
ตอ้ งการผลิตอาหารแปรรูป
เมื่อพ้นโทษออกไป ประมวล ต้องการใช้ชีวิตอยู่กับลูกและภรรยา
อยา่ งใกลช้ ดิ ไมต่ อ้ งการหา่ งไกลกนั อกี ในระหวา่ งทตี่ นตอ้ งรบั โทษอยนู่ น้ั
ภรรยาต้องล�ำบากเลี้ยงลกู คนเดยี ว ตอ้ งประหยัดคา่ ใช้จ่ายแทบทกุ ด้าน
เพื่อให้เงินได้เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครอบครัว จึงต้องการเปิดร้าน
ขายสินค้าของเพื่อนๆ ในโครงการ และผลิตอาหารแปรรูป ที่ภรรยาชอบท�ำ ท�ำส่งขายร่วมกับโครงการด้วย เพื่อเพิ่ม
รายไดอ้ กี ทางหนึง่

คำ� ปน คดียาเสพติด
ช่างประกอบเฟอร์นเิ จอร์ ขนสง่ สนิ ค้า
ตอ้ งการเปดิ ร้านขายสนิ คา้ ที่จงั หวัดปทุมธานี
“ค�ำปน ชาลือ” บอกว่า ตนเป็นคนจังหวัดมุกดาหาร พาภรรยา
เข้ามาท�ำงานในกรุงเทพมหานคร ด้วยความจ�ำเป็นในการด�ำเนินชีวิต
ต้องการหารายได้มาให้เพียงพอกับรายจ่ายประจ�ำ จึงท�ำให้ตนหลงผิด
ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดประเภทกัญชา จนต้องมารับโทษ ท�ำให้ต้อง
ห่างไกลครอบครัว เม่ือพน้ โทษออกไปจงึ ต้องการกลับตวั กลบั ใจใหม่ ไมต่ ้องการกลับมายุ่งเกี่ยวกับยาเสพตดิ อกี ตนยัง
ไม่รู้ว่าจะหางานอะไรท�ำ ท�ำที่ไหน รายได้เท่าไหร่ การศึกษาก็ไม่มี ยังโชคดีที่เพื่อนชวนเข้าร่วมกลุ่ม จึงมองเห็น
ช่องทางการประกอบอาชีพ เป็นช่างประกอบเฟอร์นิเจอร์ ขับรถรับส่งสินค้าให้เพ่ือนๆ และต้องการเปิดร้านค้าเล็กๆ
เพ่ือขายสินค้าของเพื่อนๆ ในโครงการ ให้ภรรยาและลูกอีก 3 คน ได้ขาย จะได้มาอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข
ตนจะตั้งใจทำ� งานนี้ให้ดีทส่ี ุด เพื่อความสขุ ของทุกคนในครอบครวั

64 วารสารราชทัณฑ์

วรเวช คดลี กั ทรัพย์
ต้องการช่วยงานด้านโฆษณาประชาสมั พนั ธ์โครงการ
ตอ้ งการผลติ ขนมคกุ กี้ นำ้� ผลไมป้ น่ั และไอศกรมี ทพี่ ทั ยา จงั หวดั ชลบรุ ี
ตนเกิดจากชีวิตครอบครัวที่ไม่พร้อมในหลายๆ ด้าน ท�ำให้ตนไม่ได ้
เรียนหนังสือ ต้องด้ินรนเอาชีวิตให้รอดจากภัยในสังคมตั้งแต่เด็ก
เหมอื นเดก็ เรร่ อ่ น ทกี่ นิ ทน่ี อนแทบไมม่ ี จงึ ทำ� ใหต้ นเองตอ้ งพลาดหลงไป
กระท�ำความผิด เมื่อพ้นโทษออกไป มีความสนใจที่จะผลิตขนมคุกก้ี
และนำ้� ผลไมป้ น่ั จงึ สมคั รเขา้ รว่ มโครงการเพอ่ื หวงั จะมอี าชพี และการงานทม่ี นั่ คง มรี ายไดเ้ ลย้ี งตวั เองและครอบครวั ได ้
จะไมห่ วนกลบั ไปกระทำ� ผดิ ซำ้� อกี และยงั ตอ้ งการนำ� ผลติ ผลของเพอื่ นๆ เขา้ รว่ มโครงการ มาจำ� หนา่ ยทรี่ า้ นของตวั เองดว้ ย
เพอื่ เป็นการหารายได้และช่วยเพอ่ื นอกี ชอ่ งทางหนึง่

เอกพล คดียาเสพตดิ
ตอ้ งการเป็นชา่ งตดิ ตงั้ กระจก และอะลมู เิ นยี ม
ตอ้ งการเปิดร้านขายสินค้าของโครงการ ทจี่ งั หวดั ปทุมธานี
ปจั จบุ นั เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ในคดยี าเสพตดิ และมคี วามตงั้ ใจวา่ เมอ่ื ตนพน้ โทษ
ออกไป จะน�ำความรู้ความสามารถที่มีในด้านการติดต้ังกระจกและ
อะลมู เิ นยี มไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ จงึ สมคั รเขา้ รว่ มโครงการ และตอ้ งการ
รวมตวั กบั เพอื่ นๆ เพอ่ื ตอ้ งการมงี าน และอาชพี ทม่ี นั่ คง มรี ายไดเ้ ลยี้ งตน
และครอบครัว การรวมตัวกันเป็นสิ่งทดี่ ีมาก ทจ่ี ะไมท่ �ำให้ตนเองหวนกลบั ไปกระท�ำผดิ ซ้ำ� อกี ในอนาคต

ประยรู คดยี าเสพติด
ปลูกพชื พัก และสมนุ ไพร
ตอ้ งการท�ำเกษตรทบี่ า้ นจงั หวดั บงึ กาฬ
เมอื่ พน้ โทษออกไป ประยรู มคี วามตง้ั ใจวา่ จะกลบั ไปชว่ ยภรรยากรดี ยาง
ที่บา้ น และจะปลูกพืชผัก เพือ่ สง่ ขายให้กับเพื่อนๆ ในโครงการ เพ่ือใช้
เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า และตนยังต้องการที่จะมีร้านค้าเล็กๆ
เป็นของตนเอง เพ่ือเป็นการช่วยภรรยาหารายได้เลี้ยงดูครอบครัว
ตนจึงสมคั รเข้าร่วมโครงการ เพ่ือเปน็ อกี ชอ่ งทางหนึ่งท่จี ะทำ� ให้ตนเอง
ห่างไกลจากยาเสพติด และไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ้�ำอีก ซ่ึงตนม ี
ความสามารถทางด้านเกษตร และการปลูกพืชผัก และสมุนไพร
เป็นทนุ เดิมอยู่แลว้

วารสารราชทัณฑ์ 65

มอนสนั คดียาเสพตดิ
ต้องการเปน็ ช่างท�ำเหล็กดดั และชา่ งสกรีน ตัดสตก๊ิ เกอร์
ตอ้ งการรบั งานผลติ ปา้ ยโฆษณาและรถเขน็ จำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในโครงการ
“มอนสนั ” ต้งั ใจแนว่ แน่ว่าตนอยากจะมงี าน มอี าชีพทมี่ นั่ คง มีรายได้
ท่ีเพียงพอต่อความเป็นอยู่ ตนจึงสมัครเข้าร่วมโครงการ “รวมตัว
สร้างตน เพื่อเป็น ผลิตผล คนดี” และจะน�ำความรู้ความสามารถ
เกย่ี วกบั งานชา่ งเหลก็ ดดั งานทำ� ปา้ ยโฆษณารถเขน็ ขายสนิ คา้ งานดา้ น
การพ่นสี และเชื่อมโลหะ ตนจึงหวังว่าโครงการน้ี จะท�ำให้ตนไม่หวน
กลับไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่กลับไปกระท�ำผิดซ้�ำอีก ด้วยอาชีพ
และการงานท่ีม่ันคง และเพ่ือนๆ สมาชิกท่ีคอยช่วยเหลือกันและกัน
และทำ� ใหต้ นมรี ายไดท้ ี่เพยี งพอในการใชจ้ า่ ย ซึ่งตนไดม้ ีความสามารถ
ดา้ นการทำ� เหล็กดัด และการพน่ สเี ปน็ ทนุ เดมิ อยแู่ ลว้

สุริยา คดวี ่งิ ราวทรัพย์
ต้องการรบั งานสกรีนเสอื้ ท�ำปา้ ยโฆษณาสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์
ของโครงการ
ตอ้ งการขายสินคา้ ของโครงการทีห่ น้ารา้ นเขตจงั หวดั ปทุมธานี
ด้วยความรู้ ความสามารถท่ีมีในด้านการสกรีนเส้ือผ้า และศิลปะ
“สรุ ยิ า” จงึ มคี วามสนใจ ทจี่ ะนำ� ความรู้ ความสามารถทมี่ ี ไปประกอบ
อาชีพเพื่อหารายได้เลี้ยงดูครอบครัว จึงสมัครเข้าร่วมโครงการ
“รวมตัวสร้างตน เพ่ือเป็น ผลิตผล คนดี” ด้วยความมุ่งม่ันอย่าง
แนว่ แนแ่ ละจรงิ จงั วา่ จะไมค่ ดิ หวนกลบั มากระทำ� ผดิ ซำ้� อกี ตนตอ้ งการ
มหี นา้ ทที่ ม่ี น่ั คง รายไดท้ ดี่ ี เพยี งพอตอ่ การดำ� รงชวี ติ หากตนเปดิ กจิ การ
ท�ำงานคนเดียวโดยไม่มีกลุ่มท่ีคอยช่วยเหลือ ช่วยหางานสกรีนเสื้อ
ให้ด้วย จะไม่มีงานผลิตอย่างต่อเนื่อง อาจจะท�ำให้เกิดรายได้ไม ่
เพียงพอ การประกอบอาชีพ โดยมีเพื่อนๆ คอยช่วยเหลือกันและกัน
แบบนจ้ี งึ เป็นสิง่ ทดี่ ีมาก ซึ่งตนได้มคี วามสามารถดา้ นการสกรีนเส้อื ผ้า
ตัดสตกิ๊ เกอร์ และเขียนป้ายต่างๆ เปน็ ทุนเดมิ อยแู่ ลว้

แผนการดำ� เนนิ งานระยะแรก ผพู้ น้ โทษออกไปจำ� นวนหนง่ึ ประสงคจ์ ะรว่ มกนั เปดิ รา้ นคา้ ในเขตจงั หวดั ปทมุ ธานี
เพ่อื เป็นศนู ย์กลางในการจดั จำ� หนา่ ยสนิ คา้ ศูนยก์ ารตดิ ตอ่ ประสานงาน พบปะแสดงความคดิ เห็น เปน็ ร้านคา้ ตวั อยา่ ง
จ�ำหน่ายสินค้าของเพื่อนสมาชิกร่วมโครงการ สินค้าอดีตผู้ต้องขังเครือข่ายอ่ืนๆ ท่ัวประเทศ สินค้าของกรมราชทัณฑ์
สินคา้ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ประชาชนทัว่ ไปผลิตเอง โดยแยกกลมุ่ สินคา้ งานด้านบรกิ าร และการดำ� เนนิ การไวด้ ังนี้ คอื

66 วารสารราชทัณฑ์

1. สนิ คา้ ดา้ นบรโิ ภค เชน่ ขา้ วสาร อาหารแหง้ อาหารแปรรปู นำ้� พรกิ ขนมเคก้ ขนมปงั ขนมไทย ผลไมแ้ ปรรปู
น้�ำผลไม้ น�ำ้ ดืม่ สมุนไพร น้�ำด่มื

2. สนิ ค้าด้านอุปโภค เชน่ ของใช้ในครวั เรอื น ของใช้ในชีวิตประจำ� วัน เสือ้ ผา้ เคร่ืองนงุ่ หม่ อน่ื ๆ
3. สินค้าดา้ นอื่นๆ โดยใช้แค๊ตตาล็อกหรือตัวอยา่ งสนิ คา้ ในการขาย เชน่ เฟอรน์ เิ จอร์ ตกแตง่ ภายใน กระจก

อะลมู ิเนยี ม งานสกรีนเส้อื ผา้ งานป้ายโฆษณา งานออกแบบ รบั พิมพ์ฉลากสินคา้ อน่ื ๆ
4. ประสานงานด้านบริการ เพ่ือรับงานด้านบริการให้สมาชิกที่มีความสามารถเฉพาะทาง เช่น

ช่างล้างแอร์บ้าน ช่างไฟฟ้า ช่างประปา ช่างเช่ือม ช่างต่อเติม ช่างตัดเย็บเสื้อผ้า อื่นๆ
5. เป็นศูนย์พักพิงช่ัวคราว พบปะแลกเปล่ียนความคิดเห็น ให้ความช่วยเหลือและแนะน�ำเบื้องต้น ส�ำหรับ

สมาชกิ เข้าร่วมโครงการ สมาชิกเครือข่ายอ่ืนๆ
เป้าหมายการด�ำเนินการ กลุ่มผู้ต้องขังท่ีก�ำลังจะพ้นโทษออกไปจะร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมทุนกันเปิดร้านค้า
จุดจำ� หนา่ ยสินคา้ แผงขายสนิ คา้ ใหก้ บั สมาชิกภายในกลุม่ ใหไ้ ดม้ ีการคา้ เป็นของตวั เองใหไ้ ด้มากที่สุดเรว็ ทสี่ ดุ มอี ะไร
เท่าไหร่จะเร่ิมไปก่อน ค่อยๆ เร่ิม ค่อยๆ ท�ำ แข็งแกร่งแล้วเราค่อยขยาย ต้ังใจจะขยายไปทั่วประเทศให้ได้มากที่สุด
เรว็ ท่สี ดุ งบการเงนิ ท่จี ะใชใ้ นการด�ำเนนิ การนำ� มาจากญาติ พน่ี อ้ ง หรือมลู นธิ ิอื่นๆ ทใี่ หค้ วามช่วยเหลอื “เริ่มท�ำวันนี้
ที่ไม่พร้อม ดีกว่ารอวันพร้อมแล้วค่อยเร่ิมท�ำ” ฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ เรือนจ�ำจังหวัดปทุมธานี ยินด ี
ประสานงานในการขอรับการสนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพไปยังมูลนิธิส่งเสริมพลเมืองดี มูลนิธิพิบูลสงเคราะห์
ของกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานอ่ืนๆ เพ่ือให้ผู้พ้นโทษออกไปได้มีโอกาส ได้รับเงินทุนสนับสนุน
ตามความประสงคใ์ ห้ไดม้ ากท่สี ุด
ประเทศไทยมีอดตี ผู้ต้องขังท่ีพ้นโทษออกไปแลว้ จำ� นวนมาก เม่ือนบั รวมครอบครวั เครือญาติพีน่ ้องอีก คาดว่า
จะมจี ำ� นวนหลายสบิ ลา้ นคน หากทกุ คนหนั มาชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ กนั และกนั ชว่ ยกนั ชกั ชวนพน่ี อ้ งประชาชนทวั่ ประเทศ
ให้มาช่วยกันซื้อ ช่วยกันใช้ ช่วยกันขายสินค้าของกันและกัน นับเป็นกลุ่มผู้มีก�ำลังซื้อขนาดใหญ่มาก สามารถท่ีจะ
ช่วยให้อดตี ผตู้ ้องขงั มอี าชีพ มรี ายได้ ด�ำรงชวี ติ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมั่นคง แต่หากตา่ งคนตา่ งไป
ซื้อสินค้า สนับสนุนสินค้าหรือบริการของนายทุนขนาดใหญ่ นายทุนต่างชาติ
ในห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อชื่อดัง ก็เหมือนกับคนไทยเราเอาเงิน
ทห่ี าได้ ไปใหน้ ายทนุ คา้ กำ� ไร ขนเงนิ ไปตา่ งประเทศ เงนิ ไทยกจ็ ะรวั่ ไหล
ออกนอกประเทศอยา่ งไม่มีวนั ส้นิ สุด
สำ� หรบั กลมุ่ “รวมตวั สรา้ งตน เพอ่ื เปน็ ผลติ ผล คนด”ี
จงึ อยากขอใหห้ นว่ ยงานรฐั รฐั วสิ าหกจิ เอกชน ชมุ ชน สงั คม ทอ้ งถน่ิ
และประชาชนชาวไทยทุกคน ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน
ส่งเสริม อุดหนุนสินค้าหรืองานด้านบริการของพวกเขาด้วย
เขาอยากกลับตัวสร้างตนเป็นคนดี หนีให้พ้นจากภัยยาเสพติด
ไม่คิดกลับไปกระท�ำผิดซ้�ำอีก อยากกลับมาเป็นคนดีของสังคม
อยู่ร่วมกับสังคมด้วยดีตลอดไป เพราะโดยความเป็นจริงแล้ว ไม่มีใคร
อยากต้องโทษในเรอื นจำ�

วารสารราชทัณฑ์ 67

การพัฒนาผ้ตู ้องขังดว้ ย

“พลวตั ร 8 ประการ”

เรือนจำ� พิเศษมีนบรุ ี

นายแพทย์สมภพ สังคตุ แก้ว
ผบู้ ัญชาการเรอื นจ�ำพิเศษมนี บรุ ี

Health is complete physical, mental, social and spiritual well being
พลวตั ร 8 ประการ คนื คนดสี ูส่ ังคม

1. พฒั นาจติ ใจ
2. สร้างวินยั ดว้ ยลูกเสอื
3. หน้าท่พี ลเมือง
4. เรยี นรู้ตอ่ เน่ือง
5. ทกั ษะวิชาชพี
6. คณุ ภาพชวี ติ
7. บรกิ ารสงั คม
8. ปรับทัศนคติ

กอ่ นทจ่ี ะตอบถามวา่ พลวตั ร 8 ประการคืออะไรและจะใช้ได้กบั ผูต้ ้องขงั ไหมขอแนะน�ำบริบทของเรอื นจำ�
เรอื นจำ� พิเศษมีนบุรเี ปน็ เรือนจ�ำเกา่ แก่ (กอ่ ตั้งเมอ่ื ปี พ.ศ. 2474) มพี น้ื ทที่ งั้ หมด 50 ไร่ 2 งาน 88 ตารางวา
พื้นทภี่ ายใน 24 ไร่ 2 งาน 88 ตารางวา พ้นื ท่ภี ายนอก 26 ไร่ โดยมภี ารกจิ หลกั 2 ประการ คือ ภารกจิ ดา้ นการควบคมุ
โดยการควบคุมผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีและผู้ต้องขังเด็ดขาดที่มีก�ำหนดโทษจ�ำคุกไม่เกิน 15 ปี และภารกิจ
ดา้ นการพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ผตู้ อ้ งขงั จงึ ไดพ้ ฒั นาระบบการควบคมุ และพฒั นาพฤตนิ สิ ยั ของผตู้ อ้ งขงั มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งตง้ั แต่
แรกรบั เขา้ มาจนกระทง่ั ไดร้ บั การปลอ่ ยตวั พน้ โทษกลบั สสู่ งั คม เพอ่ื ใหท้ นั กบั สภาพสงั คมในปจั จบุ นั ทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลง
และสามารถด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งข้ึน อันจะน�ำไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ
“การคนื คนดี สสู่ งั คม”
เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรคี วบคุมดูแลผู้ต้องขงั โดยเฉลยี่ ประมาณ 5,000 คน (ชาย 4,300 คน และหญิง 700 คน)
ส่วนใหญ่เป็นความผิดเก่ียวกับยาเสพติดถงึ รอ้ ยละ 77 ซง่ึ มีกระบวนการพฒั นาผู้ต้องขงั ท่เี ป็นไปตามมาตรฐานสากล
และนโยบายของกรมราชทัณฑ์ แบง่ ออกเป็น 4 กระบวนการ ไดแ้ ก่ 1) แรกรับ 2) การพัฒนาพฤตนิ ิสัย 3) การเตรยี ม
ความพร้อมกอ่ นปล่อย และ 4) การสงเคราะห์หลังพน้ โทษ ดังนี้
68 วารสารราชทัณฑ์

1. แรกรับ

เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรีได้ด�ำเนินการแยกการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีและผู้ต้องขังเด็ดขาด
ออกจากกัน โดยแยกแดนการควบคมุ ผ้ตู อ้ งขังระหวา่ งการพิจารณาคดชี าย ตั้งแตว่ นั ที่ 29 เมษายน 2559 เปน็ ต้นมา
สว่ นผตู้ อ้ งขงั หญงิ มพี นื้ ทค่ี วบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี (Block Zone) จนไดเ้ ปน็ เรอื นจำ� ตน้ แบบในการแยกสว่ น
ปฏิบัติของกลุ่มผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดีและผู้ต้องขังเด็ดขาด โดยบูรณาการความร่วมมือหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่ เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักวิชาการ ในปี 2560 จึงได้เร่ิมน�ำ R2R
(การพฒั นางานประจำ� สงู่ านวจิ ยั : Routine to Research) เขา้ มาใชใ้ นเรอื นจำ� เปน็ ครงั้ แรกในรปู แบบการวจิ ยั และ
พฒั นา (Research and Development: R&D) รว่ มกบั รศ.ดร.มานพ คณะโต ผอู้ ำ� นวยการเครอื ขา่ ยพฒั นาวชิ าการ
และขอ้ มลู สารเสพตดิ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เพอ่ื พฒั นา Model “การบรหิ ารจดั การผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคด”ี
ดังนี้

12
3

วารสารราชทัณฑ์ 69

แดนแรกรับ
1) เป็นการรับตัวผู้ต้องขัง โดยจะเริ่มต้ังแต่ศาลจังหวัดมีนบุรีมีค�ำสั่งให้บุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่ากระท�ำความผิด
และฝากใหเ้ รอื นจำ� ควบคมุ ตวั หรอื ใหค้ วบคมุ ไวภ้ ายหลงั จากมคี ำ� พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ้ ำ� คกุ จะสง่ ตวั เขา้ มาภายในเรอื นจำ�
ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหมท่ กุ คนจะเขา้ สสู่ ถานแรกรบั ทที่ างเรอื นจำ� จดั ไวเ้ ปน็ เอกเทศ และจะไดร้ บั การตรวจรา่ งกายจากเจา้ หนา้ ที่
พยาบาลของเรอื นจำ� และทมี เจา้ หนา้ ทจ่ี ะได้ Classification ในเบอื้ งตน้ (เชน่ กลมุ่ คดคี วามมน่ั คง หรอื อาจเปน็ อนั ตราย
ต่อสังคม หรอื กล่มุ ทตี่ ้องเฝา้ ระวังเปน็ พิเศษ เปน็ ตน้ ) รวมทัง้ จดั ท�ำประวตั ิ จดั ใหอ้ าบนำ้� รบั ประทานอาหาร และชี้แจง
ท�ำความเข้าใจการใช้ชีวิตภายในเรือนจ�ำเบื้องต้น และให้พักผ่อนหลับนอน กิจกรรมในวันแรกท่ีใช้ชีวิตอยู่ในเรือนจ�ำ
จะเป็นการดูแลหรือท�ำความเข้าใจเพียงเล็กๆ น้อยๆ เนื่องจากผู้ต้องขังเข้าใหม่ยังมีจิตใจท่ีว้าวุ่นและสับสนเพราะยัง
ท�ำใจไม่ได้กับการที่ตอ้ งมาถกู จ�ำกัดเสรภี าพ
2) เปน็ การปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ใหม่ โดยผตู้ อ้ งขงั ใหมจ่ ะตอ้ งดำ� เนนิ ชวี ติ อยภู่ ายในสถานแรกรบั อยา่ งนอ้ ย 15 วนั
แต่ไมเ่ กนิ 1 เดอื น เพ่ือใหผ้ ูต้ อ้ งขงั ปรับสภาพจิตใจใหย้ อมรับกับปัญหาที่เกดิ ข้นึ กับตนเอง กิจกรรมทน่ี ำ� มาใชใ้ นสถาน
แรกรับน้ีจะเป็นกิจกรรมสร้างระเบียบวินัย การชี้แจงท�ำความเข้าใจในการใช้ชีวิตภายในเรือนจ�ำเพ่ือให้คลายกังวล
และท่ีส�ำคัญจะได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลประวัติส่วนตัว ประวัติทางด้านสังคม ประวัติการกระท�ำผิดของผู้ต้องขัง
อย่างละเอียดเพ่ือน�ำมาเป็นข้อมูลในการควบคุมและแก้ไข พัฒนา รวมทั้ง ให้การอบรมในหลักสูตรปฐมนิเทศ และ
แนะนำ� หลกั การของระบบหมวดหมขู่ องลกู เสอื เพอ่ื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งพจิ ารณาคดไี ดเ้ ขา้ ใจในเบอื้ งตน้ พรอ้ มทง้ั ใหท้ อ่ ง
คา่ นยิ มหลกั คนไทย 12 ประการ เปน็ ประจำ� ทกุ วนั เพอ่ื ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั จำ� ไดข้ นึ้ ใจ เนน้ ยำ�้ การปรบั ทศั นคตใิ หเ้ ปน็ พลเมอื งทด่ี ี
3) เมื่อผู้ต้องขังใช้ชีวิตอยู่ในสถานแรกรับประมาณ 1 เดือน ซึ่งจะได้ข้อมูลเบ้ืองต้นและผู้ต้องขังสามารถ
ปรับตัวให้ยอมรับกับปัญหาที่เผชิญอยู่ จะได้จ�ำแนกลักษณะผู้ต้องขังเข้าสู่ “แดนการควบคุมผู้ต้องขังระหว่าง
การพิจารณาคดี” เฉพาะผู้ต้องขังที่เข้าระบบของเรือนจ�ำเป็นครั้งแรกเท่าน้ัน ซ่ึงถือว่ายังเป็นผู้บริสุทธ์ิแต่ผู้ต้องขังท ี่
กระทำ� ผดิ และเคยเข้ามาตอ้ งโทษจะถูกจ�ำแนกลักษณะผตู้ ้องขงั เพอื่ การควบคุมแยกออกไป

แดนการควบคุมผู้ต้องขังระหว่าง
การพจิ ารณาคดี (แดน 10)
เมอื่ ผา่ นแดนแรกรบั จะถกู สง่ ไปยงั สถานที่
เตรยี มความพรอ้ ม ผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดี
เพื่อให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ที่ผ่านการจ�ำแนกลักษณะ
ผู ้ ต ้ อ ง ขั ง แ ล ้ ว ไ ด ้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น
ในการปรับตัว ประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน และ
กิจกรรมทางเลอื ก รว่ มกับหนว่ ยงานภาคใี นพนื้ ที่
เช่น สภาทนายความจังหวัดมีนบุรี ศูนย์บริการ
สาธารณสขุ 43 มนี บุรี เปน็ ตน้

70 วารสารราชทัณฑ์

จากผลการวจิ ยั และพฒั นา (R&D) การบรหิ ารจดั การผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพจิ ารณาคดใี นขา้ งตน้ ทำ� ใหส้ ามารถ
สรุปแนวทางการแกไ้ ขปัญหาหลกั หรือความวิตกกงั วลของผตู้ อ้ งขงั ระหวา่ งการพิจารณาคดี ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น คอื
ด้านคดี ดา้ นครอบครวั และดา้ นตนเอง ดังน้ี

ปญั หา แนวทางการแกไ้ ข
1) ดา้ นคดี การให้ความรู้ทางด้านกฎหมาย ให้ค�ำปรึกษาจากทนายความ จากเครือข่าย
ในพื้นที่ ส�ำนกั งานอัยการพเิ ศษฝา่ ยคดีอาญา 12 มีนบุรี สภาทนายความจังหวัด
มีนบุรี รวมท้ังเจ้าหน้าที่ฝ่ายทัณฑปฏิบัติจะเข้ามาให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สทิ ธหิ นา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบ เปน็ ต้น

2) ดา้ นครอบครวั มกี ารจดั กจิ กรรมครอบครวั สมั พนั ธ์ (พธิ มี อบตวั ) โดยใหญ้ าตเิ ขา้ มาภายในเรอื นจำ�
เพื่อพบปะพูดคุยกับผู้ต้องขังระหว่างการพิจารณาคดี เพ่ือคลายความเครียด
ความวิตกกังวลและได้วางแผนการด�ำเนินชีวิต รวมทั้งให้ค�ำปรึกษาในระหว่างที่
สมาชกิ ของครอบครัวตอ้ งโทษ

3) ด้านตนเอง โดยเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี เข้ามาให้ความรู้ด้านสุขภาพ
(ความเครยี ดและการปรบั ตัว) โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ยาเสพติดและวิธีการคลายเครียด
ร่วมกับเจ้าหน้าที่ทีมสหวิชาชีพ (เช่น ฝ่ายพยาบาล ฝ่ายสังคมสงเคราะห์
ฝ่ายการศึกษา เป็นต้น) ตลอดจนการจัดกิจกรรมด้านการสันทนาการ
การเล่นกีฬา การแสดงดนตรี งานศิลปะการจัดมุมข้อมูลข่าวสารต่างๆ รวมถึง
การสรา้ งระเบยี บวนิ ยั ในการอยรู่ ว่ มกนั โดยนำ� วธิ กี ารของลกู เสอื เปน็ แนวทางดแู ล
ซ่ึงกันและกัน พี่ปกครองน้อง เพ่ือนช่วยเพื่อน ปลูกฝังจิตส�ำนึกหน้าที่พลเมือง
ศลี ธรรม และให้ท่องคา่ นิยมหลกั คนไทย 12 ประการ



ทง้ั นี้ ผตู้ อ้ งขงั จะอยภู่ ายในแดนการควบคมุ ระหวา่ งการพจิ ารณาคดจี นกวา่ จะมคี ำ� พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใน 2 กรณี คอื

1) ไม่มีความผิดพ้นจากสภาพผู้ต้องขังออกไปด�ำเนินชีวิตภายนอกเรือนจ�ำซ่ึงกรณีน้ีถือว่า เป็นผู้บริสุทธ ์ิ
อย่างแท้จริง ทั้งในเร่ืองคดีความและการใช้ชีวิตอยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีภายในเรือนจ�ำที่ได้รับการดูแล
ท้ังสภาพร่างกายและจิตใจการหล่อหลอมระเบียบวินัย การเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ความรักความสามัคคีของการอยู่
ร่วมกันในสังคม และท่ีส�ำคัญจะไม่ได้รับการถ่ายทอดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์จากผู้ต้องขังเก่าที่อยู่ภายในเรือนจ�ำ
มาเป็นเวลานาน

2) ศาลมีค�ำพิพากษาให้มีความผิดและมีค�ำส่ังให้ลงโทษจ�ำคุก จะต้องด�ำเนินชีวิตภายในเรือนจ�ำต่อไป
ตามกำ� หนดโทษ โดยจะไดม้ กี ารจำ� แนกลกั ษณะผตู้ อ้ งขงั เพอื่ วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 2 ประการ คอื เพอ่ื การควบคมุ และเพอ่ื
การพัฒนาพฤตินิสัย ซ่ึงจะแยกการควบคุมผู้ต้องขังออกไปตามแดนเฉพาะคดีคือแดนผู้ต้องขังคดียาเสพติด
และแดนผตู้ อ้ งขังคดที ว่ั ไป

วารสารราชทัณฑ์ 71

2. การพัฒนาพฤตินสิ ัยผูต้ ้องขัง

มงุ่ เนน้ การพฒั นาผตู้ อ้ งขงั ใหม้ สี ขุ ภาพทสี่ มบรู ณต์ ามนยิ ามขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ทร่ี ะบวุ า่ “health
is complete physical, mental, social and Spiritual well being” หมายถึง สุขภาวะทสี่ มบูรณท์ างกาย
ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ เพ่ือให้สามารถคืนจิตวิญญาณได้อย่างแท้จริง หรือการปรับเปล่ียนทัศนคติ
ของผู้ต้องขังและเสริมสร้างจิตใจให้มีความเข้มแข็ง สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างถูกต้องและสามารถปรับตัว
ให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อมในปจั จุบนั ที่มีการเปลีย่ นแปลงดว้ ยกระบวนการพลวัตร 8 ประการ ซง่ึ แต่ละดา้ นจะประสาน
สอดคลอ้ งกัน เพอ่ื พัฒนาให้ผู้ตอ้ งขังสามารถเดินไปข้างหน้าไดอ้ ย่างมนั่ คงแลว้ จะไมถ่ อยหลงั กลับมากระทำ� ผดิ อกี
กระบวนการเรม่ิ จากการเตรยี มความพรอ้ มตามหลกั สตู รปฐมนเิ ทศนกั โทษเดด็ ขาดทเ่ี ขา้ ใหม่ และเขา้ สหู่ ลกั สตู ร
การจัดโปรแกรมการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังทั่วไปและตามลักษณะแห่งคดีที่กรมราชทัณฑ์ก�ำหนด ซึ่งกระบวนการพัฒนา
ผูต้ อ้ งขงั ด้วยพลวัตร 8 ประการ มีรายละเอยี ดดังน้ี
1) การพฒั นาจติ ใจ ไดม้ กี ารอบรมผตู้ อ้ งขงั ตามหลกั ศาสนา ไมว่ า่ จะเปน็ ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ อสิ ลาม โดยเฉพาะ
การฝึกอบรมหลักสูตร “สัคคสาสมาธิ” ตั้งแต่ปี 2558 มีผู้ต้องขังชายหญิงผ่านการอบรมแล้ว 5 รุ่น รวม 3,500 คน
รวมทง้ั ยงั ไดจ้ ดั ตงั้ ชมรม TO BE NUMBER ONE เพอ่ื จดั กจิ กรรมทสี่ รา้ งสรรคใ์ นการสรา้ งจติ สำ� นกึ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เหน็ คณุ คา่
ในตนเอง และรณรงค์ปอ้ งกนั ยาเสพติดในเรือนจ�ำ
2) การสรา้ งวนิ ยั ดว้ ยกระบวนการลกู เสอื สบื เนอ่ื งจากกระบวนการลกู เสอื ในเรอื นจำ� ของประเทศไทยเรมิ่ ขนึ้
ครั้งแรกที่ทัณฑสถานวยั หนุ่มมีนบรุ ี ในปี 2505 สมัยนายอาภา ภมรบตุ ร โดยการน�ำเอาแบบอย่างมาจากการไปดงู าน
ท่ีทัณฑสถานวัยหนุ่มอินซอนในประเทศเกาหลี และได้มีการน�ำระบบลูกเสือมาใช้ในเรือนจ�ำจนประสบความส�ำเร็จ
จึงถือได้ว่ากิจการลูกเสือราชทัณฑ์ไทยถือก�ำเนิดข้ึนที่เรือนจ�ำพิเศษมีนบุรี และกรมราชทัณฑ์ได้น�ำมาเป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนาผตู้ อ้ งขัง ภายใต้แนวคิด “การคืนคนดีมคี ุณค่าสูส่ ังคม ด้วยกระบวนการลูกเสือ” ตัวอย่างเชน่

72 วารสารราชทัณฑ์

- การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ต้องขังเสพยาเสพติด ในหลักสูตรวิวัฒน์พลเมืองราชทัณฑ์ด้วยกระบวนการ
ลูกเสอื (ลูกเสอื วิวฒั นเ์ พื่อพลังแผ่นดิน) ในปี 2560 รุ่นท่ี 1 จำ� นวน 300 คน เมื่อวนั ท่ี 27 มนี าคม - 16 มิถนุ ายน 2560
เพือ่ พัฒนาดา้ นร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และทักษะความรูท้ ี่จ�ำเปน็ เพ่ือนำ� ไปปรบั ใช้ในการด�ำเนนิ ชีวิต
- การนำ� ระบบและวธิ กี ารลกู เสอื มาใชใ้ นการควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั โดยการจดั หมวดหมใู่ หผ้ ตู้ อ้ งขงั ดแู ลกนั เอง
ภายในกลมุ่ ยอ่ ยๆ นอกจากนี้ ยงั ไดน้ ำ� ระบบและวธิ กี ารลกู เสอื มาใชใ้ นการควบคมุ ซงึ่ ระบบและวธิ กี ารของลกู เสอื จะเนน้
ในเรอ่ื งของความรกั ความสามคั คี เปน็ หลกั โดยการจดั หมวดหมใู่ หผ้ ตู้ อ้ งขงั ดแู ลกนั เองภายในกลมุ่ ยอ่ ยๆ กลมุ่ ละ 10 คน
โดยสับเปล่ียนกันเป็นผู้น�ำและมีการจดบันทึกพฤติกรรมของแต่ละคนภายในกลุ่มทุกวัน ซ่ึงเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
จะเปน็ ผตู้ ดิ ตามใหค้ ำ� แนะนำ� และตรวจสอบตลอดเวลาเพอื่ นำ� ขอ้ มลู ไปเปน็ ประโยชนก์ ารเลอ่ื นชนั้ การพฒั นาพฤตนิ สิ ยั
มีการแก้ไขพัฒนาเป็นรายบุคคลตามข้อมูลของผู้ต้องขัง และเป็นการสร้างความรัก ความสามัคคีให้เกิดแก่หมู่คณะ
ของผตู้ อ้ งขงั เอง เปน็ การชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู กนั เปน็ การดแู ลซงึ่ กนั และกนั โดยมเี จา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ อกี ชนั้ หนง่ึ
จากการน�ำวิธีการและกระบวนการลูกเสือมาใช้ท�ำให้การก่อเรื่องทะเลาะวิวาท การชกต่อย การกระท�ำผิดวินัย
ของผตู้ ้องขังลดน้อยลง ส่งผลดตี อ่ การควบคมุ อยา่ งมาก
3) การปลกู ฝังหน้าทีพ่ ลเมอื ง โดยสอดแทรกความร้แู ละตระหนักถึงความสำ� คญั ของหน้าทพ่ี ลเมอื งท่ดี เี ขา้ ไป
ในกิจกรรมการพัฒนาจิตใจและการศึกษา เพ่ือให้ผู้ต้องขังเข้าใจและประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม
มคี วามรับผดิ ชอบต่อหนา้ ทข่ี องตนเองและปฏิบตั ิตนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เคารพสทิ ธขิ องผู้อนื่ ไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผู้อน่ื
4) การเรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื ง โดยจัดการศึกษาให้ผู้ตอ้ งขงั ตั้งแต่ระดับผู้ไม่รหู้ นังสือไปจนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี
การอบรมและฝึกวิชาชีพได้ร่วมกับสถาบันการศึกษาลงนามความร่วมมือกับวิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเท่ียว
กรุงเทพวิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภิเษก และมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช

5) ทักษะวิชาชีพ โดยการฝึกทักษะอาชีพ
ตามความถนัดและความสนใจ รวมทั้งสอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของตลาด รวมถงึ การวางแผนธรุ กจิ ทสี่ ามารถ
น�ำไปใชไ้ ด้จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำวัน ตลอดจนการสร้างรายได้
ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ขณะทอ่ี ยใู่ นเรอื นจำ� เพอื่ ใหม้ รี ายไดแ้ ละทนุ
ในการประกอบอาชพี เมือ่ พ้นโทษไปแลว้ ตวั อย่างเชน่
- กลุ่มที่มีความสามารถทางด้านศิลปะ
แต่เอาไปใชใ้ นทางที่ผิดในการสกั ลวดลายทีผ่ วิ หนงั ซึ่งผดิ
กฎระเบยี บของเรอื นจำ� จงึ ไดด้ งึ ศกั ยภาพกลบั มาใชใ้ นทาง
ท่ีสร้างสรรค์และเพ่ิมมูลค่า โดยการสอนช่างประดับมุก
ชา่ งลงรักปิดทอง
- กลุ่มท่ีมีความสนใจเกี่ยวกับการประกอบ
อาหาร โดยได้อบรมการทำ� อาหาร ขนม รวมถึง การเพ่ิม
มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการฝึก โดยเปิดร้านกาแฟ
และการผลิตชุดอาหารว่าง (Snack box) และการผลิต
น�้ำด่ืม “วังมัจฉา” ออกจ�ำหน่าย ซ่ึงหน่วยงานราชการ
ไดม้ กี ารสงั่ เขา้ มาเปน็ ระยะๆ เพอ่ื การจดั เลย้ี งในโอกาสตา่ งๆ

วารสารราชทัณฑ์ 73

- กลุ่มท่ีมีความสนใจด้านคอมพิวเตอร์ โดยได้รับการอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับการท�ำสต๊ิกเกอร์ใน
แอปพลิเคชั่นไลน์ จนสามารถผลติ สตกิ๊ เกอร์ไลนอ์ อกมาขายได้ส�ำเรจ็ ในชื่อวา่ “แกง๊ ค์กำ� แพงสงู ”
- กลุ่มท่ีสนใจอาชีพค้าขาย ได้ด�ำเนินโครงการฝึกวิชาชีพการท�ำธุรกิจขนาดเล็ก การจ�ำหน่ายเน้ือสุกร
รว่ มมอื กบั ซพี เี อฟ ซง่ึ จะไดร้ บั การอบรมทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กระบวนการบรหิ ารจดั การแบบมอื อาชพี
หลงั จากอบรมจะไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการ และไดเ้ ปดิ ขายขา้ วเหนยี วหมวู งั มจั ฉาของรา้ นสวสั ดกิ ารเรอื นจำ�
ทัง้ น้ี จากการจัดตั้งกองงานซักผ้าห่ม และเคร่ืองแต่งกายผตู้ ้องขัง นอกจากจะเปน็ การประหยดั งบประมาณ
การสิ้นเปลืองน�้ำประปาแล้วทางเรือนจ�ำเห็นว่าเพ่ือให้ได้ประโยชน์มากย่ิงขึ้น จึงได้มีการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังจัดท�ำ
น�้ำยาซักผ้า นอกจากผู้ต้องขังจะได้มีความรู้ทางด้านวิชาชีพติดตัว ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการฝึกวิชาชีพยังน�ำมาใช้
ให้เกิดประโยชน์เปน็ การประหยดั งบประมาณไดอ้ ีกส่วนหน่ึง
6) คุณภาพชีวิต โดยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ท่ีเรือนจ�ำจัดข้ึนให้ผู้ต้องขัง
เพอ่ื ใหส้ ามารถปรบั ตวั และดำ� รงชวี ติ รว่ มในสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมทง้ั มคี วามสมบรู ณท์ ง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม
และการคืนจติ วิญญาณให้กลับตวั กลบั ใจมาเป็นคนดีของสังคม
7) บริการสังคม โดยให้ผู้ต้องขังได้มีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือแก่สังคม เช่น การลอกท่อระบาย
เพอื่ ปอ้ งกนั นำ้� ทว่ ม การทำ� ความสะอาดสถานทส่ี าธารณะ หรอื การตกแตง่ สถานทตี่ า่ งๆ ตามทห่ี นว่ ยงานในพนื้ ทร่ี อ้ งขอ
8) การปรบั ทัศนคติ โดยสอดแทรกในกจิ วตั รประจำ� วนั เชน่ การสำ� นกึ ในหนา้ ทพ่ี ลเมอื งดี และกจิ กรรมตา่ งๆ
ทีเ่ รอื นจ�ำจัดให้กับผตู้ ้องขัง เพื่อน�ำไปสูก่ ารปรบั ทัศนคติท่เี รมิ่ ต้นใหม่ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวอย่างเชน่

74 วารสารราชทัณฑ์

- การจัดตั้งคณะนักร้องประสานเสียง สืบเนื่องจากการจัดต้ังคณะนักร้องประสานเสียงเพ่ือรับเสด็จ
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมือ่ คราวเสด็จเปดิ “ห้องสมดุ พรอ้ มปัญญา” เรือนจ�ำพเิ ศษมีนบรุ ี
เมื่อวันที่ 7 ธนั วาคม 2559 ซ่ึงในคร้งั นน้ั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ ได้ทรงชน่ื ชมและทรงให้กำ� ลังใจกบั คณะนักร้อง
ประสานเสียงและทรงใหห้ มน่ั ฝกึ ซ้อม เรือนจ�ำจึงได้สนองพระมหากรุณาธิคณุ ฝกึ ฝนพัฒนาคณะนักรอ้ งประสานเสียง
สืบต่อมา และได้รับการยอมรับจากหน่วยงานและบุคคลภายนอก ได้รับเชิญให้ไปท�ำการแสดงยังหน่วยงานภายนอก
บ่อยคร้ัง เช่น พิธีเปิดงานนิทรรศการผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ 2560 และงานแถลงข่าว 100 วัน เปล่ียนความโทมนัส
เปน็ พลงั  ณ ลานวคิ ทอรพ่ี อ้ ยส์ จดั โดย สำ� นกั กองทนุ สนบั สนนุ เสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) รวมทง้ั ยงั ไดป้ ระสานทมี งานจติ อาสา
เพอ่ื เขา้ บันทกึ ภาพและเสยี ง เพื่อเผยแพรใ่ นสื่อโซเชียลอกี ด้วย
ประโยชน์ท่ีผู้ต้องขังได้รับนอกจากจะสอนทักษะทางด้านดนตรีแล้วยังให้เรียนรู้จากเนื้อหาของบทเพลง
โดยเฉพาะบทเพลงพระราชนพิ นธ์ รวมทง้ั ยงั เพม่ิ เรอ่ื งการสรา้ งพลงั (Empowerment) เพอื่ ใหเ้ กดิ การรคู้ ณุ คา่ ในตนเอง
(Self esteem) และการปรบั เปลย่ี นทศั นคตใิ หย้ อมรบั วา่ “ตนเองเคยกระทำ� ผดิ และสามารถกลบั ตวั เปน็ คนดขี องสงั คมได้
โดยเร่ิมจากการให้โอกาสตัวเอง” จนท�ำให้ผู้ต้องขังชาย-หญิง กล้าเปิดเผยใบหน้าต่อสื่อสาธารณะ เพ่ือเป็นกำ� ลงั ใจ
ใหท้ กุ คนกลา้ ยอมรบั ความผดิ พลาดแลว้ เรมิ่ ตน้ ใหมด่ ว้ ยชยั ชนะอนั จะนำ� ไปสกู่ ารปรบั เปลย่ี นทศั นคตขิ องผตู้ อ้ งขงั คนอื่นๆ
และผพู้ น้ โทษ รวมทงั้ สงั คมเพอ่ื ใหเ้ กดิ การยอมรบั ผพู้ น้ โทษ (ดนตรสี ามารถพฒั นาผตู้ อ้ งขงั ไดจ้ รงิ หรอื ไม่ จะไดน้ ำ� เสนอ
ในครง้ั ตอ่ ไป)

3. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นปลอ่ ย

เริ่มจากการจ�ำแนกลักษณะผู้ต้องขังและจัดอบรมในหลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย รวมทั้ง ยังได ้
ลงนามความรว่ มมอื กบั บรษิ ทั จดั หางานขยนั ขนั แขง็ จำ� กดั ในการคดั กรองผตู้ อ้ งขงั ชาย-หญงิ ทใี่ กลพ้ น้ โทษไดเ้ ขา้ ทำ� งาน
และรับผู้พน้ โทษเข้าทำ� งานต่อไป

4. การสงเคราะหห์ ลังพ้นโทษ

เรอื นจำ� พเิ ศษมนี บรุ ี ไดจ้ า้ งผพู้ น้ โทษเขา้ ทำ� งานโครงการคนื คนดี ในปี 2560 จำ� นวน 3 คน และใหก้ ารสงเคราะห์
หลังปล่อยพ้นโทษ โดยได้ก่อตั้งร้านจ�ำหน่ายสินค้าขึ้นภายนอกเรือนจ�ำเพื่อการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์การฝึกวิชาชีพของ
ผตู้ อ้ งขงั และไดจ้ ดั ทำ� เวบ็ ไซตก์ ารจำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑฝ์ มี อื ผตู้ อ้ งขงั และทส่ี ำ� คญั เรอื นจำ� ไดร้ บั เปน็ ตวั กลางในการจำ� หนา่ ย
สินค้าท่ีเป็นฝีมือของผู้ต้องขังที่พ้นโทษ เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพอิสระให้ผู้พ้นโทษสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคม
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง อันจะนำ� ไปสู่การคืนคนดสี ่สู ังคมอย่างแท้จรงิ

วารสารราชทัณฑ์ 75

คกุ ไทย ในอดตี

เรอื นจำ� จงั หวดั ระนอง
กองบรรณาธกิ ารวารสารราชทณั ฑ์

เรือนจ�ำเก่าอีกแห่งหน่ึงของประเทศ ได้แก่ เรือนจ�ำจังหวัดระนอง
ตั้งอยู่เลขท่ี 349 ถนนเรืองราษฎร์ ต�ำบลเขานิเวศน์ อ�ำเภอเมืองระนอง
จงั หวัดระนอง มพี นื้ ท่ที ั้งหมด จำ� นวน 22 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา พ้ืนที่ภายใน
จ�ำนวน 5 ไร่ 25 ตารางวา พื้นที่ภายนอก จ�ำนวน 17 ไร่ 2 งาน มีอาคาร
ทท่ี ำ� การเรอื นจำ� ซงึ่ กอ่ สรา้ งตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2517 มลี กั ษณะเปน็ อาคารคอนกรตี
2 ช้ัน กอ่ อิฐ ฉาบปูน (กวา้ ง 5 เมตร ยาว 18 เมตร) มีขอ้ มลู ความเปน็ มา
ทีน่ า่ สนใจ ซง่ึ ทางเรือนจำ� จงั หวัดระนองได้เรียบเรียงไว้ ดงั นี้

76 วารสารราชทัณฑ์

เรือนจ�ำจังหวัดระนอง ได้เริ่มก่อต้ังมาต้ังแต่ พ.ศ. 2433 ต้ังอยู่ในส่วนหนึ่ง “นิเวศน์คีรี” ห่างจากพระท่ีนั่ง
“รตั นรงั สรรค”์ ไมเ่ กนิ 2 กโิ ลเมตร ตามหลกั ฐานอา้ งองิ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์
ไทยพระองค์แรกที่เสด็จจังหวัดระนอง เม่ือ ร.ศ. 109 วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2433 โดยทรงบันทึกเหตุการณ์ด้วย
พระองคเ์ องไวอ้ ยา่ งละเอยี ด ซง่ึ จงั หวดั ระนอง โดย นายพร อดุ มพงษ์ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ระนอง ไดข้ ออญั เชญิ ขอ้ ความ
บางตอนลงเผยแพร่ไว้ในหนังสือ “ระนอง 25 ฉลอง ร.ศ. 200” ซ่ึงบันทึกเหตุการณ์เสด็จฯ ระหว่างวันที่ 22 – 27
เมษายน พ.ศ. 2433 เหตกุ ารณ์เฉพาะวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2433 ปรากฏดังน้ี
วันที่ 25 เวลาเช้าไปทบี่ า้ นใหม่พระยาระนอง ผา่ นหน้า “โรงราง” หรอื ตะราง ทำ� เปน็ ตึกหลงั คาสงั กะสแี บบ
คุกท่ีปีนังดูเรียบร้อยใหญ่โตดีมาก แต่ยังไม่แล้วเสร็จ บ้านพระยาระนองเองก่อก�ำแพง รอบสูงสักสิบศอกกว้างใหญ่
เหน็ จะสกั สามเสน้ เศษสเ่ี สน้ แตไ่ มห่ นั หนา้ ออกถนน ดว้ ยซนิ แสวา่ หนั หนา้ เขา้ ขา้ งเขาจงึ จะดี ทบ่ี นหลงั ประตทู ำ� เปน็ เรอื น
หลังโตๆ ขึ้นไปอยู่ในหอรบก�ำแพงเว้นช่องปืนกรุแค่อิฐเบาๆ ไว้ด้วย กลัวเจ๊กท่ีเคยคุกคามขึ้นครั้งก่อนเมื่อมีเหตุการณ ์
กจ็ ะกระทงุ้ ออกเปน็ ชอ่ งปนื ทกี่ ลางบา้ นทำ� ตกึ หลงั ใหญโ่ ตมาก แตต่ วั ไมไ่ ดข้ นึ้ อยู่ เปน็ แตท่ ร่ี บั แขกและคนไปมาใหอ้ าศยั
ตัวเองอยู่ในเรือนจากเตี้ยๆ เบียดชิดกันแน่นไปทั้งครอบครัว ญาติพ่ีน้อง รวมอยู่แห่งเดียวกันท้ังสิ้น มีโรงไว้เก็บสินค้า
ปลกู รมิ กำ� แพงยดื ยาวในบา้ นนนั้ กท็ ำ� ไรป่ ลกู มนั ปหี นงึ่ ไดถ้ งึ พนั เหรยี ญ เปน็ อยา่ งคนหากนิ แท้ ออกจากบา้ นพระยาระนอง
ไปสวน ซ่ึงเป็นที่หากินด้วยทดลองพืชพันธุ์ไม้ต่างๆ ด้วย ที่กว้างใหญ่ปลูกต้นจันทร์และกาแฟ ส้มโอ ปัตเตเวีย
มะพรา้ วดกุ ู และพริกไทยๆ นัน้ ไดอ้ อกจำ� หนา่ ยปหี นงึ่ ถึงสามสบิ หาบแล้ว เวลาบ่ายวนั น้ไี ม่ไดไ้ ปแหง่ ใด ดว้ ยเป็นเวลา
ครม้ึ ฝนหนอ่ ยหน่งึ ก็ฝนตก

วารสารราชทัณฑ์ 77

พระยาระนองขอให้ตั้งช่ือพลับพลาน้ีเป็นพระท่ีน่ัง
ด้วยเขาจะรักษาไว้เป็นท่ีถือน้�ำพระพิพัฒน์สัตยาและขอให ้
ตั้งชื่อถนนด้วย จึงได้ให้ช่ือพระที่นั่งว่า “รัตนรังสรรค์” เพื่อ
จะได้แปลกล้�ำๆ พอมีช่ือผู้ท�ำเป็นที่ยินดี ภูเขาท่ีเป็นที่ท�ำวัง
ให้ชื่อว่า “นิเวศน์คีรี” พระราชนิพนธ์คร้ังน้ันท�ำให้มองเห็น
สภาพของเมืองระนองในอดีต แม้กระทั่งการสร้างเรือนจ�ำ
ในเวลา 100 ปที ผ่ี ่านมา
ตึกหลังคาสังกะสีที่ทรงพระราชนิพนธ์ถึง สร้างด้วย
อิฐเผาก่อเรียงแล้วโบกปูน เป็นตึกสองชั้น ส่วนหน้าเป็นมุข
ย่นื ออกมามเี สาใหญ่ซ่งึ ก่อดว้ ยอิฐ 2 ต้น ซึง่ ปลอ่ ยให้วา่ งเปล่า
ไมไ่ ดก้ น้ั ในสว่ นนใ้ี ชส้ ำ� หรบั ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เขา้ แถวตรวจสอบจำ� นวน
ก่อนเข้าไปอยู่ในตัวตึก ส่วนของตัวตึกชั้นล่างลาดซีเมนต์
ชอ่ งประตเู ปน็ กรอบไมซ้ ลี่ กู กรงเหลก็ ชนั้ บนปดู ว้ ยพน้ื ไมก้ ระดาน
อยา่ งหนา ภายในตกึ แบ่งหอ้ งเป็น 20 หอ้ งขัง ในจ�ำนวนห้อง
15 ถูกก้ันปิดเป็นห้องมืด ห้องอื่นๆ มีขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้าง
ใช้ควบคุมผู้ต้องขังอย่างน้อยห้องละ 2 คน อย่างมากไม่เกิน
12 คน ผู้ต้องขังอีกส่วนหนึ่งถูกจัดให้หลับนอนภายในตึกน ้ี
แตอ่ ย่นู อกหอ้ งขัง 20 ห้องนี้ เรียกว่าอย่หู อ้ งกลาง ซ่ึงมีความ
สะดวกสบายทสี่ ดุ เคร่อื งบนเป็นไม้ ส่วนใหญจ่ ะเป็นไม้ตะบนู
เนื้อแข็งและทนทานมาก ช้ันล่างด้านหลังตึกจะมีประตู
ทางออกแต่ถูกปิดตายไว้คงใช้เฉพาะประตูหน้าเท่าน้ัน

78 วารสารราชทัณฑ์

อาคารทสี่ รา้ งพรอ้ มกับตึกขังน้ี ได้แก่ โรงครัว ซ่ึงประกอบด้วย ห้องหุงอาหาร หอ้ งเก็บฟนื และ
หอ้ งเกบ็ ขา้ วสาร ซงึ่ ทงั้ ตกึ เรอื นขงั และโรงครวั ไดม้ กี ารรอื้ ถอน เมอื่ ปี พ.ศ. 2512 หลงั จากรอื้ ถอนแลว้
อฐิ ดนิ เผาและไมโ้ ครงหลงั คาไดจ้ ำ� หนา่ ยนำ� เงนิ สง่ เปน็ รายไดแ้ ผน่ ดนิ ผซู้ อ้ื รายหนงึ่ เคยรบั ราชการ
ทเ่ี รอื นจำ� แหง่ นี้ ไดซ้ อื้ ไปสรา้ งเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ตง้ั อยใู่ กลๆ้ วดั หนา้ เมอื ง ในขณะทอ่ี ฐิ หกั ตา่ งๆ ไดใ้ ช้
ถมทลี่ มุ่ ในเขตเรือนจำ� ไม้เครื่องบนต่างๆ ยงั นำ� ไปดดั แปลงใชเ้ ป็นโตะ๊ ทำ� งานส�ำหรบั เจ้าพนกั งาน
เรือนจำ� ผตู้ อ้ งขังทต่ี ้องโทษอย่ใู นขณะทีม่ กี ารรื้อถอน ได้เลือกเก็บไมจ้ ากการรื้อถอนตกึ น้ี นำ� ไป
แกะสลกั ออกมาเป็นเครอ่ื งรางของขลงั ประจ�ำตัวเรียกวา่ “พระรอด” หรอื “ไม้รอดคุก”
เรอื นจ�ำจังหวัดระนอง สร้างมาแล้วกวา่ 120 ปี ได้ชอื่ ว่าเป็น “คุก” ที่เกา่ แก่แหง่ หนึ่ง
ในภาคใตข้ องประเทศไทย เรอื นจำ� แหง่ นม้ี กี ารขยายพนื้ ทภ่ี ายในเรอื นจำ� ออกเปน็ ระยะๆ รวม 3 ครงั้
โดยพน้ื ทเ่ี ดมิ ในเรอื นจำ� มอี ยไู่ มถ่ งึ 1 ไร่ ขยายออกไปทางทศิ เหนอื ครงั้ แรกระยะปี พ.ศ. 2512 – 2513
อกี ดา้ นละ 10 เมตร ทำ� ใหม้ พี น้ื ทใี่ นเรอื นจำ� เพม่ิ เปน็ 1 ไรเ่ ศษ ตอ่ มาในระยะปี พ.ศ. 2522 - 2524
ได้มีการขยายอาณาเขตเรือนจ�ำออกไปทางทิศตะวันตกโดยใช้เงินทุนผลประโยชน์ของเรือนจ�ำ
ซอื้ ทดี่ นิ ของเอกชนทำ� ใหส้ ามารถขยายกำ� แพงเรอื นจำ� เพม่ิ พน้ื ทอี่ อกไปอกี ประมาณ 2 ไร่ ซง่ึ สว่ นที่
ขยายออกนี้ยังเป็นร้ัวสังกะสี เรียกว่า “แดน 2” พ้ืนที่ซ่ึงจัดซ้ือจากเอกชนน้ีด้านหนึ่งติดกับ
ป่าสงวนแห่งชาติที่สามารถขออนุญาตเข้าไปท�ำประโยชน์ได้ ท�ำให้มีโอกาสขยายพ้ืนที่เข้าท�ำ
ประโยชนไ์ ดเ้ พม่ิ ขนึ้ อกี เปน็ ครง้ั ทสี่ าม โดยกรมราชทณั ฑอ์ นมุ ตั งิ บประมาณกอ่ สรา้ งกำ� แพง “แดน 2”
เป็นคอนกรีตเสรมิ เหลก็ มนั่ คงแข็งแรงสวยงาม และไดพ้ ้ืนทภ่ี ายในเรอื นจำ� กวา้ งขวางย่งิ ขนึ้
เรอื นจำ� ชว่ั คราวเขาบางร้ิน ต้งั อยู่ท่ีต�ำบลร้ิน อำ� เภอเมอื งระนอง จังหวัดระนอง มีพ้นื ที่
36 ไร่ 1 งาน – ตารางวา

วารสารราชทัณฑ์ 79

การฝกึ อบรม และพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์

สคู่ วามเป็นเลิศ

ดร.พิพัฒน์ ไทรฟัก*

1. บทนำ�

การบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human
Resource Development Administration) เปน็ แนวคดิ
การจัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีวิวัฒนาการ
สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อมทั่วไป
(General Environment) ประกอบด้วย กฎระเบียบและ
สถานการณ์ทางการเมือง ภาวะเศรษฐกิจ ภาวะทางวัฒนธรรมสงั คม และการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากน้ี
ยงั สอดคล้องกบั อ�ำนาจตอ่ รองของสิ่งแวดล้อมองค์การ (Task Environment) ประกอบด้วย ค่แู ข่ง ผู้สง่ วัตถุดบิ ลูกคา้
สินค้าทดแทน และคู่แข่งรายใหม่ที่มีศักยภาพ ซึ่งองค์การท้ังภาครัฐหรือภาคเอกชนต่างอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อม
ของการแขง่ ขันและทา้ ทายต่อความอยรู่ อดขององคก์ าร ดงั น้นั การบรหิ ารการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยจ์ งึ เป็นประเดน็
ทต่ี ้องให้ความส�ำคญั เป็นลำ� ดบั ต้น ส�ำหรับสภาพแวดล้อมและแนวโนม้ ในอนาคต สรุปได้ดังน้ี
1.1 การก้าวสู่สังคมแห่งองค์การ (Society of Organization) สังคมไทยได้ปรับเปลี่ยนจากสังคม
เกษตรกรรมทอ่ี อ่ นนอ้ มถ่อมตน ยอมรับงา่ ย ไปสสู่ งั คมอตุ สาหกรรมท่ีมีการรวมตวั จัดตงั้ มีกจิ กรรม และอำ� นาจตอ่ รอง
สงู ขน้ึ แนวโนม้ ของสงั คมไทยจะเปน็ องคก์ ารธรุ กจิ อตุ สาหกรรม และบรกิ าร สง่ ผลใหภ้ าคเอกชนมกี จิ กรรมทางเศรษฐกจิ
และบทบาทในการพฒั นาประเทศมากขน้ึ ในขณะทภี่ าครฐั จะลดบทบาทลงเป็นลำ� ดบั
1.2 กระแสโลกาภิวัตน์ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจก่อเกิดการแข่งขันที่เข้มข้น (Globalization and
a New Competitors) กอ่ เกิดกระแสแรงกดดนั จากประเทศอตุ สาหกรรม อาทิ การผอ่ นคลายกฎระเบียบ การสร้าง
กระแสและอทิ ธพิ ลของระบอบทนุ นยิ มเสรี การกำ� หนดกตกิ าการคา้ โลก การสรา้ งสงิ่ กดี กนั ทางการคา้ แนวใหม่ เปน็ ตน้
อีกทั้งยังก่อเกิดกระแสภาวะการแข่งขันกับประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICS) อาทิ การกวดขันของกระบวนการผลิต
กลุ่มประเทศเศรษฐกจิ เกดิ ใหม่ การใช้แรงงานเข้มขน้ การถดถอยของความได้เปรยี บเชิงเปรียบเทียบของไทย เปน็ ตน้
1.3 กระแสการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีสมัยใหม่ (New Technology) เม่ือโลกเข้าสู่ยุคดิจิทัลพร้อมกับ
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เกิดการเปล่ยี นแปลงทางความรแู้ ละวธิ ีการผลิตอยา่ งมหาศาล อาทิ เทคโนโลยี
ด้านมาตรวิทยา การออกแบบ การผลิต และการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การมุ่งเน้นคุณภาพ
และการจัดการท่ียืดหยุ่นตามความต้องการของลูกค้าแบบจ�ำเพาะเจาะจง มีการใช้อินเทอร์เน็ต และอินทราเน็ต
ในการประชมุ ทางไกลและการศึกษาทางไกล เปน็ ตน้

* อาจารยป์ ระจำ� หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

80 วารสารราชทัณฑ์

1.4 โลกแหง่ การทำ� งานทเ่ี ปลย่ี นแปลง (New World of Work)
ในยุคสังคมสารสนเทศและองค์การสารสนเทศมีการใช้คอมพิวเตอร ์
และอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง สง่ ผลใหส้ ถานทท่ี ำ� งานเลก็ ลง กำ� ลงั คน
ลดลง ระบบคุณธรรมเข้มแข็งข้ึน คนเปลี่ยนงานบ่อยขึ้น ความภักดี
ต่อองค์การลดลง การฝึกอบรมเกิดขึ้นตลอดเวลา อีกทั้งมีแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงประเด็นหลัก อาทิ งานท่ีท�ำต้องใช้ความรู้ เป็นงาน
สร้างสรรค์และต้องเอาใจใส่ เน้นการท�ำงานเป็นทีม เน้นการท�ำงาน
ตามโครงการทใ่ี ชท้ กั ษะหลากหลาย อำ� นาจเปน็ ของลกู คา้ เนน้ ประสานงาน
แนวราบจากเพอ่ื นรว่ มงาน ลดขนาดองคก์ ารใหเ้ ลก็ ลง ลดจำ� นวนบคุ ลากรลง
พรอ้ มกบั การใชเ้ ทคโนโลยอี ตั โนมตั ิ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยจ์ ะมงุ่ สรา้ ง
พนักงานทีม่ ที กั ษะหลากหลาย
1.5 ขดี ความสามารถขององคก์ ารและทรพั ยากรมนษุ ยข์ องไทย
ในปัจจุบนั
องค์การของไทยมคี วามสามารถในการแข่งขันทางธรุ กิจตำ่� ความสามารถขององค์การในการอยรู่ ว่ มกบั สงั คม
มปี ัญหา มกี ารเอาเปรียบบุคลากร ละเลยชมุ ชนและสงั คม ผลติ สนิ ค้าไมไ่ ดม้ าตรฐาน เปน็ ต้น
สำ� หรบั ขดี ความสามารถของทรพั ยากรมนษุ ย์ พบวา่ แรงงานไทยมรี ะดบั การศกึ ษาและความสามารถตำ�่ มกี าร
พัฒนาทรัพยากรมนุษยใ์ นองคก์ ารอยใู่ นระดับต่�ำ ปญั หาการขาดแคลนแรงงานระดบั สูง ปญั หาการขาดแคลนแรงงาน
เช่ียวชาญเฉพาะด้าน (Expert) ปัญหาการมีมุมมองว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นค่าใช้จ่ายสิ้นเปลืองมากกว่า
การลงทนุ ปญั หาการฝึกอบรมที่เนน้ ปรมิ าณมากกว่าคุณภาพและความคุม้ คา่ และการฝกึ อบรมไมเ่ กดิ ผลเปลีย่ นแปลง
ตามหลักการ
1.6 สภาพไร้ความสามารถเรียนรูข้ ององค์การ
มสี ง่ิ บง่ ชถ้ี งึ สภาวะไรค้ วามสามารถในการเรยี นรู้ (Learning Disability) ขององคก์ าร ไดแ้ ก่ องคก์ ารไมส่ ามารถ
ขยายกิจการและผลงานได้ ยอมรับแต่โดยดีว่าองค์การท�ำดีที่สุดแล้วได้เพียงเท่าน้ี และองค์การไม่เป็นที่ยอมรับ
ของสาธารณชน ส่วนมลู เหตทุ ท่ี �ำใหเ้ กดิ ภาวะไร้ความสามารถในการเรยี นรูข้ ององค์การ ไดแ้ ก่ การออกแบบโครงสร้าง
องคก์ ารท่ีแบ่งหนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจเจาะจงชดั เจน ซงึ่ ทุกคนถูกปลูกฝงั ใหร้ ับผิดชอบตอ่ ผลงานในหน่วยงานย่อยของตน
ส�ำหรับลักษณะธรรมชาติของความไร้ความสามารถในการเรียนรู้ขององค์การ ได้แก่ สภาพการที่ยึดถือว่าฉัน
คอื ตำ� แหนง่ ของฉนั เมอื่ มคี วามผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ จะสญู เสยี ทรพั ยากรไปกบั การหาคนทท่ี ำ� ผดิ มภี าพลวงตาทค่ี ดิ วา่ ตนเอง
แกป้ ัญหาเชิงรุก เม่อื เกดิ ปญั หาจะยึดตดิ เฉพาะเหตุการณท์ เ่ี กดิ ข้นึ องคก์ ารไม่สามารถเรียนรู้กระบวนการเปลีย่ นแปลง
ท่เี กดิ ข้ึนได้ มีการเหน็ ผิดคดิ วา่ ได้เรยี นรจู้ ากประสบการณ์ และทมี งานไม่สามารถจะเรียนร้ไู ด้เลย

2. องคก์ ารแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO)

องคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ หมายถงึ ทค่ี นไดข้ ยายขดี ความสามารถของพวกเขาอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์
ทพ่ี งึ ประสงคส์ ำ� หรบั พวกเขาอยา่ งแทจ้ รงิ ซง่ึ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ รปู แบบการคดิ ทแ่ี ปลกใหมแ่ ละขยายวงออกไป (Expansive)
เปน็ ทซี่ ึ่งเปดิ อสิ ระใหก้ ับความปรารถนาร่วมกันโดยรวม (Collective Aspiration) และเปน็ ท่ีซึง่ คนจะไดเ้ รยี นรรู้ ว่ มกัน
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

วารสารราชทัณฑ์ 81

องค์การแห่งการเรียนรู้มีหลักการพื้นฐานเป็นวินัย 5 ประการ (The Five Disciplines) ประกอบด้วย
1) การเรยี นรู้เพ่ือเพ่มิ ความสามารถส่วนบุคคล (Personal Mastery) มกี ารพัฒนาความรูค้ วามสามารถของตนเอง
ตลอดเวลาเพ่ือยกระดับสู่การเป็นวิชาชีพและบรรลุซึ่งการควบคุมตนเองได้ 2) มีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)
มีการอภิปรายและเสวนาในปัญหาต่างๆ ร่วมกัน เพื่อเกิดผลผลิตท่ีเป็นข้อยุติร่วมกัน เป้าหมายเป็นหน่ึงเดียวจนเป็น
วสิ ยั ทศั น์รว่ มกัน 3) มีแบบแผนทางจิตส�ำนกึ (Mental Models) จากการสรา้ งวสิ ยั ทศั นร์ ว่ มกนั จะเกดิ จติ ปรารถนา
รว่ มกนั และย่ังยนื จนเปน็ แบบแผนทางจิตส�ำนึก 4) การเรยี นรู้ทมี (Team Learning) มีการสรา้ งบรรยากาศของการ
อภิปรายโตแ้ ย้งอย่างสร้างสรรค์ดว้ ยจติ สำ� นึกแบบมแี ตไ่ ดก้ ับได้ (Win-Win Approach) จนไดม้ าซง่ึ ทมี งานแห่งความรู้
และ 5) มีความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) มีการมองเห็นและเข้าใจเชิงระบบว่าสรรพสิ่งจะประกอบด้วย
สว่ นเลก็ ๆ จ�ำนวนมากทส่ี มั พันธ์เช่อื มโยงเชงิ เหตุผลซ่ึงกันและกนั เป็นภาพรวม (Senge, Peter M., 2006: 129 - 252)
องค์การแห่งการเรียนรู้มีบรรยากาศของการเรียนรู้ มีการขยายวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้สู่ลูกค้า ผู้ส่งวัตถุดิบ
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจของนโยบายธุรกิจ (สมบัติ กุสุมาวลี,
2540: 42) มกี ระบวนการปรบั เปลยี่ นรปู โฉมขององคก์ ารเพอ่ื ความอยรู่ อดและแขง่ ขนั ได้ มรี ปู แบบของการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่
การเรยี นรแู้ กป้ ัญหา การเรยี นรเู้ พอ่ื การปรบั ตัว และการเรยี นรู้ผลิตงาน (Sloman, Martyn, 1994: 32 - 39)

3. แนวทางการสรา้ งองคก์ ารแห่งการเรียนรู้

การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้เป็นเทคนิคทางด้านการฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน (On the Job Training:
OJT) ซงึ่ มเี ทคนคิ ทน่ี ยิ มใชฝ้ กึ อบรมและพฒั นาองคก์ าร ไดแ้ ก่ การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ การเรยี นรจู้ ากวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ด่ี เี ลศิ
การสอนงาน ระบบพเี่ ลีย้ ง และแฟม้ งานเพื่อการพฒั นา ซ่งึ มหี ลักการดงั ต่อไปน้ี
3.1 การเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิ (Action Learning)
กรอบความคิดพื้นฐานของการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง คือ เรียนรู้จากประสบการณ์ของตนเอง เรียนรู้
โดยการแลกเปลยี่ นประสบการณ์กบั ผู้อื่น เรียนรโู้ ดยให้เพื่อนรว่ มงานวจิ ารณแ์ ละแนะนำ� เรียนรโู้ ดยเอาคำ� แนะน�ำจาก
ผู้ร่วมงานไปปฏิบัติ เรียนรู้โดยการทบทวนร่วมกับเพื่อนร่วมงานถึงสิ่งท่ีได้น�ำไปปฏิบัติว่าได้รับความรู้จากการเรียนร ู้
ในเรอื่ งดังกล่าวหรือไม่ (Margerison, C. J., 1994)
การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั งิ านเปน็ การใหก้ ารศกึ ษาและพฒั นาโดยเนน้ การปฏบิ ตั งิ านทก่ี ำ� ลงั ทำ� จรงิ อยใู่ นปจั จบุ นั
โดยผู้สอนลดบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอดเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร ให้ค�ำปรึกษา ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
มีการประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างเฉพาะเจาะจงโดยไม่ใช้สูตรส�ำเร็จที่มีอยู่แล้วมาแก้ไขปัญหา
เนน้ การเรยี นรเู้ ปน็ กลมุ่ มากกวา่ รายบคุ คล เนน้ การเรยี นรจู้ ากเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ประเมนิ การเรยี นรจู้ ากผเู้ รยี นเอง
ไม่ใช่จากผู้สอน หลักสูตรต้องสามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการของผู้เรียนได้จริง การเรียนรู้ต้องสามารถ
ท�ำให้เกิดผลลัพธ์ได้จริงคือผู้เรียนสามารถน�ำไปใช้งานได้
เป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยืดหยุ่นตามความ
ต้องการของผเู้ รยี น (Margerison, C. J., 1994)
ปีเตอร์ คูซิน (Peter Cusin, 1996) ได้ก�ำหนด
กิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏบิ ัติงาน 4 กิจกรรม ดังน้ี

82 วารสารราชทัณฑ์

กิจกรรมท่ี 1 การเรียนรู้จากประสบการณ์ (The Experiential Learning) เป็นข้ันตอนการเรียนรู้
โดยเรม่ิ ตน้ จากเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ แลว้ นำ� ไปสกู่ ารสงั เกตและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การทำ� ความเขา้ ใจกบั ขอ้ มลู การวางแผน
เพอื่ รบั มือกบั เหตกุ ารณใ์ หม่ และจะมีเหตุการณใ์ หมเ่ กิดขนึ้ หมนุ เวยี นใหเ้ รียนรูอ้ ยา่ งไมร่ จู้ บส้ิน ดงั ภาพประกอบท่ี 1

เหตุการณเ์ กิดขึน้

สังเกตและเก็บรวบรวมขอ้ มูล หาข้อมูลใหด้ ีท่สี ดุ โดยการตั้งคำ� ถามขยาย หาข้อมลู ใหถ้ ูกตอ้ งแมน่ ยำ�
และหาข้อมูลท่เี กี่ยวข้องเพิ่มเตมิ

ท�ำความเข้าใจกบั ข้อมลู ศกึ ษาข้อมลู ทัง้ หมดเพื่อสร้างกรอบแนวคดิ ในการรว่ มกนั แกป้ ัญหา

วางแผนรบั มอื กับเหตกุ ารณ์ใหม่ ทบทวนปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดข้ึนและแนวทางแก้ไขท่ีผ่านมาแลว้ เพ่ือน�ำ
ความรูไ้ ปประยุกต์ใชก้ ับปญั หาท่เี กดิ ขึ้นใหม่

เหตกุ ารณใ์ หม่ทีเ่ กิดขึ้น
ภาพประกอบท่ี 1 แสดงขั้นตอนและการหมุนเวยี นของกจิ กรรมการเรียนรจู้ ากประสบการณ์

กิจกรรมท่ี 2 การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ (The Creative Problem Solving) เป็นข้ันตอนการเรยี นรู้
โดยเริ่มต้นจากการพิจารณาประเด็นปัญหา ไปสู่การวิเคราะห์ปัญหา การหาทางเลือกในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ
เลอื กทางเลือกทเี่ ห็นว่าดีทส่ี ดุ จากน้นั ปฏบิ ัติตามทางเลอื ก และสดุ ท้ายคือการประเมินผล
กิจกรรมที่ 3 การแสวงหาความร้ทู เ่ี ก่ยี วข้อง (Acquisition of Relevant Knowledge) ในสถานการณ์
แขง่ ขนั นอกจากจะมคี วามรเู้ ฉพาะเจาะจงในการแกป้ ญั หาแลว้ ยงั ตอ้ งแสวงหาความรใู้ หมท่ ท่ี นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ เนอ่ื งจาก
โดยธรรมชาตแิ ลว้ ปญั หาใหมจ่ ะซบั ซอ้ นยงิ่ กวา่ ปญั หาเดมิ จงึ ตอ้ งแสวงหาความรอู้ ยา่ งสมำ่� เสมอจากแหลง่ ความรู้ ไดแ้ ก่
เพื่อนร่วมงาน ห้องสมุด ศูนย์หนังสือ วารสาร บทความวิชาการ การศึกษาทางไกล อินเทอร์เน็ต การบริการข้อมูล
ข่าวสารทางโทรศพั ท์ เปน็ ตน้
กิจกรรมที่ 4 กลุ่มสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน (The Co-Learner Support Group) เป็นกิจกรรม
การเรยี นรขู้ ณะปฏบิ ตั งิ านทม่ี งุ่ เนน้ การสนบั สนนุ อาทิ การใหก้ ำ� ลงั ใจ การไมใ่ หค้ วามสำ� คญั มากนกั กบั ความสำ� เรจ็ ในอดตี
แตใ่ สใ่ จกบั ปญั หาทก่ี ำ� ลงั เผชญิ อยปู่ จั จบุ นั การชว่ ยเหลอื ดา้ นขอ้ มลู และประสบการณข์ องกลมุ่ การขจดั ความไมช่ ดั เจน
ใหห้ มดสนิ้ ไป การใหค้ ำ� แนะนำ� แหลง่ ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งแกก่ ลมุ่ การชว่ ยชแี้ จงประเดน็ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งถกู ตอ้ ง เปน็ ตน้
3.2 การเรียนรูจ้ ากวธิ ปี ฏบิ ตั ิท่ดี ีเลศิ (Benchmarking)
หมายถงึ กระบวนการเรยี นรสู้ งิ่ ทด่ี เี ลศิ และตอ้ งการวดั ประเมนิ และเปรยี บเทยี บวา่ สนิ คา้ บรกิ าร กระบวนงาน
และการปฏิบัติขององค์การ กับ สินค้า บริการ กระบวนงาน และกิจกรรมขององค์การท่ีได้รับการยอมรับว่าเป็นการ
ปฏิบัติท่ีดีเลิศ (Best Practice) เพื่อน�ำมาสร้างความเป็นเลิศให้เกิดข้ึนในองค์การ (Treasury Board of Canada
Secretariat: TBCS)

วารสารราชทัณฑ์ 83

การด�ำเนินการตามจรรยาบรรณของการเรียนรู้จาก
วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ด่ี เี ลศิ เปน็ จรรยาบรรณทกี่ ำ� หนดขนึ้ โดย Strategic
Planning Institute’s Council on Benchmarking
มี 9 ประการ ได้แก่ 1) ต้องด�ำเนินการอย่างถูกกฎหมาย
2) ตอ้ งยดึ หลกั การแลกเปลยี่ นขอ้ มลู (Information Sharing)
3) ตอ้ งตัง้ ม่นั ในการรกั ษาความลับ 4) ตอ้ งใชข้ อ้ มลู ท่ีไดม้ าใช้
ในการปรับปรุงงานภายในองค์การเท่านั้น 5) ต้องติดต่อ
ประสานงานกับองค์การเป้าหมายโดยตรงเท่าน้ัน 6) ห้าม
แนะน�ำองค์การเป้าหมายให้กับองค์การอ่ืนท่ีต้องการท�ำมาตรฐานอ้างอิง 7) ต้องเตรียมพร้อมในการประชุมคร้ังแรก
8) ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่ดีเลิศอย่างจริงจัง และ 9) ต้องประเมินองค์การเพื่อตัดสินว่าต้องการ
เรียนร้จู ากวิธีปฏบิ ัตทิ ีด่ ีเลิศในเรือ่ งใด (Coding, 1994. George & Weimerkirch, 1994)

การเรยี นรจู้ ากวธิ ีปฏิบตั ิที่ดเี ลิศ ประกอบดว้ ย 3 มติ ิ ไดแ้ ก่ 1) แหล่งทม่ี า (Source) ประกอบดว้ ยแหล่งทม่ี า
จากภายในองค์การ (Internal Benchmarking) จากภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน (Industry or Competitive
Benchmarking) และจากการเปรียบเทียบทั่วไป (Generic Benchmarking) 2) ระดับทางการบริหาร (Macro/
Micro Level) ประกอบดว้ ย การเปรียบเทียบระดบั มหภาคหรอื ระดบั กลยทุ ธอ์ งคก์ าร การเปรยี บเทยี บระดับจลุ ภาค
หรือระดับกระบวนการ และ 3) มิติขององค์การ ประกอบด้วย มิติด้านแผนงาน (Functional Benchmarking)
มติ ดิ า้ นกระบวนการ (Process Benchmarking) มติ ดิ า้ นองคก์ าร (Organization Benchmarking) และมติ ดิ า้ นสนิ คา้ /
บริการ (Product/Service Benchmarking) (Ohinata, 1994)

3.3 การสอนงาน (Coaching)
การสอนงานเป็นวีธีการพัฒนาบุคคลที่เน้นให้ผู้บังคับบัญชาโดยตรงเป็นผู้สอนงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
เพอ่ื พฒั นาผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหส้ ามารถทำ� งานปจั จบุ นั และงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ผไู้ ดร้ บั การสอนงาน
เกดิ การเรียนรแู้ ละน�ำความรูไ้ ปปฏิบัตงิ านได้

ผู้ฝกึ สอน (Coach) มหี น้าท่ีรว่ มก�ำหนดเปา้ หมายในการสอนงาน รว่ มดำ� เนนิ การเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมาย
ให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพแวดล้อมภายในองค์การที่มีผลต่อการ
ปฏบิ ัติงาน ช่วยชใ้ี ห้ผู้เรียนเห็นขอ้ บกพร่องในการปฏิบตั งิ านทีผ่ เู้ รยี นอาจมองไม่เหน็ ชใ้ี ห้เหน็ วา่ ผลการปฏิบตั ิงานของ
ผู้เรียนจะมีผลกระทบตอ่ องคก์ ารอย่างไร และช่วยให้ผู้เรยี นเห็นจุดแข็ง - จุดอ่อนของตนเอง ต้องใหค้ �ำปรกึ ษาแนะนำ�
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติงานไดต้ ามเปา้ หมาย และเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนนำ� ความรู้ไปปฏิบตั ิงาน

ส�ำหรับขั้นตอนการสอนงานมี 3 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนแรก ผู้ฝึกสอนกับผู้เรียนร่วมกันก�ำหนดวัตถุประสงค ์
เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ขั้นตอนที่ 2 ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยบอกกล่าว สาธิต ปฏิบัติจริง
ตรวจสอบ สรา้ งแรงจูงใจ และมอบหมายงาน ข้ันตอนท่ี 3 ติดตามประเมนิ ผลภายหลังการมอบหมายงานแลว้

3.4 ระบบพ่เี ลย้ี ง (Mentoring)

เปน็ วธิ ีพฒั นาบคุ คลโดยรนุ่ พ่ีหรือผทู้ อี่ ยู่ในตำ� แหน่งระดับสงู กวา่ ให้ค�ำแนะนำ� แกร่ ุ่นนอ้ งหรอื ผู้ทีอ่ ยใู่ นระดับ
ต่�ำกว่า เพื่อให้รุ่นน้องมีความสามารถในการปฏิบัติงานสูงขึ้น มีศักยภาพสามารถเล่ือนระดับข้ึนเป็นผู้บริหาร
ที่มีประสิทธิภาพ ผู้เป็นพ่ีเล้ียง (Mentor) ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผู้บังคับบัญชาโดยตรงกับผู้รับค�ำปรึกษา (Mentee)
และไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งอย่ใู นหนว่ ยงานเดยี วกนั

84 วารสารราชทัณฑ์

ผู้เป็นพี่เลี้ยงมีบทบาทหน้าที่ช้ีช่องทาง เตือน กระตุ้น มอบความเป็นมิตร ให้ข้อมูลจุดอ่อน - จุดแข็งของ
ผู้รับค�ำปรึกษาแต่ละคนอย่างตรงไปตรงมาและเป็นมิตร กระตุ้นให้ผู้รับค�ำปรึกษามองเห็นภาพวิสัยทัศน์ขององค์การ
และเห็นภาพอนาตคของผู้รับค�ำปรึกษาเอง แต่ไม่ตัดสินใจให้ จากการท่ีพี่เล้ียงเป็นผู้ท่ีอยู่ในองค์การมานาน ย่อมรู้ว่า
หน่วยงานจะประสบความส�ำเร็จได้อย่างไรและรู้ลู่ทางว่าผู้รับค�ำปรึกษาคนใดควรจะก้าวหน้าไปทางใด ผู้เป็นพ่ีเลี้ยง
ตอ้ งเปดิ โอกาสและสนบั สนนุ ผรู้ บั ค�ำปรกึ ษาไดแ้ สดงความสามารถเสนอตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชาต้นสังกัด
ผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องในระบบพีเ่ ล้ยี ง ประกอบด้วย 3 ฝ่าย คือ 1) พี่เลีย้ งและผู้รบั คำ� ปรึกษา ตอ้ งมีบทบาทเชิงรุก
ต้องชว่ ยกนั คิดว่าผู้รับค�ำปรึกษาจะไดเ้ รียนร้อู ะไรจากพเี่ ล้ียงและนำ� ไปใช้ประโยชนอ์ ย่างไร 2) หวั หนา้ งาน ต้องไดร้ ับ
การบอกกล่าวเพื่อให้เข้าใจหลักการและวิธีการของระบบพ่ีเลี้ยง หัวหน้างานต้องมีจิตส�ำนึกของนักพัฒนา
และร่วมกจิ กรรม ต้องเล็งเห็นว่าจะเปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงตอ่ หนว่ ยงานของตน และ 3) ฝ่ายพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์
ต้องเป็นผูร้ ิเรมิ่ ใหม้ ีการพัฒนาบคุ ลากรด้วยระบบพ่เี ลี้ยง ตอ้ งเผยแพรค่ วามรู้ คดั เลอื ก จดั กลุ่ม และติดตามประเมินผล
3.5 แฟม้ ประวัตเิ พื่อการพัฒนา (Portfolio)
เป็นเครื่องมือที่ใช้บันทึกเกี่ยวกับประสบการณ์การเรียนรู้ ข้ันตอนการด�ำเนินงาน รวมท้ัง ผลงานที่ปรากฏ
เชงิ ประจกั ษไ์ วเ้ ปน็ หลกั ฐานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยแสดงถงึ ความเจรญิ กา้ วหนา้ และความเชยี่ วชาญของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน แฟม้ ประวตั ิ
เพ่ือการพัฒนามีลักษณะเป็นผลงานที่เกิดข้ึนจากประสบการณ์ (Experience) การเรียนรู้และการคิดค้น (Learning
& Discovery) ผลงานทีส่ ามารถปฏิบตั ใิ หร้ ู้เห็นได้ (Demonstrability) การสรา้ งความร้สู ึกเป็นเจา้ ของ (Ownership)
และก�ำหนดโอกาสการเรยี นรู้ (Learning Opportunities)
แฟม้ ประวตั เิ พอ่ื การพฒั นามคี วามสำ� คญั ในฐานะเปน็ เครอ่ื งมอื เพอ่ื การพฒั นาบคุ ลากร ซง่ึ จะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นา
ทมี งานและองคก์ ารในทส่ี ดุ ใชป้ ระเมนิ การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ หรอื ปฏบิ ตั มิ ากอ่ นหนา้ นี้ ใชเ้ ปน็ แนวทางการรบั รองมาตรฐาน
หรอื ความสามารถประสบการณ์ทผี่ า่ นมา เป็นการแบ่งปัน ถา่ ยทอดประสบการณ์ทด่ี รี ะหวา่ งกัน เป็นการแลกเปลย่ี น
ประสบการณ์และแนวทางปฏิบัติให้ดียิ่งข้ึน เป็นการประเมินการฝึกอบรม เป็นตัวช้ีวัดถึงผลที่ได้ของการฝึกอบรม
เพ่ือเป็นการพัฒนาการปฏิบัติงานเม่ือพัฒนาทักษะแล้ว สามารถเข้าใจจุดเด่น - จุดด้อย และศักยภาพของบุคลากร
เป็นแนวทางการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการท�ำงาน สนับสนุนให้มีหลักฐานเปิดเผย โปร่งใส และแบ่งปันกันมากขึ้น
อกี ทง้ั เป็นการสอดรบั กับแนวคิดการบริหารงานสมยั ใหม่ท่ีเนน้ คณุ ภาพในมุมมองของผู้รับบริการ

4. บทบาทของนกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยท์ พ่ี งึ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิ

นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยพ์ งึ มงุ่ พฒั นาบคุ ลากรและองคก์ ารสกู่ ารเปน็ องคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ มงุ่ ปรบั บทบาท
การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยภ์ ายในองคก์ าร โดยปรบั บทบาทไปสกู่ ารเปน็ นกั อำ� นวยการเชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Facilitator)
คือ การมีมุมมองการแก้ปัญหาเชิงรุก เป็นผู้น�ำการเปล่ียนแปลง มีแนวความคิดอย่างผู้ประกอบการ ลดบทบาทด้าน
การส่งมอบการฝกึ อบรม (Deliverer) ใหก้ ารฝึกอบรมเปน็ เรื่องของมืออาชีพและผู้เช่ียวชาญภายนอก ลดการฝกึ อบรม
ในชน้ั เรียนพรอ้ มกบั การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มแห่งการเรยี นรู้ในขณะปฏิบัติงาน
นอกจากน้ี ต้องเพิ่มบทบาทในการสร้างสภาพแวดล้อม
แห่งการเรียนรู้ ได้แก่ สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ อาทิ การจัด
เสวนา เปน็ ตน้ ออกแบบโครงสรา้ งองคก์ ารท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ อาทิ
การประสานงานแนวราบ การหมุนเวียนต�ำแหน่งงาน การท�ำงาน
ข้ามสายงาน ความมีอิสระในการบริหารทีมงาน เป็นต้น ออกแบบ
ระบบท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ อาทิ ส่งเสริมประชาธิปไตย

วารสารราชทัณฑ์ 85

ในหน่วยงาน การจ่ายผลตอบแทนที่ยืดหยุ่น การเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสาร การจัดงบประมาณฝึกอบรมอย่างเพียงพอ
เปน็ ตน้
นอกจากน้ี นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์พึงมุ่งพัฒนา
บคุ ลากรใหม้ วี ธิ คี ดิ อยา่ งเปน็ ระบบในการทำ� งานทสี่ มั พนั ธก์ บั
สภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ สร้างระบบการตรวจสอบ
และเรียนรู้สภาพแวดล้อมจากภายนอก สร้างเครือข่าย
ความสัมพันธ์กับชุมชนภายนอก ปรับเปลี่ยนหน่วยงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับการเป็นองค์การ
แหง่ การเรยี นรู้ ทม่ี งุ่ เนน้ การปรบั ปรงุ ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สว่ นการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ยต์ อ้ งองิ อยบู่ นฐาน
ขีดความสามารถของพนักงาน อาทิ ผลตอบแทนและเลื่อนต�ำแหน่งตามระดับสมรรถนะของบุคลากรที่เพิ่มข้ึนจาก
การพัฒนาจากโครงการฝกึ อบรม เป็นต้น

5. บทสรปุ

การฝกึ อบรมและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยส์ คู่ วามเปน็ เลศิ ทนี่ กั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยพ์ งึ ตระหนกั คอื เปน็ ผนู้ ำ�
การพฒั นาสู่ความเป็นองคก์ ารแห่งการเรยี นรู้ ซง่ึ จะช่วยใหอ้ งค์การสามารถคดิ ตดั สนิ ใจ ปรบั ตวั และแก้ปัญหาเชงิ รกุ
ดว้ ยตวั ขององคก์ ารเองโดยอตั โนมตั ิ สำ� หรบั แนวคดิ การฝกึ อบรมทจ่ี ะนำ� ไปสอู่ งคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ ควรมงุ่ เนน้ การฝกึ
อบรมขณะปฏบิ ตั งิ าน (OJT) ซงึ่ มวี ธิ กี ารฝกึ อบรมอนั เปน็ ทน่ี ยิ มในปจั จบุ นั 5 วธิ กี าร ไดแ้ ก่ การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั งิ าน
การเรียนรจู้ ากวธิ ปี ฏบิ ัติท่ีดเี ลิศ การสอนงาน ระบบพี่เล้ยี ง และแฟม้ ประวัตเิ พ่ือการพฒั นา
ทง้ั นี้ นกั พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยค์ วรใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาและปรบั บทบาทตนเองสคู่ วามเปน็ นกั อำ� นวยการ
เชงิ กลยทุ ธ์ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มแหง่ การเรยี นรู้ การออกแบบโครงสรา้ งองคก์ ารและระบบภายในทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
อีกทั้ง นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์พึงมุ่งพัฒนาบุคลากรให้มีวิธีคิดอย่างเป็นระบบในการท�ำงานที่สัมพันธ์กับสภาพ
แวดลอ้ มภายนอก เหลา่ นีจ้ ะช่วยขับเคลอื่ นการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละองค์การสคู่ วามเป็นองค์การแห่งการเรยี นรู้
อยา่ งแทจ้ ริงต่อไป

บรรณานกุ รม

สมบตั ิ กสุ มุ าวล.ี (2540). ประเทศไทยในทศวรรตหนา้ : วสิ ยั ทศั นก์ ารสรา้ งองคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ แนวทางการพฒั นาทรพั ยากร
มนษุ ยใ์ นองค์การเพอ่ื การพัฒนาประเทศไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวชิ าการเนือ่ งในวาระครบรอบ 30 ปี
แห่งการสถาปนาสถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร.์

Bryson, John M. (1995). Strategic Planning for Public and Nonprofit Organization: A Guide to Strengthening
Organization Achievement. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Certo, Samuel C., and Peter, Paul J. (1990). Strategic Management: A Focus on Process. New York: McGraw-Hill.
Davenport, T. H., and Prusak, L. (1998). Working Knowledge: How Organizations Manage What They Know.

Boston: Harvard Business School Press.
Hamel, G., and Prahalad, C. K. (1994). Competing for the Future. Boston, MA: Harvard Business School Press.
Senge, P. M. (2006). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization. USA: Doubleday.
Sloman, M. (2007). The Changing World of the Trainer: Emerging Good Practice. MA, USA: Elsevier Ltd.
Stewart, J. (1996). Managing Change Through Training and Develop. London: Kogan Page.

86 วารสารราชทัณฑ์

ภาวะ Burn - out

ปัญหาในการทำ� งานที่ไม่ธรรมดา

นายบญุ ศษิ ฏ์ ศักดบิ์ รู ณพงษา
ส�ำนักทัณฑวทิ ยา

สวสั ดคี รบั ทา่ นผอู้ ่านทุกทา่ น วันน้ี (22 กนั ยายน 2560) ผมไดม้ ี
โอกาสได้ไปเข้าร่วมโครงการหนึ่งที่ทางกระทรวงยุติธรรมได้จัดข้ึน
ชอื่ วา่ “โครงการองคค์ วามรแู้ ละประสบการณจ์ ากรนุ่ สรู่ นุ่ กา้ วสอู่ งคก์ ร
แห่งความสุข” หรือท่ีเราเรียกกันเป็นภาษาปากว่า งานฉลองเกษียณอายุข้าราชการ น่ันแหละ (แต่เดี๋ยวก่อน ผมยัง
ไมเ่ กษยี ณนะครบั ยงั อยอู่ กี นาน ฮา่ ๆ) ซงึ่ ตอ้ งบอกวา่ งานนี้ ไดเ้ หน็ ผเู้ กษยี ณหลายทา่ นมาอยา่ งหนา้ ตาแจม่ ใส บรรยากาศ
ชน่ื มน่ื ซง่ึ มองดแู ลว้ กน็ า่ ดใี จแอบปนอจิ ฉาจรงิ เชยี ว ทผี่ ใู้ หญห่ ลายๆ ทา่ นจะไดพ้ กั ผอ่ นจากงานประจำ� ทต่ี รากตรำ� มานาน
แตป่ ระเดน็ ทผี่ มอยากจะมาพดู วนั น้ี มนั ไมใ่ ชบ่ รรยากาศเหลา่ นนั้ ทผี่ มอยากจะพดู คอื ในงานไดม้ กี ารเชญิ วทิ ยากร
ทา่ นหนงึ่ คอื นายแพทยจ์ ตุภัทร คุณสงค์ แพทยผ์ ูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นจติ เวช จากโรงพยาบาลกรุงเทพ มาบรรยายในหวั ขอ้
“สุขสดใส ข้าราชการไทยยคุ 4.0” ซง่ึ ท่านกบ็ รรยายได้สนุกสนาน จนผมมาสะดดุ ท่หี วั ขอ้ หน่งึ ท่ที า่ นได้บรรยาย คือ

ทา่ นเคยทำ� งานแลว้ รสู้ กึ “หมดไฟ” ในการทำ� งานบ้างไหม

ซึ่งต้องยอมรับผมเองก็เคยเป็นอาการอย่างที่คุณหมอพูดให้ฟังเลยทีเดียว เพียงแต่ผมโชคดีท่ีผ่านพ้นมาได้
โดยปลอดภยั และผมคดิ ว่าเรอื่ งนีจ้ ะเป็นประโยชนแ์ ก่ขา้ ราชการทกุ ๆ ทา่ นเลยทีเดียว ไม่เกี่ยวกบั วา่ ทา่ นผู้อ่านเพง่ิ รบั
ราชการ ทำ� งานมานานแลว้ หรอื จะเกษียณแตอ่ ย่างไร
อาการท่ีเรารู้สึกว่า “หมดไฟ” ในการท�ำงานแล้ว มีศัพท์ทางวิชาการท่ีเรียกสวยๆ ว่า ภาวะ Burn - out
(Burnout Syndrome) เปน็ ภาวะทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ความเหนอื่ ยลา้ หรอื อาการหมดไฟในการทำ� งาน ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคซมึ เศรา้
และอาจนำ� ไปสู่การฆา่ ตัวตายได้ในบางคน ซ่ึงถอื วา่ อนั ตรายมาก
โดย คณุ หมอจตภุ ทั ร ไดอ้ ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ ภาวะ Burn - out คนทท่ี ำ� งานไปสกั ระยะหนงึ่ จะเรมิ่ มอี าการทร่ี สู้ กึ
วา่ เราไมใ่ ชค่ น เหมอื นเราเปน็ หนุ่ ยนต์ ไมม่ คี วามสขุ ในการทำ� งาน หรอื ไมม่ อี ารมณค์ วามรสู้ กึ ของการเปน็ มนษุ ย์ ตน่ื นอน
แตเ่ ชา้ รีบไปตอกบตั รเขา้ งาน และก็นั่งทำ� งาน ไมส่ ุงสงิ กบั ใครท�ำแตง่ านของตวั เอง บางครงั้ เดินสวนกับเพอ่ื นรว่ มงาน
ยังแทบไม่ไดค้ ยุ กนั แลว้ ก็กลับบ้าน นอน เพื่อท�ำงานตอ่ ไปในวันรุง่ ขึน้ ซ่งึ รวมเรียกว่า Depersonalization
ซึ่ง ภาวะ Burn - out จะมีวงจรในการเกิดอาการ ซง่ึ คุณหมอไดอ้ ธิบายไว้ ดังนี้

• พสิ จู นต์ นเอง เมอื่ แรกเขา้ มาทำ� งาน เคยเปน็ ไหมครบั ทเี่ รามกั จะมอี ดุ มการณ์
สงู ส่ง จะเปลยี่ นแปลงนน้ั จะทำ� อย่างน้ันอยา่ งน้ี

• ทำ� งานหนัก หลงั จากนนั้ เราก็จะทุม่ เททำ� งานอยา่ งหนัก หามรุ่งหามค่�ำ
• ไม่ใสใจความต้องการของตนเอง พอเริ่มมีสถานการณ์ท่ีต้องเลือก

ระหวา่ งงาน กับการพบปะผคู้ น เร่ิมเลือกท�ำงานมากกวา่
• เริ่มเกิดความขัดแย้ง จากน้ันเร่ิมมีความรู้สึกสับสนว่าสิ่งที่ก�ำลังท�ำอยู่

เป็นสิ่งทีถ่ กู ต้องหรือไม่

วารสารราชทัณฑ์ 87

• ปรบั คณุ คา่ ใหม่ แลว้ กเ็ รมิ่ เปลยี่ นความคดิ ใหมว่ า่ คนทท่ี ำ� งานหนกั คอื คนทมี่ คี ณุ คา่
• ปฏิเสธไมร่ บั ร้ปู ญั หา ไมร่ ับรู้ความรู้สกึ ของคนรอบขา้ ง
• แยกตวั พฤตกิ รรมเปลยี่ นแปลง พอทำ� งานไปสกั ระยะจะเหน็ วา่ คนรอบขา้ งมกี ลมุ่

เพอื่ นแตต่ วั เองไมม่ ี กแ็ ยกตวั เอง ไมส่ งุ สงิ กบั ใครๆ อกี เพราะรสู้ กึ ผดิ กบั สง่ิ ทต่ี วั เองเปน็
• ขาดความเป็นบุคคล แล้วก็เร่ิมไร้อารมณ์ความรู้สึกแบบมนุษย์ ท�ำงานไปเร่ือยๆ

แบบหุน่ ยนต์
• ภายในวา่ งเปล่า เริ่มรูส้ ึกไรค้ ณุ ค่าในตวั เอง
• ซมึ เศรา้ เขา้ สู่ภาวะการเป็นโรคซึมเศร้า
• อยากหนีจากสถานการณ์ที่เผชิญอยู่ เช่น คิดจะลาออก หรือบางคนอาจถึงข้ัน

อยากฆา่ ตัวตาย

ซงึ่ ทางคณุ หมอไดเ้ ปดิ เผยวา่ จากสถติ ทิ ผี่ า่ นมา ขา้ ราชการไทยทม่ี ภี าวะ Burn - out แลว้ มกี ารฆา่ ตวั ตายสงู สดุ
คอื ขา้ ราชการตำ� รวจ ซงึ่ อาจจะมองไดว้ า่ เพราะตำ� รวจตอ้ งทำ� งานภายใตค้ วามเครยี ด ความคาดหวงั ทสี่ งู ประกอบกบั
เป็นอาชีพท่ีสามารถหาอาวุธปืนได้ง่าย เลยท�ำให้สถิติสูงด้วย ซ่ึงในมุมมองของผมเอง ข้าราชการราชทัณฑ์ ก็มีปัจจัย
ทีค่ ล้ายกนั ซ่ึงนับไวว้ า่ เปน็ อาการที่อันตรายมาก

คำ� ถามคือ แล้วท�ำอยา่ งไรถงึ จะหลกี เลีย่ งภาวะ Burn - out ได้ละ?

ซงึ่ ทางคณุ หมอเองก็ไดใ้ ห้แนวทางไว้ คือ Work Life Balance

หรือก็คือการสร้างสมดุลในชีวติ ของเราน้นั เอง

ตามภาพ นนั่ คอื การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ ในการ Self Work
ท�ำงาน ครอบครัว เพอ่ื นฝงู และก็ตวั เอง เชน่ ออกกำ� ลังกาย BaWLlaiofnrekce Family
หลงั เลกิ งาน หรอื พาครอบครวั ของเราไปเทยี่ วตา่ งจงั หวดั บา้ ง Friends
ออกไปสังสรรค์กับเพ่ือนท่ีท�ำงาน (แต่ไม่ใช่แค่ไปกินเหล้า
หลังเลิกงานอย่างเดียวนะครับ เด๋ียวตับพังกันพอดี) ดูแล
สุขภาพตัวเอง ทานอาหารที่มีประโยชน์ หางานอดิเรกท�ำ
อยา่ งปลูกต้นไม้ อ่านหนงั สือ เป็นต้น
ซ่ึงการสร้างสมดุลชีวิต Work Life Balance
จะท�ำให้เราไม่เคร่งเครียดกับการท�ำงานมากเกินไป และ
ยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับเพื่อนร่วมงาน และ
ครอบครัวของเราอีกด้วย และหากเราสามารถสร้างสมดุล
ชวี ติ ทดี่ ี เมอ่ื ถงึ วนั หนง่ึ ทเ่ี ราตอ้ งลาจากภาระงานในวนั เกษยี ณ
เราก็จะพบว่าชีวิตของเราไม่ได้ว่างเปล่า แต่เป็นชีวิตที่มี
คุณคา่ มีความสุข และน่าจดจ�ำ

เพราะชีวิต ยังมีอะไรมากกว่าเรื่องงาน
และความรักจากคนรอบขา้ ง

(รวมถึงสุขภาพของเรา) นั้น ส�ำคญั เสมอ

88 วารสารราชทัณฑ์

แบบสำ�รวจความคดิ เห็นในการจัดทำ�วารสารราชทัณฑ์

คำ�ชแี้ จง โปรดท�ำ เคร่ืองหมาย ✓ ลงใน ❍ หรอื เตมิ ข้อความในช่องว่าง ❍ 2) ปริญญาตรี
❍ 4) ปรญิ ญาเอก
1. เพศ ..................................................................
2. อายุ ..................................................................
3. การศกึ ษา ......................................................... ❍ 1) ตํ่ากว่าปริญญาตร ี

❍ 3) ปริญญาโท

แบบประเมินความคดิ เห็นเก่ียวกับความเหมาะสมของวารสารราชทณั ฑ์

ระดบั ความคิดเห็น

ความคิดเหน็ เก่ียวกบั วารสารราชทัณฑ์ มาก ค่อนข้าง ปาน ค่อนขา้ ง น้อย
มาก กลาง นอ้ ย

(5) (4) (3) (2) (1)

1. มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และข้อมูลมีการ
ปรับปรุงอยูเ่ สมอ

2. ปริมาณเนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ

3. ขา่ วสารการประชาสัมพันธ์ มีความเหมาะสม นา่ สนใจ

4. การจัดลำ�ดับเนื้อหาข้ันตอน มีความต่อเน่ือง อ่านแล้ว
เขา้ ใจ

5. การจัดรปู แบบของวารสารราชทณั ฑ์ งา่ ยตอ่ การอ่าน
และการใชง้ าน

6. สีสนั ในการออกแบบวารสารราชทณั ฑม์ คี วามเหมาะสม

7. สีพน้ื หลังกับสตี ัวอักษรมีความเหมาะสมต่อการอ่าน

8. ขนาดตวั อกั ษรและรปู แบบตวั อกั ษร อา่ นงา่ ยและสวยงาม

9. ภาพกับเนื้อหามีความสอดคล้องกัน และสามารถ
สื่อความหมายได้

ข้อคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะต่อการปรบั ปรงุ วารสารราชทณั ฑ์
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

วารสารราชทัณฑ์ 89

เขต 1

• เรือนจ�ำกลางสมทุ รปราการ • เรือนจำ� จังหวัดปทุมธานี
02-313-7145 02-593-1981-82
• เรือนจ�ำกลางลพบุรี • เรอื นจ�ำจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
036-411-068 035-709-113
• เรือนจำ� กลางพระนครศรีอยธุ ยา • เรือนจ�ำจงั หวดั สระบุรี
035-709-122 036-211-212
• ทณั ฑสถานบ�ำบดั พเิ ศษจังหวดั ปทมุ ธานี • เรอื นจำ� จงั หวดั สิงห์บรุ ี
02-577-1284 036-813-497-8
• ทณั ฑสถานบำ� บดั พิเศษพระนครศรอี ยุธยา • เรอื นจำ� จงั หวดั อา่ งทอง
035-241-658 035-625-126
• ทณั ฑสถานบำ� บดั พิเศษหญิง • เรอื นจำ� อำ� เภอชยั บาดาล
02-577-1805 , 02-577-1989 036-776-568-9
• ทัณฑสถานวัยหน่มุ กลาง • เรอื นจำ� อ�ำเภอธัญบุรี
02-904-7512, 02-904-1580 02-577-1250
• ทัณฑสถานวยั หนุม่ พระนครศรีอยธุ ยา • สถานที่กกั ขังกลางจงั หวดั ปทุมธานี
035-345-518 02-577-1794
• เรือนจ�ำจังหวัดชัยนาท
056-411-711

ตคู้ รวั โฟเมก้า 4 ประตู
(ขาเหล็ก)

ทณั ฑสถานบำ�บัดพเิ ศษพระนครศรีอยธุ ยา

90 วารสารราชทัณฑ์

เขต 2 • เรอื นจ�ำจงั หวดั จนั ทบุรี
039-327-097
• เรอื นจ�ำกลางชลบุรี • เรือนจำ� จงั หวดั ตราด
038-282-692 039-520-226
• เรอื นจำ� กลางระยอง • เรือนจำ� จงั หวดั นครนายก
038-637-759-60 037-311-280
• เรอื นจำ� กลางฉะเชิงเทรา • เรือนจำ� จังหวัดปราจีนบุรี
038-511-013 037-212-135
• ทัณฑสถานหญิงชลบรุ ี • เรือนจำ� จังหวดั สระแกว้
038-282-002 037-258-068
• ทัณฑสถานเปิดท่งุ เบญจา • เรอื นจำ� พิเศษพัทยา
039-495-231 038-170-671-3
• ทัณฑสถานเปดิ บา้ นเนนิ สูง • เรอื นจ�ำอำ� เภอกบนิ ทรบ์ ุรี
037-218-597 037-280-521
• ทณั ฑสถานเปดิ ห้วยโปง่ • สถานทกี่ กั ขงั กลางจงั หวัดตราด
038-681-611, 038-694-167 039-511-055

ชัน้ วางทีวขี ากลึง
เรือนจำ�จงั หวดั สระแกว้

วารสารราชทัณฑ์ 91

เขต 3 • เรือนจ�ำจงั หวดั ศรสี ะเกษ
045-611-585
• เรอื นจ�ำกลางนครราชสีมา • เรอื นจำ� จงั หวัดอำ� นาจเจริญ
044-242-029, 044-264-938 045-511-956, 045-511-957
• เรอื นจ�ำกลางอบุ ลราชธานี • เรือนจำ� อ�ำเภอกันทรลกั ษ์
045-250-889 045-810-654, 045-810-656
• เรือนจ�ำกลางสุรนิ ทร์ • เรอื นจำ� อำ� เภอนางรอง
044-511-181 044-666-414
• เรอื นจำ� กลางคลองไผ่ • เรือนจำ� อ�ำเภอบวั ใหญ่
044-323-392 044-462-347
• ทณั ฑสถานหญงิ นครราชสีมา • เรือนจำ� อ�ำเภอภเู ขียว
044-323-396, 044-323-402-3 044-867-337
• ทณั ฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก • เรอื นจ�ำอ�ำเภอรตั นบุรี
044-323-324-5 044-599-654
• เรอื นจ�ำจงั หวดั ชัยภมู ิ • เรือนจำ� อำ� เภอสคี ้ิว
044-811-618 044-416-942
• เรือนจำ� จังหวัดบุรีรมั ย์
044-611-242 ฝาชี
• เรือนจ�ำจงั หวดั ยโสธร
045-711-506 เรือนจำ�จงั หวัดบุรรี ัมย์

92 วารสารราชทัณฑ์

เขต 4 • เรือนจ�ำจังหวัดเลย
042-811-491
• เรือนจ�ำกลางขอนแกน่ • เรอื นจำ� จังหวดั สกลนคร
043-241-235 , 043-243-449 042-971-035, 042-971-041, 042-971-046
• เรอื นจำ� กลางอดุ รธานี • เรอื นจ�ำจงั หวดั หนองคาย
042-221-072 , 042-221-172 042-411-503
• เรอื นจ�ำกลางนครพนม • เรอื นจำ� จังหวัดหนองบัวลำ� ภู
042-532-474-5 042-315-918
• ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษขอนแกน่ • เรือนจ�ำอ�ำเภอพล
043-237-731 043-415-760
• เรือนจ�ำจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ • เรือนจำ� อ�ำเภอสว่างแดนดิน
043-873-340-2 042-704-900
• เรือนจ�ำจงั หวดั บงึ กาฬ • สถานทก่ี ักขังกลางจังหวดั ร้อยเอ็ด
042-492-881 043-624-064
• เรือนจ�ำจังหวดั มหาสารคาม
043-711-204
• เรือนจำ� จังหวดั มุกดาหาร
042-660-544
• เรือนจำ� จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
043-519-567

กลอ่ งขา้ วโบราณ,
กระต๊บิ ขา้ ว

เรอื นจำ�จังหวัดมหาสารคาม

วารสารราชทัณฑ์ 93

เขต 5 • เรือนจ�ำจังหวดั แพร่
054-511-057
• เรือนจำ� กลางเชยี งใหม่ • เรือนจำ� จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน
053-047-354-60 053-612-058
• เรือนจ�ำกลางเชยี งราย • เรือนจ�ำจังหวดั ลำ� พูน
053-170-551 053-511-055
• เรือนจ�ำกลางล�ำปาง • เรอื งจ�ำอ�ำเภอเทิง
054-217-048 053-795-654
• ทณั ฑสถานหญงิ เชียงใหม่ • เรอื นจำ� อำ� เภอฝาง
053-122-340 053-451-260
• ทัณฑสถานบ�ำบดั พิเศษล�ำปาง • เรอื นจ�ำอำ� เภอแมส่ ะเรียง
054-829-746 053-681-072
• เรือนจำ� จังหวดั น่าน • สถานท่กี ักขงั กลางจงั หวัดล�ำปาง
054-710-275 054-241-351
• เรือนจ�ำจังหวดั พะเยา
054-887-242

ชดุ อาหาร 6 ที่นงั่
เรือนจำ�กลางลำ�ปาง

94 วารสารราชทัณฑ์

เขต 6 • เรอื นจำ� จงั หวดั พิษณโุ ลก
055-311-382 ต่อ 11
• เรอื นจ�ำกลางพษิ ณโุ ลก • เรอื นจำ� จังหวดั เพชรบรู ณ์
055-311-383, 055-312-853 056-711-460
• เรือนจ�ำกลางนครสวรรค์ • เรือนจ�ำจงั หวัดสโุ ขทัย
056-221-110 055-612-459
• เรอื นจ�ำกลางกำ� แพงเพชร • เรอื นจำ� จงั หวัดอุตรดติ ถ์
055-710-004 055-411-013
• เรอื นจำ� กลางตาก • เรือนจำ� จังหวดั อทุ ยั ธานี
055-893-098 056-511-588
• ทณั ฑสถานหญงิ พษิ ณโุ ลก • เรือนจำ� อำ� เภอแม่สอด
055-312-807-8 055-531-226
• ทัณฑสถานเปิดหนองน�ำ้ ขนุ่ • เรือนจ�ำอำ� เภอสวรรคโลก
056-287-103 055-641-674
• เรือนจำ� จังหวัดพจิ ิตร • เรือนจ�ำอำ� เภอหล่มสกั
056-611-035 056-701-764

แโตกะ๊ ะหสมลบู่กั ชู า หมู่ 9x9

เรอื นจำ�กลางพษิ ณโุ ลก

วารสารราชทัณฑ์ 95

เขต 7 • เรอื นจำ� จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ย์
032-611-159
• เรอื นจ�ำกลางนครปฐม • เรอื นจ�ำจงั หวัดสมุทรสาคร
034-262-076, 034-261-368, 034-261-251 034-411-021
• เรือนจ�ำกลางราชบรุ ี • เรอื นจ�ำจังหวดั สุพรรณบรุ ี
032-735-461-3, 032-735-467 035-522-509, 035-511-013
• เรือนจำ� กลางเขาบิน • เรือนจ�ำอำ� เภอทองผาภูมิ
032-735-471-3 034-540-859
• เรือนจำ� กลางเพชรบุรี • สถานทีก่ กั กันนครปฐม
032-425-014 034-262-076
• เรือนจ�ำกลางสมทุ รสงคราม
034-711-189 ชดุ สนามหินขัด
• เรอื นจำ� จังหวดั กาญจนบุรี (โมเสด)
034-511-163
เรือนจำ�กลางราชบรุ ี

96 วารสารราชทัณฑ์

เขต 8 • เรอื นจำ� อำ� เภอเกาะสมยุ
077-419-149
• เรอื นจำ� กลางสรุ าษฎร์ธานี • เรอื นจำ� อ�ำเภอไชยา
077-272-154 077-431-113
• เรือนจำ� กลางนครศรีธรรมราช • เรือนจ�ำอำ� เภอตะกั่วป่า
075-378-913 076-421-100
• ทณั ฑสถานวัยหนุ่มนครศรีธรรมราช • เรอื นจำ� อ�ำเภอทุ่งสง
075-764-198-9 075-773-136
• เรอื นจ�ำจงั หวดั กระบี่ • เรือนจ�ำอำ� เภอปากพนงั
075-611-378 075-517-288
• เรือนจำ� จังหวัดชุมพร • เรือนจำ� อำ� เภอหลังสวน
077-643-299 077-541-066
• เรือนจำ� จงั หวัดพงั งา • สถานทกี่ ักขังกลางจังหวัดนครศรธี รรมราช
076-481-524 075-763-300
• เรือนจ�ำจังหวดั ภเู กต็
076-212-104 ชุดสนาม 4 ท่นี ง่ั
• เรอื นจำ� จงั หวัดระนอง
077-811-090 เรอื นจำ�อำ�เภอไชยา

วารสารราชทัณฑ์ 97

เขต 9

• เรือนจำ� กลางสงขลา • เรือนจำ� จังหวดั ตรงั
074-336-058-9 075-582-334
• เรือนจำ� กลางยะลา • เรอื นจำ� จังหวัดนราธวิ าส
073-212-622 073-511-131, 073-511-132
• เรือนจำ� กลางพัทลุง • เรือนจำ� จังหวดั สงขลา
084-613-021 074-336-066
• เรือนจำ� กลางปัตตานี • เรอื นจำ� จงั หวดั สตูล
073-414-255 074-711-065
• ทัณฑสถานหญิงสงขลา • เรือนจ�ำอำ� เภอนาทวี
074-336-065 074-318-112
• ทัณฑสถานบ�ำบดั พเิ ศษสงขลา • เรอื นจ�ำอ�ำเภอเบตง
074-337-514-5 073-231-313
• ทัณฑสถานเปดิ บ้านนาวง
074-605-482

ชุดรับแขกตำ�หนกั เขานอ้ ย

เรอื นจำ�กลางสงขลา

98 วารสารราชทัณฑ์

เขต 10 • เรือนจ�ำพเิ ศษมนี บรุ ี
02-540-7315-6
• เรอื นจ�ำกลางคลองเปรม • ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
02-589-5245, 02-589-5253 02-953-3999
• เรอื นจำ� พิเศษกรุงเทพมหานคร • ทัณฑสถานหญงิ กลาง
02-591-7060 02-589-5242-3, 02-588-4832, 02-591-1236
• เรือนจำ� กลางบางขวาง • ทัณฑสถานหญิงธนบุรี
02-525-0486-8 02-453-0319
• เรือนจำ� จงั หวัดนนทบรุ ี • ทณั ฑสถานบ�ำบดั พิเศษกลาง
02-526-6480-1, 02-525-3139 02-591-0555
• เรือนจำ� พเิ ศษธนบรุ ี
02-453-0859

โตะ๊ หมบู่ ชู าไมส้ กั 9x9
เรือนจำ�กลางคลองเปรม

วารสารราชทัณฑ์ 99


Click to View FlipBook Version