The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sasithorn Sirikhum, 2019-06-11 03:21:31

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

ERSION 2

เอกสารแนวทางการจดั การเรยี นการสอน

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 )
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ACT สรปุ หลกั สตู ร
หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ LEIAVRENING
คำอธบิ ายรายวชิ า
( เทคโนโลยี ) โครงสรา้ งรายวชิ า

วทิ ยาการคำนวณ ตวั อยา่ งหนงั สอื เรยี น
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรู้

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั โครงสรา้ งแผน ฯ
ตวั อยา่ งแผน ฯ
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คมู่ อื ครู

โครงสรา้ งคมู่ อื ครู
ตวั อยา่ งคมู่ อื ครู

ตวั อยา่ งแบบฝกึ หดั

ตวั อยา่ ง PowerPoint

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูใอนารจะหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแกิจาไขรณา ม.1

؞ƒ„Ð ¬›ŠÙŸ‰‘žÜ ª¹Ô¹·Ã à©ÅÔÁÊØ¢ ›Ž¡Ÿ‡¡ z Œ“¡• 52.- รยี มความพรอ้ ม
เต
ไทย
ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ PISA 4.0Thailand
ใชข้ น้ั ตอนการสอน นำ-สอน-สรปุ -ประเมนิ สร้างนักเรียน

สรา้ งทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
สง่ เสรมิ แนวคดิ เชงิ คำนวณ (Computational Thinking)
สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning

























หนว ยการเรยี นรูที่ กำรจดั กำรข้อมลู สำรสนเทศ 54-79
55
3 การจดั การขอ มลู สารสนเทศ 1. ขอ้ มลู กับสำรสนเทศ
55
3หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1.1 ประเภทของข้อมลู 56
1.2 กำรรวบรวมข้อมลู 58
การจดั การขอ มลู สารสนเทศในปจ จบุ นั นนั้ อนิ เทอรเ นต็ 1.3 สำรสนเทศเบื้องตน้ 59
นบั เปน เครอื ขา ยสอื่ สารทสี่ าํ คญั มากและครอบคลมุ ทวั่ โลก 1.4 ลักษณะของสำรสนเทศที่ดี 60
อกี ทง้ั เปน แหลง ขอมูลทที่ กุ คนเขา ถึงตลอดเวลา ใชจดั เกบ็ 1.5 ระบบสำรสนเทศ 62
และรวบรวมขอมลู ไดจาํ นวนมาก 1.6 กำรจัดกำรข้อมลู และสำรสนเทศ
ตัวชีว้ ดั 66
ว 8.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมินผล นา� เสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถปุ ระสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ 2. กำรประมวลผลขอ้ มลู สำรสนเทศ
หรอื บริการบนอนิ เทอร์เนต็ ท่ีหลากหลาย 66
2.1 กำรประมวลผลข้อมูลใหเ้ ปนสำรสนเทศ 68
4 การใชหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2.2 วิธีกำรประมวลผลขอ้ มูล
เทคโนโลยี 69
สารสนเทศอยา งปลอดภยั 3. ซอฟแวรแ ละกำรเลือกใช้งำน
4หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 69
3.1 ประเภทของซอฟแวร 75
การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีหลากหลายลักษณะ 3.2 ตัวอยำ่ งกำรสรำ้ งกรำฟ
ท้ังท่ีเปนประโยชน และอาจสงผลรายตอผูอื่น ดังนั้น 78
เราควรตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี Summary 78
ถกู ตองและเหมาะสม เพือ่ ปอ งกนั ภยั คุกคามรูปแบบตาง ๆ Self Check 79
และสามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ Unit Question 3
ตัวชว้ี ดั 80-91
ว 8.2 ม.1/4 ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภยั ใชส อ่ื และแหลงขอ มูลตามขอ กําหนดและขอตกลง กำรใชเ้ ทคโนโลยี 81

สำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั 81

1. ควำมปลอดภยั ของระบบสำรสนเทศ 82
83
1.1 ควำมปลอดภยั ของเทคโนโลยีสำรสนเทศ 84
1.2 รูปแบบภยั คุกคำมตอ่ ระบบรักษำควำมปลอดภัย
84
ทำงคอมพิวเตอร
1.3 รปู แบบภยั คกุ คำมด้ำนขอ้ มลู ในคอมพวิ เตอร 85
1.4 แนวโนม้ ของภัยคุกคำมในอนำคต
1.5 กำรปอ งกนั และกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ 86

อย่ำงปลอดภัย 86
1.6 แนวโนม้ ระบบรักษำควำมปลอดภยั 87

เทคโนโลยสี ำรสนเทศในอนำคต 90
91
2. จริยธรรมในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ 91

2.1 จรรยำบรรณในกำรใช้งำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ 92
2.2 ข้อกำ� หนด ข้อตกลงในกำรใช้แหล่งข้อมลู หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

Summary
Self Check
Unit Question 4

บรรณำนุกรม

11

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา4 การใชหนวยการเรยี นรทู ่ี
เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา งปลอดภยั

การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีหลากหลายลักษณะ
ท้ังที่เปนประโยชน และอาจสงผลรายตอผูอ่ืน ดังนั้น
เราควรตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
ถูกตองและเหมาะสม เพ่ือปองกันภัยคุกคามรปู แบบตาง ๆ
และสามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ตวั ช้วี ัด
ว 4.2 ม.1/4 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ใช้สือ่ และแหลง่ ขอ้ มูลตามข้อก�าหนดและขอ้ ตกลง

12

การใชง านเทคโนโลยี 1   คส  าวราสมนปเลทอศดภยั ของระบบ
สารสนเทศตอ งคาํ นงึ ถงึ
สง่ิ ใดเปน สาํ คญั
ในปจั จบุ นั มกี ารใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
แพรห่ ลาย ดว้ ยประโยชนท์ หี่ ลากหลายในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู
รวมท้ังการส่งข่าวสารถึงกันอย่างสะดวกและรวดเร็ว สิ่งที่ผู้ใช้งานจะต้องตระหนักถึง
คอื การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และไมล่ ะเมดิ หรอื กระทา� การใด ๆ ทจ่ี ะ
สง่ ผลให้ผอู้ ื่นได้รับความเสียหาย ดังน้นั ผู้ใชง้ านตอ้ งใช้สารสนเทศอยา่ งสรา้ งสรรค์และ
เกิดประโยชนส์ ูงสุด

1.1  ความปลอดภยั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ นโยบาย ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ และมาตรการ
ทางเทคนิคที่น�ามาใช้ป้องกันการใช้งานจากบุคคลภายนอก การเปลี่ยนแปลง การขโมย หรือ
การท�าความเสียหายต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าระบบรักษาความปลอดภัยมาใช้
ร่วมกับเทคนิคและเคร่ืองมือต่าง ๆ ในการปกป้องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร มาเพ่ือป้องกันภัยคุกคามต่าง ๆ ท่ีเข้ามาสู่เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภัยคุกคามต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท ดงั นี้

• ภัยคุกคามต่อฮาร์ดแวร์ เป็นภัยคุกคามท่ีท�าให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์เกิดการ
เสยี หาย เชน่ ระบบการจา่ ยไฟฟา้ เขา้ สคู่ อมพวิ เตอรม์ คี วามผดิ พลาดทา� ใหอ้ ปุ กรณฮ์ ารด์ แวรภ์ ายใน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์เกิดการช�ารุดเสียหายและไม่สามารถใช้งานได้ การลักขโมยหรือการท�าลาย
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวรโ์ ดยตรง เป็นต้น

• ภัยคกุ คามต่อซอฟตแ์ วร ์ เปน็ ภยั คกุ คามท่ที �าใหซ้ อฟตแ์ วรใ์ ชง้ านไม่ได้ หรือซอฟตแ์ วร์
ท�างานผิดพลาด ท�าให้ได้ผลลัพธ์ท่ีไม่ถูกต้องจากการท�างานของซอฟต์แวร์ รวมถึงการลบ การ
เปลย่ี นแปลง การแก้ไขกระบวนการท�างานของซอฟต์แวร์

• ภัยคุกคามต่อระบบเครือข่ายและการสื่อสาร เป็นภัยคุกคามที่มีผลท�าให้ระบบเครือ
ข่ายและการส่อื สารขัดขอ้ ง ไมส่ ามารถใช้งานระบบเครอื ข่ายและการสอ่ื สารได้ รวมทง้ั การเข้าถงึ
อุปกรณ์เครือข่ายเพ่อื ปรบั แต่ง และแกไ้ ขการท�างานโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

• ภัยคุกคามต่อข้อมูล เป็นภัยคุกคามที่ท�าให้ข้อมูลท่ีเป็นส่วนตัว หรือเป็นความลับถูก
เปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญาต การเปลี่ยนแปลงแก้ไข ลบ หรือน�าข้อมูลใด ๆ ไปใช้ประโยชน์โดย
ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต หรอื ไมส่ ามารถนา� ขอ้ มูลไปใชง้ านได ้
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
81

13

1.2  ร ูปแบบภัยคกุ คามตอ่ ระบบรักษาความปลอดภยั ทางคอมพิวเตอร 

ภยั คุกคามท่ีเกิดข้ึนกบั ระบบรักษาความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ สามารถแบง่ ออกเปน็
5 รูปแบบ ดังน้ี
• ภัยคกุ คามแก่ระบบ เป็นภัยคุกคามจากผมู้ ีเจตนารา้ ยเข้ามาทา� การปรับเปลี่ยน แกไ้ ข
หรือลบไฟล์ข้อมูลส�าคัญภายในระบบคอมพิวเตอร์ แล้วส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบ
คอมพิวเตอร์ ท�าให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถใช้งานได้ เช่น แครกเกอร์หรือผู้ท่ีมีความรู้ความ
เชย่ี วชาญเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรท์ า� การบกุ รกุ ดว้ ยเจตนารา้ ย (cracker) แอบเจาะเขา้ ไปในระบบเพอ่ื
ลบไฟลร์ ะบบปฏิบตั กิ าร เป็นตน้
• ภยั คกุ คามความเปน็ สว่ นตวั เปน็ ภยั คกุ คามทแี่ ครกเกอร ์ (cracker) เข้ามาท�าการเจาะ
ข้อมูลส่วนบุคคล หรือติดตามร่องรอยพฤติกรรมของผู้ใช้งาน
แล้วส่งผลให้เกิดความเสียหายข้ึน เช่น การใช้โปรแกรมสปาย CinoRmeaSlcLiife

(spyware) ติดต้ังบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของบุคคลอ่ืน และ ในขณะทเี่ ราเขา้ เวบ็ ไซต์
ส่งรายงานพฤติกรรมของผู้ใช้ผ่านทางระบบเครือข่ายหรือทาง ตา่ ง ๆ โปรแกรม IE (Windows
อีเมลไปยังบริษัทสินค้า เพ่ือใช้เป็นข้อมูลส�าหรับส่งโฆษณา Internet Explorer) จะทา� การ
ขายสินค้าตอ่ ไป เปน็ ตน้ ดาวนโ์ หลด (download) ขอ้ มลู
นา� มาเกบ็ ไว้ในเครอ่ื ง เมือ่ เลิก
• ภัยคุกคามต่อผู้ใช้และระบบ เป็นภัยคุกคามที่ส่งผล ใช้งานไฟล์ต่าง ๆ เหล่าน้ันจะ
เสียให้แก่ผู้ใช้งานและเคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก เช่น คงค้างอยู่ภายในเครื่อง ซึ่งจะ o_O
การล็อคเคร่ืองคอมพิวเตอร์ไม่ให้ท�างาน หรือบังคับให้ผู้ใช้งาน ส่งผลกระทบให้ไฟล์ในเครื่อง
ปิดเบราวเ์ ซอร์ขณะใช้งาน เป็นต้น เพิ่มมากขึ้น ท�าให้เน้ือท่ีใน
ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) ไม่
• ภัยคุกคามที่ไม่มีเป้าหมาย เป็นภัยคุกคามท่ีไม่มี เพยี งพอ
เป้าหมายแน่นอน เพยี งต้องการสรา้ งจุดสนใจ โดยไมก่ ่อใหเ้ กิด นอกจากนี้อาจมีไวรัส
ความเสียหายขนึ้ เชน่ สง่ ขอ้ ความหรอื อเี มลรบกวนผใู้ ช้งานใน แ อ บ แ ฝ ง เ ข ้ า ม า ใ น เ ค ร่ื อ ง
ระบบหลาย ๆ คน ในลักษณะทเ่ี รยี กวา่ สแปม (spam) เป็นตน้ คอมพิวเตอร์ ดังน้ันวิธีการ
จัดการอย่างหนึ่งท่ีง่ายที่สุด
• ภัยคุกคามที่สร้างความร�าคาญ โดยปราศจากความ คือ การก�าหนดให้โปรแกรม
เสียหายท่จี ะเกิดข้นึ เช่น โปรแกรมเปล่ียนการตงั้ ค่าคุณลักษณะ IE ลบไฟล์ขยะเหล่าน้ีโดย
ในการท�างานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้ต่างไปจากที่เคย อตั โนมตั ทิ กุ ครง้ั ทป่ี ดิ โปรแกรม
กา� หนดไว ้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา
82

14

1.3  รปู แบบภัยคุกคามด้านข้อมูลในคอมพิวเตอร

• มลั แวร ์ (malware) คอื โปรแกรมทถี่ กู สรา้ งขนึ้ มาเพอ่ื ประสงคร์ า้ ยตอ่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
มลั แวรจ์ ะขโมยขอ้ มลู หรอื พยายามทา� ใหเ้ ครอื่ งทต่ี ดิ ต้ังซอฟต์แวร์เกดิ ความเสยี หาย
• ไวรสั คอมพิวเตอร์
(computer virus) คือ โปรแกรม
ชนิดหน่ึงท่ีมีความสามารถในการ
ส�าเนาตัวเองเข้าไปแพร่เชื้อใน
เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อท�าลาย
ขอ้ มลู และยังสามารถแพรร่ ะบาด
เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ
ได้ด้วย
• หนอนคอมพวิ เตอร์
▲ ภัยคุกคามอาจแทรกซมึ เข้ามาในโปรแกรม
ท่ีดาวนโ์ หลดจากแอปพลเิ คชนั สโตร์
(computer worm) คือ โปรแกรมที่
ถกู สรา้ งขน้ึ แลว้ แพรก่ ระจายผา่ นระบบเนต็ เวริ ค์ หรอื อนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ นชอ่ งโหวข่ องระบบปฏบิ ตั กิ าร
เพอ่ื สร้างความเสียหาย ลบไฟล ์ สรา้ งไฟล ์ หรอื ขโมยข้อมลู โดยสว่ นใหญ่แล้วหนอนคอมพิวเตอร์
จะแพรก่ ระจายผา่ นการสง่ อเี มลทแี่ นบไฟลซ์ ง่ึ มหี นอนคอมพวิ เตอรอ์ ยไู่ ปยงั ชอ่ื ผตู้ ดิ ตอ่ ของเครอื่ งท่ี
โดนติดตง้ั
• มา้ โทรจนั (trojan horse) คอื โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทถ่ี กู บรรจุเข้าไปในคอมพวิ เตอร์
เพือ่ เก็บขอ้ มลู หรอื ทา� ลายขอ้ มูลของคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งนน้ั เชน่ ขอ้ มลู ช่อื ผ้ใู ช ้ รหัสผา่ น เลขท่ี
บัญชธี นาคาร หมายเลขบตั รเครดิต และขอ้ มลู สว่ นบคุ คลอืน่ ๆ
• สปายแวร์ (spyware) คือ โปรแกรมท่ีฝังตัวอยู่ในคอมพิวเตอร์ท�าให้ทราบข้อมูลของ
ผใู้ ชง้ าน โดยที่เจ้าของเคร่อื งคอมพวิ เตอรน์ น้ั ไม่สามารถทราบได้วา่ มกี ารดกั ดขู ้อมูลการใช้งานอย่ ู
และสปายแวร์บางตัวสามารถบันทึกประวตั ิการเข้าใช้งานคอมพวิ เตอรข์ องผใู้ ช้งานได้
Com Sci
Focus social media

social media หมายถึง สังคมออนไลน์ท่ีมีผู้ใช้เป็นผู้ส่ือสาร หรือเขียนเล่าเน้ือหา
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ท่ีผู้ใช้เขียนข้ึนเองหรือพบเจอจากสื่อต่าง ๆ
แล้วแบ่งปนั ให้กบั ผอู้ นื่ ทอ่ี ยู่ในเครือข่ายของตนผ่านทางสอ่ื สงั คมออนไลน ์ เชน่ facebook
line twitter เป็นต้น
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
83

15

1.4  แนวโน้มของภยั คกุ คามในอนาคต

แนวโนม้ ภยั คกุ คามในอนาคตอาจมาในรปู แบบของการแทรกซมึ เขา้ ไปในโปรแกรมประยกุ ต ์
ทผ่ี ใู้ ชง้ านไดท้ า� การดาวนโ์ หลดจากแอปพลเิ คชนั สโตรข์ องผใู้ หบ้ รกิ าร โดยเฉพาะโปรแกรมในกลมุ่
ของสอ่ื สงั คมออนไลน ์ เนอ่ื งจากอปุ กรณพ์ กพารวมถงึ โปรแกรมในกลมุ่ ของสงั คมออนไลนน์ นั้ ตอ้ งมี
การเขา้ สรู่ ะบบการทา� งานบนอนิ เทอรเ์ นต็ ตลอดเวลา ซงึ่ อาจจะมกี ารลกั ลอบขโมยขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้
และหากสามารถเข้าไปในข้อมูลที่เก็บไว้ในอุปกรณ์ ก็อาจเช่ือมโยงไปถึงการค้นหาพิกัดสถานท่ี
จนทา� ใหเ้ กดิ อันตรายกบั ตัวผ้ใู ชง้ านได้

1.5  การป้องกนั และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

วธิ กี ารปอ้ งกนั และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใหป้ ลอดภยั จากภยั คกุ คามตา่ ง ๆ มหี ลายวธิ ี
ดงั นี้

หมัน่ ตรวจสอบ สงั เกตขณะเปิดเคร่ืองว่า
และอัปเดตระบบปฏบิ ัตกิ าร มโี ปรแกรมไม่พึงประสงคท์ า� งาน
ขนึ้ มาพรอ้ มกับการเปิดเครอื่ ง
ให้เปน็ เวอร์ชันปัจจุบนั หรอื ไม่ โดยสงั เกตระยะเวลา
และควรใช้ระบบปฏิบตั ิการ
และซอฟต์แวรท์ ี่ถูกลขิ สิทธิ์ ในการบูตเครื่องวา่ นาน
ไม่เปิดเผยข้อมลู สว่ นตวั ผดิ ปกติหรือไม่
ผา่ นส่อื สังคมออนไลน์ ติดตั้งโปรแกรมปอ้ งกันไวรัส
เช่น เลขท่บี ตั รประชาชน และมีการอัปเดตโปรแกรม
ประวตั กิ ารทา� งาน ปอ้ งกนั ไวรัส และฐานข้อมลู
เบอร์โทรศัพท์ ไวรสั สมา�่ เสมอ
หมายเลขบัตรเครดติ

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณาควรแบค็ อัปข้อมลู ไวใ้ น ต้อง login เข้าใช้งาน
อุปกรณห์ น่วยความจ�าอน่ื ทุกครง้ั และเมื่อไม่ได้
นอกเหนือจากฮาร์ดดิสก์ อย่หู น้าจอคอมพวิ เตอร์
ควรลอ็ กหน้าจอให้อยู่ใน
เชน่ flash drive สถานะท่ีตอ้ งใส่ค่า
DVD เป็นตน้
login ใชง้ าน
ไมค่ วรเขา้ เว็บไซต์เส่ยี งภัย ติดต้ังไฟร์วอลล์ เพอ่ื ทา�
เชน่ เวบ็ ไซตล์ ามกอนาจาร หน้าทเี่ หมอื นเป็นกา� แพงในการ
เวบ็ ไซต์การพนนั เว็บไซต์ ป้องกนั คนทไี่ มไ่ ดร้ ับอนญุ าตไม่ให้
แบบแนบไฟล์ .exe เว็บไซต์ท่มี ี เขา้ มาใช้งานเครื่องคอมพวิ เตอรห์ รือ
pop-up หลายเพจ เวบ็ ไซต์ ระบบเครือข่าย ซ่งึ ช่วยป้องกัน
การบุกรกุ ของแฮกเกอร์
ทมี่ ลี งิ กไ์ ม่ตรงกับชอื่ และแครกเกอร์

84

16

1.6  แนวโน้มระบบรกั ษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีการพัฒนาและเกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่ตลอดเวลา
ดังน้นั ระบบรกั ษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมคี วามจา� เป็นและควรไดร้ ับการพัฒนา
อย่างต่อเน่ืองตามไปด้วย ระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจ�าแนก
รปู แบบได้ ดงั น้ี
1. ระบบรักษาความปลอดภัยส�าหรับเคร่ืองผู้ใช้ ระบบที่มีไว้เพ่ือป้องกันภัยคุกคามจาก
ผทู้ ป่ี ระสงคร์ า้ ยตอ่ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทเ่ี ปน็ ความลบั รวมไปถงึ ขอ้ มลู ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล
จากผู้ท่ีต้องการคุกคามผู้ใช้คอมพิวเตอร์บน
โลกอินเทอร์เนต็
2. ระบบป้องกันการโจรกรรมข้อมูล
แม้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยอ�านวย
ความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน แต่ก็อาจมีช่องโหว่
ที่ก่อให้เกิดการโจรกรรมข้อมูลส่วนบุคคล
เพ่ือน�าไปท�าธุรกรรมทางการเงินต่าง ๆ
ดังน้ัน ระบบป้องการโจรกรรมข้อมูลจึงมี
ความจา� เป็นอยา่ งมากในอนาคต ▲ โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั

3. ระบบการเข้ารหสั ข้อมลู การเขา้ รหสั ข้อมลู มีจุดประสงค์เพื่อรกั ษาความลบั ของข้อมลู
ข้อมูลนั้นจะถูกเปิดอ่านโดยบุคคลที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หลักการของการเข้ารหัสข้อมูล คือ
แปลงขอ้ มลู (encrypt) ใหอ้ ยใู่ นรปู ของขอ้ มลู ทไ่ี มส่ ามารถอา่ นไดโ้ ดยตรง โดยขอ้ มลู จะถกู ถอดกลบั
ดว้ ยกระบวนการถอดรหัส
4. ระบบป้องกันการเจาะข้อมูล เป็นการป้องกันการโจมตีจากแฮกเกอร์ (hacker) โดย
แฮกเกอรจ์ ะหาจุดออ่ นหรอื ช่องโหวข่ องระบบ จากน้นั จะทา� การเจาะเข้ามาใน server และเขา้ มา
ทา� ความเสียหายให้กบั ขอ้ มลู แล้วทา� การเรยี กคา่ ไถ่ (hijacking) เพือ่ ใหข้ ้อมลู กลบั มาเป็นปกติ
5. ระบบป้องกนั แฟม้ ข้อมูลสว่ นบคุ คล การคุ้มครองและเกบ็ รักษาข้อมลู ส่วนบุคคลไว้เป็น
ความลับโดยทา� การเก็บภายในแฟม้ ขอ้ มูลสว่ นบุคคล เพอ่ื ป้องกนั ขอ้ มลู จากผไู้ ม่ประสงค์ดี
6. ระบบรักษาความปลอดภัยส�าหรับเครือข่าย เม่ือต้องการรักษาคอมพิวเตอร์บน
เครือข่ายให้ปลอดภัย ควรเปิดการปรับปรุงอัตโนมัติบนคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง เช่น วินโดว์
(windows) สามารถตดิ ตง้ั การปรบั ปรุงท่ีส�าคัญไดโ้ ดยอัตโนมัติ
7. ระบบป้องกันไวรัส เป็นโปรแกรมท่ีสร้างข้ึนเพ่ือคอยตรวจจับ ป้องกัน และก�าจัด
โปรแกรมคุกคามทางคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์คกุ คามประเภทอน่ื ๆ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

85

17

Creative Commons 2   ส จราิยรสธนรรเทมศในการใช้เทคโนโลยี
เก่ยี วขอ งกับจริยธรรม
ในการใชเทคโนโลยี จริยธรรม คือ หลักประพฤติปฏิบัติท่ีถูกต้อง
หรือไม อยา งไร เหมาะสมกบั การทา� หนา้ ทข่ี องบคุ คล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทาง

ในการปฏิบัติตนอย่างสมบูรณ์และสอดคล้องกับมาตรฐานที่ดีงามอันเป็นท่ียอมรับของ
สงั คม

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื หลกั ศลี ธรรมจรรยาท่ีกา� หนดขึ้นเพ่ือใชเ้ ป็น
แนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรม
เกยี่ วกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะแบง่ ออกเปน็ 4 ประเดน็ ดงั น้ี

• ความเปน็ สว่ นตวั ความเปน็ สว่ นตวั ของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยทวั่ ไปจะหมายถงึ สทิ ธิ
ทจ่ี ะอยตู่ ามลา� พงั และเปน็ สทิ ธทิ เี่ จา้ ของสามารถทจี่ ะควบคมุ ขอ้ มลู ของตนเองในการเปดิ เผยใหก้ บั
ผอู้ ื่น สทิ ธนิ ใ้ี ชไ้ ด้ครอบคลุมท้ังสาระสา� คญั ส่วนบคุ คล กลุ่มบคุ คล องคก์ ร และหน่วยงานตา่ ง ๆ

• ความถูกตอ้ ง ขอ้ มูลควรไดร้ ับการตรวจสอบความถูกตอ้ งก่อนทจี่ ะบันทึกขอ้ มูลเก็บไว้
รวมถงึ การปรับปรงุ ขอ้ มลู ใหม้ คี วามทนั สมยั อยูเ่ สมอ นอกจากนี้ควรให้สิทธแิ กบ่ ุคคลในการเข้าไป
ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู ของตนเองได้

• ความเป็นเจ้าของ เป็นกรรมสิทธิ์ในการถอื ครองทรพั ย์สิน ซึง่ อาจเปน็ ทรพั ย์สินท่ัวไปท่ี
จบั ตอ้ งได ้ เชน่ คอมพวิ เตอร ์ รถยนต ์ หรอื อาจเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทจี่ บั ตอ้ งไมไ่ ด ้ เชน่ บทเพลง
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ แตส่ ามารถถ่ายทอดและบันทกึ ลงในสื่อได ้ เช่น ส่งิ พิมพ์ ซดี ีรอม เปน็ ต้น

• การเขา้ ถงึ ข้อมลู การเขา้ ใช้งานโปรแกรมหรือระบบคอมพวิ เตอร ์ มักจะมกี ารก�าหนด
สิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ท้ังนี้เพ่ือเป็นการป้องกันการเข้าไปด�าเนินการต่าง ๆ กับข้อมูลของ
ผใู้ ชท้ ่ีไม่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ ง และเป็นการรกั ษาความลับของข้อมลู

2.1  จรรยาบรรณในการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ

จรรยาบรรณ คอื ประมวลความประพฤตทิ ผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี การงานกา� หนดขนึ้ จรรยาบรรณ
ในการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ มดี งั น้ี
1. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรเ์ พื่อก่ออาชญากรรมหรอื ละเมิดสิทธขิ องผูอ้ ื่น
2. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรร์ บกวนผู้อ่ืน
3. ไมท่ �าการสอดแนม แกไ้ ข หรือเปดิ ดูไฟล์เอกสารของผูอ้ ื่นกอ่ นไดร้ บั อนญุ าต
4. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์ในการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรส์ ร้างหลักฐานเทจ็
86 6. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ในการคดั ลอกโปรแกรมทม่ี ลี ิขสทิ ธิ์

18

7. ไม่ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการละเมดิ การใชท้ รพั ยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยตนเองไม่มสี ทิ ธ์ิ
8. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พ่ือนา� เอาผลงานของผอู้ น่ื มาเปน็ ของตนเอง
9. คา� นึงถงึ ผลของการกระท�าทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ต่อสงั คม
10. ใชค้ อมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ า และมารยาท

2.2  ข้อกา� หนด ขอ้ ตกลงในการใช้แหลง่ ขอ้ มลู

สารสนเทศถกู สรา้ งสรรคข์ น้ึ มากมายในปจั จบุ นั การเขา้ ถงึ สารสนเทศทา� ไดง้ า่ ยและสะดวก
จึงมกี ารคดั ลอกหรอื นา� สารสนเทศท่ไี ม่ใช่ลิขสทิ ธิ์ของตนไปใชง้ านโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต การจดั ท�า
สญั ญาอนญุ าต (Creative Commons : CC) ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ จา้ ของสารสนเทศไดม้ อบสทิ ธใิ์ นการทา� ซา้�
เผยแพร ่ จัดแสดง ดัดแปลงสารสนเทศของตนให้แกบ่ คุ คลอ่ืนนา� ไปใชไ้ ด ้ จะมีการก�าหนดสัญญา
อนญุ าติครเี อทีฟคอมมอนสห์ รอื เงือ่ นไข ดงั นี้

แสดงที่มา (Attribution : BY) ต้องแสดงทม่ี า
ของชนิ้ งานตามรปู แบบที่ผสู้ รา้ งสรรคห์ รือผู้อนญุ าต
กา� หนด

Attribution : BY

ไม่ใชเ้ พ่ือการคา้ (NonCommercial : NC) ไมใ่ ห้
น�าข้อมูลนไี้ ปใช้เพอ่ื วัตถุประสงค์ทางการค้า

NonCommercial : NC

ไม่ดดั แปลง (No Derivative Works : ND) ไมแ่ กไ้ ข
เปลย่ี นแปลงหรือสรา้ งงานจากงานนี้

No Derivative Works : ND อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike : SA) ถ้าหาก หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
Share Alike : SA ดดั แปลง เปลย่ี นรปู หรอื ตอ่ เตมิ ชนิ้ งานน ี้ ตอ้ งใชส้ ญั ญา
อนุญาตแบบเดียวกัน หรือแบบท่ีเหมือนกับหรือที่
เขา้ กันไดก้ บั สัญญาอนญุ าตท่ีใช้กับงานน้ีเทา่ นน้ั

87

19

นอกจากเง่ือนไข ี่ท �กาหนดข้าง ้ตนแ ้ลว ัยงสามารถผสมเง่ือนไขไ ้ดตาม ้ตองการ ัดง ีน้ CC-BY ใ ้หเผยแพ ่ร ัดดแปลง โดย ้ตองระบุท่ีมา ให้เผยแพ ่ร โดยต้องระ ุบ ี่ทมา แ ่ตห้าม ใ ้หเผยแพ ่ร ัดดแปลง โดย ้ตองระบุ ีท่มา ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ CC-BY- ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุ ี่ทมา แ ่ตห้าม
ใ ้หเผยแพ ่ร ัดดแปลง โดย ้ตองระบุ ี่ทมา ดัดแปลง แต่ ้หามใช้เ ่พือการค้า ่ทีมา แต่ห้ามใช้เ ื่พอการค้า และต้อง NC-ND ัดดแปลง และ ้หามใ ้ชเพื่อการค้า
เผยแพร่งาน ัดดแปลงโดยใช้สัญญา
CC-BY-SA และต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้ อนุญาตเ ีดยว ักน
สัญญาอนุญาตเ ีดยว ักน
CC-BY-ND CC-BY-NC CC-BY- 88
NC-SA
20
BY BY ND BY NC CC CC
BY SA
BY NC SA BY NC ND
CC CC CC หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา
CC

• มารยาทของผใู้ ชส้ อื่ หรอื แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ บนอนิ เทอรเ์ นต็ ในฐานะทเี่ ราเปน็ บคุ คลทใี่ ช้
สื่อหรือแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ บนอินเทอรเ์ น็ต ดังนั้น เราควรมมี ารยาทในการใชส้ ือ่ หรือแหลง่ ขอ้ มลู
ดังนี้
- ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู และขา่ วสารตา่ ง ๆ กอ่ นนา� ไปเผยแพรบ่ นเครอื ขา่ ย
เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่เปน็ จรงิ
- ใช้ภาษาท่ีสภุ าพและเปน็ ทางการในการเผยแพรข่ ้อมูลบนอินเทอร์เนต็
- เผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ไม่ควรน�าเสนอข้อมูล
ข่าวสารทขี่ ัดต่อศีลธรรมและจริยธรรมอนั ดี รวมทั้งขอ้ มูลท่กี อ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายต่อผอู้ น่ื
- ควรระบแุ หล่งทีม่ า วันเดอื นปีท่ที า� การเผยแพรข่ อ้ มลู รวมท้งั ควรมคี �าแนะน�า และ
ค�าอธบิ ายการใช้ข้อมลู ทีช่ ดั เจน
- ควรระบขุ ้อมลู ขา่ วสารที่เผยแพรใ่ หช้ ดั เจนว่าเป็นโฆษณา ความคดิ เหน็ หรอื
ความจริง
- ไมค่ วรเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร หรอื โปรแกรมของผอู้ นื่ กอ่ นไดร้ บั อนญุ าต และไมค่ วร
แกไ้ ข เปลี่ยนแปลงข้อมลู ของผู้อืน่ ทเี่ ผยแพรบ่ นเครือขา่ ย
- ไม่ควรเผยแพร่โปรแกรมท่ีน�าความเสียหาย เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบ
เครอื ข่าย และควรตรวจสอบแฟ้มข้อมลู ข่าวสาร หรือโปรแกรมว่าปลอดไวรสั ก่อนเผยแพรเ่ ข้าสู่
ระบบอนิ เทอร์เนต็

Com Sci

activity

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 3-5 คน แล้วร่วมกันระดมความคดิ เพื่อตอบคา� ถามตอ่ ไปนี้
1. ร ูปแบบภยั คกุ คามตอ่ ระบบรกั ษาความปลอดภยั ทางคอมพวิ เตอรม์ อี ะไรบ้าง และคดิ ว่าภัยคกุ คาม

รูปแบบใดท่ีเป็นภยั คกุ คามทใ่ี กล้ตัวมากทส่ี ุด เพราะอะไร
2. การใชง้ านส่ือสงั คมออนไลนม์ ขี อ้ ดี ขอ้ เสยี อยา่ งไร และมีผลตอ่ ความปลอดภัยกับตนเองอยา่ งไร
3. วธิ กี ารใดท่ีจะเปน็ การปอ้ งกนั ภยั คุกคามต่อข้อมลู จงอธบิ าย
4. จงบอกประโยชนข์ องการใช้ Creative Commons
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 2. ทักษะการส่อื สาร
1. ทกั ษะการคดิ และการแก้ปัญหา

89

21

Summary

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
อยา่ งปลอดภัย

ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ

ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ นโยบาย ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ และมาตรการ
ทางเทคนิคที่น�ามาใช้ป้องกันการใช้งานจากบุคคลภายนอก การเปลี่ยนแปลง การขโมย หรือ
การท�าความเสียหายต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าระบบรักษาความปลอดภัยมาใช้
รว่ มกบั เทคนคิ และเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ในการปกปอ้ งคอมพวิ เตอร ์ ฮารด์ แวร ์ ซอฟตแ์ วร ์ ขอ้ มลู ระบบ
เครอื ขา่ ยและการสอ่ื สาร เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั คกุ คามตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ มาสเู่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ภยั คกุ คาม
ตอ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี
• ภัยคกุ คามตอ่ ฮารด์ แวร ์ • ภัยคุกคามต่อซอฟต์แวร์
• ภยั คุกคามต่อระบบเครอื ขา่ ยและการสอื่ สาร • ภยั คกุ คามตอ่ ข้อมูล

จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื หลกั ศีลธรรมจรรยาทก่ี �าหนดขึ้นเพอื่ ใชเ้ ปน็
แนวทางปฏิบตั ิ หรอื ควบคมุ การใช้ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ
• การจัดทา� สญั ญาอนญุ าตครเี อทฟี คอมมอนส ์ (Creative Commons : CC)

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา แสดงท่ีมา (Attribution : BY) ต้องแสดงท่ีมาของชิ้นงานตามรูปแบบที่
Attribution : BY ผูส้ รา้ งสรรค์หรือผอู้ นญุ าตก�าหนด

ไมใ่ ชเ้ พอ่ื การคา้ (NonCommercial : NC) ไมใ่ หน้ า� ขอ้ มลู นเ้ี พอื่ วตั ถปุ ระสงค์
NonCommercial : NC ทางการค้า

ไมด่ ัดแปลง (No Derivative Works : ND) ไม่แกไ้ ขเปล่ยี นแปลงหรอื สร้าง
No Derivative Works : ND งานจากงานนี้

อนญุ าตแบบเดียวกนั (Share Alike : SA) ถา้ หากดัดแปลง เปลย่ี นรูป หรอื
ต่อเตมิ ชนิ้ งานนี้ ตอ้ งใช้สัญญาอนุญาตแบบเดยี วกัน หรือแบบท่ีเหมือนกับ
Share Alike : SA หรือทีเ่ ข้ากนั ได้กับสัญญาอนุญาตทใ่ี ชก้ บั งานนเ้ี ท่าน้นั

90

22

Self Check

หใหา้นกักพเิจราียรนณตารขวอ้จคสวอาบมคไวมา่ถมกู เขต้า้อใงจใหโดก้ ยลพับิจไปารทณบทาขว้อนคเนว้ือามหาวต่าถามูกหหัวรขือ้อผทิดีก่ า�แหลน้วบดันใหท้ ึกลงในสมุด

ถกู /ผิด ทบทวนหวั ข้อ

1. อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดการช�ารุด 1.
เเคสรียอื่ หงาคยอแมลพะวิไเมต่สอารมเ์ กาดิ รคถวใาชม้งผาดินพไดล้ าดเน เ่ือปงน็ จภายั กครกุ ะคบาบมจท่าเี่ ยกไดิ ฟจใาหก้
ฮารด์ แวร์

2. เ หพนอ่ื อเนกคบ็ อขมอ้ พมวิลู เหตรออื รท ์ คา� อื ล าโปยรขแอ้ กมรลูมขทอถี่ งกู คบอรมรพจเุวิ ขเา้ตไอปรใเ์นคครออ่ื มงนพนั้วิ เ ตเชอน่ ร ์ 1.3
ขอ้ มลู ชอ่ื ผใู้ ช ้ รหสั ผา่ น เลขทบี่ ญั ชธี นาคาร หมายเลขบตั รเครดติ
และข้อมลู สว่ นบุคคลอื่น ๆ

3. การน�าภาพหรือข้อมูลท่ีสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งานโดย ับน ึทกลงในส ุมด 2.1
ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ถอื เปน็ การทา� ผดิ จรรยาบรรณการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ

4. ใ ชเ้ พอ่ื การคา้ (Attribution : BY) คอื ตอ้ งแสดงทมี่ าของชน้ิ งาน 2.2
ตามรปู แบบทีผ่ ู้สร้างสรรคห์ รือผู้อนญุ าตก�าหนด

5. CC-BY-NC คือ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยตอ้ งระบทุ ีม่ า 2.2
แตห่ ้ามใช้เพื่อการค้า

Unit Question 4

คา� ชี้แจง : ใหน้ ักเรียนตอบคา� ถามตอ่ ไปนี้
1 ก ารอปั เดตโปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั กบั ฐานขอ้ มลู ไวรสั มคี วามสา� คญั ตา่ งกนั หรอื ไม ่ อยา่ งไร

จงอธิบาย
2 น กั เรยี นมวี ธิ กี ารใดเพอื่ ปอ้ งกนั เครอื่ งคอมพวิ เตอรจ์ ากไวรสั คอมพวิ เตอร ์ จงอธบิ ายพรอ้ ม

ยกตวั อย่างประกอบ
3 จงยกตวั อย่างการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศทีไ่ มเ่ หมาะสม พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา91

23

แผนการจดั การเรยี นรู้ หลักสตู รตปรวั บัอยป่ารงุง’60

รายวิชาพน้ื ฐาน

เทคโนโลยี

1(วิทยาการคาํ นวณ) ม.

ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั กลมุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

แผนการจดั การเรยี นรู้ หปลรักับสปูตรรงุ '60
รายวิชาพื้นฐาน

( วทิ ยากเทาครโนคโลำยี นวณ )

ตากมลหมุ่ ลสกั าสระตู กราแตรกเารนมยี กมนลาราตวู้ งรทิ กฐยาาารนศศกากึ สาษรตาเรรข์ ยีน้ั (นพฉรบน้ื แู้ บั ฐลปาะรนตบั วัพปชรทุ ว้ีงุ ธดั พศ.กัศร. 2าช562055) 1

หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ( วทิ ยาการคำนเทวคโณนโลย)ี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
ม.1 ตากมลหมุ่ ลสกั าสรตู ะกรแารกเนรกยี ลนารงวู้ กทิ ายราตศศากึ ามษสมาตาขรตน้ั ์ รพ(ฐน้ื ฉาฐบนาบั กนปารพรบั เทุ ปรธยรี งศุนกัพรรแู้ .ศาล.ชะ2ต25วั 56ช5ว0้ี 1ดั )

؃ž „ Ð ¬›ŠÙŸ‰‘Üž  «“ÝzØÝ ม.1

؞ƒ„Ð ¬›ŠÙŸ‰‘žÜ ª¹Ô¹·Ã à©ÅÔÁÊØ¢ ›Ž¡Ÿ‡¡ z Œ“¡• 52.-

24

























ช่ัวโมงท่ี 1
ข้ันนา

1. ครูชกั ชวนนักเรียนพดู คุย โดยถามนักเรียนถึงการใชง้ าน social media ของนกั เรยี นแตล่ ะคนในการรบั ส่งข้อมูลหรอื การ
พูดคยุ กับเพ่ือน ๆ

2. ครูยกตัวอย่างเหตุการณ์ทมี่ ีบุคคลอืน่ ทาการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรอื แฮกเข้าระบบ Facebook ท่เี กดิ ข้นึ ตามข่าวต่าง ๆ แลว้ ถาม
นักเรียนวา่ ปัจจยั ใดบา้ งทเ่ี ก่ยี วขอ้ งและทาใหเ้ กดิ เหตุการณ์แบบนี้ข้ึน

3. ครูกล่าวถึงประเด็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศว่า นอกจากเรื่องความปลอดภัยของระบบสารสนเทศที่นักเรียนควร
ทราบแล้ว ยงั มสี ิ่งใดอีกท่นี กั เรยี นจะต้องทราบ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ กนั ระหว่างครูกบั นักเรียน

4. ครูพูดถึงความปลอดภัยของระบบสารสนเทศที่เป็นความรู้เดิมจากช่ัวโมงท่ีแล้ว เพ่ือเช่ือมโยงถึงเรื่องจริยธรรมในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทจ่ี ะไดเ้ รยี นตอ่ ไปในชวั่ โมงน้ี

ข้นั สอน

1. ครบู อกขอบเขตเนอื้ หาหรอื ประเด็นสาคัญทจี่ ะเรยี นในชั่วโมงน้ี ซง่ึ ประกอบดว้ ย จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จรรยาบรรณในการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อกาหนด ข้อตกลงในการใช้แหล่งข้อมูล และมารยาทของผู้ใช้ส่ือหรือ
แหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ บนอนิ เตอร์เนต็

2. ครถู ามคาถามกระตุ้นความคิด จากหนงั สอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.1 หน้า 86 ว่า Creative
Commons เก่ยี วขอ้ งกบั จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยหี รอื ไม่ อย่างไร
(แนวตอบ : เก่ียวข้อง เพราะสารสนเทศท่ีถูกสร้างข้ึนมาในปัจจุบันเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งมีการคัดลอกหรือนาไปใช้งานโดย
ไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ จึงมีการจัดทา Creative Commons หรือสัญญาอนุญาตขึ้นเพื่อให้ผู้ท่ีต้องการนา
สารสนเทศไปใช้ได้คานึงถึงจริยธรรม จรรยาบรรณ และเง่ือนไขของสัญญาอนุญาตต่าง ๆ ก่อนจะนาไปทาซ้า เผยแพร่
หรือดัดแปลง)

3. ครูเกรน่ิ ว่า จริยธรรม คอื หลักประพฤติปฏิบัติทีถ่ ูกตอ้ งเหมาะสม เพ่อื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตติ นอยา่ งสมบูรณ์ และ
สอดคล้องกับมาตรฐานทดี่ ีงามอันเปน็ ทยี่ อมรบั ของสังคม

4. ครูอธบิ ายเน้อื หาเกี่ยวกบั จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และจรรยาบรรณในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
จากหนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.1 หนา้ 86-87 ซงึ่ ในขณะที่ครูอธบิ ายให้นกั เรียนจด
บนั ทึกลงในสมดุ ประจาตวั และเม่ือครูอธบิ ายจบ ครูถามนักเรียนเปน็ รายบคุ คลวา่ จรรยาบรรณ คือ อะไร แล้ว
จรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง โดยแบ่งกันตอบคนละ 1 ข้อ เพื่อเปน็ การตรวจสอบ
ความสนใจของนักเรียนในการฟงั ครูอธิบาย

5. ครูอธิบายถงึ ข้อกาหนด ข้อตกลงในการใช้แหล่งข้อมลู และเช่ือมโยงไปถงึ การจดั ทาสญั ญาอนุญาต (Creative
Commons) จากนน้ั ให้นักเรียนศึกษาสญั ญาอนุญาตและเงอ่ื นไขของแต่ละแบบ จากหนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.1 หน้า 87-88

6. ครูสุ่มตัวอย่าง Creative Commons ที่เป็นไอคอน แล้วสุ่มถามนักเรียนว่าไอคอนสัญญาอนุญาตดังกล่าวคืออะไร
มีเง่ือนไขอย่างไร โดยให้นักเรียนปิดหนังสือเรียน เพื่อเป็นการตรวจสอบความเข้าใจในเนื้อหาท่ีได้ศึกษาไปแล้ว

7. ครูกล่าวถงึ มารยาทของผ้ใู ชส้ ่อื หรอื แหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ บนอนิ เตอรเ์ นต็ โดยสรุปว่า ผู้ใชส้ ่ือควรตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลต่าง ๆ ก่อนนาไปเผยแพร่ ควรใช้ภาษาที่สุภาพและเป็นทางการ ไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นประโยชน์ในทาง
สรา้ งสรรค์ ควรระบแุ หลง่ ทมี่ าให้ชัดเจน ไมค่ วรเผยแพรข่ ้อมูลของผอู้ ่ืนก่อนได้รับอนุญาต และไม่ควรเผยแพร่โปรแกรมที่
นาความเสียหาย เช่น ไวรสั เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์

37

ขน้ั สรปุ

1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเน้ือหา เรื่อง จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและ
ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเตมิ ในส่วนนั้น

2. ครูให้นักเรียนทากิจกรรม Com Sci activity เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย จากหนังสือเรียน รายวิชา
พนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.1 หนา้ 89 ลงในสมดุ

3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาอภิปรายผลการทากิจกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย หน้า
ชั้นเรยี น

4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เพ่ือให้เกิดความเข้าในท่ีถูกต้อง
และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยดูจากหนังสือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.1 หนา้ 90

5. ครูให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง จากกรอบ Self Check ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี
(วทิ ยาการคานวณ) ม.1 หน้า 91

6. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหัด Unit Question 4 จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ม.1 หน้า 91 ลงในสมดุ

7. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจหลังเรยี นของนกั เรียน

ขน้ั ประเมิน

1. ครตู รวจสอบการจดบันทึกเน้ือหาทคี่ รูอธบิ ายในสมุดประจาตัวนกั เรยี น
2. ครตู รวจแบบตรวจตอบตอนเองของนกั เรียน
3. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลังเรยี น เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจหลงั เรยี นของนักเรียน
4. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล การทางานกลุม่ และจากการ

นาเสนอผลการศึกษาเกี่ยวกบั จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหนา้ ชนั้ เรียน
5. ครูวดั และประเมินผลจากช้นิ งานการทากจิ กรรม Com Sci activity เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

ที่นกั เรยี นได้สร้างขึน้ จากขนั้ ขยายความรู้

38

7. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินตามสภาพจริง
7.1 การประเมนิ หลังเรียน ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- สมุดประจาตวั รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบทดสอบหลัง - ผลงานทีน่ าเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
เรยี น หน่วยการ การทางานรายบุคคล

เรียนรู้ที่ 4 เร่ือง การ

ใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอย่าง

ปลอดภัย

7.2 การประเมินระหว่าง

การจดั กิจกรรม

1) ผลบันทึกการทา - ตรวจสมดุ ประจาตวั

กจิ กรรม Com

Sci activity

2) การนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ ผลงาน

ผลงาน

3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม

ทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล

4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม

5) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
อนั พงึ ประสงค์ และมงุ่ มั่นในการทางาน อันพงึ ประสงค์

8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้

8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.1

2) Power Point เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรยี น

2) ห้องสมุด

3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

39

9 ความเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ .................................
( ................................ )

ตาแหนง่ .......

10. บันทึกผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน

 ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

 ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปญั หา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข

40

แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน

คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน

ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32
1 ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา 
2 ความคดิ สร้างสรรค์  
3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน 
4 การนาไปใช้ประโยชน์  
5 การตรงต่อเวลา 






รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมิน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ............/................./...................

ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ

14–15 ดีมาก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ากว่า 8 ปรบั ปรุง

41

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล

คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน

ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1
32
1 การแสดงความคิดเหน็ 
2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผู้อน่ื  
3 การทางานตามหน้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย 
4 ความมีน้าใจ  
5 การตรงต่อเวลา 






รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ............/.................../................

ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14–15 ดมี าก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง

42

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ

คาชแี้ จง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน

ลาดบั ท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรบั ฟัง การทางาน ความมีน้าใจ การมี รวม
ของนักเรียน ความคิดเห็น คนอืน่ ตามทไี่ ด้รบั 321 ส่วนร่วมใน 15
มอบหมาย การปรับปรงุ คะแนน
321 321 ผลงานกลุ่ม
321
321

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่ือ ................................................... ผูป้ ระเมิน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............./.................../...............
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง
ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

14–15 ดีมาก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

43

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

คำช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน

คณุ ลักษณะ รำยกำรประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงค์ดำ้ น 321
1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์

2. ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ตอ่ โรงเรยี น
3. มวี ินัย รับผิดชอบ 1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื ปฏิบตั ิตามหลักศาสนา
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่เกย่ี วกับสถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรยี นจัดขน้ึ
2.1 ให้ข้อมลู ท่ีถูกตอ้ งและเป็นจรงิ
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 2.2 ปฏิบัติในสงิ่ ท่ีถกู ตอ้ ง
3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว
6. มุง่ มั่นในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวัน
8. มีจติ สาธารณะ 4.1 รู้จักใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้
4.2 ร้จู ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม
4.3 เช่ือฟงั คาสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง
4.4 ตงั้ ใจเรียน
5.1 ใชท้ รพั ย์สินและสง่ิ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด
5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คุณคา่
5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงิน
6.1 มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อุปสรรคเพอ่ื ใหง้ านสาเร็จ
7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย
7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8.1 รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน
8.2 รูจ้ กั การดแู ลรักษาทรพั ย์สมบตั ิและส่ิงแวดลอ้ มของห้องเรยี นและโรงเรียน

ลงชือ่ .................................................. ผูป้ ระเมิน
............/.................../................

เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภำพ
พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิชดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดมี ำก
ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัติชัดเจนและบอ่ ยครัง้ 30–40 พอใช้
ต่ากวา่ 30 ปรับปรงุ
พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างครง้ั

44

เกณฑก์ ำรให้คะแนนผลงำน/ชิน้ งำน (แผนที่1)

เกณฑ์ประเมนิ ผลงำนฟลิปชำร์ทแสดงกำรสรปุ เน้อื หำ

ประเดน็ ทปี่ ระเมิน ระดบั คะแนน
1. ผลงำนตรงกับจดุ ประสงค์ทก่ี ำหนด
2. ผลงำนมีควำมถูกต้องสมบรู ณ์ 4 32 1
3. ผลงำนมีควำมคดิ สรำ้ งสรรค์ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไมส่ อดคล้อง
จดุ ประสงคท์ กุ ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง กบั จดุ ประสงค์
4. ผลงำนมีควำมเปน็ ระเบยี บ ประเด็น
กับจดุ ประสงค์ กบั จุดประสงค์ เนื้อหาสาระของ
เนื้อหาสาระของ ผลงานไม่ถูกต้อง
ผลงานถกู ตอ้ ง เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่
ครบถ้วน ผลงานไมแ่ สดง
เน้อื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ แนวคิดใหม่
ผลงานแสดงออก
ถึงความคดิ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานส่วนใหญ่
สรา้ งสรรค์ ไม่เปน็ ระเบยี บ
แปลกใหม่ เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางประเด็น และมีข้อ
และเป็นระบบ บกพร่องมาก
ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความ
ผลงานมคี วามเป็น
ระเบยี บแสดงออก แปลกใหมแ่ ตย่ ัง นา่ สนใจ แต่ยังไมม่ ี
ถงึ ความประณตี
ไม่เป็นระบบ แนวคิดแปลกใหม่

ผลงานส่วนใหญ่ ผลงานมีความ
มีความเปน็ เปน็ ระเบียบแตม่ ี
ระเบยี บแต่ยงั มี ขอ้ บกพรอ่ ง
ข้อบกพร่อง บางส่วน
เลก็ น้อย

เกณฑก์ ำรตัดสนิ คุณภำพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภำพ

14–16 ดีมำก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง

45

คู่มือครู หลกั สตู รตปรัวับอยปา่รงงุ ’60

รายวิชาพ้ืนฐาน

เทคโนโลยี

1(วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.

ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด กลมุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

ค่มู ือครู หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน แจกฟรีหนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรเฉ์ พาะครผู ้สู อน

˹ѧÊÍ× àÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ». ๑ ( วทิ ยาการคำเนทควโณนโลย)ี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1

ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ม.1

คมู่ อื ครู อจท.

ใชป้ ระกอบการสอนคู่กบั หนงั สอื เรยี น

เพิ่ม คำแนะนำการใช้
คำอธิบายรายวิชา

Pedagogy
Teacher Guide Overview
Chapter Overview
Chapter Concept Overview
ข้อสอบเน้นการคิด / ข้อสอบแนว O-NET
ม.1เพ่ิม

เพม่ิ
เพิ่ม
เพ่มิ
เพ่มิ
เพ่มิ
؃ž „ Ð ¬›ŠÙŸ‰‘žÜ «“ÝzØÝ เพิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills

؞ƒ„Ð ¬›ŠÙŸ‰‘žÜ³Ñ¯° âªÍ¹¸Ô¹¹·Ò·ÃÃÑྩÂÅÔÁÊØ¢ª¹Ô¹·›ÃŽà¡©ŸÅ‡ÔÁ¡ ÊzØ¢ Œ“¡•ÍÀÔªÒµ5Ô ¤2Ó.»- ÅÔÇ

ภาพปกนม้ี ขี นาดเทา่ กบั หนงั สอื เรยี นฉบบั จรงิ ของนกั เรยี น

46


Click to View FlipBook Version