The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือประมวลจริยธรรมกรมราชทัณฑ์ 2563

ปรคะูมมือวลจรยิ ธรรม
ข้าราชการพลเรือน
กรมราชทัณฑ์

กลุ่มงานค้มุ ครองจริยธรรมกรมราชทัณฑ์
โทร. ๐๒ ๙๖๗ ๖๐๑๗

(๑)

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว

พระราชทานแกข่ ้าราชการพลเรอื น
เนอ่ื งในวันขา้ ราชการพลเรือน ๑ เม.ย. ๒๕๖๒

“ ข้าราชการมีส่ิงส�ำ คญั ทคี่ วรยึดมนั่ อยู่ ๒ อยา่ ง.
อย่างหน่งึ คือผลประโยชน์ของแผ่นดิน อีกอย่างหน่ึงคือ
ความถกู ต้องเป็นธรรม. ผลประโยชนข์ องแผ่นดนิ เปน็ เป้าหมาย
สูงสดุ ของการปฏบิ ัติราชการ สว่ นความถูกต้องเป็นธรรม
เปน็ ทง้ั รากฐานและแนวทางปฏิบัติเพอ่ื ให้บรรลุถงึ เป้าหมายนนั้ ”

(พระปรมาภไิ ธย)
พระทีน่ ่งั อมั พรสถาน พระราชวังดสุ ติ
วันที่ ๒๙ มีนาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒



(๒)



“งานราชทณั ฑ์ นบั ตง้ั แตอ่ ธบิ ดกี รมราชทณั ฑล์ งไปจนถงึ เจา้ หนา้ ท่ี
ทง้ั หมดตอ้ งรบั ภาระหนา้ ทอ่ี นั หนกั และเหนด็ เหนอ่ื ยมากทง้ั ในสายตาของคนทว่ั ไป
ก็มองงานราชทัณฑ์ไปในทางที่ไม่เป็นมงคลว่า เป็นงานต่ำ�ต้อย เป็นงานคุก
งานตะราง น่าเห็นใจผู้ที่ทำ�งานในกรมราชทัณฑ์ ขอให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์
และเจา้ หนา้ ทที่ ุกคนอย่าได้คดิ ทอ้ ถอย ขอใหค้ ิดวา่ งานราชทัณฑเ์ ปน็ งานทีท่ �ำ
ประโยชนใ์ หแ้ กส่ งั คม หากอบรมผตู้ อ้ งขงั ใหป้ ระพฤตติ นดขี น้ึ ไมไ่ ด้ พน้ โทษออกไป
ก็จะกลบั ไปเป็นอันธพาลเป็นภยั แก่สงั คมอีก ขา้ ราชการกรมราชทณั ฑ์ ควรจะ
ภาคภูมิใจ ถ้าสามารถฝึกอบรมผู้ต้องขังให้เป็นพลเมืองดีได้ ขอให้ข้าราชการ
กรมราชทัณฑ์ มมี านะอดทน พยายามอบรมแกไ้ ขใหผ้ ู้ตอ้ งขังเป็นคนดี ฝกึ หัด
งานอาชพี ส�ำ หรบั เปน็ เครอ่ื งมอื ท�ำ มาหากนิ โดยสจุ รติ ได้ เมอ่ื พน้ โทษออกไปแลว้
ก็ควรจะติดตามดูผลด้วยว่า เขานำ�เอาวิชาชีพ ที่ฝึกอบรมให้นั้นไปทำ�งานการ
อะไรไดบ้ า้ ง ดงั นน้ั ขอใหอ้ ธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์ น�ำ ความนฝ้ี ากไปแจง้ แกข่ า้ ราชการ
กรมราชทัณฑ์ทุกคนว่า อย่าได้คิดท้อถอยและให้ยึดมั่นในอุดมคติช่วยกัน
ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี อนั ส�ำ คัญนี้ ให้ได้ผลดี”

พระราชด�ำ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
พระราชทานแกน่ ายประดษิ ฐ์ พานชิ การ อดีตอธบิ ดกี รมราชทณั ฑ์
เมอ่ื วนั ท่ี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๖ ณ พระตำ�หนักจติ รลดารโหฐาน







(๔)

วสิ ัยทศั น์

“องคก์ รสมรรถนะสงู ด้านการควบคุมและพัฒนาพฤตินิสัยผตู้ อ้ งขงั
แบบมอื อาชีพ บรู ณาการ มาตรฐาน และนวัตกรรม”



(๕)

ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื น
--------------------
คำ�ปรารภ

โดยทร่ี ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ ก�ำ หนดใหม้ าตรฐาน
ทางจริยธรรมของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภทให้เป็นไปตาม
ประมวลจรยิ ธรรมท่ีก�ำ หนดขน้ึ โดยจะตอ้ งมีกลไกและระบบในการดำ�เนินงาน เพือ่ ใหก้ ารบังคับใชเ้ ปน็ ไปอย่างมี
ประสิทธภิ าพ รวมทัง้ กำ�หนดข้ันตอนการลงโทษตามความรา้ ยแรงแห่งการกระทำ� การฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ัติตาม
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ให้ถอื วา่ เปน็ การกระทำ�ผดิ ทางวินยั
สำ�นักงาน ก.พ. ในฐานะองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนได้พิจารณา
โดยถถ่ี ว้ นแลว้ เหน็ วา่ ต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการพลเรอื นทกุ ต�ำ แหนง่ มหี นา้ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหข้ า้ ราชการแผน่ ดนิ ในสว่ นท่ี
ตนรับผดิ ชอบเกดิ ประโยชนส์ งู สุดแกส่ งั คม ดงั นัน้ การใชอ้ ำ�นาจเพอ่ื ใหห้ นา้ ทที่ ต่ี นรบั ผดิ ชอบประสบความสำ�เรจ็
ขา้ ราชการพลเรอื นทง้ั ปวงจงึ ตอ้ งมคี ณุ ธรรม ซง่ึ เปน็ การอนั พงึ ท�ำ เพราะสามารถน�ำ ประโยชนไ์ ปใชใ้ หเ้ กดิ แกส่ ว่ นรวม
และตนเอง และศลี ธรรมซง่ึ เปน็ การอนั พงึ เวน้ เพราะเปน็ โทษแกส่ ว่ นรวมและตนเอง ประกอบกบั ขน้ึ เปน็ จรยิ ธรรม
ข้าราชการพลเรอื นอันเปน็ ความประพฤตทิ ดี่ งี าม เหมาะสมกับความเป็นขา้ ราชการ
อนึ่ง มาตรา ๒๘๐ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำ�นาจหน้าที่เสนอแนะหรือให้คำ�แนะนำ�ในการ
จัดทำ�หรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมบังคับการให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมดำ�เนินการบังคับให้เป็นไป
ตามประมวลจริยธรรม ตามมาตรา ๒๗๙
ดังนั้น บุคคลผู้ดำ�รงตำ�แหน่งข้าราชการพลเรือนทุกตำ�แหน่ง จึงมีหน้าที่ดำ�เนินการให้เป็นไป
ตามกฎหมายเพอ่ื รกั ษาประโยชนส์ ว่ นรวม และประเทศชาติ มคี วามเปน็ กลางทางการเมอื ง อ�ำ นวยความสะดวก และ
ให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล โดยจะต้องยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำ�หรับ
ผู้ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งและเจา้ หน้าที่ของรฐั ๙ ประการของส�ำ นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดิน ดงั นี้
(๑) การยดึ ม่ันในคณุ ธรรมและจริยธรรม
(๒) การมีจติ สำ�นึกทดี่ ี ซื่อสัตย์ สจุ ริต และรบั ผดิ ชอบ
(๓) การยดึ ถอื ประโยชนข์ องประเทศชาตเิ หนอื กวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน และไมม่ ผี ลประโยชนท์ บั ซอ้ น
(๔) การยืนหยดั ท�ำ ในส่ิงท่ถี กู ตอ้ ง เปน็ ธรรม และถูกกฎหมาย
(๕) การให้บรกิ ารแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มอี ธั ยาศยั และไม่เลอื กปฏบิ ัติ
(๖) การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถว้ น ถกู ต้องและไม่บดิ เบือนขอ้ เท็จจรงิ
(๗) การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน รกั ษามาตรฐาน มคี ณุ ภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้
(๘) การยึดม่ันในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
(๙) การยดึ มั่นในหลักจรรยาวชิ าชีพขององค์กร
เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรา ๒๗๙ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
ประกอบคา่ นยิ มหลกั ส�ำ หรบั ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งและเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั อนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดใ้ หค้ �ำ แนะน�ำ
ให้หน่วยงานทงั้ หลายถือปฏบิ ตั ิ ก.พ. โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี จึงก�ำ หนดมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ขน้ึ เป็นประมวลจริยธรรมขา้ ราชการพลเรอื น เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการทง้ั หลายเกิดส�ำ นกึ ลึกซง้ึ และเที่ยงธรรมในหน้าที่
ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีข้าราชการควรแก่ความไว้วางใจและเชื่อมั่นของปวงชน และดำ�รงตั้งมั่นเป็นแบบอย่าง
ท่ดี งี าม สมกบั ความเป็นข้าราชการในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ผทู้ รงเป็นตัวอย่างแห่งธรรมจรรยาอันสงู สดุ
เพอื่ บงั คับเปน็ มาตรฐานกลางไว้ ดงั ต่อไปน้ี



สารบัญ

หน้า

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว (๑)
พระราชด�ำ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (๒)
ค�ำ นำ� (๓)
วิสยั ทัศน์ (๔)
ค�ำ ปรารถ (๕)
พระราชบญั ญตั มิ าตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑
หมวด ๑ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและประมวลจริยธรรม ๒
หมวด ๒ คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม ๓
หมวด ๓ การรกั ษาจรยิ ธรรมของเจา้ หน้าท่ขี องรฐั ๖
บทเฉพาะกาล ๖
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๗
จรยิ ธรรมของผดู้ �ำ รงตำ�แหนง่ ทางการเมอื งและเจา้ หนา้ ทีข่ องรฐั ๗
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๘
พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๙
ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรือน ๑๐
หมวด ๑ บทท่วั ไป ๑๐
หมวด ๒ จรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื น ๑๐
หมวด ๓ กลไกและระบบการบงั คับใช้ประมวลจรยิ ธรรม ๑๔
สว่ นท่ี ๑ องค์กรคุ้มครองจรยิ ธรรม ๑๔
สว่ นที่ ๒ ระบบการบงั คบั ใช้ประมวลจริยธรรม ๑๗
บทเฉพาะกาล ๑๘
ขอ้ บังคับกรมราชทัณฑว์ า่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการราชทณั ฑ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๙
ความหมายของคำ�ตามจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ ๒๐
ข้อบงั คบั วา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการราชทัณฑ์ ขอ้ ท่ี ๑ ๒๑
ขอ้ บังคับว่าด้วยจรรยาขา้ ราชการราชทณั ฑ์ ขอ้ ท่ี ๒ ๒๑
ข้อบงั คับวา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการราชทัณฑ์ ขอ้ ท่ี ๓ ๒๒
ประกาศกรมราชทัณฑ์ เรือ่ ง มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของเจ้าหน้าท่ี ๒๓
กรมราชทณั ฑ์
ประกาศกรมราชทณั ฑ์ วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การรบั เรอ่ื งและพจิ ารณา ๒๔
การร้องเรียนกล่าวหา กรณขี า้ ราชการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม
ประกาศกรมราชทณั ฑ์ วา่ ดว้ ยมาตรฐานทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของผบู้ รหิ ารเรอื นจ�ำ /ทณั ฑสถาน ๒๘
แนวทางปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของผบู้ รหิ ารเรอื นจ�ำ และทณั ฑสถาน ๒๙



หนา้
(ตอ่ )
คา่ นยิ มรว่ มกรมราชทัณฑ์ ๓๑
หลักการบริหารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี ๓๒
มาตรฐานจรยิ ธรรมเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ๙ ประการ ของสำ�นกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดนิ ๓๒
ประกาศคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน เร่อื ง แต่งตัง้ คณะกรรมการจรยิ ธรรมประจำ� ๓๓
กรมราชทณั ฑ์ ๓๕
คำ�สง่ั กรมราชทัณฑ์ ที่ ๙๑๒/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๓๙
คณะเจ้าหน้าที่กลุ่มงานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมราชทณั ฑ ์ ๔๐
ผังข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การร้องเรียนเกี่ยวกบั การฝา่ ฝืนประมวลจริยธรรมขา้ ราชการ
การไมป่ ฏิบตั ติ ามจรรยาขา้ ราชการและการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบของเจ้าหน้าที่
กรมราชทณั ฑ์



1

พระราชบัญญัติ
มาตรฐานทางจรยิ ธรรม

พ.ศ. ๒๕๖๒
สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู

ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปจั จุบนั

สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า
โดยทีเ่ ปน็ การสมควรมีกฎหมายว่าดว้ ยมาตรฐานทางจริยธรรม
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำ�แนะนำ�และยินยอมของสภานิติ
บญั ญตั ิแห่งชาติทำ�หน้าที่รัฐสภา ดงั ตอ่ ไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ีเ้ รียกว่า “พระราชบญั ญตั มิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒”
มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตนิ ใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับตั้งแต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
และมฐี านะเปน็ กรม ราชการสว่ นท้องถ่นิ รฐั วิสาหกจิ องคก์ ารมหาชน หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐในฝา่ ยบริหาร
แตไ่ ม่หมายความรวมถึง หน่วยงานธรุ การของรฐั สภา องค์กรอสิ ระ ศาล และองคก์ รอัยการ
“เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ” หมายความวา่ ขา้ ราชการ พนกั งาน ลกู จา้ ง หรอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอน่ื ในหนว่ ยงานของรฐั
“องคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คล” หมายความวา่ คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน คณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และคณะ
กรรมการข้าราชการตำ�รวจ ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น รวมทั้งคณะกรรมการกลาง
บริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าที่ของรัฐในฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถน่ิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบียบบริหารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถนิ่
“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี

2

หมวด ๑
มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจรยิ ธรรม

--------------------

มาตรา ๕ มาตรฐานทางจรยิ ธรรม คอื หลักเกณฑก์ ารประพฤตปิ ฏิบัติอย่างมีคณุ ธรรมของเจา้ หนา้ ท่ี
ของรัฐ ซง่ึ จะตอ้ งประกอบด้วย
(๑) ยึดมนั่ ในสถาบันหลักของประเทศ อันไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(๒) ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต มจี ิตส�ำ นกึ ทด่ี ี และรับผดิ ชอบต่อหน้าที่
(๓) กลา้ ตดั สินใจและกระทำ�ในส่งิ ท่ถี ูกต้องชอบธรรม
(๔) คดิ ถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตัว และมีจติ สาธารณะ
(๕) มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
(๖) ปฏิบตั ิหน้าท่อี ยา่ งเปน็ ธรรมและไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ
(๗) ด�ำ รงตนเป็นแบบอย่างทดี่ แี ละรักษาภาพลักษณข์ องทางราชการ
มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้เป็นหลักสำ�คัญในการจัดทำ�ประมวลจริยธรรมของ
หนว่ ยงานของรฐั ทจ่ี ะก�ำ หนดเปน็ หลกั เกณฑใ์ นการปฏบิ ตั ติ นของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เกย่ี วกบั สภาพคณุ งามความดี
ทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งยดึ ถอื ส�ำ หรบั การปฏบิ ตั งิ าน การตดั สนิ ความถกู ผดิ การปฏบิ ตั ทิ ค่ี วรกระท�ำ หรอื ไมค่ วรกระท�ำ
ตลอดจนการดำ�รงตนในการกระท�ำ ความดแี ละละเวน้ ความชวั่
มาตรา ๖ ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีจัดทำ�ประมวลจริยธรรม
ส�ำ หรบั เจา้ หน้าท่ขี องรัฐทอ่ี ยู่ในความรับผิดชอบ
ในกรณีท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งไม่มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบให้องค์กรต่อไปนี้
เป็นผจู้ ัดทำ�ประมวลจริยธรรม
(๑) คณะรฐั มนตรี ส�ำ หรับข้าราชการการเมอื ง
(๒) สภากลาโหม สำ�หรับข้าราชการทหารและขา้ ราชการพลเรือนกลาโหม
(๓) สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ สำ�หรบั ผูบ้ รหิ ารและพนกั งานรัฐวสิ าหกจิ
(๔) คณะกรรมการพฒั นาและส่งเสรมิ องคก์ ารมหาชน สำ�หรับผ้บู ริหาร เจ้าหน้าท่ี และผูป้ ฏิบตั งิ าน
ขององคก์ ารมหาชน
ในกรณีที่มีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผู้จัดทำ�ประมวลจริยธรรมสำ�หรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐประเภทใดให้
ก.ม.จ. เป็นผู้มีอ�ำ นาจวินจิ ฉยั
ทงั้ นี้ หนว่ ยงานของรฐั อาจจดั ท�ำ ขอ้ ก�ำ หนดจรยิ ธรรมเพื่อใช้บังคบั กบั เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐในหน่วยงานนน้ั
เพม่ิ เตมิ จากประมวลจรยิ ธรรมให้เหมาะสมแกภ่ ารกจิ ที่มลี ักษณะเฉพาะของหนว่ ยงานของรัฐนนั้ ดว้ ยกไ็ ด้
การจัดทำ�ประมวลจริยธรรมและข้อกำ�หนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์
ที่ ก.ม.จ. กำ�หนดตามมาตรา ๑๔ ด้วย

มาตรา ๗ เพ่ือให้การจัดทำ�ประมวลจริยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทางจริยธรรมในระดับเดียวกัน
ในการจัดทำ�ประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลของศาลหรือองค์กรอัยการองค์กรกลาง
บรหิ ารงานบุคคลของหนว่ ยงานธุรการของรฐั สภาและองคก์ รอิสระ ให้น�ำ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมตาม มาตรา ๕
ไปใชป้ ระกอบการพจิ ารณาจดั ทำ�ประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าทข่ี องรัฐทอี่ ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบดว้ ย

3

หมวด ๒
คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม

-----------------------

มาตรา ๘ ใหม้ คี ณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมคณะหนง่ึ เรยี กโดยยอ่ วา่ “ก.ม.จ.” ประกอบดว้ ย
(๑) นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรีซึง่ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(๒) ผู้แทนคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนทไ่ี ด้รบั มอบหมาย เปน็ รองประธานกรรมการ
(๓) กรรมการโดยตำ�แหน่งจำ�นวนห้าคน ได้แก่ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
ขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศกึ ษา คณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการ
ข้าราชการตำ�รวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสว่ นท้องถ่นิ และสภากลาโหม อยา่ งละหนง่ึ คน
(๔) กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ซิ ง่ึ นายกรฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั จ�ำ นวนไมเ่ กนิ หา้ คนเปน็ กรรมการใหเ้ ลขาธกิ าร ก.พ.
เปน็ กรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการ ก.พ. แตง่ ต้ังขา้ ราชการในส�ำ นกั งาน ก.พ. เปน็ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
ได้ตามความจ�ำ เปน็
เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินการตามหน้าที่และอำ�นาจของ ก.ม.จ. ก.ม.จ. อาจมีมติให้เชิญผู้แทนที่
ไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการทท่ี �ำ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานรฐั วสิ าหกจิ หรอื องคก์ ารมหาชน หรอื หวั หนา้ หนว่ ยงาน
ของรัฐที่มีหน้าที่และอำ�นาจโดยตรงเกี่ยวกับเรื่องที่จะพิจารณา หรือผู้ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ และ
ประสบการณ์ด้านจริยธรรมให้เข้าร่วมประชุมเป็นครั้งคราวในฐานะกรรมการด้วยก็ได้ในกรณีเช่นนั้น ให้ผู้ที่ได้
รบั เชิญและมาประชมุ มฐี านะเป็นกรรมการสำ�หรับการประชมุ ครั้งที่ไดร้ บั เชญิ นนั้
ให้สำ�นักงาน ก.พ. มีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการ งานประชุม งานวิชาการ การศึกษาหาข้อมูล และ
กจิ การต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งให้แก่ ก.ม.จ. คณะอนุกรรมการหรอื คณะท�ำ งานทีแ่ ตง่ ต้งั โดย ก.ม.จ. รวมท้งั ใหม้ หี น้าที่
และอ�ำ นาจอื่นตามทกี่ �ำ หนดในพระราชบญั ญตั ินี้
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ด้านการส่งเสริม
จริยธรรม ด้านกฎหมาย ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ หรอื ดา้ นอนื่ ใดอนั จะเป็น
ประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ม.จ. โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ
ต้องหา้ ม ดังตอ่ ไปนี้
(๑) มสี ญั ชาตไิ ทย
(๒) มีอายุไม่ต�ำ่ กว่าสส่ี บิ หา้ ปี
(๓) ไมเ่ ป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบคุ คลล้มละลายทจุ ริต
(๔) ไมเ่ ป็นคนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ
(๕) ไมเ่ คยไดร้ บั โทษจ�ำ คกุ โดยค�ำ พพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ้ �ำ คกุ เวน้ แตเ่ ปน็ โทษส�ำ หรบั ความผดิ ทไ่ี ดก้ ระท�ำ
โดยประมาท
(๖) ไม่เป็นผ้ดู ำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง สมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นหรอื ผบู้ รหิ ารท้องถน่ิ กรรมการหรอื ผ้ซู ง่ึ
ดำ�รงต�ำ แหน่งซึ่งรบั ผิดชอบการบริหารพรรคการเมอื ง ท่ีปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจา้ หน้าที่พรรคการเมอื ง
(๗) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย หรือให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจหรือ
หนว่ ยงานของรัฐ
(๘) ไม่เคยต้องคำ�พิพากษาหรือคำ�ส่ังของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะรำ่�รวย
ผิดปกติ

4

(๙) ไม่เคยต้องคำ�พิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทำ�ความผิดต่อตำ�แหน่งหน้าที่ราชการหรือต่อตำ�แหน่ง
หนา้ ทใ่ี นการยตุ ธิ รรม หรอื กระท�ำ ความผดิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยความผดิ ของพนกั งานในองคก์ ารหรอื หนว่ ยงานของรฐั
(๑๐) ไม่อยใู่ นระหว่างตอ้ งหา้ มมิให้ด�ำ รงตำ�แหนง่ ทางการเมอื ง
(๑๑) ไม่เคยพ้นจากตำ�แหน่งเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง
ทางการเมืองมคี �ำ พิพากษาวา่ ฝ่าฝนื หรือไม่ปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งร้ายแรง
มาตรา ๑๐ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒมิ ีวาระการดำ�รงตำ�แหนง่ คราวละสามปี เมือ่ ครบก�ำ หนดตามวาระ
ในวรรคหนึง่ หากยังมไิ ดม้ กี ารแต่งตัง้ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒขิ ึน้ ใหม่ใหก้ รรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซึ่งพ้นจากต�ำ แหนง่
ตามวาระนน้ั อยใู่ นต�ำ แหนง่ เพอ่ื ด�ำ เนนิ งานตอ่ ไปจนกวา่ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ซิ ง่ึ ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหมเ่ ขา้ รบั หนา้ ทก่ี รรมการ
ผทู้ รงคณุ วฒุ ซิ ง่ึ พน้ จากต�ำ แหนง่ ตามวาระอาจไดร้ บั แตง่ ตง้ั อกี ได้ แตจ่ ะด�ำ รงต�ำ แหนง่ ตดิ ตอ่ กนั เกนิ สองวาระไมไ่ ด้
มาตรา ๑๑ นอกจากการพ้นจากต�ำ แหนง่ ตามวาระ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ พิ น้ จากต�ำ แหนง่ เม่อื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคณุ สมบตั หิ รอื มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙
(๔) ก.ม.จ. มมี ตใิ หอ้ อกจากต�ำ แหนง่ ดว้ ยคะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนง่ึ ของจ�ำ นวนกรรมการ เทา่ ทม่ี อี ยู่
เพราะบกพร่องตอ่ หนา้ ท่ี มคี วามประพฤติเสอื่ มเสีย หรอื หยอ่ นความสามารถ
มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำ�แหน่งก่อนวาระหรือในกรณีที่นายกรัฐมนตรี
แตง่ ตง้ั กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ เิ พม่ิ ขน้ึ ในระหวา่ งทก่ี รรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ซง่ึ แตง่ ตง้ั ไวแ้ ลว้ ยงั มวี าระอยใู่ นต�ำ แหนง่
ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตำ�แหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มข้ึนอยู่ในตำ�แหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่
ของผู้ซึ่งตนแทนหรือผู้ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว เว้นแต่วาระที่เหลืออยู่ไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคณุ วฒุ ิแทนก็ได้
ในกรณีท่ีกรรมการผทู้ รงคุณวุฒพิ น้ จากต�ำ แหนง่ กอ่ นวาระ ให้ ก.ม.จ. ประกอบด้วยกรรมการท้งั หมด
เทา่ ท่มี ีอยู่จนกว่าจะมกี ารแต่งต้ังตามวรรคหน่งึ
มาตรา ๑๓ ก.ม.จ. มีหน้าทแ่ี ละอำ�นาจ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คำ�ปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม และ
การส่งเสรมิ จริยธรรมภาครฐั ต่อคณะรัฐมนตรี
(๒) ก�ำ หนดแนวทางหรอื มาตรการในการขบั เคลอ่ื น การด�ำ เนนิ กระบวนการรกั ษาจรยิ ธรรม รวมทง้ั กลไก
และการบังคบั ใชป้ ระมวลจรยิ ธรรมสำ�หรบั เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ เพื่อให้องคก์ รกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตาม
มาตรา ๖ วรรคสอง หรอื ผ้บู งั คับบญั ชานำ�ไปใช้ในกระบวนการบรหิ ารงานบคุ คล อยา่ งเปน็ รูปธรรม
(๓) กำ�หนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้ง
เสนอแนะมาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
แกห่ น่วยงานของรฐั ตอ่ คณะรัฐมนตรี
(๔) กำ�กบั ติดตาม และประเมินผลการด�ำ เนนิ การตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม โดยอยา่ งนอ้ ยตอ้ งให้
หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม และให้มีการประเมิน
พฤตกิ รรมทางจริยธรรมส�ำ หรบั เจ้าหน้าท่ขี องรฐั ในหน่วยงานนนั้
(๕) ตรวจสอบรายงานประจำ�ปีของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๙ (๓) และรายงานสรุปผลการ
ดำ�เนินงานดังกลา่ วเสนอตอ่ คณะรัฐมนตรีเพ่ือทราบอยา่ งน้อยปีละหน่ึงครงั้

5

(๖) ตีความและวินจิ ฉัยปญั หาทเี่ กดิ จากการใชบ้ ังคับพระราชบญั ญัตนิ ้ี
(๗) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ีหรือตามท่ีคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
การประเมินผลตาม (๔) ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ี ก.ม.จ. กำ�หนด โดยอาจจัดใหม้ ีองค์กรภายนอก
เข้ารว่ มการประเมนิ ผลดว้ ยกไ็ ด้
มาตรา ๑๔ เพื่อให้การดำ�เนินการจัดทำ�ประมวลจริยธรรมและข้อกำ�หนดจริยธรรม ตามมาตรา ๖
เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานทางจรยิ ธรรม และเพอ่ื ประโยชนใ์ นการด�ำ เนนิ การตามหนา้ ท่ี
และอ�ำ นาจตามมาตรา ๑๓ ให้ ก.ม.จ. มีอำ�นาจก�ำ หนดหลกั เกณฑเ์ ปน็ ระเบยี บค่มู อื หรอื แนวทางปฏิบตั เิ พ่อื ให้
องค์กรกลางบริหารงานบุคคลองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง และหน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักเกณฑ์สำ�หรับ
การจดั ท�ำ ประมวลจรยิ ธรรมและขอ้ ก�ำ หนดจรยิ ธรรม รวมทง้ั การก�ำ หนดกระบวนการรกั ษาจรยิ ธรรมของเจา้ หนา้ ท่ี
ของรัฐ ในการนีใ้ ห้ ก.ม.จ. มหี นา้ ทใี่ หค้ ำ�แนะนำ�แกอ่ งคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลองคก์ รตามมาตรา ๖ วรรคสอง
และหน่วยงานของรฐั ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญตั นิ ี้
ในกรณีท่ีปรากฏแก่ ก.ม.จ. ว่าการจัดทำ�ประมวลจริยธรรมขององคก์ รกลางบริหารงานบุคคล หรอื
องคก์ รตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือข้อกำ�หนดจรยิ ธรรมของหน่วยงานของรัฐแห่งใดไม่สอดคล้อง กับมาตรฐาน
ทางจริยธรรมหรือมีการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กำ�หนดตามวรรคหนึ่งให้ ก.ม.จ. แจ้งให้
องคก์ รกลางบรหิ ารงานบุคคล องคก์ รตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรอื หน่วยงานของรัฐแห่งน้ันด�ำ เนนิ การแกไ้ ขให้
ถกู ตอ้ ง และใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี ององคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คล องคก์ รตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรอื หนว่ ยงานของรฐั
ทจี่ ะตอ้ งดำ�เนินการโดยเรว็
มาตรา ๑๕ ให้ ก.ม.จ. จดั ใหม้ กี ารทบทวนมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามมาตรา ๕ ทกุ หา้ ปี หรอื ในกรณที ่ี
มีความจำ�เป็นหรือสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป ก.ม.จ. จะพิจารณาทบทวนในรอบระยะเวลาที่เร็วกว่านั้นก็ได้
โดยในการด�ำ เนนิ การดงั กลา่ วใหเ้ ชญิ ผแู้ ทนจากองคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คล และองคก์ รตามมาตรา ๖ วรรคสอง
มาหารือรว่ มกันดว้ ย
มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ม.จ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการ
ทั้งหมดเท่าทม่ี ีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชมุ
ในการประชุม ก.ม.จ. ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธาน
กรรมการปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ทน ในกรณที ไ่ี มม่ รี องประธานกรรมการหรอื มแี ตไ่ มอ่ าจปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ดใ้ หท้ ป่ี ระชมุ เลอื ก
กรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชมุ
การวนิ ิจฉัยชขี้ าดของทป่ี ระชมุ ให้ถอื เสียงข้างมาก กรรมการคนหน่งึ ให้มเี สียงหน่ึง ในการลงคะแนน
ถา้ คะแนนเสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานในท่ีประชมุ ออกเสียงเพ่ิมข้นึ อกี เสยี งหนง่ึ เปน็ เสียงชขี้ าด
มาตรา ๑๗ ในการปฏิบัติหน้าท่ตี ามพระราชบัญญตั ิน้ี ก.ม.จ. มีอ�ำ นาจแต่งตัง้ คณะอนกุ รรมการหรอื
คณะทำ�งานเพอ่ื พจิ ารณาหรือดำ�เนนิ การตามที่ ก.ม.จ. มอบหมายได้
ให้นำ�ความในมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการและคณะทำ�งานด้วย
โดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการได้รับเบยี้ ประชุม
และประโยชนต์ อบแทนอน่ื ตามทก่ี ระทรวงการคลงั ก�ำ หนด โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี

6

หมวด ๓
การรักษาจรยิ ธรรมของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั

------------------

มาตรา ๑๙ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการรกั ษาจรยิ ธรรมของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ด�ำ เนนิ การ
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) กำ�หนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจำ�หน่วยงานของรัฐ ในการนี้อาจ
มอบหมายใหส้ ว่ นงานทม่ี หี นา้ ทแี่ ละภารกจิ ในด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล หรอื ทเ่ี ก่ียวกับการบรหิ ารงานบุคคล
หรอื คณะกรรมการและกลุ่มงานจรยิ ธรรมประจ�ำ หนว่ ยงานของรัฐทีม่ อี ยู่แล้วเป็นผู้รบั ผดิ ชอบก็ได้
(๒) ดำ�เนินกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐใน
หน่วยงานของรัฐ และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรม รวมทั้งกำ�หนดกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่
ของรัฐ ตลอดจนสรา้ งเครอื ข่ายและประสานความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงานของรัฐและภาคเอกชน
(๓) ทกุ สิน้ ปงี บประมาณ ให้จัดท�ำ รายงานประจ�ำ ปีตามหลักเกณฑท์ ี่ ก.ม.จ. ก�ำ หนดเสนอต่อ ก.ม.จ.
โดยใหห้ นว่ ยงานของรฐั เสนอรายงานประจ�ำ ปผี า่ นองคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลหรอื องคก์ ร ตามมาตรา ๖ วรรคสอง
แล้วแตก่ รณี เพอ่ื ประเมินผลในภาพรวมของหน่วยงานของรัฐเสนอต่อ ก.ม.จ. ด้วย
มาตรา ๒๐ ใหอ้ งคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลแตล่ ะประเภทและองคก์ ร ตามมาตรา ๖ วรรคสอง มหี นา้ ท่ี
ก�ำ กบั ดแู ลการด�ำ เนนิ กระบวนการรกั ษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรม รวมทัง้
ให้มีหน้าที่และอำ�นาจจัดหลักสูตรการฝึกอบรม การเผยแพร่ความเข้าใจ ตลอดจนการกำ�หนดมาตรการจูงใจ
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานของรัฐมีพฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี
และมาตรการท่ีใช้บังคับแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานของรัฐซ่ึงมีพฤติกรรมท่ีเป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทาง
จริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยอาจกำ�หนดมาตรการเพื่อใช้ในการบริหารงานบุคคล
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการประเภทนั้น

บทเฉพาะกาล
----------------

มาตรา ๒๑ เมอ่ื ก.ม.จ. ไดป้ ระกาศก�ำ หนดหลกั เกณฑก์ ารจดั ท�ำ ประมวลจรยิ ธรรม ตามมาตรา ๑๔ แลว้ ให้
องค์กรกลางบริหารงานบุคคลและองค์กร ตามมาตรา ๖ วรรคสอง จัดทำ�ประมวลจริยธรรมให้แล้วเสร็จตาม
ระยะเวลาท่ี ก.ม.จ. ก�ำ หนด
มาตรา ๒๒ บรรดาประมวลจรยิ ธรรม กฎ ระเบียบ หรอื หลกั เกณฑ์เกยี่ วกบั จรยิ ธรรมของเจา้ หน้าที่
ของรัฐที่มีผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คงมีผลใช้บังคับได้ต่อไป เท่าที่ไม่ขัด
หรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีการกำ�หนดประมวลจริยธรรมหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจริยธรรม
ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

ผู้รบั สนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรฐั มนตรี

7

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐
------------------
หมวด ๑๓

จริยธรรมของผดู้ ำ�รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งและเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ
-------------------

มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหนา้ ที่
ของรัฐแต่ละประเภทให้เปน็ ไปตามประมวลจรยิ ธรรมที่ก�ำ หนดขน้ึ
มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีกลไกและระบบในการดำ�เนินงานเพื่อให้การบังคับ
ใช้เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รวมทั้งกำ�หนดขน้ั ตอนการลงโทษตามความรา้ ยแรงแหง่ การกระท�ำ
การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าเป็นการกระทำ�ผิดทางวินัย
ในกรณที ผ่ี ดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งฝา่ ฝนื ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม ใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ รายงานตอ่ รฐั สภา คณะรฐั มนตรี
หรอื สภาทอ้ งถน่ิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งแลว้ แตก่ รณี และหากเปน็ การกระท�ำ ผดิ รา้ ยแรง ใหส้ ง่ เรอ่ื งใหค้ ณะกรรมการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาดำ�เนินการ โดยให้ถือเป็นเหตุที่จะถูกถอดถอนจากตำ�แหน่ง
ตามมาตรา ๒๗๐
การพิจารณา สรรหา กล่นั รอง หรือแตง่ ตัง้ บุคคลใดเขา้ สูต่ �ำ แหน่งที่มีสว่ นเก่ียวข้องในการใชอ้ ำ�นาจรฐั
รวมทั้งการโยกย้าย การเลื่อนต�ำ แหน่ง การเลอื่ นเงินเดือน และการลงโทษบคุ คลนน้ั จะต้องเปน็ ไปตามระบบ
คณุ ธรรมและคำ�นงึ ถึงพฤตกิ รรมทางจริยธรรมของบคุ คลดังกล่าวดว้ ย
มาตรา ๒๘๐ เพื่อประโยขน์ในการดำ�เนินการตามหมวดนี้ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำ�นาจหน้าที่
เสนอแนะหรือให้ค�ำ แนะนำ�ในการจัดท�ำ หรอื ปรับปรุงประมวลจรยิ ธรรมตามมาตรา ๒๗๙ วรรคหน่งึ และส่งเสริม
ให้ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีจิตสำ�นึกในด้านจริยธรรม รวมทั้งมีหน้าที่
รายงานการกระทำ�ทมี่ กี ารฝา่ ฝืน ประมวลจรยิ ธรรมเพือ่ ใหผ้ ทู้ ี่รับผดิ ชอบในการบังคบั การใหเ้ ปน็ ไปตามประมวล
จริยธรรม ด�ำ เนินการบงั คับใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลจรยิ ธรรม ตามมาตรา ๒๗๙ วรรคสาม
ในกรณีที่การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม มีลักษณะร้ายแรงหรือมีเหตุอันควร
เช่อื วา่ การดำ�เนินการของผรู้ ับผดิ ชอบจะไมเ่ ปน็ ไปด้วยความเป็นธรรม ผู้ตรวจการแผน่ ดินจะไต่สวนและเปดิ เผย
ผลการไตส่ วนต่อสาธารณก็ได้
มาตรา ๓๐๔ ให้ดำ�เนินการจัดทำ�ประมวลจริยธรรม ตามมาตรา ๒๗๙ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี
นบั แต่ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญน้ี

--------------------------------

8

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
.........................................................

มาตรา ๗๖ ก�ำ หนดใหร้ ฐั พงึ พฒั นาระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ทง้ั ราชการสว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค
ส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐ อย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยหน่วยงาน
ของรัฐต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดทำ�บริการ
สาธารณะ และการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนรวมตลอดทั้ง
พัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชน ให้เกิดความสะดวก
รวดเรว็ ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติและปฏบิ ตั หิ น้าท่อี ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
       วรรคสอง รัฐพึงดำ�เนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ
ให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม โดยกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อำ�นาจ หรือ
กระท�ำ การโดยมชิ อบทเ่ี ปน็ การกา้ วกา่ ยหรอื แทรกแซงการปฏบิ ตั หิ นา้ ทห่ี รอื กระบวนการแตง่ ตง้ั หรอื การพจิ ารณา
ความดคี วามชอบของเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ     
วรรคสาม รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกำ�หนด
ประมวลจรยิ ธรรมสำ�หรับเจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐในหนว่ ยงานนนั้ ๆ ซ่ึงต้องไม่ตำ่�กว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว
มาตรา ๒๕๘ ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (๔) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงาน
บุคคลภาครัฐเพื่อจูงใจให้ผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาทำ�งานในหน่วยงานของรัฐ และสามารถ
เจริญก้าวหนา้ ได้ตามความสามารถ และผลสมั ฤทธข์ิ องงานของแต่ละบุคคล มคี วามซอ่ื สัตย์สุจริต กล้าตัดสนิ ใจ
และกระท�ำ ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ ง โดยคดิ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตวั มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และคดิ คน้
นวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้การปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ
มีมาตรการคมุ้ ครองป้องกนั บุคลากรภาครัฐจากการใช้อำ�นาจโดยไม่เปน็ ธรรมของผบู้ งั คบั บัญชา

9

พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
.......................................................

มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมี
ประสิทธิภาพ และความคมุ้ คา่ โดยใหข้ า้ ราชการปฏบิ ตั ริ าชการอยา่ งมีคณุ ภาพ คุณธรรม และคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี
มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คำ�นึงถึงระบบ
คุณธรรม
๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่ง ควรคำ�นึงถึงความรู้
ความสามารถ ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และประโยชนข์ องทางราชการ
๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคำ�นึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะ
ของงาน โดยไมเ่ ลือกปฏิบตั ิอย่างไม่เปน็ ธรรม
๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำ�แหน่ง และการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการต้อง
เป็นไปอย่างเป็นธรรม โดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ ความประพฤติ และจะนำ�ความคิดเห็นทาง
การเมอื งหรอื สงั กัดพรรคการเมอื งมาประกอบการพิจารณามไิ ด้
๔) การดำ�เนนิ การทางวินัย ตอ้ งเปน็ ไปด้วยความยุติธรรม และโดยปราศจากอคติ
๕) การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลต้องมีความเปน็ กลางทางการเมอื ง
มาตรา ๔๓ ขา้ ราชการพลเรือนสามญั มเี สรีภาพในการรวม
มาตรา ๗๘ ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกำ�หนดไว้โดย
มุ่งประสงค์ให้เปน็ ข้าราชการที่ดี มีเกียรตแิ ละศกั ดิศ์ รคี วามเปน็ ข้าราชการ โดยเฉพาะในเรอ่ื งดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) การยึดม่นั และยนื หยัดทำ�ในส่งิ ทถ่ี กู ต้อง
(๒) ความซ่ือสัตย์สจุ รติ และความรบั ผดิ ชอบ
(๓) การปฏิบตั หิ นา้ ทดี่ ว้ ยความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้
(๔) การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีโดยไม่เลอื กปฏบิ ัติอยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม
(๕) การมงุ่ ผลสัมฤทธิข์ องงาน
ให้ส่วนราชการกำ�หนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของงานใน
ส่วนราชการน้ันตามหลกั วิชาและจรรยาวชิ าชพี
ในการกำ�หนดข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการตามวรรคสองให้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของ
ข้าราชการและประกาศใหป้ ระชาชนทราบดว้ ย
มาตรา ๗๙ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการอันมิใช่เป็นความผิดวินัย
ให้ผู้บังคับบัญชาตักเตือน นำ�ไปประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน หรือสั่งให้ข้าราชการผู้นั้นได้รับ
การพัฒนา

.....................................................

10

ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื น
หมวด ๑
บททว่ั ไป

---------------------

ข้อ ๑ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันครบเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา
ขอ้ ๒ ในประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรือนน้ี

“ประมวลจริยธรรม” หมายความว่า ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรอื น ฉบบั นี้
“ขา้ ราชการ” หมายความวา่ ขา้ ราชการพลเรอื น พนกั งานราชการ และลกู จา้ งในสงั กดั ราชการพลเรอื น
“หวั หน้าส่วนราชการ” หมายความรวมถงึ ผู้วา่ ราชการจังหวัดในกรณีทเี่ ปน็ ข้าราชการส่วนภมู ิภาค
“คณะกรรมการจรยิ ธรรม” หมายความว่า คณะกรรมการจริยธรรมประจำ�สว่ นราชการ
“ของขวญั ” หมายความวา่ ของขวญั ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปราม
การทจุ ริตหรอื กฎหมายเก่ียวกับการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม

หมวด ๒
จริยธรรมขา้ ราชการพลเรือน

------------------------

ข้อ ๓ ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทำ�ในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม โดยอย่างน้อย
ต้องวางตน ดงั น้ี

(๑) ปฏบิ ตั ติ ามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และไม่กระท�ำ การเลี่ยงประมวลจริยธรรมน้ี ในกรณที ี่
มีข้อสงสัยหรือมีผู้ทักท้วงว่าการกระทำ�ใดของข้าราชการอาจขัดประมวลจริยธรรม ข้าราชการต้องไม่กระทำ�การ
ดังกล่าว หรือหากกำ�ลงั กระท�ำ การดังกลา่ วต้องหยุดกระทำ�การ และส่งเรื่องใหค้ ณะกรรมการจรยิ ธรรมพจิ ารณาวนิ จิ ฉัย
ในกรณที ีค่ ณะกรรมการจริยธรรมวินิจฉยั วา่ การกระทำ�นั้น ขัดประมวลจรยิ ธรรม ข้าราชการจะกระท�ำ การนัน้ มไิ ด้

(๒) เมื่อรู้หรือพบเห็นการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมนี้ ข้าราชการมีหน้าที่ต้องรายงานการฝ่าฝืนดังกล่าว
พรอ้ มพยานหลกั ฐาน (หากมี) ตอ่ หัวหน้าส่วนราชการและหรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน ในกรณที หี่ วั หนา้ ส่วน
ราชการเปน็ ผฝู้ า่ ฝนื จรยิ ธรรมตอ้ งรายงานตอ่ ปลดั กระทรวง หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชาเหนอื ชน้ั ขน้ึ ไปของหวั หนา้ สว่ นราชการนน้ั
แล้วแตก่ รณี และหรือคณะกรรมการจรยิ ธรรม

(๓) ต้องรายงานการดำ�รงตำ�แหน่งท้ังท่ีได้รับค่าตอบแทนและไม่ได้รับค่าตอบแทนในนิติบุคคลซ่ึงมิใช่
ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นของรัฐ และกิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่
ตอ่ หวั หน้าสว่ นราชการและคณะกรรมการจริยธรรม ในกรณีทกี่ ารดำ�รงต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ อาจขัดแย้งกบั การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
หรอื อาจท�ำ ให้การปฏบิ ัตหิ น้าท่เี สยี หาย

ความในขอ้ นใี้ ห้ใชบ้ งั คับกับการเปน็ ลูกจา้ ง การรบั จา้ งทำ�ของ การเปน็ ตัวแทน การเป็นนายหน้า และการมี
นิตสิ มั พนั ธอ์ ื่นในท�ำ นองเดยี วกนั ดว้ ย

(๔) ในกรณที ข่ี า้ ราชการเขา้ รว่ มประชุมและพบว่ามีการกระท�ำ ซึ่งมลี ักษณะตาม (๒) ของขอ้ นี้ หรือมีการ
เสนอเรอ่ื ง ซง่ึ มลี กั ษณะตาม (๒) ของขอ้ นผ้ี า่ นขา้ ราชการ ขา้ ราชการมหี นา้ ทต่ี อ้ งคดั คา้ นการกระท�ำ ดงั กลา่ ว และบนั ทกึ
การคัดค้านของตนไวใ้ นรายงานการประชุมหรอื ในเรอื่ งนัน้ แล้วแต่กรณี

11

ข้อ ๔ ข้าราชการต้องมีจิตสำ�นึกที่ดีและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ
รวดเรว็ โปรง่ ใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยอยา่ งนอ้ ยตอ้ งวางตน ดงั น้ี

(๑) อุทิศตนใหก้ บั การปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ดี ้วยความรอบคอบระมัดระวงั และเตม็ กำ�ลังความสามารถ
ทีม่ อี ยู่ ในกรณีทตี่ อ้ งไปปฏิบตั ิงานอน่ื ของรัฐด้วย จะต้องไม่ทำ�ใหง้ านในหน้าทเ่ี สียหาย

(๒) ละเว้นจากการกระทำ�ทั้งปวงที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อตำ�แหน่งหน้าที่ของตน หรือของ
ขา้ ราชการอ่ืน ไมก่ า้ วก่ายหรอื แทรกแซงการปฏิบัติหน้าท่ีของข้าราชการอน่ื โดยมชิ อบ

(๓) ใช้ดุลพินิจและตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรู้ ความสามารถ เยี่ยงที่ปฏิบัติในวิชาชีพ
ตรงไปตรงมา ปราศจากอคติส่วนตน ตามข้อมลู พยานหลกั ฐานและความเหมาะสมของแต่ละกรณี

(๔) เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ ต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง และแจ้งให้หัวหน้าส่วน
ราชการทราบโดยพลัน

(๕) ไม่ขดั ขวางการตรวจสอบของหนว่ ยงานทมี่ ีหน้าทต่ี รวจสอบตามกฎหมายหรอื ประชาชน ตอ้ งให้
ความร่วมมือกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบตามกฎหมายหรือประชาชนในการตรวจสอบโดยให้ข้อมูล
ทีเ่ ปน็ จรงิ และครบถว้ น เมื่อได้รับค�ำ ร้องขอในการตรวจสอบ

(๖) ไม่สั่งราชการด้วยวาจาในเรื่องที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ในกรณีที่สั่งราชการ
ด้วยวาจาในเร่ืองดังกล่าวให้ผู้ใต้บังคับบัญชาบันทึกเรื่องเป็นลายลักษณ์อักษรตามคำ�ส่ังเพ่ือให้ผู้ส่ังพิจารณา
สงั่ การตอ่ ไป

ขอ้ ๕ ข้าราชการต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตำ�แหน่งหน้าที่ และยึดถือประโยชน์ส่วนรวม
ของประเทศชาติ เหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน โดยอย่างน้อยตอ้ งวางตน ดังน้ี
(๑) ไมน่ �ำ ความสัมพันธ์ส่วนตวั ทตี่ นมตี ่อบุคคลอื่น ไม่วา่ จะเป็นญาตพิ ่นี ้อง พรรคพวกเพ่ือนฝงู หรือ
ผู้มีบุญคุณส่วนตัว มาประกอบการใช้ดุลพินิจให้เป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลนั้น หรือปฏิบัติต่อบุคคลนั้น
ต่างจากบคุ คลอื่นเพราะชอบหรือชงั

(๒) ไม่ใช้เวลาราชการ เงนิ ทรัพย์สิน บคุ ลากร บรกิ าร หรือส่งิ อำ�นวยความสะดวกของทางราชการไป
เพ่ือประโยชน์ส่วนตัวของตนเองหรือผู้อืน่ เวน้ แตไ่ ด้รับอนญุ าตโดยชอบด้วยกฎหมาย

(๓) ไม่กระทำ�การใด หรือดำ�รงตำ�แหน่ง หรือปฏิบัติการใดในฐานะส่วนตัว ซึ่งก่อให้เกิดความ
เคลือบแคลงหรอื สงสยั ว่าจะขดั กบั ประโยชน์สว่ นรวมท่อี ยใู่ นความรับผิดชอบของหน้าที่
ในกรณีมีความเคลือบแคลงหรือสงสัย ให้ข้าราชการผู้นั้นยุติการกระทำ�ดังกล่าวไว้ก่อนแล้วแจ้งให้
ผบู้ งั คับบัญชาหวั หนา้ สว่ นราชการ และคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณา เมื่อคณะกรรมการจริยธรรมวินจิ ฉัย
เป็นประการใดแลว้ จึงปฏบิ ตั ติ ามนั้น

(๔) ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบในหนว่ ยงานโดยตรงหรอื หนา้ ทอ่ี น่ื ในราชการ รฐั วสิ าหกจิ องคก์ าร
มหาชน หรอื หน่วยงานของรัฐ ข้าราชการต้องยึดถือประโยชน์ของทางราชการเป็นหลัก ในกรณีท่ีมีความขดั แย้ง
ระหว่างประโยชน์ของทางราชการ หรือประโยชน์ส่วนรวมกับประโยชน์ส่วนตนหรือส่วนกลุ่ม อันจำ�เป็นต้อง
วินจิ ฉัยหรอื ชีข้ าด ต้องยดึ ประโยชน์ของทางราชการและประโยชน์สว่ นรวมเป็นส�ำ คญั
ขอ้ ๖ ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตำ�แหน่งหน้าที่และไม่กระทำ�
การอันเป็นการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม โดยอยา่ งน้อยตอ้ งวางตน ดังน้ี
(๑) ไม่เรียก รบั หรือยอมจะรับ หรือยอมให้ผู้อ่ืนเรยี ก รบั หรือยอมจะรับซึ่งของขวญั แทนตน หรอื
ญาตขิ องตน ไม่วา่ ก่อนหรือหลงั ดำ�รงต�ำ แหน่งหรอื ปฏิบัติหนา้ ท่ไี ม่ว่าจะเกี่ยวขอ้ งหรอื ไม่เกี่ยวขอ้ งกบั การปฏิบัติ
หนา้ ท่ีหรือไม่กต็ าม เว้นแตเ่ ปน็ การให้โดยธรรมจรรยา หรอื เปน็ การใหต้ ามประเพณีหรอื ใหแ้ ก่บุคคลทัว่ ไป

12

(๒) ไม่ใช้ตำ�แหนง่ หรือกระท�ำ การท่ีเป็นคุณ หรอื เป็นโทษแก่บุคคลใด เพราะมีอคติ
(๓) ไม่เสนอ หรืออนุมัติโครงการ การดำ�เนินการ หรือการทำ�นิติกรรมหรือสัญญา ซึ่งตนเอง หรือ
บคุ คลอืน่ จะไดป้ ระโยชน์อันมิควรไดโ้ ดยชอบด้วยกฎหมายหรอื ประมวลจรยิ ธรรมนี้
ขอ้ ๗ ขา้ ราชการตอ้ งเคารพและปฏบิ ตั ติ ามรฐั ธรรมนญู และกฎหมายอยา่ งตรงไปตรงมา โดยอยา่ งนอ้ ย
ตอ้ งวางตน ดงั นี้
(๑) ไม่ละเมิดรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ข้อบังคับหรือมติคณะรัฐมนตรีที่ชอบด้วยกฎหมาย ในกรณี
มีขอ้ สงสยั หรอื มีข้อทักทว้ งวา่ การกระท�ำ ไมช่ อบดว้ ยรัฐธรรมนญู กฎหมาย กฎ ขอ้ บังคบั หรอื มตคิ ณะรัฐมนตรี
ท่ชี อบดว้ ยกฎหมาย ขา้ ราชการต้องแจง้ ใหห้ วั หนา้ ส่วนราชการและคณะกรรมการจริยธรรมพจิ ารณา และจะ
ดำ�เนินการตอ่ ไปไดต้ ่อเมอ่ื ไดข้ ้อยตุ จิ ากหนว่ ยงานท่ีมีอ�ำ นาจหนา้ ทีแ่ ลว้
(๒) ในกรณที เ่ี หน็ วา่ ค�ำ สง่ั ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื การด�ำ เนนิ การใดทต่ี นมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งไมช่ อบดว้ ยรฐั ธรรมนญู
กฎหมาย กฎ หรอื ขอ้ บังคับ ต้องทักทว้ งเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรไว้
(๓) ในกรณีที่เห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องทำ�เรื่องเสนอให้หัวหน้าส่วนราชการ
พิจารณา และส่งเรอื่ งให้สำ�นกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรดี ำ�เนนิ การให้ได้ข้อยุตทิ างกฎหมายต่อไป
(๔) ไม่เลี่ยงกฎหมาย ใช้หรือแนะนำ�ให้ใช้ช่องว่างของกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน เพื่อ
ประโยชน์ของตนเองหรือผู้อน่ื และต้องเร่งแกไ้ ขชอ่ งวา่ งดงั กลา่ วโดยเร็ว
(๕) ไม่ยอมใหบ้ คุ คลอน่ื อาศยั ชือ่ ตนเองถอื ครองทรัพยส์ นิ สทิ ธิ หรอื ประโยชนอ์ ่นื ใดแทนบคุ คลอื่น
อนั เป็นการเลยี่ งกฎหมาย หรอื ใช้ชอ่ื บุคคลอืน่ ถือครองส่ิงดงั กลา่ วแทนตนเพอื่ ปกปิดทรัพย์สนิ ของตน
(๖) เมือ่ ทราบว่ามีการละเมดิ หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายในสว่ นราชการของตน หวั หน้าสว่ นราชการ
ต้องดำ�เนนิ การทีจ่ �ำ เป็น เพอ่ื ให้เกิดการเคารพกฎหมายขน้ึ โดยเร็ว
(๗) เมอ่ื ไดร้ บั ค�ำ รอ้ ง หรอื ค�ำ แนะน�ำ จากผตู้ รวจการแผน่ ดนิ หรอื หนว่ ยงานอน่ื วา่ กฎหมาย กฎ หรอื ขอ้ บงั คบั
ทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของสว่ นราชการของตน สรา้ งภาระเกนิ สมควรแกป่ ระชาชน หรอื สรา้ งความไมเ่ ปน็ ธรรม
ให้เกิดข้นึ ตอ้ งดำ�เนนิ การทบทวนกฎหมาย กฎ หรอื ข้อบงั คับ ดังกล่าวโดยเร็ว
ขอ้ ๘ ขา้ ราชการตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความเทย่ี งธรรม เปน็ กลางทางการเมอื ง ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน
โดยมอี ธั ยาศยั ท่ีดีและไมเ่ ลือกปฏิบัติโดยไม่เปน็ ธรรม โดยอย่างนอ้ ยต้องวางตน ดังนี้
(๑) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี หล้ ลุ ว่ ง โดยไมห่ ลกี เลย่ี ง ละเลย หรอื ละเวน้ การใชอ้ �ำ นาจเกนิ กวา่ ทม่ี อี ยตู่ ามกฎหมาย
(๒) ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี หรอื ด�ำ เนนิ การอน่ื โดยค�ำ นงึ ถงึ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ และสทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คล
ไมก่ ระทำ�การให้กระทบสทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คลหรือก่อภาระหรอื หน้าทใ่ี ห้บุคคลโดยไม่มีอ�ำ นาจตามกฎหมาย
(๓) ให้บรกิ ารและอ�ำ นวยความสะดวกแก่ประชาชนโดยมอี ธั ยาศัยทีด่ ี ปราศจากอคติ และไม่เลือก
ปฏบิ ตั ติ อ่ บคุ คลผมู้ าตดิ ตอ่ โดยไมเ่ ปน็ ธรรมในเรอ่ื งถน่ิ ก�ำ เนดิ เชอ้ื ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกาย
หรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา อบรม หรือ
ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ เว้นแต่จะดำ�เนินการตามมาตรการที่รัฐกำ�หนดขึ้นเพื่อ
ขจดั อปุ สรรค หรอื สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลสามารถใชส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพได้ เชน่ เดยี วกบั บคุ คลอน่ื หรอื เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั ิ
ท่ีมเี หตผุ ล เป็นธรรม และเป็นท่ียอมรบั กนั ทว่ั ไป
(๔) ละเว้นการให้สัมภาษณ์ การอภปิ ราย การแสดงปาฐกถา การบรรยาย หรอื การวิพากษว์ ิจารณ์
อันกระทบตอ่ ความเปน็ กลางทางการเมือง เว้นแต่เป็นการแสดงความเห็นทางวิชาการตามหลกั วิชา
(๕) ไม่เอือ้ ประโยชน์เป็นพเิ ศษให้แก่ญาตพิ ่นี อ้ ง พรรคพวก เพื่อนฝูงหรือผ้มู บี ุญคุณและต้องปฏิบตั ิ
หน้าทดี่ ว้ ยความเทีย่ งธรรมไมเ่ หน็ แก่หนา้ ผใู้ ด
(๖) ไม่ลอกหรอื น�ำ ผลงานของผู้อ่ืนมาใช้เป็นของตนเองโดยมิไดร้ ะบุแหลง่ ที่มา

13

ข้อ ๙ ข้าราชการต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัด
และรวดเรว็ ไมถ่ ่วงเวลาให้เนิ่นชา้ และใชข้ ้อมลู ข่าวสารที่ไดม้ าจากการด�ำ เนนิ งานเพอื่ งานในหน้าท่แี ละใหข้ ้อมูล
ข่าวสารแกป่ ระชาชนอย่างครบถ้วน ถกู ต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริงโดยอย่างนอ้ ยต้องวางตน ดังน้ี
(๑) ไม่ใชข้ ้อมูลทไ่ี ด้มาจากการด�ำ เนนิ งานไปเพอื่ การอน่ื อันไมใ่ ช่การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่
เพอ่ื เออ้ื ประโยชนแ์ กต่ นเองหรือบคุ คลอน่ื
(๒) ชี้แจง แสดงเหตุผลที่แท้จริงอย่างครบถ้วนในกรณีที่กระทำ�การอันกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
บุคคลอื่น ไม่อนุญาต หรือไม่อนุมัติตามคำ�ขอของบุคคล หรือเมื่อบุคคลร้องขอตามกฎหมาย เว้นแต่การ
อันคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองได้กำ�หนด
ยกเว้นไว้ ทง้ั นี้ จะตอ้ งด�ำ เนินการภายในสบิ ห้าวันท�ำ การนบั แต่กระทำ�การดงั กลา่ ว หรือไดร้ บั การร้องขอ
ข้อ ๑๐ ขา้ ราชการตอ้ งม่งุ ผลสัมฤทธ์ขิ องงาน รกั ษาคุณภาพและมาตรฐานแหง่ วชิ าชีพโดยเครง่ ครดั
โดยอยา่ งนอ้ ยต้องวางตน ดังนี้
(๑) ปฏบิ ตั งิ านโดยมงุ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของงานใหเ้ กดิ ผลดที ส่ี ดุ จนเตม็ ก�ำ ลงั ความสามารถ
(๒) ใช้งบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิและประโยชน์ที่ทางราชการจัดให้ ด้วยความประหยัดคุ้มค่า
ไม่ฟมุ่ เฟอื ย
(๓) ใช้ความรคู้ วามสามารถ ความระมัดระวงั ในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ตามคุณภาพและมาตรฐานวชิ าชีพ
โดยเครง่ ครัด
ขอ้ ๑๑ ขา้ ราชการตอ้ งยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
โดยอยา่ งน้อยตอ้ งวางตน ดงั น้ี
(๑) ไม่แสดงการต่อต้านการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หรอื สนับสนนุ ให้นำ�การปกครองในระบอบอนื่ ทไ่ี ม่มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ มาใช้ในประเทศไทย
(๒) จงรักภกั ดีต่อพระมหากษัตรยิ ์ และไมล่ ะเมดิ องคพ์ ระมหากษัตรยิ ์ พระราชินี และพระรัชทายาท
ไมว่ ่าทางกายหรือทางวาจา
ข้อ ๑๒ ขา้ ราชการต้องเป็นแบบอยา่ งที่ดใี นการด�ำ รงตน รกั ษาชือ่ เสยี งและภาพลกั ษณข์ องราชการ
โดยรวม โดยอยา่ งนอ้ ยต้องวางตน ดังน้ี
(๑) ไม่ละเมิดหลักส�ำ คัญทางศลี ธรรม ศาสนา และประเพณี ในกรณีท่มี ีข้อขดั แย้งระหวา่ งประมวล
จริยธรรมนี้กับหลักสำ�คัญทางศีลธรรม ศาสนา หรือประเพณี ข้าราชการต้องเสนอเรื่องให้คณะกรรมการ
จริยธรรมพจิ ารณาวินิจฉยั
(๒) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาในส่วนราชการทุกระดับช้ันต้องปกครองผู้อยู่ใต้บังคับ
บญั ชาด้วยความเทย่ี งธรรม โดยไม่เห็นแกค่ วามสมั พันธ์หรอื บญุ คุณส่วนตัว และควบคมุ ใหผ้ อู้ ยใู่ ต้บงั คบั บัญชา
ปฏิบตั ิตามประมวลจริยธรรมโดยเคร่งครดั
(๓) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาในส่วนราชการทุกระดับชั้นต้องสนับสนุนส่งเสริม และ
ยกยอ่ งผอู้ ยใู่ ตบ้ ังคบั บัญชาท่มี คี วามซอื่ สตั ย์ มผี ลงานดีเด่น มีความรู้ความสามารถและขยนั ขันแข็ง ไมเ่ ลือกทรี่ กั
มกั ทช่ี งั และยึดมัน่ ในระบบคณุ ธรรม
(๔) ไมก่ ระท�ำ การใดอนั อาจน�ำ ความเสอ่ื มเสยี และไมไ่ วว้ างใจใหเ้ กดิ แกส่ ว่ นราชการ หรอื ราชการโดยรวม

14

หมวด ๓
กลไกและระบบการบงั คบั ใชป้ ระมวลจรยิ ธรรม

----------------
ส่วนท่ี ๑

องค์กรคมุ้ ครองจรยิ ธรรม
----------------

ข้อ ๑๓ ก.พ. มีหน้าที่ควบคุมกำ�กับให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างทั่วถึงและจริงจัง
โดยมอี ำ�นาจหนา้ ท่ี ดงั นี้
(๑) วางระเบียบเพ่อื ก�ำ หนดการทั้งหลายอนั จ�ำ เป็นแก่การใชบ้ ังคับประมวลจริยธรรม
(๒) คุ้มครองและประกันความเป็นอิสระและเท่ียงธรรมของคณะกรรมการจริยธรรมและกลุ่มงาน
คุ้มครองจริยธรรม
(๓) คุ้มครองข้าราชการซ่ึงปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อย่างตรงไปตรงมามิให้ผู้บังคับบัญชา
ใช้อำ�นาจโดยไม่เปน็ ธรรมตอ่ ข้าราชการผ้นู ัน้
(๔) เผยแพร่และปลูกฝังจริยธรรมให้เป็นที่รับทราบอย่างกว้างขวางท้ังในหมู่ข้าราชการและ
ประชาชน
(๕) ส่งเสริมและยกยอ่ งสว่ นราชการ หวั หน้าสว่ นราชการ ผ้บู งั คับบญั ชา และขา้ ราชการที่ปฏบิ ตั ิตาม
ประมวลจรยิ ธรรมอย่างจรงิ จัง
(๖) ติดตาม สอดส่องการใช้บังคับ และการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ ในกรณีมีการฝ่าฝืน
จริยธรรมและยังไม่มีการดำ�เนินการใด ก.พ. อาจมีมติให้หัวหน้าส่วนราชการของข้าราชการผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติตาม
ประมวลจรยิ ธรรมได้
(๗) ประสานงานกับผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อให้การปฏิบัติตามค่านิยมหลักสำ�หรับผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง
ทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตลอดจนประมวลจริยธรรมนี้มีผลใช้บังคับอย่างจริงจัง มีประสิทธิภาพ
และท่วั ถงึ
(๘) ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามประมวลจริยธรรมนี้ ของหัวหน้าสว่ นราชการ คณะกรรมการจรยิ ธรรม
และขา้ ราชการทงั้ ปวง และจดั ท�ำ รายงานประจ�ำ ปีเสนอคณะรัฐมนตรี และผตู้ รวจการแผน่ ดิน แล้วเผยแพรใ่ ห้
ประชาชนทราบ
(๙) ตีความ และวินจิ ฉยั ชข้ี าดปญั หาอันเกดิ จากประมวลจรยิ ธรรมนี้
(๑๐) ประมวลการตีความและวินิจฉัยปัญหาอันเกิดจากการใช้บังคับประมวลจริยธรรมนี้ทุกปี และ
เผยแพรใ่ ห้ข้าราชการทราบเพื่อยึดถือและเป็นแนวทางปฏบิ ัตติ อ่ ไป
(๑๑) ทบทวนว่าสมควรแกไ้ ขเพ่มิ เติมประมวลจริยธรรมนี้หรือไม่ทกุ ส่ีปี
(๑๒) ด�ำ เนินการอน่ื ตามประมวลจริยธรรมน้ี หรือตามที่จะตกลงกบั ผตู้ รวจการแผ่นดนิ
ข้อ ๑๔ ให้ ก.พ. โดยข้อเสนอของหัวหน้าส่วนราชการ แต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมประจำ�
สว่ นราชการขน้ึ เพอ่ื ควบคมุ กำ�กบั ใหม้ ีการปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรมน้ี
คณะกรรมการจรยิ ธรรม ประกอบด้วย
(๑) ประธานกรรมการ ซึ่งหัวหน้าส่วนราชการเสนอจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกผู้มีความซื่อสัตย์
เป็นประจักษ์โดยได้รับความเหน็ ชอบจาก ก.พ.

15

(๒) กรรมการผูด้ ำ�รงตำ�แหนง่ ประเภทบริหารหรอื ประเภทอ�ำ นวยการเลอื กกันเองให้เหลอื สองคน
(๓) กรรมการสองคนซง่ึ เปน็ ขา้ ราชการในสว่ นราชการทไ่ี ดร้ บั คดั เลอื กจากขา้ ราชการ พนกั งานราชการ
และลกู จา้ งของส่วนราชการนน้ั ตามวิธกี ารดำ�เนินการทีแ่ ตล่ ะสว่ นราชการเหน็ สมควร
(๔) กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒภิ ายนอกสองคน ซ่ึงหัวหน้าสว่ นราชการและรองหัวหนา้ สว่ นราชการรว่ ม
กนั เสนอให้หัวหน้ากลมุ่ งานค้มุ ครองจริยธรรมเปน็ เลขานกุ าร คณะกรรมการจรยิ ธรรม กรรมการจริยธรรมตอ้ ง
ไม่เคยถกู ลงโทษทางวนิ ยั และเปน็ ผู้มีเกียรติ เป็นทย่ี อมรบั ของส่วนราชการน้นั
ข้อ ๑๕ คณะกรรมการจริยธรรมมีอำ�นาจหนา้ ท่ี ดงั นี้
(๑) ควบคมุ กำ�กบั สง่ เสริมและให้คำ�แนะนำ�ในการใชบ้ ังคับประมวลจริยธรรมน้ใี นส่วนราชการ
(๒) สอดสอ่ งดแู ลให้มกี ารปฏิบัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมในสว่ นราชการ ในกรณที มี่ ขี ้อสงสยั หรือมขี อ้
รอ้ งเรียนว่ามีการฝ่าฝืนจริยธรรม ให้สง่ เรอ่ื งใหห้ วั หน้าส่วนราชการเพ่ือปฏบิ ัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมนโ้ี ดยเรว็
(๓) พจิ ารณาวินิจฉยั ชี้ขาดปัญหาอนั เกดิ จากการใชบ้ ังคบั ประมวลจรยิ ธรรมน้ใี นสว่ นราชการ เม่อื ได้
วินจิ ฉัยแล้วให้สง่ คำ�วินิจฉัยให้ ก.พ. โดยพลัน ถ้า ก.พ. มิได้วนิ ิจฉัยเป็นอยา่ งอ่ืนภายในหกสิบวัน นบั แต่วันที่ ก.พ.
รับเรือ่ งให้ค�ำ วนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการจริยธรรมเปน็ ท่ีสุด
(๔) ส่งเรื่องให้ ก.พ. พิจารณาวินิจฉัยในกรณีที่เห็นว่าเรื่องนั้นเป็นเรื่องสำ�คัญหรือมีผลกระทบใน
วงกวา้ งหลายส่วนราชการ และยงั ไมม่ คี ำ�วนิ ิจฉยั ของ ก.พ. หรอื ผูต้ รวจการแผ่นดนิ
(๕) คมุ้ ครองและประกนั ความเปน็ อสิ ระและเทย่ี งธรรมของกลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมของสว่ นราชการ
(๖) คมุ้ ครองขา้ ราชการซง่ึ ปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมนอ้ี ยา่ งตรงไปตรงมา มใิ หผ้ บู้ งั คบั บญั ชาใชอ้ �ำ นาจ
โดยไม่เปน็ ธรรมตอ่ ขา้ ราชการผนู้ ้ัน
(๗) เสนอผลการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ของหัวหน้าส่วนราชการต่อ ก.พ. และ
ประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมของส่วนราชการ เพื่อเสนอหัวหน้าส่วนราชการ
เพ่ือประกอบการเล่ือนเงินเดอื น หรือเล่อื นต�ำ แหน่งข้าราชการในกล่มุ งาน
(๘) เสนอแนะการแก้ไขเพมิ่ เตมิ ประมวลจริยธรรมน้ี หรอื การอน่ื ที่เห็นสมควรต่อ ก.พ.
(๙) ดำ�เนนิ การอ่ืนตามประมวลจรยิ ธรรมน้ี หรอื ตามท่ี ก.พ. มอบหมายการประชมุ คณะกรรมการ
จริยธรรม ให้นำ�กฎหมายวา่ ดว้ ยวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองมาใช้บงั คับ
ขอ้ ๑๖ หวั หนา้ สว่ นราชการ และผบู้ รหิ ารสว่ นราชการตง้ั แตผ่ ดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ประเภทบรหิ ารประเภท
อ�ำ นวยการ หรอื ด�ำ รงตำ�แหน่งประเภทอน่ื ทที่ �ำ หน้าที่เป็นผูบ้ งั คับบญั ชามีหน้าที่ปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรมน้ี
และประพฤตติ นให้เปน็ แบบอย่างที่ดแี กผ่ ูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบญั ชา ควบคมุ ให้ผู้อยใู่ ตบ้ ังคับบัญชาปฏิบตั ิตามประมวล
จริยธรรมนี้ สนับสนุนส่งเสริมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานและความรู้ความสามารถ และ
ปฏิบตั ิตามประมวลจรยิ ธรรมนี้ โดยให้มีอ�ำ นาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) คมุ้ ครองและประกนั ความเปน็ อสิ ระและเทย่ี งธรรมของกลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมของสว่ นราชการ
(๒) คมุ้ ครองขา้ ราชการซง่ึ ปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมนอ้ี ยา่ งตรงไปตรงมา มใิ หถ้ กู กลน่ั แกลง้ หรอื
ถกู ใชอ้ �ำ นาจโดยไมเ่ ปน็ ธรรม ในกรณที ห่ี วั หนา้ สว่ นราชการ ผบู้ รหิ ารสว่ นราชการตง้ั แตป่ ระเภทอ�ำ นวยการขน้ึ ไป
ถูกข้าราชการผู้ใดกล่าวหาว่าไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ ข้าราชการผู้ถูกกล่าวหานั้นไม่อาจดำ�เนินการ
เกี่ยวกับการออกคำ�สั่งแต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนเงินเดือน แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง หรือคณะ
กรรมการสอบสวนทางวินัย หรือการดำ�เนินการใดที่เป็นผลร้ายหรือกระทบต่อสิทธิหน้าที่ของข้าราชการ
ผูก้ ล่าวหาน้นั จะกระทำ�มไิ ด้เวน้ แต่จะได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมประจำ�ส่วนราชการแล้ว
(๓) ส่งเสริมและเผยแพร่การปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรมนอ้ี ย่างสม่ำ�เสมอ

16

(๔) ติดตามสอดสอ่ งให้ข้าราชการในส่วนราชการปฏิบตั ิตามประมวลจรยิ ธรรมน้ีอย่างเคร่งครดั
(๕) ปฏบิ ตั ติ ามมตหิ รอื ค�ำ วนิ จิ ฉยั ก.พ. หรอื คณะกรรมการจรยิ ธรรม ค�ำ แนะน�ำ ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ในกรณที ค่ี ณะกรรมการจรยิ ธรรมมคี �ำ วนิ จิ ฉยั ใด และหวั หนา้ สว่ นราชการไมเ่ หน็ พอ้ งดว้ ยกบั ค�ำ วนิ จิ ฉยั นน้ั ใหเ้ สนอ
ความเห็นของตนและค�ำ วนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการจริยธรรมไปให้ ก.พ. วินจิ ฉัยได้ เวน้ แต่กรณีน้ันมคี ำ�วนิ ิจฉยั
ของผู้ตรวจการแผน่ ดนิ หรอื ก.พ. วนิ ิจฉัยเสร็จเดด็ ขาดไว้แล้ว
(๖) รวบรวมปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงประมวล
จริยธรรมนี้ หรือการอื่นตามทเี่ ห็นสมควรเสนอตอ่ ก.พ.
(๗) ดำ�เนนิ การอื่นตามประมวลจริยธรรมน้ี หรอื ตามทผ่ี ้ตู รวจการแผน่ ดนิ หรือ ก.พ. มอบหมาย
ข้อ ๑๗ ให้จัดต้ังกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมขึ้นในทุกส่วนราชการขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ
มหี นา้ ทค่ี มุ้ ครองจรยิ ธรรมตามประมวลจรยิ ธรรมน้ี ซง่ึ มคี วามเปน็ อสิ ระ โดยมขี า้ ราชการซง่ึ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ประเภท
บริหารระดบั ต้นขน้ึ ไปเปน็ หัวหน้ากลุ่ม และมีอ�ำ นาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี
(๑) ดำ�เนนิ การเผยแพร่ ปลูกฝัง สง่ เสริม ยกย่องข้าราชการทเี่ ป็นแบบอยา่ งทด่ี ี และติดตามสอดส่อง
การปฏบิ ัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมนอ้ี ย่างสม่�ำ เสมอ
(๒) สืบสวนข้อเท็จจริงการฝ่าฝืนจริยธรรมเพื่อรายงานผลให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณา ทั้งนี้
โดยอาจมผี รู้ อ้ งขอหรืออาจดำ�เนินการตามทห่ี วั หน้าส่วนราชการมอบหมายหรือตามท่ีเห็นสมควรก็ได้
(๓) ให้ความช่วยเหลือและดูแลข้าราชการซ่ึงปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีอย่างตรงไปตรงมา
มิให้ถกู กลั่นแกล้งหรอื ถูกใชอ้ �ำ นาจโดยไมเ่ ปน็ ธรรม
ใหน้ �ำ ความในขอ้ ๑๖ (๒) มาใชก้ บั ขา้ ราชการในกลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมดว้ ย โดยอนโุ ลม โดยให้ ก.พ.
เป็นผู้ให้ความเหน็ ชอบ
(๔) ทำ�หนา้ ท่ีฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจรยิ ธรรมประจำ�ส่วนราชการ
(๕) ด�ำ เนนิ การอน่ื ตามทก่ี �ำ หนดในประมวลจรยิ ธรรมน้ี หรอื ตามทห่ี วั หนา้ สว่ นราชการ คณะกรรมการ
จรยิ ธรรม หรอื ตามท่ี ก.พ. มอบหมาย ทง้ั น้ี โดยไมก่ ระทบตอ่ ความเปน็ อสิ ระของผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ในกลมุ่ งานดงั กลา่ ว

17

สว่ นท่ี ๒
ระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรม

---------------------

ข้อ ๑๘ การฝ่าฝืนจริยธรรมตามความในหมวด ๒ ของประมวลจริยธรรมนี้เป็นความผิดวินัย
ตามกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ หรือระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำ�ของส่วนราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๗ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๙ เมื่อมีกรณีการฝ่าฝืนจริยธรรม ผู้บังคับบัญชาอาจสั่งลงโทษทางวินัย ว่ากล่าวตักเตือน
ท�ำ ทัณฑ์บนเปน็ หนงั สอื หรอื สงั่ ให้ไดร้ ับการพฒั นาตามทเ่ี ห็นสมควร
ข้อ ๒๐ ให้หัวหน้าสว่ นราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และ ก.พ. สง่ เสริมจริยธรรมข้าราชการ
โดยอยา่ งนอ้ ยตอ้ งด�ำ เนนิ การ ดงั น้ี
(๑) ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน ย้ายหรือโอนข้าราชการ ให้ใช้พฤติกรรมทางจริยธรรม
ของผูน้ ั้นพจิ ารณาควบคูก่ บั ความรคู้ วามสามารถ
(๒) ปลูกฝังจริยธรรมให้ข้าราชการใหม่ จัดให้ข้าราชการลงลายมือชื่อรับทราบประมวลจริยธรรม
จัดให้มีสมุดบันทึกประวัติในส่วนที่เกี่ยวกับจริยธรรมของข้าราชการแต่ละคน รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริม
จรยิ ธรรมผบู้ ริหาร และข้าราชการอย่างสม่�ำ เสมอ
(๓) ประเมินการปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมของข้าราชการ
(๔) ค้มุ ครองขา้ ราชการผปู้ ฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมนี้อยา่ งเพียงพอ
(๕) ยกยอ่ งขา้ ราชการและสว่ นราชการทถ่ี อื ปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมนโ้ี ดยเครง่ ครดั
(๖) ตอบขอ้ สงสยั หรอื คำ�ถามเก่ียวกับการปฏบิ ตั ติ ามประมวลจริยธรรมน้ี
(๗) จัดให้มีการศึกษาค่านิยมท่ีเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีและดำ�เนินการ
แก้ไขปรับเปลี่ยนคา่ นิยมนัน้
(๘) เผยแพร่ให้ประชาชน ผู้เป็นคู่สมรส ญาติ พี่น้อง พรรคพวกเพื่อนฝูงของข้าราชการตลอดจน
ประชาชนผมู้ าตดิ ตอ่ ราชการทราบประมวลจรยิ ธรรมของขา้ ราชการ เพอ่ื ไมท่ �ำ การอนั เปน็ การสง่ เสรมิ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ
การฝา่ ฝนื จรยิ ธรรม
(๙) จดั ใหม้ กี ารประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมนี้
ข้อ ๒๑ เมื่อมีปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ในเรื่องใด ข้าราชการอาจเสนอเรื่องที่เป็น
ปญั หาดงั กลา่ วใหห้ วั หนา้ กลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมของสว่ นราชการทต่ี นสงั กดั น�ำ เสนอ เพอ่ื ขอค�ำ วนิ จิ ฉยั หรอื
อนญุ าตแลว้ แตก่ รณจี ากคณะกรรมการจรยิ ธรรมได้ ในกรณที เ่ี รอ่ื งนน้ั เปน็ เรอ่ื งส�ำ คญั หรอื มผี ลกระทบ ในวงกวา้ ง
หลายสว่ นราชการ และยังไม่มคี �ำ วนิ จิ ฉยั ของ ก.พ. หรือผูต้ รวจการแผ่นดินแลว้ แตก่ รณี คณะกรรมการจริยธรรม
อาจสง่ เรอ่ื งให้ ก.พ. วนิ จิ ฉัย
ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าเรื่องดังกล่าวตามวรรคหนึ่งเป็นเรื่องสำ�คัญอันควรแก่การขอคำ�แนะนำ�จาก
ผู้ตรวจการแผ่นดินก็ให้กระทำ�ได้ข้าราชการที่ปฏิบัติตามคำ�วินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือ
ผ้ตู รวจการแผน่ ดินไมต่ ้องรบั ผดิ ทางวนิ ัย
ขอ้ ๒๒ ในกรณที จ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งด�ำ เนนิ การเรอ่ื งใดโดยดว่ น หากปลอ่ ยใหเ้ นน่ิ ชา้ ไปจะกระทบตอ่ ประโยชน์
ส่วนรวมหรือประโยชน์ของทางราชการ และไม่อาจเรียกประชุมคณะกรรมการจริยธรรมได้ทันข้าราชการอาจ
ขอคำ�แนะนำ�จากหวั หน้ากลุ่มงานค้มุ ครองจรยิ ธรรมของส่วนราชการท่ตี นสงั กัด

18

หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมตามวรรคหนึ่งมีหน้าท่ีต้องให้คำ�แนะนำ�ตามสมควรตามคำ�วินิจฉัย
ของคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน หากไม่มีคำ�วินิจฉัยในเรื่องที่เป็นปัญหามาก่อน
หวั หนา้ กลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมอาจใหค้ �ำ แนะน�ำ โดยยดึ ประโยชนส์ งู สดุ ของสว่ นรวมเปน็ ส�ำ คญั ทง้ั ตอ้ งมงุ่ สรา้ ง
ความสำ�นึกและเที่ยงธรรมในหน้าที่ ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีของข้าราชการที่สร้างความไว้วางใจและเชื่อมั่น
ของปวงชน และการดำ�รงตนเปน็ แบบอย่างท่ดี งี ามใหส้ ง่ เรือ่ งให้คณะกรรมการจริยธรรมและ ก.พ. ทราบ
ข้าราชการท่ปี ฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ของหัวหน้ากล่มุ งานค้มุ ครองจริยธรรมตามแนวทางท่คี ณะกรรมการ
จริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผน่ ดนิ เคยวินิจฉัยไวแ้ ล้วโดยสุจรติ ไมต่ อ้ งรบั ผิดทางวินัย

บทเฉพาะกาล
------------------

ข้อ ๒๓ ให้ดำ�เนินการแต่งต้ังคณะกรรมการจริยธรรมและจัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมในส่วน
ราชการทุกแห่งภายในเก้าสบิ วันนับแต่วนั ทป่ี ระมวลจรยิ ธรรมน้มี ผี ลใช้บงั คับ
ข้อ ๒๔ เมื่อครบหนึ่งปีนับแต่วันที่ประมวลจริยธรรมนี้มีผลใช้บังคับ ให้ ก.พ. จัดให้มีการประเมิน
การปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมน้ี พรอ้ มด�ำ เนนิ การปรบั ปรงุ แนวทางการปฏบิ ตั หิ รอื แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลจรยิ ธรรม
ให้เหมาะสม
ในการดำ�เนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.พ. รับฟงั ความคิดเหน็ จากข้าราชการ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครอง
จรยิ ธรรม คณะกรรมการจรยิ ธรรม หวั หนา้ สว่ นราชการ และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ อยา่ งกวา้ งขวางและตอ้ งด�ำ เนนิ การ
ตามวรรคหนง่ึ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั ทค่ี รบหนง่ึ ปขี องการใชบ้ งั คบั ประมวลจรยิ ธรรมน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒
อภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชีวะ
นายกรฐั มนตรี
ประธาน ก.พ.

19

ขอ้ บังคบั กรมราชทณั ฑ์
ว่าด้วยจรรยาข้าราชการราชทณั ฑ์ พ.ศ. ๒๕๕๒

----------------------------

ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗๘ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ตอ้ ง
รักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกำ�หนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรี
ความเปน็ ข้าราชการ
อาศยั อ�ำ นาจตามความใน มาตรา ๓๒ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔
ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติม โดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ กรมราชทณั ฑ์
จึงออกข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ เพื่อเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติตนและส่งเสริมชื่อเสียง
เกยี รตคิ ุณ อันยังส่งผลให้ผู้ประพฤตเิ ปน็ ทเ่ี ลื่อมใสศรัทธาและไดร้ บั การยกยอ่ งจากบคุ คลทั่วไปไวด้ งั ต่อไปนี้
๑. รกั ศักดิ์ศรแี หง่ ตนและเกยี รตภิ ูมิราชทัณฑ์
๒. ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ มุ่งผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน
๓. ยึดมั่นในคณุ ธรรมดำ�เนินชีวติ แบบพอเพียง
ให้ไว้ ณ วันท่ี ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(นายนทั ธี จิตสวา่ ง)
อธิบดกี รมราชทัณฑ์

20

ความหมายของค�ำ ตามจรรยาขา้ ราชการราชทณั ฑ์
---------------------------

“จรรยา” หมายความวา่ ความประพฤติ กริ ยิ าทค่ี วรประพฤตใิ นหมคู่ ณะ เชน่ จรรยาแพทย์ นยิ มใช้
ในทางที่ดีไมม่ จี รรยา หมายถงึ ไมม่ คี วามประพฤติดี ความประพฤติและการปฏบิ ตั ทิ ่ีถือวา่ มีความถกู ตอ้ ง, ดงี าม,
ควรทำ�ตามหลักจริยธรรมของกลุ่มบุคคลในอาชีพหนึ่ง ๆ เช่น จรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ และอาจกำ�หนด
อยา่ งชดั เจนเปน็ ข้อ ๆ
“จรรยาบรรณ” หมายความวา่ ประมวลความประพฤตทิ ผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี การงานแตล่ ะอยา่ งก�ำ หนดขน้ึ
เพ่ือรักษาและสง่ เสริมเกยี รตคิ ุณชื่อเสยี ง และฐานะของสมาชิกอาจเขียนเปน็ ลายลักษณ์อักษรหรอื ไม่ก็ได้
“เกยี รติภูมิ” หมายความว่า มีความรักและความภมู ใิ จในการเปน็ ขา้ ราชการราชทณั ฑ์ทีด่ ี มีความ
สามัคคีในองคก์ รและสร้างความเชอ่ื มน่ั ใหส้ งั คมภายนอกยอมรับในงานราชทัณฑ์
“ซ่อื สตั ย”์ หมายความวา่ การปฏิบตั หิ นา้ ท่ดี ว้ ยความเทีย่ งตรง เป็นธรรม ไม่คดโกง หลอกลวง หรือ
ท�ำ ให้ผูอ้ ืน่ เข้าใจผิด แนะนำ�ผู้อื่นด้วยความซ่ือสัตย์ตรงไปตรงมา
“ผลสมั ฤทธ์”ิ หมายความวา่ ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี ย่างเต็มความสามารถ เสยี สละ และอุทิศเวลา พรอ้ มทง้ั
แรงกายแรงใจใหก้ บั ทางราชการ จนเกดิ ผลส�ำ เรจ็ ท�ำ งานใหแ้ ลว้ เสรจ็ ตามก�ำ หนดเกดิ ผลดี โดยค�ำ นงึ ถงึ ผลประโยชน์
ของทางราชการเปน็ สำ�คัญ
“คณุ ธรรม” หมายความว่า ส่ิงทบี่ คุ คลเห็นว่าเปน็ ความดงี าม มีประโยชนย์ ึดในความถกู ตอ้ งดีงาม
เชน่ ความเออ้ื เฟอื้ ความอดทน ความซอื่ สัตย์ ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความรับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ี การมรี ะเบยี บ
วินัย เป็นตน้
“จรรยาข้าราชการราชทณั ฑ”์ หมายความว่า ความประพฤติ กริ ยิ าท่คี วรประพฤติของขา้ ราชการ
ราชทณั ฑ์ และตอ้ งยดึ ถอื ปฏิบตั ิในการด�ำ รงตนใหเ้ หมาะสม
“ความพอเพยี ง” หมายความวา่ รจู้ กั ใชช้ วี ติ อยา่ งพอประมาณ มรี ายไดเ้ พยี งพอกบั รายจา่ ยพง่ึ ตนเองได้
และพอใจในส่ิงทต่ี นเองมอี ยู่
“รกั ศกั ดศ์ิ ร”ี หมายความวา่ รกั ในเกยี รตศิ กั ดข์ิ องตนเอง กระท�ำ ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ งไมแ่ สวงหาผลประโยชน์
ไมเ่ บียดเบยี นผูอ้ ่นื หลกี เลย่ี งอบายมขุ และส่ิงเสพติด ประพฤติตนอยใู่ นระเบียบวินยั พฒั นาตนเองให้มคี ุณธรรม
และศลี ธรรมอนั ดงี ามเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ขี องข้าราชการ
“จริยธรรม” หมายความว่า ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม เป็นระบบของ
การกระทำ�ความดีละเวน้ ความชวั่ อันเป็นพฤติกรรมของบุคคลผกู้ ระท�ำ
“ขอ้ บงั คบั วา่ ด้วยจรรยาขา้ ราชการ” หมายความว่า การใชอ้ ำ�นาจส่ังใหท้ �ำ หรอื ปฏิบัติให้จำ�ต้องทำ�
โดยให้ขา้ ราชการตอ้ งยึดถอื ปฏิบตั ติ ามจรรยา ซึง่ เป็นขอ้ บังคบั ตามทท่ี างราชการได้กำ�หนดไว้
จดุ มุ่งหมายในการรกั ษาจรรยาขา้ ราชการราชทณั ฑ์
๑. เพื่อเสรมิ สร้างชือ่ เสียง สรา้ งความเล่อื มใสศรัทธา และการยอมรับของสังคมทมี่ ตี อ่ กรมราชทณั ฑ์
๒. เพอื่ เสริมสรา้ งความรบั ผิดชอบของขา้ ราชการราชทณั ฑ์ ท่ีมตี ่อหน่วยงานและสังคม
๓. เพื่อให้ข้าราชการราชทัณฑ์มีความสำ�นึกในหน้าที่ มีความประพฤติดี และภาคภูมิใจในวิชาชีพ
ราชทณั ฑ์
๔. เพ่อื เปน็ เคร่อื งมอื ในการควบคุมความประพฤตขิ องข้าราชการราชทณั ฑ์
๕. เพ่ือปอ้ งกนั การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบของขา้ ราชการราชทณั ฑ์
๖. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการราชทัณฑ์และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการ
ปฏิบตั งิ าน
๗. เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการราชทณั ฑเ์ ปน็ ขา้ ราชการทด่ี มี เี กยี รตแิ ละศกั ดศ์ิ รเี หมาะสมกบั ความเปน็ ขา้ ราชการ

21

ขอ้ บังคบั วา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ ขอ้ ที่ ๑

ข้อก�ำ หนด ขอ้ ที่ ๑. รักศักดศิ์ รแี หง่ ตนและเกยี รตภิ ูมิราชทัณฑ์ สาระสำ�คัญ
ขา้ ราชการราชทณั ฑต์ อ้ งท�ำ ตนเองใหม้ ศี กั ดศ์ิ รแี หง่ ตนมคี วามภมู ใิ จในวชิ าชพี ไมก่ ระท�ำ สง่ิ ใด ใหต้ นเอง
และองคก์ รเสือ่ มเสียศกั ด์ิศรแี ละเกียรติภมู ิ
แนวทางปฏิบตั ิ
๑.๑ รกั ศักด์ศิ รีแหง่ ตน หมายความวา่ กระทำ�ในสิ่งที่ถูกตอ้ งไม่แสวงหาผลประโยชน์ ไมเ่ บียดเบียน
ผู้อื่น หลีกเลี่ยงอบายมุขและสิ่งเสพติด ประพฤติตนอยู่ในระเบียบวินัย เป็นผู้ตรงต่อเวลา ใช้เวลาราชการให้เป็น
ประโยชน์อย่างรวดเร็ว ขยันหมั่นเพียร รอบรู้ รอบคอบ ถูกต้องสมเหตุสมผล พัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม
จริยธรรม และศีลธรรมอนั ดีงามเป็นแบบอย่างทดี่ ขี องขา้ ราชการ
๑.๒ รักเกยี รตภิ มู ิของราชทณั ฑ์ หมายความว่า มีความรักและภมู ิใจในการเปน็ ขา้ ราชการราชทัณฑ์
สร้างความสามัคคีในองค์กร สรา้ งความเช่อื มัน่ ใหส้ ังคมภายนอกยอมรบั ในงานราชทณั ฑ์

ข้อบังคบั ว่าด้วยจรรยาข้าราชการราชทณั ฑ์ ข้อที่ ๒

ข้อก�ำ หนด ข้อที่ ๒. ซือ่ สัตย์สุจริตมุ่งผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน สาระสำ�คญั
ข้าราชการราชทัณฑ์ต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมา มีการทำ�งานอย่างโปร่งใส
พรอ้ มรบั การตรวจสอบ พรอ้ มยอมรบั ผดิ ในผลงานทก่ี ระท�ำ เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบท�ำ งานดว้ ยความตง้ั ใจทจ่ี ะให้
เกดิ ผลสำ�เรจ็ ตามเป้าหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลอยา่ งคมุ้ ค่า
แนวทางปฏิบัติ
๒.๑ ซ่อื สัตย์สุจรติ หมายความว่า การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ของตนด้วยความเท่ยี งตรงเทีย่ งธรรม แยกเรอ่ื ง
สว่ นตัวออกจากหนา้ ทก่ี ารงาน ไม่เรยี กรับผลประโยชน์ใด ๆ จากญาติผตู้ อ้ งขงั หรือผู้มาติดตอ่ ราชการ ไมค่ ดโกง
หลอกลวงหรือทำ�ใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจผดิ ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ผู้อน่ื ด้วยความซอื่ สตั ย์ตรงไปตรงมา
๒.๒ โปรง่ ใสตรวจสอบได้ หมายความว่า การปรบั ปรุง กลไกการทำ�งานขององคก์ รใหม้ ีความโปร่งใส
ปฏิบัติงานตามข้นั ตอน มีขอ้ มูลรายละเอียดและหลกั ฐานท่ีสามารถตรวจสอบได้ มกี ารต้งั คณะทำ�งาน หรือคณะ
กรรมการจะทำ�ใหเ้ กิดการตรวจสอบกันเองได้ดี
๒.๓ ความรับผิดชอบ หมายความว่า การรบั ผิดชอบตอ่ ประชาชน ต่อผลการปฏบิ ัตงิ านขององค์กร
การปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ ความสามารถ เสยี สละ และอทุ ศิ เวลา พรอ้ มแรงกายแรงใจใหก้ บั ราชการ โดยค�ำ นงึ ถงึ
ผลประโยชนข์ องทางราชการเปน็ สำ�คัญ มคี วามมงุ่ ม่ัน ตงั้ ใจ ขยนั หมนั่ เพียร และทุ่มเทให้กับงานท่ีรบั ผิดชอบ
เพ่ือให้ราชการไดร้ ับประโยชนส์ งู สุด
๒.๔ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล หมายความวา่ มุ่งทำ�งานใหเ้ กดิ ผลงาน ท�ำ งานให้แลว้ เสร็จตาม
ก�ำ หนด เกดิ ผลดตี อ่ หนว่ ยงาน และสว่ นรวมเนน้ การทำ�งาน โดยยึดผลลัพธเ์ ป็นหลักโดยไม่ค�ำ นึงถึงอุปสรรค และ
ขัน้ ตอนท่ียุ่งยาก ไมท่ อ้ แท้ในการทำ�งาน วางแผนทำ�งานอยา่ งมีเป้าหมาย ชัดเจน ใชท้ รัพยากรและงบประมาณ
อยา่ งคุ้มคา่
๒.๕ พฒั นาตนเอง หมายความวา่ หมน่ั ศกึ ษาหาความรู้ ในการพฒั นาตนเองอยเู่ สมอมคี วามคดิ รเิ รม่ิ
สรา้ งสรรค์ น�ำ ความร้ใู หม่ไปใชพ้ ัฒนางานปรับปรุงวิธกี ารท�ำ งานของตน
๒.๖ เต็มใจบรกิ าร หมายความว่า การแสดงออกถึงความเปน็ มติ ร ยมิ้ แยม้ แจ่มใส มมี นษุ ยสัมพนั ธ์
โอบออ้ มอารี มวี าจาไพเราะ เอาใจใสผ่ รู้ บั บรกิ ารใหบ้ รกิ ารอยา่ งเตม็ ใจจรงิ ใจ ดว้ ยความเสมอภาค เนน้ ความสะดวก
รวดเรว็ ประหยดั ถกู ตอ้ ง ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ ใชว้ าจาสภุ าพ ใหค้ �ำ แนะน�ำ ชว่ ยแกป้ ญั หาไมเ่ รยี กรอ้ งผลประโยชนใ์ ด ๆ
จากผู้รับบริการ

22

ขอ้ บังคบั วา่ ด้วยจรรยาข้าราชการราชทณั ฑ์ ขอ้ ที่ ๓

ข้อกำ�หนด ขอ้ ท่ี ๓ ยดึ มัน่ ในคณุ ธรรม ดำ�เนนิ ชวี ิตแบบพอเพียง สาระสำ�คัญ
ข้าราชการราชทัณฑ์ต้องมีจิตสำ�นึกที่ดี ยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม โดยปฏิบัติตามหลักคำ�สอนของ
ศาสนาอย่างเคร่งครดั และน�ำ คุณธรรมน้ันมาเปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิตนตอ่ ผูร้ ่วมงานและผตู้ ้องขัง รวมทั้งการ
ด�ำ เนนิ ชวี ติ อยบู่ นเสน้ ทางสายกลางโดยยึดหลกั ความมเี หตุผล ความพอประมาณ และการมีภมู คิ มุ้ กัน ตามแบบ
หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แนวทางปฏิบัติ
๓.๑ มีจิตสำ�นึกที่ดี หมายความว่า ปฏิบัติตนตามความเชื่อทางศาสนาที่ตนยึดถืออย่างเคร่งครัด
รบั รคู้ วามแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล และคณุ คา่ ความดขี องบคุ คล มคี วามอดทนอดกลน้ั ตอ่ กเิ ลสทง้ั ปวง ยดึ มน่ั ในหลกั
ความถูกต้องเท่ยี งธรรม สร้างความเชอ่ื ม่ันศรัทธาแกผ่ ูร้ ว่ มงานผู้ตอ้ งขงั และประชาชนโดยทั่วไป ยดึ มน่ั ในความ
ถกู ต้องดีงาม การปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี หถ้ ูกตอ้ งชอบธรรมไมท่ ำ�ผิดระเบยี บ กฎหมาย แมผ้ ู้บงั คับบญั ชาจะสั่งใหท้ ำ�ในส่ิง
ท่ไี ม่ถกู ต้องก็กลา้ ทจ่ี ะคดั คา้ นตามกระบวนการ
๓.๒ การปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผรู้ ว่ มงาน หมายความวา่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยยดึ หลกั ความเปน็ ธรรมความเสมอภาค
ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ ไม่กล่ันแกล้งรงั แก หรือเบียดเบยี นผรู้ ่วมงานใหไ้ ด้รับความเดอื ดร้อนด้วยกายวาจาใจ
๓.๓ การปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั หมายความวา่ การดแู ลเอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ในทางทช่ี อบ ทเ่ี หมาะสม
โดยใชห้ ลกั เมตตาธรรม และเสมอภาคมที ศั นคติท่ีดตี ่อผู้ต้องขังว่าเป็นผทู้ ี่มคี วามบกพรอ่ งต้องชว่ ยเหลอื แก้ไข
พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผ้ตู อ้ งขงั ท้งั ทางด้านอาหาร ทีอ่ ยู่อาศัย การงาน การสัมมนา การกีฬา การอนามยั และ
สุขาภบิ าล
๓.๔ ความมีเหตุผล หมายความว่า การตัดสินใจดำ�เนินงานเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก
วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม คิดถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างถี่ถ้วน
โดยคำ�นึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ�นั้น ๆ อย่างรอบคอบและระมัดระวัง การพิจารณาจัดการกับ
ต้นเหตุเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลทีต่ อ้ งการ
๓.๕ ความพอประมาณ หมายความวา่ การปฏบิ ตั ติ นตามสมควรแกฐ่ านะไมน่ อ้ ยเกนิ ไปไมม่ ากเกนิ ไป
ใชต้ ามความจ�ำ เปน็ หรอื พงึ พอใจในสง่ิ ทต่ี นมอี ยู่ มคี วามพอดตี อ่ ความจ�ำ เปน็ เหมาะสมกบั ฐานะของตน และตอ้ งไม่
เบียดเบียนตนเองและผอู้ ื่น
๓.๖ การมีภูมิคมุ้ กนั หมายความว่า การพงึ่ ตนเอง การประหยดั อดออม และมคี วามขยันหม่นั เพยี ร

23

ประกาศกรมราชทัณฑ์
เร่อื ง มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ของเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์

ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำ�เนินการตาม
แนวนโยบายดา้ นการบรหิ ารราชการ ดังต่อไปน้ี
พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ควบคไู่ ปกบั การปรบั ปรงุ รปู แบบและวธิ กี ารท�ำ งาน เพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และสง่ เสรมิ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ใช้หลักการบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองที่ดี เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติราชการ
อาศยั อ�ำ นาจตามความใน มาตรา ๒๑ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔
กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยตุ ธิ รรม จึงออกประกาศกรมราชทณั ฑ์ เรอื่ ง มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของ
เจา้ หนา้ ทกี่ รมราชทณั ฑ์ไว้ ดังต่อไปน้ี
๑. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต เสียสละ และอดทน
๒. รักษาชอ่ื เสียงเกียรติภมู ิของตนเองและองค์กร
๓. ยึดหลักความยุตธิ รรมและความเสมอภาคตอ่ บุคคล ทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ ร
๔. ด�ำ เนินชีวติ แบบพอเพียงและปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี
๕. พฒั นาสมรรถนะเพ่อื การขับเคลื่อนองคก์ รสคู่ วามเปน็ เลิศ
๖. ทำ�งานเปน็ ทีมใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล
๗. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบอยา่ งเครง่ ครัด โปร่งใสและตรวจสอบได้
๘. ยมิ้ แย้มแจม่ ใสเตม็ ใจบริการ
ทงั้ น้ี นอกจากปฏบิ ตั ิตามประกาศมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรมของข้าราชการและลูกจ้าง
ตามข้อ ๑ – ๘ แล้วจะตอ้ งปฏิบัติตามประกาศกรมราชทณั ฑว์ ่าดว้ ยจรรยาบรรณของข้าราชการ กรมราชทณั ฑ์
พรอ้ มข้อบงั คับ ก.พ. ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๓๗ ดว้ ย

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ กันยายน ๒๕๕๐
(นายนัทธี จิตสว่าง)
อธบิ ดกี รมราชทัณฑ์

24

ท่ี ยธ ๐๗๑๔/20023 กรมราชทัณฑ์
222 ถนนนนทบรุ ี 1
ตำ�บลสวนใหญ่ อำ�เภอเมืองนนทบรุ ี
จงั หวัดนนทบรุ ี ๑๑๐๐๐
มถิ ุนายน ๒๕๕๖

เรอ่ื ง ประกาศหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การรบั เรื่องและพิจารณาการรอ้ งเรียนกลา่ วหา
กรณีขา้ ราชการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม
เรียน ผู้ว่าราชการจังหวดั ผ้บู ัญชาการเรอื นจ�ำ ผูอ้ ำ�นวยการทัณฑสถาน สถานกกั กัน และสถานกกั ขัง
ส่งิ ทสี่ ง่ มาด้วย ส�ำ เนาประกาศกรมราชทัณฑ์ เรือ่ ง ประกาศหลกั เกณฑ์และแนวทางปฏบิ ัติเกย่ี วกบั การรบั เรอื่ ง
และพจิ ารณาการร้องเรียนกลา่ วหากรณีข้าราชการฝ่าฝืนประมวลจรยิ ธรรม จ�ำ นวน ๑ ฉบับ
ตามที่ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ข้อ ๑๗ (๒) กำ�หนดให้กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม
มีอำ�นาจหน้าที่คุ้มครองข้าราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และสืบสวนข้อเท็จจริง
การฝา่ ฝนื จริยธรรมเพือ่ รายงานผลใหห้ วั หนา้ ส่วนราชการพิจารณา นัน้
เพื่อให้การดำ� เนินการคุ้มครองข้าราชการและการดำ� เนินการสืบสวนข้อเท็จจริง กรณี
ข้าราชการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กรมราชทัณฑ์ จึงมีประกาศกรมราชทัณฑ์
เรื่อง ประกาศหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับเรื่องและพิจารณาการร้องเรียนกล่าวหา
กรณีขา้ ราชการฝ่าฝนื ประมวลจรยิ ธรรม รายละเอยี ดปรากฏตามเอกสารที่ส่งมาพร้อมน้ี
จงึ เรียนมาเพ่อื ทราบ และแจง้ ให้ข้าราชการในสังกัดทราบโดยทว่ั กัน

ขอแสดงความนบั ถอื


พนั ตำ�รวจเอก
(สชุ าติ วงศอ์ นนั ตช์ ัย)
อธิบดกี รมราชทณั ฑ์

กลุ่มงานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมราชทณั ฑ์
โทร ๐ ๒๙๖๗ ๒๒๒๒ ตอ่ ๓๒๐
โทรสาร ๐ ๒๙๖๗ ๖๐๑๗

25

ประกาศกรมราชทณั ฑ์
วา่ ดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละแนวทางปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั การรับเรอื่ งและพจิ ารณา

การร้องเรยี นกลา่ วหา กรณีขา้ ราชการฝา่ ฝืนประมวลจริยธรรม
--------------------------------------

เพื่อให้การดำ�เนินการคุ้มครองข้าราชการและการสืบสวนข้อเท็จจริงกรณีข้าราชการฝ่าฝืน
ประมวลจริยธรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงอาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๗๙ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกอบข้อ ขอ้ ๑๕ (๑) และขอ้ ๑๗ (๒) ของประมวลจริยธรรม
กรมราชทณั ฑ์ โดยมตขิ องคณะกรรมการกลมุ่ งานคมุ้ ครองจรยิ ธรรมกรมราชทณั ฑ์ ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี ๑/๒๕๕๖
เม่อื วนั พฤหสั บดที ี่ ๒๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ จงึ กำ�หนดหลกั เกณฑ์และแนวทางปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั การรบั เรอ่ื ง
และพจิ ารณาร้องเรียนกลา่ วหาและด�ำ เนินการกรณขี ้าราชการฝา่ ฝืนประมวลจรยิ ธรรม ดังนี้
๑. เมอ่ื ไดร้ บั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นหรอื มขี อ้ สงสยั วา่ ขา้ ราชการฝา่ ฝนื จรยิ ธรรม ใหถ้ อื เปน็ ความลบั ทางราชการ
หากเป็นบตั รสนเท่ห์ให้พิจารณาเฉพาะรายท่รี ะบุหลกั ฐานกรณแี วดล้อมปรากฏชัดแจง้ ตลอดจนช้ีพยานบคุ คล
แนน่ อนเทา่ นน้ั ทง้ั น้ี ถา้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นเปน็ การกลา่ วหาวา่ กระท�ำ ผดิ วนิ ยั หรอื เปน็ เรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์ ตามพระราชบญั ญตั ิ
ระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หรอื ความผดิ ตามพระราชบัญญัติราชทณั ฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙ หรือ
พ.ร.บ. วินัยขา้ ราชการราชทณั ฑ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ หรอื ความผดิ ตามกฎหมายเฉพาะอ่นื ๆ ก็สง่ เร่ืองใหห้ ัวหนา้ ส่วน
ราชการพจิ ารณาดำ�เนินการตามอำ�นาจหน้าท่ตี อ่ ไป
๒. ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ดำ�เนินการสืบสวนข้อเท็จจริงหรือแต่งตั้งคณะกรรมการ
สบื สวนขอ้ เทจ็ จรงิ ตามทม่ี ผี รู้ อ้ งขอหรอื ตามทห่ี วั หนา้ สว่ นราชการมอบหมาย หรอื ตามทเ่ี หน็ สมควร การแตง่ ตง้ั
คณะกรรมการสืบสวนข้อเทจ็ จริงให้แต่งตง้ั กรรมการ อย่างน้อย ๓ คน แต่ไมเ่ กิน ๕ คน ประธานกรรมการควร
ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ไมต่ �ำ่ กวา่ ผถู้ กู กลา่ วหา และมนี ติ กิ รหรอื ขา้ ราชการทม่ี วี ฒุ กิ ารศกึ ษา ทางนติ ศิ าสตร์ อยา่ งนอ้ ย ๑ คน
เปน็ กรรมการ และให้มเี ลขานกุ าร ๑ คน โดยอาจแตง่ ต้ังผ้ชู ่วยเลขานกุ ารดว้ ยก็ได้ ถา้ จะแต่งตง้ั บุคคลซง่ึ มิได้
อยู่ในบังคับบัญชาของหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เป็นคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงให้ทำ�บันทึก
ขออนมุ ตั หิ ัวหนา้ ส่วนราชการก่อนมีคำ�ส่ังแตง่ ตั้ง
๓. ในการด�ำ เนินการสบื สวนข้อเทจ็ จรงิ ใหด้ ำ�เนนิ การ ดังน้ี
(๑) เรียกผู้ถูกกล่าวหามาแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาท่ีปรากฏตามเรื่องกล่าวหาให้ทราบว่าผู้ถูก
กล่าวหากระทำ�การใด เมื่อใด อยา่ งไร พร้อมทั้งแจง้ ใหท้ ราบด้วยว่าผ้ถู ูกกล่าวหามสี ทิ ธทิ ่ีจะไดร้ ับแจง้ สรุป พยาน
หลักฐานท่สี นับสนุนข้อกล่าวหา ตลอดจนอ้างพยานหลักฐานหรอื นำ�พยานหลกั ฐานมาสืบแกข้ อ้ กลา่ วหาได้ดว้ ย
(๒) ถามผูถ้ ูกกลา่ วหาในเบอื้ งตน้ ว่า ผถู้ กู กล่าวหาไดก้ ระทำ�การตามท่ถี ูกกล่าวหาหรือไม่
(๓) ในกรณีท่ผี ู้ถูกกลา่ วหาให้ถอ้ ยค�ำ รับสารภาพวา่ ได้กระท�ำ การตามทถี่ ูกกล่าวหา ให้คณะกรรมการ
สืบสวนหรือผู้สืบสวนแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบว่าการกระทำ�ตามที่ถูกกล่าวหาน้ันเป็นการฝ่าฝืนจริยธรรม
กรณใี ด อยา่ งไร หากผถู้ กู กลา่ วหายงั คงยนื ยนั ตามทร่ี บั สารภาพใหบ้ นั ทกึ ถอ้ ยค�ำ รบั สารภาพรวมทง้ั เหตผุ ลในการ
รับสารภาพ (ถ้าม)ี และสาเหตขุ องการกระท�ำ ไว้ดว้ ยแล้วพจิ ารณาว่าการกระทำ�ของผถู้ กู กล่าวหา เปน็ การฝา่ ฝนื
จริยธรรมกรณีใด ตามข้อใด และควรดำ�เนนิ การตามมาตรการทางจริยธรรมอยา่ งไร

26

(๔) ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหามิได้ให้ถ้อยคำ�รับสารภาพ ให้คณะกรรมการสืบสวนหรือผู้สืบสวน
ดำ�เนินการสืบสวน เพื่อรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาแล้วพิจารณาว่ามีพยานหลักฐานใด
ที่สนับสนนุ ขอ้ กล่าวหาว่าผูถ้ ูกกล่าวหาไดก้ ระทำ�การใด เมอื่ ใด อยา่ งไร และเปน็ การฝา่ ฝนื ประมวลจรยิ ธรรม
กรณใี ด หรือไม่อยา่ งไร แล้วเรยี กผู้ถูกกลา่ วหามาแจ้งข้อกลา่ วหาอกี คร้งั โดยระบขุ ้อกลา่ วหาปรากฏ ตามพยาน
หลกั ฐานวา่ เปน็ การฝา่ ฝนื ประมวลจรยิ ธรรมกรณใี ด และสรปุ พยานหลกั ฐานทส่ี นบั สนนุ ขอ้ กลา่ วหาเทา่ ทม่ี ใี หท้ ราบ
โดยระบวุ ัน เวลา สถานที่ และการกระท�ำ ทีม่ ีลกั ษณะเป็นการสนับสนนุ ขอ้ กลา่ วหาส�ำ หรบั พยานบคุ คล จะระบุ
หรอื ไม่ระบุช่อื ในพยานกไ็ ด้
(๕) ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาท่ีจะช้ีแจงข้อกล่าวหาเป็นหนังสือหรือให้ถ้อยคำ�ต่อคณะกรรมการสืบสวน
หรือผู้สืบสวนและนำ�สืบข้อกล่าวหาโดยผู้ถูกกล่าวหาจะนำ�พยานหลักฐานมาเองหรือจะอ้าง พยานหลักฐาน
ขอให้คณะกรรมการสบื สวนหรือผสู้ ืบสวนเรยี กมากไ็ ด้
(๖) พิจารณาเปรยี บเทยี บพยานหลักฐานท่สี นบั สนนุ ข้อกลา่ วหากับทีห่ กั ลา้ งข้อกล่าวหา และวินิจฉัย
ลงความเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�การฝ่าฝืนจริยธรรมหรือไม่อย่างไร และควรดำ�เนินการตามมาตรการทาง
จรยิ ธรรมอยา่ งไร แล้วท�ำ รายงานการสืบสวน
ทง้ั น้ี ในการด�ำ เนนิ การสบื สวนขอ้ เทจ็ จรงิ ใหด้ �ำ เนนิ การแลว้ เสรจ็ ภายใน ๖๐ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั ทราบ
คำ�สั่งหรือได้รับมอบหมาย ในกรณีที่คณะกรรมการสืบสวนหรือผู้สืบสวนไม่สามารถดำ�เนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในก�ำ หนดระยะเวลาดงั กลา่ วได้ ใหค้ ณะกรรมการสบื สวนหรอื ผสู้ บื สวนรายงานเหตทุ ท่ี �ำ ใหก้ ารสบื สวนไมแ่ ลว้ เสรจ็
ต่อหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เพื่อขอขยายระยะเวลาการสืบสวน ในกรณีเช่นนี้ให้หัวหน้ากลุ่มงาน
คมุ้ ครองจริยธรรม ส่งั ขยายระยะเวลาด�ำ เนินการได้ตามความจ�ำ เป็นคราวละไม่เกนิ ๓๐ วนั
๔. ในการดำ�เนินการสบื สวนข้อเท็จจรงิ ตามขอ้ ๓ หากคณะกรรมการสบื สวนข้อเทจ็ จรงิ พิจารณา
ในเบ้อื งต้นเห็นว่าพฤติการณ์ของผ้ถู ูกกล่าวหาหรือผ้เู ก่ยี วข้องมีมูลเข้าข่ายเป็นการกระทำ�ผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ใหร้ ายงานให้ผบู้ งั คับบัญชาของผู้น้นั ตามมาตรา ๙๐ และมาตรา ๙๑ แห่งพระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการ
พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หากผบู้ งั คบั บญั ชาเหน็ วา่ เป็นการกระทำ�ผดิ วินยั จะมอบหมายให้คณะกรรมการท�ำ การ
สืบสวนทางวินัยไปในคราวเดียวกัน หรือมอบหมายให้คณะกรรมการชุดใหม่ดำ�เนินการตามมาตรา ๙๒ และ
ตามนัยขอ้ ๓ โดยอนุโลม แลว้ รายงานผลการดำ�เนนิ งานให้ผบู้ งั คบั บญั ชาของผนู้ นั้ พจิ ารณาโทษทางวนิ ยั แต่หาก
เห็นวา่ เปน็ การกระท�ำ ผดิ วนิ ยั อย่างรา้ ยแรงแลว้ กใ็ ห้รายงานผบู้ ังคับบัญชาด�ำ เนนิ การตามอำ�นาจหน้าที่
๕. ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมพิจารณาตรวจสอบสำ�นวนการสืบสวนข้อเท็จจริงเสนอ
หัวหนา้ สว่ นราชการ ดังน้ี
(๑) กรณีผลการสืบสวนไม่มีพยานหลักฐานท่ีรับฟังได้ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำ�การฝ่าฝืนจริยธรรม
ใหย้ ตุ เิ ร่อื ง
(๒) กรณผี ลการสบื สวนมพี ยานหลกั ฐานทร่ี บั ฟงั ไดว้ า่ ผถู้ กู กลา่ วหากระท�ำ การฝา่ ฝนื จรยิ ธรรม ใหว้ า่ กลา่ ว
ตักเตือน ท�ำ ทัณฑบ์ นเปน็ หนังสือ หรอื ใหไ้ ด้รบั การพัฒนาตามท่เี ห็นสมควร
ทั้งนี้ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมสามารถเสนอความเห็นที่แตกต่างไปจากความเห็นของ
คณะกรรมการสบื สวนหรือผู้สืบสวนกไ็ ด้
๖. เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำ�การฝ่าฝืนจริยธรรมอาจสั่งให้
ดำ�เนินความตามข้อ ๑๙ แห่งประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน คือ ลงโทษทางวินัย ว่ากล่าวตักเตือน
ทำ�ทณั ฑบ์ นเปน็ หนงั สือหรอื ส่ังใหไ้ ดร้ ับการพัฒนาตามท่เี หน็ สมควร
๗. ให้หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมแจ้งผลการพิจารณาตามท่ีหัวหน้าส่วนราชการสั่งการให้
ผรู้ อ้ งเรยี นทราบในทางลบั และใหร้ ายงานคณะกรรมการจรยิ ธรรมทราบ

27

๘. กรณมี ปี ญั หา ขอ้ สงสยั เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรม ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการ
และประกาศฉบับนี้ ให้นำ�เสนอคณะกรรมการคุ้มครองจริยธรรมพิจารณาวินิจฉัย และคำ�วินิจฉัยของ
คณะกรรมการคมุ้ ครองจริยธรรมให้ถอื เปน็ ทส่ี ุด
๙. กรณีผู้ที่ถูกกล่าวหาประสงค์จะอุทธรณ์ผลการพิจารณา ให้อุทธรณ์ได้ตามพระราชบัญญัติวิธี
ปฏิบัติราชการการปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ประกาศ ณ วันท่ี มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

พันตำ�รวจเอก
(สุชาติ วงศอ์ นนั ต์ชยั )
อธบิ ดีกรมราชทัณฑ์

28

28

ประกาศกรมราชทัณฑ์
ว่าดว้ ยมาตรฐานทางคณุ ธรรม จริยธรรม ของผบู้ ริหารเรือนจาและทณั ฑ
ว่าดว้ ยมาตรฐานทางคุณธรรปมระจกรายิ ศธสกรรถรมมารนขาชองทผณั ู้บฑริห์ ารเรอื นจ�ำ และทัณฑสถาน
ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘
กรปรปปกขตยค ขต ปแ คปกย ต ค าัฐ้าาอุณอรรรฏล้อวาุณอารรฏชมหะะมงมมบนะมะิงบนธิบกธ คขผส สนผสแรสขคกรรักตรัตา้วู้อิิทบท ดทิาูน้ร่งบ้าอไู่ลรลริติตบปเมชใชธธร ธวมรัสบ๓ับน หนิกิภิผหผจ๓ิคนททิหจรมมปร้ปบัรลลู่าาไ โ–ัริมัณณาัฐ าายยิฏปพฏก–รยิอหร ใตสสคบธฑฑเหิาบเธิกบามขพหดหหอรรอูู้่่ตวรตแคขรารศ์์ห้ ัับตัตว้อือือวา้รงามมมฒัปลััวยกรว้อวัยดนิศติตดยกมกมนนมผวววาดะพรผร๑นอทยัร่ว่อา่อรมสาดดดบัจจสู๑้ปาู้้ะปัฒา๒ฐาัอเยี่ะผผราสขทททนำ�า่งนปขทนร๒๒รธหหร�ำงนทเู้ปู้ใใเแ�ำแอกี่่ีี่ะะรินอแรนาราะสรตตมม๒๑๓เาลรงลรกรบงุาพจรน็จหงแกพาวร้บ้รวบวผรวมัระบจะผ็าตบจขขิหฤมา่งงะกกกดดฤปูังัู้บงงบรนทขทบู้าตส1รปปองยอบ๒๑๒๑๒๑ตใาาา่งคททคยตปแมรรญอูตาหัาังณัรณงุป.รรรรงตบิปร......ับัุี่ิบ่ีติหบิหปนฏคคมงิหอารปปปะ้ห๓๑ุแป122ิงรพธงตพตปปฑฏฑบอิธบาบวมคามภฐัฏิบงมาาหรฏฏระนฏร...้อ้องึฏฏรงึางริรบสใัญควสแโัรแกญกานิวัตูะบปมดง่ิบิบรช่ดวคมเิบพตปงงรดราบิิบเคถ์นกัตลถลาารพรภิตชรว�ัำมยสย้หตชาแก์ำ�ัตตัมใม1อ้ยตัฏงึรราราัตตัือะริจวาอรนือ่อลาฤาชดึร่งงิาดรบลใิตหิองรฐปัิหชปน.ิบแวนนนงหหิิครยแเนนจผามงจตกแแสหวากั่อยสนตอธิบตฏนลริจัตตยรโจนนนโ่ลาึูใ้รามงจิปา2ลมรง่ลลกกีผ่ยรานะดาเา้้อตัะเฐิบา้ึหิแงาตนงธิยอระเข้า้างา�ำะพฏะพ.ณักิมาาใู้พทงบสยใทแคงแอ้บรตรททตัตแธลปนใออคตโหปรรแพบิค่ืแอยืม่รอห่ีราฤทาลรวาโี่อดรงันรลหิดดโ่ีี่ะงา้ฏทบว้บกเ้ทดิมวลดึฏยาใัตงึง่จุใดคมตาาะร้ตยป้กรจทะใาัง๒ว้นวห�ิำบรงัปหเดชายะดแห้กมัิตมิจบหทยบัปิัฐมข้งัตนมรทนปย็ิ๒ด่ีงคธิหมา้๑ก้าผัพตค้ลผรา้รมเนลรขใคิั้ต้งัณตุ่บาาง่อฏเน้คีทัณทกว้ับรจ๑รยาชไนาจู้บิะาะงิู้บเัฒงน่ัักน้า�ำรง้ัิไงแทญัยบิวกะงเนร่ีร่ีรารฑุตบานร้หพกฑกปรนลมราคารอตหาแซกคานิญกายซตัรนญิ้นธิชัญางึสาิลอช่หืนฒัิาหนน่ัึงวสมยรนหชจิ่ึวเ่งงท่ึาาติรงถชกรารถถัรมพกศากพพถาพี้ชอซใู่านใงกา่กผศรนนบนงึุ่กางางุ่ในมาหึงใใกพรรอาก่ืามทายฒือุ่ัมราาูใ้ปอหเกรเาสอหปงนรายศเนเร้รเ ตารใะรู่ใรรซรสธพผกรปราริหศร้นรเกห้เรอืนตุรพือีละรบ้บมศปอื่ตัปือืะใู้พอดนมจัฒร็นะดาาบจงก้าริธศธงตกลังั้าสยรโ็ทัน็งันคานนรขโรลชงัทาาขรารรนยคลีน้บรยเาตัต์สกเรตณธุาชจอไบรเไรกจริหอร่เีชาธพาบัรเชชังาปุจอ่ยลปาชผบอ่มบำงม�ืมาอผัญชคงรภานคือชบแื่นรอทส์ไ่ือปใแูท้บไใญัแรปอู้รอืรนุบณปาับนน์ขกิตญกปนัญจุม์ข๒ใัหริลณมลกัรยณงรพญทรนอาผห่บททภระนใอทัตะ๕ิทหาอชะ่าิจะโสิรหใฑ้งู่ีติกตี้ฑัเ้ญัปีกงาา่กร้ีทงิาครเตากยท๕ด่ีาททศรทิพทงารา์สวะำง�าร์ใวณุรบัช้า่ณาโีัร๐ณศะดทาารหนท่เาหมเ่งศาปร่เงาราัทงับงปเคชชธรเังใงฑี่ถกดสนบ�ำ่ฑบี่ชดถนบคใรรมรสธตรือรกุาีณย็นนเูกาม้ง่สยวูืาีกบาัด้ดวอ้าราสารสตา่อบานแรใตกตชธสา่บยแถนิตมตยหบชไไนถรมแิสไปบจนเรววา้อิกาแกบารมป้มเแกอญัสาลาอจรำแ�้ฏมแรรม้วแานางสล่ผรผานนางาระมมาแปชิหลทลเืรอาบิลหิา้ใูะรเในต่ตรสห๗ี้แใอตาลเหชะรฏ้วามงาเ้สัตวแาชปารงด่รลมป๘ถจ้บทะรง้เรมิบาผล่งิงผ้เฐชฐนิปน็ใะยารตรยน็ทรรปั่ีงดาผร้าูะตัลนากากยเะิสา็านทคังถัรงนวส่ัณะีลจ็ปนนใิงน�กำชชธตสาวาตมับตเแัหำ�ณสราใน็หแปทรกาฑคจรกม้อท้หคองรบนินยเ้มรรไนนาฑกแส็นาัญาางนวสญัาธง้ปัญวมเปนรนดปงรดิวอจผกแปรถำง�สทแอขฏชาคแใทคสรบฏ่ิดมคนนาฏถผแหายอมาผมุิบณอวคานไุาิบณวนดง่ลาิา่บงร้าด่ขนางัตบผซวทใเนงัตฐะธิัดนซัมตธจอใ้นาดูร้ิรึ่งมไตสารนิตินจ่ึงาเ้สมิรดงตป่าวกินปีจงอรง้ัปาปหเะกรขชมุส้าใพรคจามะงรม็ตนนนมรคากงุพขมะรด้ามะ.ตจมาศะร้อา้วคกาปจไสหม.�ำสโ้นรอศาทป.ปสราดงวาเิทรนรทิาิยนตง.ม๒ปิขทา่รียริอยะแตธ้าธปธรน๒ิมเปอ๕ะรฏธลพยทธิภจภิรฐรฏเกว๕งพฏิภะ๓ิบ่รรจฐาฤ่ีขาารารมาิบ๓ญิิบฤรราาง๔พพนัตตมฐอัริญัพมนมตต๔ัติิงีิิิ
ประกาศปรณะกวาันศทณ่ี วันทก่ี มุ ภาพันธก์ ุม๒ภ๕า๕พ๗ันธ์ ๒๕๕๗

พนั ตำ�รวจเอก
(สชุ าติ วงศ์อนันต์ชยั )
อธิบดกี รมราชทณั ฑ์

29

แนวทางปฏบิ ัติ ตามมาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม ของผู้บรหิ ารเรอื นจำ�และทณั ฑสถาน

หมวดที่ ๑ การประพฤตปิ ฏิบัติตน
๑. พงึ ดำ�รงตนใหต้ งั้ มน่ั อยใู่ นศลี ธรรมอย่างสมำ�่ เสมอ
แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑) มคี วามเชื่อในความดแี ละผลของบาปบุญคุณโทษ
๒) มีความละอายและเกรงกลวั ตอ่ บาป
๓) มคี วามเมตตากรณุ า รู้จกั ใหอ้ ภยั และเสียสละ
๔) มปี ญั ญาสามารถพจิ ารณาแยกแยะระหว่างความดีและความชัว่ ได้
๕) ระลกึ ไดอ้ ยูเ่ สมอในการคิด การพูด การทำ�ในทางทด่ี ี
๒. พงึ ด�ำ รงตนให้เปน็ ท่ีเลอ่ื มใสศรทั ธาแกผ่ ใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา ผูร้ ว่ มงาน และสงั คมโดยรวม
แนวทางปฏิบตั ิ
๑) ปฏิบตั ติ นให้เป็นทเ่ี ชอ่ื ถอื มสี จั จะรกั ษาค�ำ พูด
๒) ยดึ หลักความพอเพียง โดยด�ำ รงชวี ติ เหมาะสมกบั ฐานะของตนเองและสงั คม
๓) ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี ขี องครอบครัวของหน่วยงาน และสงั คมโดยรวม
๔) มกี ิรยิ าวาจาดี ไม่มัวเมาในอำ�นาจหรือแสดงการดูถกู ผ้อู น่ื
๕) ให้เกยี รติ เคารพในศกั ดศิ์ รี ของบุคคลทกุ ระดับ
หมวดท่ี ๒ การปฏบิ ัตติ อ่ ผใู้ ต้บังคับบัญชา 
๑. ต้องยึดหลกั ความยตุ ิธรรม
แนวทางปฏิบตั ิ
๑) มีความเปน็ ธรรมในการพิจารณาผลงานและศกั ยภาพของผู้ใต้บังคบั บัญชา
๒) สรา้ งขวญั และก�ำ ลังใจ ให้รางวัลและลงโทษภายใตก้ ฎระเบยี บของทางราชการ
๓) มีคำ�ส่งั ชัดเจนบนพนื้ ฐานของความถูกต้องภายใตก้ ฎระเบียบทเี่ กี่ยวข้อง
๔) รบั ฟงั ความเหน็ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา และเปดิ โอกาสใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารงาน
๕) ส่งเสริมสนับสนุนแก่ผู้ใต้บังคับบญั ชาทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และประพฤติตนถูกต้องดงี าม
๒. ตอ้ งส่งเสรมิ และพัฒนาผูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชาในการปฏบิ ตั งิ าน
แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑) ส่งเสริมผ้ใู ต้บังคบั บัญชาให้มคี วามรูค้ วามสามารถ เพ่อื ให้เจรญิ กา้ วหน้าในอาชีพการงาน
๒) มอบหมายงานให้เหมาะสมกบั ความรู้ความสามารถและหนา้ ท่ีของผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา
๓) ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ� เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา ตลอดจนสอนงานและประสบการณ์ให้
ผใู้ ตบ้ งั คับบัญชา  
๔) สรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มในการท�ำ งานใหม้ คี วามสะดวกสบาย และปลอดภยั ในการท�ำ งาน ตลอดจนดแู ล
เอาใจใสค่ วามเป็นอยขู่ องผใู้ ต้บังคับบญั ชา
๕) ปกครองบงั คบั บญั ชาด้วยความเมตตา พรอ้ มท้ังสร้างบรรยากาศในการทำ�งานให้มีความอบอุน่
เป็นกนั เอง
หมวดท่ี ๓ การปฏิบตั หิ น้าท่ีราชการ
๑. ปฏิบัตหิ น้าทโ่ี ดยถอื ประโยชน์ของทางราชการเปน็ ส�ำ คญั
แนวทางปฏิบัติ
๑) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความอตุ สาหะ เอาใจใส่ ระมดั ระวงั รกั ษาประโยชนข์ องทางราชการและมงุ่ ผล
สมั ฤทธิ์ของงาน

30

๒) ปฏิบัติหน้าที่โดยประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ให้เกิดประโยชน์ต่อ
ราชการทง้ั ในด้านเทคโนโลยแี ละดา้ นการให้บรกิ าร
๓) ส่งเสริม สนับสนุน การใชท้ รัพยากรของทางราชการอยา่ งประหยดั และเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
๔) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความรกั ความภาคภมู ใิ จในศกั ดศ์ิ รขี องขา้ ราชการในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
๕) ควบคุม กำ�กับ ดูแล ติดตามการดำ�เนินงานให้บรรลุผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย โดยวิธีการ
กระบวนการทถ่ี กู ตอ้ ง
๒. ปฏิบตั หิ น้าที่ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ รติ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้
แนวทางปฏบิ ัติ
๑) มคี วามรบั ผิดชอบ กลา้ ยนื หยัดท�ำ ในสง่ิ ที่ถูกต้อง อธบิ ายในสงิ่ ท่ีตนไดป้ ฏิบตั อิ ย่างมเี หตุผลและ
ถูกต้องชอบธรรม พรอ้ มทั้งยนิ ดีแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดท่เี กดิ ขึ้น

๒) มขี นั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการทำ�งาน และการมอบหมายงานที่ชดั เจน
๓) มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งตรงไปตรงมาดว้ ยภาษาทช่ี ดั เจนและเขา้ ใจงา่ ย

๔) ไมใ่ ช้ตำ�แหนง่ หนา้ ทีแ่ สวงหาผลประโยชนโ์ ดยมิชอบ
๕) ปฏิบตั หิ น้าทตี่ ามกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ต่าง ๆ ของราชการอยา่ งเครง่ ครดั ไม่อาศยั ช่องวา่ งของ
กฎหมาย หรอื ระเบยี บ แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบให้ตนเอง หรือผูอ้ นื่

*****************************

31

ค่านยิ มร่วม (Core Value)

มอื อาชีพ
(Professional)

นวัตกรรม คา่ นยิ มร่วม บูรณาการ
(Innovation) (Core Value) (Integration)

มาตรฐาน
(Standard)

ค�ำ นิยาม
“องค์กรสมรรถนะสูง”
๑. ปรับเปลย่ี นได้อยา่ งเท่าทัน และนำ�การเปล่ียนแปลง
๒. ขับเคลือ่ นองค์กรด้วยความรู้ ปัญญา และนวัตกรรม
๓. การใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ความคุม้ ค่าอยา่ งสงู สดุ
๔. มีประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลสงู สุด
“มอื อาชพี ” หมายถงึ การมคี วามรอบรู้ เชย่ี วชาญช�ำ นาญพเิ ศษในวชิ าชพี ของตน สามารถปฏบิ ตั งิ านไดต้ าม
มาตรฐานอย่างถูกต้อง มีไหวพริบในการจัดการแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วแม่นยำ� และลงมือทำ�อย่างจริงจัง
มุ่งมัน่ ตัง้ ใจใหเ้ กดิ ผลงานที่ดที ส่ี ุด
“บรู ณาการ” หมายถงึ เชอ่ื มหรอื ประสานกบั สง่ิ อน่ื หรอื หนว่ ยงานอน่ื เชน่ การรว่ มมอื ระหวา่ งกรมราชทณั ฑ์
กบั หนว่ ยงานภายนอก หรอื ภาคสังคมทุกภาคสว่ น ให้มีสว่ นรว่ มในการพัฒนาพฤตนิ สิ ยั ผู้ต้องขงั โดยการสร้าง
อาชพี ใหก้ ารศึกษา เป็นตน้
“มาตรฐาน” หมายถึง สิง่ ทถ่ี อื เอาเป็นเกณฑ์ส�ำ หรับเทียบกำ�หนด ทงั้ ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ
“นวตั กรรม” หมายถงึ การกระท�ำ หรอื สง่ิ ทท่ี �ำ ขน้ึ ใหมห่ รอื แปลกจากเดมิ ซง่ึ อาจจะเปน็ ความคดิ วธิ กี าร หรอื
อปุ กรณ์ เป็นตน้

32

หลกั การบริหารกจิ การบ้านเมืองทดี่ ี
(Good governance)

๑. หลักนติ ธิ รรม
๒. หลักคณุ ธรรม
๓. หลักความโปร่งใส
๔. หลักการมีส่วนร่วม
๕. หลักความรบั ผิดชอบ
๖. หลกั ความค้มุ ค่า

มาตรฐานจริยธรรมเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ
๙ ประการ

ของสำ�นักงานผตู้ รวจการแผน่ ดิน ดงั นี้

๑. การยดึ ม่นั ในคุณธรรมและจริยธรรม
๒. การมจี ติ สำ�นึกท่ีดี ซือ่ สัตย์ สจุ รติ และรับผดิ ชอบ
๓. การยดึ ถอื ประโยชนข์ องประเทศชาตเิ หนอื ประโยชนส์ ว่ นตน และไมม่ ีผลประโยชน์ทบั ซอ้ น
๔. การยนื หยดั ท�ำ ในสิ่งทถี่ กู ตอ้ ง เป็นธรรม และถกู กฎหมาย
๕. การใหบ้ ริการแก่ประชาชนดว้ ยความรวดเรว็ มอี ัธยาศัยที่ดงี าม และไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ
๖. การให้ขอ้ มูลข่าวสารแกป่ ระชาชนอย่างครบถ้วน ถกู ตอ้ ง และไมบ่ ดิ เบือนขอ้ เทจ็ จรงิ
๗. การม่งุ ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน รักษามาตรฐาน มีคณุ ภาพ โปรง่ ใส และตรวจสอบได้
๘. การยึดมน่ั ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
๙. การยดึ ม่นั ในหลักธรรมจรรยาวิชาชีพขององค์กร

33

ประกาศคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น
เร่อื ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการจริยธรรม
ประจ�ำ กรมราชทณั ฑ์

34

ประกาศคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น
เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจรยิ ธรรมประจ�ำ กรมราชทณั ฑ์

-----------------------------

อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๘ (๑๓) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑ และข้อ ๑๔ ของประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ก.พ. ลงมตให้ตั้งคณะกรรมการ
จริยธรรมประจำ�กรมราชทัณฑ์ มีอำ�นาจหน้าที่ตามข้อ ๑๕ ของประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
ดงั มีรายชือ่ ต่อไปนี้

๑. นายปฏิคม วงษส์ วุ รรณ ประธานกรรมการ
๒. พันต�ำ รวจเอก ณรชั ต ์ เศวตนนั ทน์ กรรมการ
๓. นายกิตตพิ ัฒน ์ เดชะพหลุ กรรมการ
๔. นางนิภา งามไตรไร กรรมการ
๕. นายไพฑรู ย ์ มงคลหตั ถ ี กรรมการ
๖. นายสุรินทร ์ เสถยี รมาศ กรรมการ
๗. นายสวุ ัฒน์ เอื้อเฟือ้ กรรมการ

โดยมี หวั หน้ากลมุ่ งานคุม้ ครองจริยธรรม เปน็ เลขานุการ

ประกาศ ณ วนั ที่ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นางเมธนิ ี เทพมณ)ี
เลขาธิการ ก.พ.

35

คำ�ส่ังกรมราชทณั ฑ์
ที่ ๙๑๒/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒

เรื่อง การแบง่ งานและการก�ำ หนดหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
ของกลมุ่ งานคมุ้ ครองจริยธรรมกรมราชทณั ฑ์เปน็ การภายใน


Click to View FlipBook Version