The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sasithorn Sirikhum, 2019-06-11 03:21:31

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

CTP_แนวทางฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1_AL

ค�ำอธิบำยรำยวิชำ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
เวลาเรียน 20 ชั่วโมง / ปี
เทคโนโลยี (วทิ ยำกำรค�ำนวณ)

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1

ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรืออธิบายการท�างานที่พบในชีวิตจริง
การออกแบบและเขียนโปรแกรมทีม่ กี ารใชต้ วั แปร เงอ่ื นไข วนซ�้า การออกแบบอลั กอรทิ ึม เพอ่ื แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร ์
วทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย การเขยี นโปรแกรมโดยใชซ้ อฟตแ์ วร ์ Scratch, python, java และ c เปน็ ตน้ ศกึ ษาการรวบรวมขอ้ มลู
จากแหลง่ ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก ประเมนิ ผล ตลอดจนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั การจดั การ
อตั ลกั ษณ ์ การพจิ ารณาความเหมาะสมของเนอ้ื หา ใชส้ อื่ และแหลง่ ขอ้ มลู ตามขอ้ กา� หนดและขอ้ ตกลงไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยอาศัยกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการเรยี นรูแ้ บบใชโ้ ครงงานเป็น
ฐาน (Project-based Learning) เพ่ือเน้นใหผ้ เู้ รยี นได้ลงมือปฏบิ ัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปญั หาวางแผน
การเรยี นร้ ู ตรวจสอบการเรยี นร ู้ และน�าเสนอผ่านการทา� กจิ กรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทกั ษะ ความร ู้ ความเข้าใจ และทกั ษะ
ในการวเิ คราะหโ์ จทย์ปญั หา จนสามารถนา� เอาแนวคิดเชงิ คา� นวณมาประยุกต์ใชใ้ นการสรา้ งโครงงานได้
เพอื่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การนา� ข้อมูลปฐมภมู ิเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ วิเคราะห ์ ประเมิน น�าเสนอขอ้ มูล
และสารสนเทศ ได้ตามวัตถุประสงค ์ ใช้ทกั ษะการคิดเชิงคา� นวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จรงิ และเขยี นโปรแกรมอยา่ ง
ง่าย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่างรู้เท่าทันและรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจน
นา� ความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ าวทิ ยาศาสตร ์ และเทคโนโลยไี ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คม และการดา� รงชวี ติ จนสามารถพฒั นา
กระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและการจัดการทกั ษะในการสื่อสาร และความสามารถในการ
ตดั สนิ ใจ และเปน็ ผทู้ ม่ี จี ติ วทิ ยาศาสตร ์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์

ตวั ช้วี ัด
ว. 4.2 ม.1/1 ออกแบบอลั กอริทมึ ท่ีใชแ้ นวคดิ เชงิ นามธรรมเพ่ือแกป้ ัญหาหรืออธิบายการท�างานทีพ่ บในชีวติ จริง
ว. 4.2 ม.1/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอ่ื แกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรห์ รือวทิ ยาศาสตร์
ว. 4.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล น�าเสนอข้อมูล และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้

ซอฟต์แวร ์ หรอื บรกิ ารบนอนิ เทอร์เน็ตท่หี ลากหลาย
ว. 4.2 ม.1/4 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ใช้ส่อื และแหล่งขอ้ มูลตามข้อกา� หนดและขอ้ ตกลง

รวม 4 ตัวชวี้ ดั

50

Pedagogy

คมู่ ือครู รายวชิ าพ้ืนฐาน

เทคโนโลยี (วิทยำกำรค�ำนวณ) ม.1 จดั ทา� ขนึ้ เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนนา� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางวางแผนการสอนเพอื่ พฒั นา

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรียน โดยผู้สอนสามารถวางแผนการจดั การเรียนรู้ประกอบการใช้หนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี
(วทิ ยาการคา� นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 1 (ฉบับอนุญาต) ทที่ างบรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น ์ อจท. จ�ากัด จดั พมิ พจ์ �าหนา่ ย เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร ์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้ ู (Instructional Design) สอดคลอ้ งตามรปู แบบการเรยี นรู้ท่สี �าคัญ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ
การสอนแบบ 5Es และรูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (PBL) โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

รปู แบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย กรEะeตnnggุ้นaคg1วeำmมeสnนt ใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ สำ� รวeExจpแlลorะaคt้นioหnำ
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Elaขยำย
ความสามารถในการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ ผ้จู ัดทา� จงึ ไดเ้ ลอื กใช้
ตeEvรaวluจaสtiอoบnผล
รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความร ู้ (5Es Instructional Model) ำม ้รูtion
ซ่ึงเป็นข้ันตอนการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์ 5 5Es 2
ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญเพ่ือการพัฒนา ควำbมoเrขa4้ำtioใจn Exอ3pธlaิบnำaยคว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง
ศตวรรษท่ี 21

วิธสอน (Teaching Method)

ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชว้ ธิ สี อนทหี่ ลากหลาย เชน่ การทดลอง การสาธติ การอภปิ รายกลมุ่ ยอ่ ย เปน็ ตน้ เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซ่ึงจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย
การคิดและการลงมือทา� ดว้ ยตนเอง อันจะช่วยให้ผเู้ รียนมคี วามรูแ้ ละเกิดทักษะทางวิทยาศาสตรท์ ค่ี งทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชเ้ ทคนคิ การสอนทหี่ ลากหลายและเหมาะสมกบั เรอ่ื งทเี่ รยี น เพอ่ื สง่ เสรมิ วธิ สี อนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
เชน่ การใชค้ �าถาม การเล่นเกม เพือ่ นชว่ ยเพอ่ื น เป็นตน้ ซึง่ เทคนิคการสอนต่างๆ จะชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งมี
ความสขุ ในขณะทีเ่ รียนและสามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั ไดพ้ ฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 อีกด้วย

51

รปู แบบกำรสอนแบบใช้ปญั หำเปน็ ฐำน (Problem-Base Learning ; PBL)

ดว้ ยจดุ ประสงคข์ องการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการ PBL 6 น�ำเสนอและ
ค�านวณ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ฝึกทักษะการคิด ประเมนิ ผลงำน
แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงเลือกใช้
รูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Base 5 สรุปและประเมิน
Learning ; PBL) ซ่ึงเป็นขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งให ้ ค่ำของค�ำตอบ
ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในชีวิต
ประจ�าวัน โดยการจัดกิจกรรมท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด 4 สงั เครำะหค์ วำมรู้
แกป้ ัญหา คิดวเิ คราะห ์ คิดสรา้ งสรรค์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
การสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มลู บนั ทกึ และการอภปิ รายการเรยี นร้ ู 3 ด�ำเนินกำรศึกษำคน้ คว้ำ
โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการท�างาน
ท่ีต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก ซึ่ง 2 ทำ� ควำมเขำ้ ใจปัญหำ
สอดคล้องกบั ธรรมชาตวิ ิชาของวิชาวิทยาการค�านวณ
1 กำ� หนดปัญหำ

วธิ ีสอน (Teaching Method)

การจดั การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem - Base Learning ; PBL) เปน็ การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ในสงิ่ ทผ่ี เู้ รยี น
ตอ้ งการเรียนร้ ู โดยเริ่มมาจากปญั หาทีผ่ เู้ รยี นสนใจ หรือพบในชีวติ ประจา� วนั ท่มี เี นอ้ื หาเกย่ี วขอ้ งกบั บทเรยี น ซึง่ ครูจะต้องมี
การจัดแผนการเรียนรู้ตามความสนใจของผู้เรียนอย่างเหมาะสม เน้นท่ีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้เรียนในกลมุ่ การปฏิบัตแิ ละการเรียนรรู้ ่วมกนั เพือ่ น�าไปส่กู ารคน้ คว้าหาค�าตอบหรอื สรา้ งความรใู้ หม่บนฐานความรเู้ ดิม

เทคนคิ กำรสอน (Teaching Technique)

ผู้จัดท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนท่ีหลากหลายเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่าง ๆ ที่จ�าเป็นในการด�ารงชีวิต โดยปัญหาท่ี
น�ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้เป็นปัญหาที่ครูเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดจากสถานการณ์ แนวโน้มในชีวิตประจ�าวัน ข่าว
เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ เป็นต้น ซงึ่ เทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรยี นฝึกทกั ษะการคดิ แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและ
เปน็ ระบบ รวมท้ังไดพ้ ัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 อกี ด้วย

52

Teacher Guide Overview

เทคโนโลยี (วิทยำกำรค�ำนวณ) ม.1

หนว่ ย ตวั ชีว้ ดั ทกั ษะท่ีได้ เวลำท่ีใช้ กำรประเมนิ สื่อที่ใช้
กำรเรยี นรู้
- ออกแบบอัลกอริทึม - ทกั ษะการคิด - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน - ห นงั สือเรยี น รายวชิ า
1 ทใี่ ชแ้ นวคิดเชงิ เชงิ ค�านวณ - ตรวจผลงานการนา� เสนอโดยใช้ พื้นฐาน เทคโนโลยี
นามธรรมเพอ่ื แกป้ ญั หา - ทกั ษะการสื่อสาร แนวคิดเชงิ นามธรรมเพ่ือใชใ้ น (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.1
การออกแบบ หรอื อธบิ ายการทา� งาน - ทักษะการทา� งาน การแก้ปัญหาตามทกี่ �าหนด - แบบทดสอบก่อนเรยี น
และเขยี น ทพ่ี บในชีวิตจริง รว่ มกนั - ต รวจผลงานการเขยี นอัลกอรทิ ึม - แบบทดสอบหลังเรยี น
อลั กอริทมึ เบื้องตน้ - PowerPoint
- ตรวจผลงานการเขียนอลั กอริทึม
(ว 4.2 ม.1/1) - ท กั ษะกระบวนการคิด ดว้ ยรหสั จ�าลองและผังงาน
- ออกแบบและเขยี น อยา่ งมวี ิจารณญาณ - ตรวจการปฏบิ ัติกิจกรรม
โปรแกรมอย่างงา่ ย 6 การออกแบบอลั กอรทิ มึ
เพ่อื แก้ปัญหาทาง - ตรวจใบงาน
ช่วั โมง - สังเกตพฤติกรรมการท�างาน
รายบุคคล
คณติ ศาสตร์ หรือ - สังเกตพฤติกรรมการท�างานกลุ่ม
วทิ ยาศาสตร์ - สังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
(ว 4.2 ม.1/2) - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น

2 - ออกแบบและเขียน - ท กั ษะการใช้เทคโนโลยี - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน - หนงั สอื เรยี น รายวิชา
โปรแกรมอยา่ งง่าย สารสนเทศ - สังเกตการใชง้ านโปรแกรมเบือ้ งต้น พื้นฐาน เทคโนโลยี
การออกแบบ เพ่อื แกป้ ัญหาทาง ตามท่ีก�าหนด (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.1
และการเขยี น คณติ ศาสตร์ หรอื - ทักษะการสังเกต - ตรวจผลงานการเขยี นโปรแกรม - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
วทิ ยาศาสตร์ - ทักษะการส่ือสาร เบื้องต้นตามท่กี �าหนด - แบบทดสอบหลงั เรยี น
โปรแกรม (ว 4.2 ม.1/2) - ทกั ษะการท�างาน - สังเกตการใช้งานซอฟต์แวร์ในการ - PowerPoint
เบือ้ งตน้ รว่ มกนั
- ทกั ษะการคดิ
เชงิ ค�านวณ 7 เขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
- ทกั ษะการแกป้ ญั หา - ตรวจผลงานการใชง้ านซอฟตแ์ วร์
ชว่ั โมง การเขียนโปรแกรม
- ตรวจการนา� เสนอผลงานจาก
กรณศี กึ ษาการเขยี นโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
- ต รวจการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
การออกแบบอลั กอริทึม
- ตรวจใบงาน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

53

หน่วย ตัวชีว้ ัด ทักษะท่ีได้ เวลำท่ใี ช้ กำรประเมนิ ส่ือทใี่ ช้
กำรเรยี นรู้
- รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ - ทักษะการใช้เทคโนโลยี - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น - ห นงั สอื เรยี น รายวิชา
3 ประมวลผล ประเมนิ ผล สารสนเทศ - ตรวจผลงานการจา� แนกข้อมูลและ พน้ื ฐาน เทคโนโลยี
นา� เสนอข้อมูลและ - ทกั ษะการส่ือสาร สารสนเทศเบื้องตน้ (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.1
การจัดการ สารสนเทศตาม - ทกั ษะการทา� งาน - ต รวจการน�าเสนอข้อมูลโดยใช้ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ข้อมลู วัตถุประสงค์โดยใช้ รว่ มกัน 4 โปรแกรมไมโครซอฟตเ์ วิรด์ หรอื - แบบทดสอบหลังเรยี น

สารสนเทศ ช่วั โมง

ซอฟต์แวร์ หรือบรกิ าร - ทกั ษะการรวบรวม โปรแกรมไมโครซอฟตเ์ อ็กเซล - PowerPoint
บนอนิ เทอรเ์ น็ต ข้อมูล - ตรวจการปฏิบตั กิ ิจกรรมการขอ้ มูล
ทีห่ ลากหลาย - ทักษะการสา� รวจคน้ หา และสารสนเทศ
(ว 4.2 ม.1/3) - ตรวจใบงาน
- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

4 - ใ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการสอื่ สาร - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - หนังสือเรยี น รายวชิ า
การใชเ้ ทคโนโลยี อยา่ งปลอดภัย ใชส้ อ่ื - ทกั ษะการทา� งาน - สงั เกตการอภิปรายเก่ยี วกับความ พน้ื ฐาน เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งข้อมลู ตาม รว่ มกนั ปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ (วทิ ยาการคา� นวณ) ม.1
อยา่ งปลอดภัย ข้อก�าหนดและขอ้ ตกลง - ท ักษะกระบวนการคิด 3 - ส งั เกตการอภิปรายเก่ยี วกบั การ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน
(ว 4.2 ม.1/4) อย่างมวี จิ ารณญาณ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมี - แบบทดสอบหลังเรยี น
- ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี ชั่วโมง จรยิ ธรรม - PowerPoint

สารสนเทศ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
- ทกั ษะการแกป้ ัญหา

54

สำรบัญ

Chapter Title Chapter Chapter Teacher
Overview Concept Script
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 กำรออกแบบและกำรเขียน Overview
อลั กอรทิ มึ T2 T4
T3
• แนวคิดเชงิ นามธรรม T28 T5 - T8
• อัลกอรทิ ึมเบอื้ งต้น T58 T29 T9 - T10
• การเขยี นอัลกอรทิ มึ ดว้ ยภาษาธรรมชาติ T86 T11 - T12
• การเขยี นอลั กอริทมึ ด้วยรหัสจ�าลอง T59 T13 - T14
• การเขยี นอลั กอริทึมดว้ ยผงั งาน T87 T15 - T25
ทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 T26 - T27

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 กำรออกแบบและกำรเขียน T30
โปรแกรมเบอื้ งต้น
T31 - T43
• การเขยี นโปรแกรมเบือ้ งตน้ T44 - T50
• ซอฟต์แวรท์ ่ีใช้ในการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ T51 - T55
• การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากอัลกอริทมึ T56 - T57
ทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ ี 2
T60
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 กำรจดั กำรขอ้ มูลสำรสนเทศ
T61 - T71
• ขอ้ มลู กับสารสนเทศ T72 - T74
• การประมวลผลขอ้ มูลสารสนเทศ T75 - T83
• ซอฟตแ์ วร์และการเลือกใช้งาน T84 - T85
ท้ายหน่วยการเรยี นรู้ที่ 3
T88
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
อย่ำงปลอดภัย T89 - T93
T94 - T97
• ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ T98 - T99
• จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี ่ 4

Mini Project T100 - T101
บรรณำนุกรม T102

55

Chapter Overview

แผนการจดั สอ่ื ท่ีใช จ�ดประสงค วธ� ส� อน ประเมิน ทักษะท่ีได คุณลักษณะ
การเร�ยนรู อนั พึงประสงค

แผนท่ี 1 - แบบทดสอบกอ นเรยี น 1. อธบิ ายการใชเทคโนโลยี แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการสื่อสาร 1. มวี นิ ยั
ความปลอดภยั - หนงั สอื เรียน รายวิชา สารสนเทศอยา ง หาความรู กอนเรียน - ทกั ษะการทํางาน 2. ใฝเ รียนรู
ของระบบ พื้นฐาน เทคโนโลยี ปลอดภัยได (K) (5Es - ตรวจช้ินงานการสรุป รว มกัน 3. มุง ม่ันใน
สารสนเทศ (วิทยาการคํานวณ) ม.1 2. อภปิ รายเกย่ี วกับ Instructional เน�อ้ หา - ทักษะการคิดอยางมี การทาํ งาน
- PowerPoint ความปลอดภยั ของ Model) - ตรวจการนําเสนอ วิจารณญาณ
2 ระบบสารสนเทศ (P) ผลงาน - ทกั ษะการใช
3. เหน็ ความสาํ คญั ของ - สังเกตพฤติกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ชัว่ โมง

ความปลอดภยั ในการ การทาํ งานรายบคุ คล
ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ - สังเกตพฤตกิ รรม
(A) การทาํ งานกลุม
- สงั เกตคณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค

แผนท่ี 2 - แบบทดหลงั เรียน 1. อธิบายเก่ยี วกับขอ แบบบรรยาย - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการส่ือสาร 1. มีวินัย
จรยิ ธรรมใน - หนงั สือเรียน รายวิชา กาํ หนด ขอตกลงในการ (Lecture หลงั เรียน - ทกั ษะการแกปญหา 2. ใฝเรียนรู
การใชเทคโนโลยี พื้นฐาน เทคโนโลยี ใชแหลงขอมูลได (K) Method) - ตรวจการจดบนั ทกึ - ทกั ษะการทํางาน 3. มงุ ม่นั ใน
สารสนเทศ (วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.1 2. อภปิ รายการเลอื กใชส ่ือ ในสมดุ ประจําตวั รว มกนั การทํางาน
- PowerPoint และแหลง ขอ มูลตามขอ - ตรวจช้นิ งานการทาํ - ทักษะการคดิ อยางมี
1 กาํ หนดไดอยางถกู ตอง กิจกรรม Com Sci วิจารณญาณ
(P) activity - ทักษะการใช
ช่ัวโมง

3. เห็นความสาํ คัญของขอ - ตรวจการนําเสนอ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
กาํ หนด และขอ ตกลง ผลงาน
ในการใชส ื่อ หรอื แหลง - สังเกตพฤตกิ รรม
ขอมูลตา ง ๆ (A) การทาํ งานรายบุคคล
- สงั เกตพฤตกิ รรม
การทาํ งานกลุม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค

T86

56

Chapter Concept Overview

หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี 4

ควำมปลอดภัยของระบบสำรสนเทศ
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ นโยบาย ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ และมาตรการทางเทคนคิ ทนี่ �ามาใชป้ องกันการใชง้ านจาก
บุคคลภายนอก การเปลี่ยนแปลง การขโมย หรอื การทา� ความเสียหายตอ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าระบบรกั ษาความปลอดภัยมาใช้
ร่วมกับเทคนิคและเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ในการปกปอ งคอมพวิ เตอร ์ ฮารด์ แวร ์ ซอฟต์แวร ์ ข้อมลู ระบบเครือขา่ ยและการส่อื สาร เพือ่ ปองกนั ภยั
คกุ คามต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามาสเู่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ภัยคุกคามตอ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี
• ภยั คุกคามต่อฮาร์ดแวร์
• ภยั คกุ คามตอ่ ซอฟตแ์ วร์
• ภัยคุกคามต่อระบบเครือขา่ ยและการส่ือสาร
• ภยั คุกคามตอ่ ข้อมูล

จริยธรรมในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ
จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ หลักศีลธรรมจรรยาท่ีก�าหนดข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบ
คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ
• การจดั ท�าสญั ญาอนุญาตครีเอทฟี คอมมอนส์ (Creative Commons : CC)

Attribution : BY แสดงทม่ี า (Attribution : BY) ตอ้ งแสดงทีม่ าของชน้ิ งานตามรูปแบบทผี่ ู้สร้างสรรค์หรือ
ผอู้ นุญาตกา� หนด

ไม่ใชเ้ พอื่ การค้า (NonCommercial : NC) ไมใ่ หน้ �าขอ้ มลู น้เี พือ่ วัตถุประสงคท์ างการค้า

NonCommercial : NC

ไมด่ ัดแปลง (No Derivative Works : ND) ไมแ่ กไ้ ขเปลย่ี นแปลงหรือสร้างงานจากงานนี้
No Derivative Works : ND

Share Alike : SA อนญุ าตแบบเดียวกนั (Share Alike : SA) ถา้ หากดดั แปลง เปลยี่ นรปู หรือตอ่ เตมิ ชน้ิ งานน้ ี
ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน หรือแบบที่เหมือนกับหรือท่ีเข้ากันได้กับสัญญาอนุญาต
ท่ีใช้กับงานนเ้ี ท่านัน้

T87

57

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ นาํ (5Es) 4 การใชหนว ยการเรยี นรูที่
เทคโนโลยี
กระตนุ ความสนใจ สารสนเทศอยา งปลอดภยั

1. ครูสนทนากับนักเรียนในหัวขอ การใช การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศมีหลากหลายลักษณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียน โดยครู ท้ังที่เปนประโยชน และอาจสงผลรายตอผูอื่น ดังน้ัน
ต้ังคําถามเก่ียวกับการใชงานเทคโนโลยี เราควรตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่
สารสนเทศในชีวิตประจําวัน แลวใหนักเรียน ถูกตอ งและเหมาะสม เพ่ือปอ งกันภัยคกุ คามรูปแบบตา ง ๆ
ชว ยกันตอบ และสามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวชว้ี ัด
2. ครูถามนักเรียนวา เคยเห็นหรือไดยินขาว ว 4.2 ม.1/4 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ใช้สอ่ื และแหล่งข้อมูลตามขอ้ ก�าหนดและข้อตกลง
เกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากการใชอินเทอรเน็ต
หรือไม อยางไร โดยใหนักเรียนแสดงความ
คิดเห็นอยางอสิ ระ
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

3. ครูกลาวเชื่อมโยงวา การใชงานเทคโนโลยี
สารสนเทศมีหลากหลายลักษณะทั้งท่ีเปน
ประโยชน และอาจสงผลรายตอผูอ่ืน ดังน้ัน
เราควรตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยี
สารสนเทศทถ่ี กู ตอ งและเหมาะสม เพอื่ ปอ งกนั
ภัยคุกคามรูปแบบตางๆ และสามารถใช
เทคโนโลยสี ารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนทราบหรือไมวา
วันนี้จะไดเรียนรูเกี่ยวกับเร่ืองอะไร โดยเปด
โอกาสใหน ักเรยี นชว ยกนั ตอบคาํ ถาม จากนัน้
ครูแจงชื่อเร่ืองและผลการเรียนรูใหนักเรียน
ทราบ

5. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพ่ือ
วดั ความรเู ดิมของนักเรียนกอนเขา กิจกรรม

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา

เกร็ดแนะครู

ในการจดั การเรยี นการสอน เรอ่ื ง การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภยั
ครูอาจชักชวนนักเรียนพูดคุย หรือใชคําถามกระตุนกอนเขาสูเน้ือหาท่ีจะเรียน
เชน ครถู ามถงึ ลักษณะการใชงาน Line, Facebook, Twitter หรือ Instagram
ของนกั เรยี นแตละคน

ส่ือ Digital

ศึกษาเพมิ่ เติมไดจ าก PowerPoint เรอ่ื ง การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยาง
ปลอดภัย

T88

58

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

การใชง านเทคโนโลยี 1   ค สาวราสมนปเลทอศดภยั ของระบบ ขนั้ สอน
สารสนเทศตอ งคาํ นงึ ถงึ
สง่ิ ใดเปน สาํ คญั สาํ รวจคน หา
ในปจั จบุ นั มกี ารใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
แพรห่ ลาย ดว้ ยประโยชนท์ หี่ ลากหลายในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู 1. ครถู ามคาํ ถามกระตนุ เพอื่ เปน การนาํ เขา สเู นอื้ หา
รวมท้ังการส่งข่าวสารถึงกันอย่างสะดวกและรวดเร็ว สิ่งที่ผู้ใช้งานจะต้องตระหนักถึง ที่จะเรียน จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน
คือ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย และไมล่ ะเมดิ หรอื กระทา� การใด ๆ ท่จี ะ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.1 หนา 81 วา
ส่งผลให้ผอู้ นื่ ไดร้ บั ความเสยี หาย ดงั น้นั ผใู้ ชง้ านต้องใช้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศตองคํานึงถึง
เกดิ ประโยชน์สงู สดุ สงิ่ ใดเปน สําคัญ
(แนวตอบ ความปลอดภัยจากภยั คกุ คามตางๆ
1.1  ความปลอดภัยของเทคโนโลยสี ารสนเทศ และไมละเมิดหรือกระทําการใดๆ ที่จะสงผล
ใหผูอืน่ ไดร บั ความเสยี หาย)
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ นโยบาย ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ และมาตรการ
ทางเทคนิคที่น�ามาใช้ป้องกันการใช้งานจากบุคคลภายนอก การเปลี่ยนแปลง การขโมย หรือ 2. ครูแบงกลุมนักเรียน กลุมละ 5-6 คน ให
การท�าความเสียหายต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าระบบรักษาความปลอดภัยมาใช้ นักเรียนรวมกันศึกษาและสืบคนเกี่ยวกับ
ร่วมกับเทคนิคและเคร่ืองมือต่าง ๆ ในการปกป้องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ จาก
ระบบเครือข่ายและการส่ือสาร มาเพื่อป้องกันภัยคุกคามต่าง ๆ ท่ีเข้ามาสู่เทคโนโลยีสารสนเทศ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี
ภยั คกุ คามต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ดังนี้ (วิทยาการคํานวณ) ม.1 หนา 81-85 หรือ
แหลงขอมลู สารสนเทศ
• ภัยคุกคามต่อฮาร์ดแวร์ เป็นภัยคุกคามที่ท�าให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์เกิดการ
เสยี หาย เชน่ ระบบการจา่ ยไฟฟา้ เขา้ สคู่ อมพวิ เตอรม์ คี วามผดิ พลาดทา� ใหอ้ ปุ กรณฮ์ ารด์ แวรภ์ ายใน 3. นักเรียนแตละกลุมรวมกันพูดคุยและอภิปราย
เครื่องคอมพิวเตอร์เกิดการช�ารุดเสียหายและไม่สามารถใช้งานได้ การลักขโมยหรือการท�าลาย ภายในกลมุ จากขอมลู ทไี่ ดรว มกนั ศกึ ษา แลว
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์โดยตรง เปน็ ต้น เขยี นสรปุ ลงในกระดาษฟลปิ ชารต (Flip chart)
โดยครคู อยสงั เกตการทากจิ กรรมของนกั เรยี น
• ภยั คุกคามต่อซอฟตแ์ วร ์ เป็นภยั คกุ คามทีท่ า� ให้ซอฟตแ์ วรใ์ ช้งานไมไ่ ด ้ หรือซอฟต์แวร์ แตละกลุมอยางใกลชิด พรอมกับคอยให
ท�างานผิดพลาด ท�าให้ได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องจากการท�างานของซอฟต์แวร์ รวมถึงการลบ การ คําแนะกับนักเรียนท่ีมีขอสงสัยระหวางการ
เปลี่ยนแปลง การแกไ้ ขกระบวนการทา� งานของซอฟต์แวร ์ ทํากจิ กรรม
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช
• ภัยคุกคามต่อระบบเครือข่ายและการสื่อสาร เป็นภัยคุกคามที่มีผลท�าให้ระบบเครือ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ )
ขา่ ยและการสื่อสารขัดข้อง ไม่สามารถใชง้ านระบบเครอื ขา่ ยและการสือ่ สารได ้ รวมทงั้ การเขา้ ถึง
อุปกรณ์เครือขา่ ยเพือ่ ปรับแตง่ และแกไ้ ขการท�างานโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต แนวตอบ คาํ ถามประจําหนวยการเรียนรู

• ภัยคุกคามต่อข้อมูล เป็นภัยคุกคามที่ท�าให้ข้อมูลท่ีเป็นส่วนตัว หรือเป็นความลับถูก ความปลอดภัยจากภัยคุกคามตางๆ และไม
เปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญาต การเปลี่ยนแปลงแก้ไข ลบ หรือน�าข้อมูลใด ๆ ไปใช้ประโยชน์โดย ละเมดิ หรอื กระทาํ การใดๆ ที่จะสงผลใหผอู นื่ ไดรับ
ไม่ไดร้ บั อนญุ าต หรือไม่สามารถนา� ข้อมูลไปใช้งานได ้ ความเสยี หาย
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
81

กิจกรรม สรางเสรมิ เกร็ดแนะครู

ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติม และยกตัวอยางเพิ่มเติม ในการเรยี นการสอน เรอ่ื ง ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศเพอื่ เปน การ
เกี่ยวกับภัยคุกคามตอเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยจดลงในสมุด กระตนุ ความสนใจของนกั เรยี น และเปน การเชอื่ มโยงเขา สเู นอ้ื หาทคี่ รจู ะสอนตอ ไป
บนั ทึก โดยการท่ีครูเขียนภัยคุกคามตอระบบสารสนเทศลงบนกระดานดํา พรอมยก
ตวั อยางประกอบ แยกเปนแตละประเภท ดังน้ี
กิจกรรม ทา ทาย
• ภยั คกุ คามตอ ฮารดแวร
ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับภัยคุกคามตอ • ภยั คุกคามตอ ซอฟตแ วร
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสามารถพบไดในชีวิตประจําวัน และยก • ภยั คุกคามตอ ระบบเครือขา ยและการสือ่ สาร
ตวั อยา งการถกู คกุ คามในแตล ะประเภททนี่ กั เรยี นหรอื คนรจู กั เคย • ภัยคกุ คามตอขอ มูล
ประสบปญหา เชน ภยั คุกคามดานขอมลู คือ ถกู แอบอา งชื่อ-สกลุ
ในการรบั บรกิ ารตา งๆ ทเ่ี จา ของไมร ตู วั พรอ มทง้ั เสนอวธิ กี ารแกไ ข T89
โดยจัดทําเปนรายงานสง ครูผสู อน

59

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน 1.2  ร ูปแบบภยั คุกคามต่อระบบรกั ษาความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร 

อธบิ ายความรู ภัยคกุ คามท่เี กิดขนึ้ กับระบบรกั ษาความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ สามารถแบ่งออกเปน็
5 รปู แบบ ดงั นี้
1. ครูอธิบายเน้ือหาเพิ่มเติมหลังการอภิปราย • ภยั คุกคามแก่ระบบ เป็นภัยคกุ คามจากผู้มเี จตนาร้ายเข้ามาทา� การปรับเปล่ยี น แกไ้ ข
ของนักเรยี น หรอื สว นทเ่ี ปน ประเดน็ สาํ คัญใน หรือลบไฟล์ข้อมูลส�าคัญภายในระบบคอมพิวเตอร์ แล้วส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบ
หวั ขอ ความปลอดภยั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ท�าให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถใช้งานได้ เช่น แครกเกอร์หรือผู้ท่ีมีความรู้ความ
จาก PowerPoint เร่ือง ความปลอดภัย เชยี่ วชาญเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอรท์ า� การบกุ รกุ ดว้ ยเจตนารา้ ย (cracker) แอบเจาะเขา้ ไปในระบบเพอ่ื
ของระบบสารสนเทศควบคูกับหนังสือเรียน ลบไฟลร์ ะบบปฏบิ ตั ิการ เปน็ ตน้
รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) • ภยั คกุ คามความเปน็ สว่ นตวั เปน็ ภยั คกุ คามทแ่ี ครกเกอร ์ (cracker) เข้ามาท�าการเจาะ 1
ม.1 หนา 81
ข้อมูลส่วนบุคคล หรือติดตามร่องรอยพฤติกรรมของผู้ใช้งาน CinoRmeaSlcLiife
2. ครูอธิบายประเด็นสําคัญในหัวขอ ภัยคุกคาม แล้วส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้น เช่น การใช้โปรแกรมสปาย
ตอ ระบบรกั ษาความปลอดภยั ทางคอมพวิ เตอร (spyware) ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่น และ
จากหนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี ส่งรายงานพฤติกรรมของผู้ใช้ผ่านทางระบบเครือข่ายหรือทาง ในขณะทเี่ ราเขา้ เวบ็ ไซต์
(วิทยาการคาํ นวณ) ม.1 หนา 82 วา สามารถ อีเมลไปยังบริษัทสินค้า เพื่อใช้เป็นข้อมูลส�าหรับส่งโฆษณา ตา่ ง ๆ โปรแกรม IE (Windows
แบง เปน 5 รูปแบบ ดังน้ี ขายสินคา้ ตอ่ ไป เปน็ ตน้ Internet Explorer) จะทา� การ
1) ภยั คุกคามแกระบบ ดาวนโ์ หลด (download) ขอ้ มลู
2) ภัยคุกคามความเปน สว นตวั • ภัยคุกคามต่อผู้ใช้และระบบ เป็นภัยคุกคามท่ีส่งผล น�ามาเก็บไวใ้ นเครอื่ ง เมือ่ เลิก
3) ภัยคกุ คามตอ ผูใ ชและระบบ เสียให้แก่ผู้ใช้งานและเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก เช่น ใช้งานไฟล์ต่าง ๆ เหล่านั้นจะ
4) ภยั คุกคามที่ไมม ีเปา หมาย การล็อคเคร่ืองคอมพิวเตอร์ไม่ให้ท�างาน หรือบังคับให้ผู้ใช้งาน คงค้างอยู่ภายในเคร่ือง ซ่ึงจะ o_O
5) ภัยคกุ คามทสี่ รางความราํ คาญ ปิดเบราว์เซอรข์ ณะใชง้ าน เป็นต้น ส่งผลกระทบให้ไฟล์ในเครื่อง
เพ่ิมมากข้ึน ท�าให้เนื้อที่ใน
3. ครแู ทรกความรเู สรมิ จากกรอบ Com Sci in • ภัยคุกคามที่ไม่มีเป้าหมาย เป็นภัยคุกคามท่ีไม่มี ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) ไม่
Real Life ถึงการใชงานอินเทอรเน็ต โดย เปา้ หมายแนน่ อน เพียงตอ้ งการสร้างจดุ สนใจ โดยไม่ก่อใหเ้ กิด เพยี งพอ
โปรแกรม IE (Windows Internet Explorer) วา รคะวบาบมหเสลยี าหยา ๆย ขค้นึ น เใชน่นล กั สษ่งณข้อะทคี่เวราียมกหวร่าือ สอแีเมปลมร2 บ(sกpวaนmผ) ใู้ ชเป้ง็นานตใน้ น นอกจากน้ีอาจมีไวรัส
อ า จ จ ะ มี ไ ว รั ส แ อ บ แ ฝ ง เ ข  า ม า ใ น เ ค รื่ อ ง แ อ บ แ ฝ ง เ ข ้ า ม า ใ น เ ค ร่ื อ ง
คอมพิวเตอร ซึ่งเปนภัยคุกคามรูปแบบหนึ่ง • ภัยคุกคามที่สร้างความร�าคาญ โดยปราศจากความ คอมพิวเตอร์ ดังน้ันวิธีการ
ดงั นนั้ ในการใชง านนกั เรยี นจะตอ งจดั การกบั เสยี หายทจี่ ะเกิดขึ้น เชน่ โปรแกรมเปล่ยี นการตั้งค่าคณุ ลักษณะ จัดการอย่างหน่ึงที่ง่ายท่ีสุด
โปรแกรมทกุ คร้งั ท่ีเขา ใชง าน ในการท�างานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้ต่างไปจากท่ีเคย คือ การก�าหนดให้โปรแกรม
กา� หนดไว้ โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต IE ลบไฟล์ขยะเหล่านี้โดย
อตั โนมตั ทิ กุ ครงั้ ทป่ี ดิ โปรแกรม

82หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา

นักเรียนควรรู กิจกรรม 21st Century Skills

1 แครกเกอร (Cracker) คอื บคุ คลทบ่ี กุ รกุ หรอื รบกวนระบบคอมพวิ เตอรท อ่ี ยู 1. ใหน ักเรยี นแบง กลุม อยา งอิสระ กลุมละ 3-4 คน
หา งไกล โดยมเี จตนารา ย เชน การขโมยขอ มูล การทาํ ลายขอมลู หรือแมก ระท่งั 2. แตละกลุมรวมกันสืบคนขอมูล ขาว หรือสถานการณเก่ียวกับ
การครอบครองคอมพวิ เตอรค นอน่ื ซงึ่ มลี กั ษณะคลา ยกบั แฮกเกอร (Hacker) แต
แตกตา งกนั ตรงความคดิ และเจตนา แฮกเกอร คอื ผทู ม่ี คี วามสนใจในการทาํ งาน ภัยคกุ คามตอระบบรักษาความปลอดภัยทางคอมพวิ เตอร
อันซบั ซอนของระบบปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร หรอื ผทู นี่ ําความรใู นไปใชในทางที่ 3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันอภิปรายผลการสืบคนและเขียนสรุป
มีประโยชน โดยไมม เี จตนาท่จี ะทําลายขอมูล
2 สแปม (spam) คือ ช่ือเรียกของการสงขอความที่ผูรับไมไดรองขอ ผาน ผลการสืบคนลงในกระดาษ A4
ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส สแปมทพี่ บเหน็ ไดบ อ ยไดแ ก การสง สแปมผา นทางจดหมาย 4. นําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน ดวยวิธีการส่ือสารท่ีทําใหผูอื่น
อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-mail) เพือ่ การโฆษณาเชงิ พาณิชย การโฆษณาชวนเชือ่ หรือ
บริการที่เสี่ยงตอการกระทําผิดกฎหมาย โดยที่เราไมรูเลยวาผูที่สงมาใหน้ัน เขา ใจไดงาย และนา สนใจ
เปนใคร หรือเปนการแอบอางหรือไม ซ่ึงผูสงจะเสียคาใชจายในการสงไมมาก
นกั แตคา ใชจ ายสว นใหญจะตกอยูกับผรู บั

T90

60

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน (ตฮ)

อธบิ ายความรู

1.3  ร•ปู แมบลั แบวรภ ์1(ยั mคalกุwaคreา) มคดอื ้าโปนรแขก้อรมมทลู ถี่ ใกูนสครา้องมขน้ึพมิวาเเพตอื่ อปรระ สงคร์ า้ ยตอ่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ์ 4. ครูถามนักเรียนวา ภัยคุกคามดานขอมูลใน
มลั แวร์จ•ะขไโมวรยสั ขคอ้ อมมูลพหวิรเือตพอยร์า2ยามท�าให้เครอื่ งทต่ี ิดตง้ั ซอฟตแ์ วร์เกิดความเสียหาย คอมพิวเตอร มีอะไรบาง แลวใหนกั เรียนชวย
(computer virus) คือ โปรแกรม กันตอบ โดยใชความรูที่ไดศึกษามาและจาก
ชนิดหน่ึงท่ีมีความสามารถในการ การอภปิ รายหนา ชนั้ เรยี น ในการตอบคําถาม
ส�าเนาตัวเองเข้าไปแพร่เช้ือใน แบบไมดเู นอื้ หาจากหนังสอื เรียน
เครื่องคอมพิวเตอร์เพ่ือท�าลาย
ข้อมูล และยงั สามารถแพร่ระบาด 5. ครูเปด PowerPoint เรื่อง รูปแบบของภัย
เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ คุกคาม แลวอธิบายภาพรวมเพื่อใหนักเรียน
ไดด้ ้วย เขา ใจมากยง่ิ ขน้ึ
• หนอนคอมพวิ เตอร์
▲ ภยั คกุ คามอาจแทรกซมึ เขา้ มาในโปรแกรม 6. ครูสุมเรียกนักเรียนใหอธิบายความหมายของ
ทดี่ าวนโ์ หลดจากแอปพลเิ คชันสโตร์ คาํ วา social media โดยครจู ะยงั ไมเฉลยวา
(computer worm) คือ โปรแกรมที่ คําตอบนนั้ ถกู หรอื ผิด
ถกู สรา้ งขนึ้ แลว้ แพรก่ ระจายผา่ นระบบเนต็ เวริ ค์ หรอื อนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ นชอ่ งโหวข่ องระบบปฏบิ ตั กิ าร
เพื่อสรา้ งความเสียหาย ลบไฟล์ สรา้ งไฟล์ หรอื ขโมยขอ้ มูล โดยส่วนใหญ่แลว้ หนอนคอมพิวเตอร์ 7. ครใู หค วามหมายและอธบิ ายคาํ วา social me-
จะแพรก่ ระจายผา่ นการสง่ อเี มลทแี่ นบไฟลซ์ ง่ึ มหี นอนคอมพวิ เตอรอ์ ยไู่ ปยงั ชอื่ ผตู้ ดิ ตอ่ ของเครอ่ื งท่ี dia จากกรอบ Com Sci Focus ในหนงั สอื เรยี น
รายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ)
ม.1 หนา 83

โดนติดตงั้
• มา้ โทรจนั (trojan horse) คือ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ที่ถกู บรรจุเขา้ ไปในคอมพวิ เตอร ์
เพอื่ เกบ็ ข้อมลู หรอื ท�าลายขอ้ มูลของคอมพวิ เตอร์เครอื่ งนั้น เช่น ขอ้ มลู ชอื่ ผ้ใู ช ้ รหสั ผ่าน เลขท่ี
บญั ชีธนาคาร หมายเลขบตั รเครดติ และขอ้ มูลส่วนบุคคลอ่นื ๆ
• สปายแวร์ (spyware) คือ โปรแกรมท่ีฝังตัวอยู่ในคอมพิวเตอร์ท�าให้ทราบข้อมูลของ
ผูใ้ ชง้ าน โดยที่เจา้ ของเคร่ืองคอมพิวเตอรน์ ัน้ ไมส่ ามารถทราบได้วา่ มกี ารดกั ดูข้อมลู การใชง้ านอย ู่
และสปายแวรบ์ างตัวสามารถบนั ทกึ ประวตั กิ ารเข้าใช้งานคอมพิวเตอรข์ องผใู้ ช้งานได้
Com Sci
Focus social media

social media หมายถึง สังคมออนไลน์ท่ีมีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่าเน้ือหา
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองหรือพบเจอจากส่ือต่าง ๆ
แลว้ แบ่งปนั ให้กับผูอ้ น่ื ทีอ่ ยู่ในเครอื ขา่ ยของตนผ่านทางส่อื สังคมออนไลน ์ เช่น facebook
line twitter เปน็ ตน้
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
83

ขอ สอบเนน การคิด นักเรียนควรรู

ไวรัสคอมพวิ เตอรเ กดิ ข้ึนกบั ชอ งโหวใดของระบบคอมพวิ เตอร 1 มัลแวร (malware) มาจากคําวา Malicious Software คือ โปรแกรม
1. ฮารดแวร ประสงครา ยตา งๆ โดยทํางานในลักษณะทีเ่ ปน การโจมตรี ะบบ การทําใหร ะบบ
2. ซอฟตแวร เสยี หาย รวมไปถงึ การโจรกรรมขอ มลู โดยโปรแกรมจะทาํ การควบคมุ การทาํ งาน
3. ขอ มลู โปรแกรม Internet Browser ใหเ ปนไปตามความตองการของผูทไ่ี มหวังดี เชน
4. ขอ 2. และ 3. ถกู การแสดงโฆษณาในลักษณะของการ Pop-Up เปน ตน
2 ไวรัสคอมพิวเตอร (computer virus) เปนส่ิงที่บุกรุกเขาไปในเครื่อง
(วเิ คราะหค าํ ตอบ ไวรสั คอมพวิ เตอรเ ปน โปรแกรมทแี่ พรห รอื บกุ รกุ คอมพิวเตอรโดยไมไดรับความยินยอมจากผูใช สวนมากมักจะมีประสงคราย
เขา ไปในระบบคอมพวิ เตอร มกั สรา งความเสยี หายใหแ กซ อฟตแ วร และสรางความเสียหายใหกับระบบของเคร่ืองคอมพิวเตอรน้ันๆ โดยทั่วไป
และขอมลู ทีอ่ ยูภายในระบบคอมพวิ เตอรนน้ั ๆ ดงั นน้ั ตอบขอ 4.) ไวรสั คอมพวิ เตอรจ ะไมส ง ผลกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอ ฮารด แวรโ ดยตรงแตจ ะ
ทําความเสียหายตอซอฟตแวร

T91

61

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน (ตอ)

อธบิ ายความรู

8. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวโนมของ 1.4  แนวโน้มของภัยคกุ คามในอนาคต
ภัยคกุ คามในอนาคต
แนวโนม้ ภยั คกุ คามในอนาคตอาจมาในรปู แบบของการแทรกซมึ เขา้ ไปในโปรแกรมประยกุ ต ์
9. ครูสรุปประเด็นสําคัญโดยเปด PowerPoint ทผี่ ใู้ ชง้ านไดท้ า� การดาวนโ์ หลดจากแอปพลเิ คชนั สโตรข์ องผใู้ หบ้ รกิ าร โดยเฉพาะโปรแกรมในกลมุ่
เรื่อง การปองกันและการใชเทคโนโลยี ของสอ่ื สงั คมออนไลน ์ เนอื่ งจากอปุ กรณพ์ กพารวมถงึ โปรแกรมในกลมุ่ ของสงั คมออนไลนน์ นั้ ตอ้ งมี
สารสนเทศอยางปลอดภัย ควบคูไปกับ การเขา้ สรู่ ะบบการทา� งานบนอนิ เทอรเ์ นต็ ตลอดเวลา ซงึ่ อาจจะมกี ารลกั ลอบขโมยขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ได้
หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี และหากสามารถเข้าไปในข้อมูลที่เก็บไว้ในอุปกรณ์ ก็อาจเชื่อมโยงไปถึงการค้นหาพิกัดสถานที่
(วทิ ยาการคํานวณ) ม.1 หนา 84 จากนั้นสุม จนท�าให้เกดิ อันตรายกับตัวผู้ใชง้ านได้
ถามนักเรียนเก่ียวกับวิธีการปองกันและการ
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยจาก 1.5  การป้องกันและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
ภยั คกุ คามตา งๆ เพอื่ เปน การตรวจสอบความ
เขา ใจหลังจากทไี่ ดศ กึ ษาแลว วธิ กี ารปอ้ งกนั และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใหป้ ลอดภยั จากภยั คกุ คามตา่ ง ๆ มหี ลายวธิ ี
ดงั นี้
10. ครูเนนยํ้าถึงระบบรักษาความปลอดภัย
เทคโนโลยีสารสนเทศ จากหนังสือเรียน หมนั่ ตรวจสอบ สงั เกตขณะเปิดเคร่อื งวา่
รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการ และอปั เดตระบบปฏิบตั กิ าร มโี ปรแกรมไม่พึงประสงคท์ า� งาน
คํานวณ) ม.1 หนา 85 วาสามารถจําแนก ขน้ึ มาพรอ้ มกบั การเปดิ เครอ่ื ง
รปู แบบได ดงั น้ี ให้เป็นเวอรช์ ันปจั จุบัน หรอื ไม่ โดยสังเกตระยะเวลา
1) ระบบรักษาความปลอดภยั สาํ หรบั และควรใชร้ ะบบปฏิบัตกิ าร
เครอื่ งผูใ ช และซอฟตแ์ วร์ที่ถกู ลิขสทิ ธิ์ ในการบตู เครื่องวา่ นาน
2) ระบบปองกันการโจรกรรมขอ มลู ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มูลสว่ นตวั ผิดปกตหิ รอื ไม่
3) ระบบการเขา รหสั ขอมลู ผา่ นสื่อสงั คมออนไลน์ ตดิ ต้งั โปรแกรมป้องกันไวรัส
4) ระบบปองกันการเจาะขอ มูล เชน่ เลขท่บี ตั รประชาชน และมีการอปั เดตโปรแกรม
5) ระบบปอ งกนั แฟมขอ มูลสว นบคุ คล ประวตั กิ ารทา� งาน ปอ้ งกันไวรสั และฐานข้อมลู
6) ระบบรักษาความปลอดภัยสาํ หรบั เบอร์โทรศพั ท์ ไวรสั สม่�าเสมอ
เครือขา ย หมายเลขบตั รเครดิต
7) ระบบปองกันไวรัส
ควรแบ็คอปั ข้อมูลไว้ใน ต้อง login เข้าใชง้ าน
หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณาอุปกรณ์หนว่ ยความจ�าอ่ืน ทกุ ครงั้ และเมื่อไม่ได้
นอกเหนือจากฮารด์ ดิสก์ อยู่หน้าจอคอมพวิ เตอร์
ควรลอ็ กหน้าจอให้อยใู่ น
เชน่ flash drive สถานะท่ีตอ้ งใสค่ ่า
DVD เป็นตน้
login ใช้งาน
ไม่ควรเข้าเวบ็ ไซตเ์ สยี่ งภยั ติดต้ังไฟรว์ อลล์ เพือ่ ทา�
เช่น เว็บไซต์ลามกอนาจาร หน้าท่เี หมือนเปน็ ก�าแพงในการ
เวบ็ ไซตก์ ารพนนั เว็บไซต์ ป้องกันคนท่ไี ม่ไดร้ บั อนญุ าตไม่ให้
แบบแนบไฟล์ .exe เวบ็ ไซต์ท่ีมี เข้ามาใช้งานเคร่อื งคอมพิวเตอร์หรือ
pop-up หลายเพจ เว็บไซต์ ระบบเครือขา่ ย ซง่ึ ชว่ ยปอ้ งกัน
การบกุ รุกของแฮกเกอร์
ทม่ี ีลงิ ก์ไมต่ รงกับชื่อ และแครกเกอร์

84

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ

ครูอาจจะใหนักเรียนแบงกลุม แลวรวมกันวิเคราะหเกี่ยวกับแนวโนมของ ขอ ใดไมเ ปน การปอ งกนั การเขา ถงึ ขอ มลู ของอาชญากรคอมพวิ เตอร
ภัยคุกคามในอนาคตตามความคิดและความเขาใจของสมาชิกในกลุม จากน้ัน 1. ใชระบบอานลายนวิ้ มอื กอ นเขา สรู ะบบคอมพวิ เตอร
ครูใหส มาชกิ แตล ะกลุมออกมาอภิปรายผลของกลมุ ตนเองหนา ชน้ั เรียน 2. ปดการทาํ งานระบบ Firewall ทกุ ครง้ั ทีเ่ ปดคอมพวิ เตอร
3. ใชรหสั ผใู ช (Username) และรหัสผาน (Password)
ส่ือ Digital 4. ใชบตั รแมเหลก็ หรือกุญแจ เพื่อเขา สูระบบ

ศกึ ษาเพิม่ เติมไดจ าก PowerPoint เรื่อง การปองกนั และการใชเ ทคโนโลยี (วิเคราะหคําตอบ ไฟรวอลล (Firewall) คือ ซอฟตแวรหรือ
สารสนเทศอยางปลอดภัย ฮารดแวรในระบบเครือขาย ทําหนาท่ีเปนตัวกรองขอมูลสื่อสาร
โดยการกําหนดกฎและระเบียบมาบังคับใช โดยเฉพาะเร่ืองของ
T92 การดูแลระบบเครอื ขา ย โดยความผิดพลาดของการปรับแตง อาจ
สงผลทําใหไฟลวอลลมีชองโหว และนําไปสูสาเหตุของการ
โจรกรรมขอ มลู คอมพวิ เตอรไ ด ซง่ึ การเปด คอมพวิ เตอรเ พอ่ื ใชง าน
ควรจะเปดระบบไฟรวอลลทุกคร้ัง เพ่ือปองกันการโจมตี สแปม
และผูบกุ รกุ ตา งๆ ทีไ่ มห วงั ดตี อ ระบบ ดังนนั้ ตอบขอ 2.)

62

นาํ สอน สสรรปุุป ประเมนิประเมนิ

1.6  แนวโน้มระบบรักษาความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต ขนั้ สรปุ

เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมีการพัฒนาและเกิดความเปล่ียนแปลงขึ้นอยู่ตลอดเวลา ขยายความเขา ใจ
ดงั น้นั ระบบรักษาความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงมคี วามจา� เป็นและควรไดร้ ับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องตามไปด้วย ระบบรักษาความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจ�าแนก 1. ครเู ปดโอกาสใหนักเรยี นสอบถามเน้ือหา เรือ่ ง
รูปแบบได้ ดงั น้ี ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ ในสว นท่ี
1. ระบบรักษาความปลอดภัยส�าหรับเคร่ืองผู้ใช้ ระบบที่มีไว้เพื่อป้องกันภัยคุกคามจาก นักเรียนยังไมเขาใจและครูใหความรูเพิ่มเติม
ผทู้ ปี่ ระสงคร์ า้ ยตอ่ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทเี่ ปน็ ความลบั รวมไปถงึ ขอ้ มลู ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล ในสว นนนั้
จากผู้ที่ต้องการคุกคามผู้ใช้คอมพิวเตอร์บน
โลกอนิ เทอร์เนต็ 2. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปเนื้อหา โดยการทํา
2. ระบบป้องกันการโจรกรรมข้อมูล แผนทคี่ วามคดิ (Mind Mapping) เรอ่ื ง ความ
แม้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยอ�านวย ปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ตามความ
ความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน แต่ก็อาจมีช่องโหว่ เขา ใจของตนเอง ลงในกระดาษ A4
ท่ีก่อให้เกิดการโจรกรรมข้อมูลส่วนบุคคล
เพื่อน�าไปท�าธุรกรรมทางการเงินต่าง ๆ 3. ครใู หน ักเรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี น
ดังน้ัน ระบบป้องการโจรกรรมข้อมูลจึงมี
ความจา� เป็นอย่างมากในอนาคต ▲ โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั ขน้ั ประเมนิ

3. ระบบการเข้ารหัสข้อมลู การเข้ารหสั ขอ้ มลู มีจุดประสงค์เพือ่ รักษาความลับของขอ้ มูล ตรวจสอบผล
ข้อมูลน้ันจะถูกเปิดอ่านโดยบุคคลที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หลักการของการเข้ารหัสข้อมูล คือ
แปลงขอ้ มลู (encrypt) ใหอ้ ยใู่ นรปู ของขอ้ มลู ทไี่ มส่ ามารถอา่ นไดโ้ ดยตรง โดยขอ้ มลู จะถกู ถอดกลบั 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
ด้วยกระบวนการถอดรหัส เพ่ือตรวจสอบความเขาใจกอนเรียนของ
4. ระบบป้องกันการเจาะข้อมูล เป็นการป้องกันการโจมตีจากแฮกเกอร์ (hacker) โดย นกั เรยี น

แฮกเกอรจ์ ะหาจุดอ่อนหรอื ช่องโหวข่ องระบบ จากนั้นจะท�าการเจาะเขา้ มาใน server และเขา้ มา 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ
ทา� ความเสียหายใหก้ บั ข้อมลู แล้วท�าการเรยี กค่าไถ่ (hijacking) เพอ่ื ให้ข้อมลู กลับมาเป็นปกติ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
การทํางานกลุม และจากการนําเสนอผล
5. ระบบป้องกนั แฟ้มขอ้ มลู สว่ นบคุ คล การคมุ้ ครองและเก็บรกั ษาขอ้ มลู ส่วนบคุ คลไวเ้ ปน็ การศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยของระบบ
ความลบั โดยท�าการเก็บภายในแฟ้มข้อมูลสว่ นบคุ คล เพือ่ ป้องกันข้อมลู จากผู้ไมป่ ระสงค์ดี สารสนเทศหนา ชน้ั เรียน
6. ระบบรักษาความปลอดภัยส�าหรับเครือข่าย เมื่อต้องการรักษาคอมพิวเตอร์บน
3. ครูวัดและประเมินผลจากช้ินงานการสรุป
เนื้อหา เรื่อง ความปลอดภัยของระบบ
สารสนเทศ ทนี่ กั เรยี นไดส รา งขนึ้ จากขน้ั ขยาย
ความรเู ปนรายบคุ คล

เครือข่ายให้ปลอดภัย ควรเปิดการปรับปรุงอัตโนมัติบนคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง เช่น วินโดว์
(windows) สามารถตดิ ตัง้ การปรับปรงุ ที่ส�าคัญได้โดยอตั โนมตั ิ

7. ระบบป้องกันไวรัส เป็นโปรแกรมท่ีสร้างข้ึนเพื่อคอยตรวจจับ ป้องกัน และก�าจัด
โปรแกรมคกุ คามทางคอมพวิ เตอรห์ รอื ซอฟตแ์ วร์คกุ คามประเภทอนื่ ๆ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

85

ขอ สอบเนน การคดิ แนวทางการวัดและประเมินผล

ขอ ใดไมใชร ปู แบบของระบบรักษาความปลอดภยั เทคโนโลยี ครูสามารถวัดและประเมนิ ความเขา ใจในเนอื้ หา เร่ือง ความปลอดภัยของ
สารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ไดจากฟลิปชารตแสดงการสรุปเนื้อหาท่ีนักเรียนไดสรางข้ึน
ในขนั้ สํารวจคนหา โดยศึกษาเกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลจากแบบประเมินผล
1. ระบบการเขารหสั ขอ มลู งาน/ชิ้นงานทแ่ี นบมาทายแผนการจัดการเรยี นรูห นวยท่ี 4
2. ระบบปองกันการเจาะขอ มลู
3. ระบบปฏบิ ตั ิการไมโครซอฟตวินโดว แบบประเมนิ ผลงาน/ช้นิ งาน เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลงาน/ชิ้นงาน
4. ระบบรักษาความปลอดภัยสาํ หรบั เครอื ขาย
แบบประเมนิ ฟลิปชาร์ทแสดงการสรุปเน้ือหา
(วิเคราะหค ําตอบ ระบบปฏบิ ตั กิ ารไมโครซอฟตว นิ โดวเ ปนระบบ
ปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอรร ะบบหนง่ึ ไมใ ชร ะบบรกั ษาความปลอดภยั คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนประเมนิ ผลงาน/ชนิ้ งานของนักเรยี นตามรายการท่ีกาหนด แลว้ ขีด ลงในช่องท่ี เกณฑ์ประเมินผลงานฟลปิ ชาร์ทแสดงการสรุปเนื้อหา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนนั้ ตอบขอ 3.)
ตรงกับระดบั คะแนน ประเด็นท่ีประเมิน ระดบั คะแนน
1. ผลงานตรงกบั
ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ 1 4 32 1
4 32 จุดประสงค์ท่กี าหนด ผลงานไมส่ อดคล้อง
ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง กับจดุ ประสงค์
1 ตรงกบั จดุ ประสงค์ทกี่ าหนด 2. ผลงานมีความถกู ต้อง จุดประสงค์ทุก
สมบรู ณ์ ประเด็น กับจดุ ประสงค์ กับจุดประสงค์ เนอ้ื หาสาระของ
2 มีความถูกต้องสมบูรณ์ ผลงานไมถ่ กู ตอ้ ง
3. ผลงานมีความคดิ เนอื้ หาสาระของ เป็นสว่ นใหญ่ บางประเด็น เปน็ ส่วนใหญ่
3 มคี วามคิดสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ผลงานถูกต้อง ผลงานไมแ่ สดง
ครบถ้วน เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ แนวคิดใหม่
4 มคี วามเปน็ ระเบยี บ 4. ผลงานมคี วามเปน็
ระเบยี บ ผลงานแสดงออก ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถกู ต้อง ผลงานส่วนใหญ่
รวม ถึงความคดิ ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
สร้างสรรค์ เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางประเด็น และมขี อ้
แปลกใหม่ บกพรอ่ งมาก
และเปน็ ระบบ ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม

ผลงานมคี วามเป็น แปลกใหม่แตย่ ัง นา่ สนใจ แต่ยังไมม่ ี
ระเบียบแสดงออก
ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ถงึ ความประณตี ไม่เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่
............/................./...................

ผลงานส่วนใหญ่ ผลงานมีความ
มีความเป็น เปน็ ระเบียบแตม่ ี
ระเบยี บแตย่ งั มี ข้อบกพร่อง
ข้อบกพร่อง บางส่วน
เลก็ นอ้ ย

เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14–16 ดีมาก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T93

63

นาํ สสออนน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ นาํ (Lecture) Creative Commons 2   สจ  ราิยรสธนรรเทมศในการใชเ้ ทคโนโลยี
เกยี่ วของกับจริยธรรม
1. ครชู กั ชวนนักเรียนพดู คุย โดยถามนกั เรียนถึง ในการใชเทคโนโลยี จริยธรรม คือ หลักประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้อง
การใชง าน social media ของนักเรยี นในการ หรอื ไม อยางไร เหมาะสมกบั การทา� หนา้ ทขี่ องบคุ คล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทาง
รับสง ขอมูลหรือการพูดคยุ กับเพ่อื นๆ
ในการปฏิบัติตนอย่างสมบูรณ์และสอดคล้องกับมาตรฐานที่ดีงามอันเป็นท่ียอมรับของ
2. ครูยกตัวอยางเหตุการณท่ีมีบุคคลอ่ืนทําการ สังคม
เขาถึงขอมูลหรือแฮกเขาระบบ Facebook
ที่เกิดข้ึนตามขาวตางๆ แลวถามนักเรียนวา หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื หลกั ศลี ธรรมจรรยาท่กี า� หนดขึน้ เพ่อื ใช้เปน็
ปจ จยั ใดบา งทเ่ี กย่ี วขอ งและทาํ ใหเ กดิ เหตกุ ารณ แนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เม่ือพิจารณาถึงจริยธรรม
แบบนี้ข้นึ เกย่ี วกับการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศจะแบง่ ออกเปน็ 4 ประเดน็ ดังน้ี

3. ครูกลาววา นอกจากเรื่องความปลอดภัยของ • ความเปน็ สว่ นตวั ความเปน็ สว่ นตวั ของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยทวั่ ไปจะหมายถงึ สทิ ธิ
ระบบสารสนเทศทนี่ กั เรยี นควรทราบแลว ยงั มี ทจี่ ะอยตู่ ามลา� พงั และเปน็ สทิ ธทิ เ่ี จา้ ของสามารถทจ่ี ะควบคมุ ขอ้ มลู ของตนเองในการเปดิ เผยใหก้ บั
ส่ิงใดอีกท่ีนักเรียนจะตองทราบ โดยเปนการ ผูอ้ น่ื สทิ ธนิ ใี้ ช้ไดค้ รอบคลุมทั้งสาระสา� คญั ส่วนบคุ คล กลุ่มบคุ คล องค์กร และหนว่ ยงานต่าง ๆ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหวางครูกับ
นักเรยี น • ความถูกตอ้ ง ขอ้ มลู ควรได้รับการตรวจสอบความถกู ตอ้ งก่อนทจี่ ะบนั ทึกขอ้ มลู เกบ็ ไว ้
รวมถึงการปรับปรงุ ขอ้ มูลให้มีความทนั สมยั อยูเ่ สมอ นอกจากนี้ควรใหส้ ทิ ธแิ กบ่ ุคคลในการเข้าไป
4. ครูพูดถึงความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ของตนเองได้
ที่เรียนจากชั่วโมงท่ีแลว เพ่ือเช่ือมโยงถึงเรื่อง
จริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ • ความเปน็ เจ้าของ เป็นกรรมสิทธใ์ิ นการถือครองทรัพยส์ ิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทว่ั ไปท่ี
ทจ่ี ะไดเ รยี นตอ ไปในชว่ั โมงน้ี จบั ตอ้ งได ้ เชน่ คอมพวิ เตอร ์ รถยนต ์ หรอื อาจเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทจ่ี บั ตอ้ งไมไ่ ด ้ เชน่ บทเพลง
โปรแกรมคอมพวิ เตอร ์ แตส่ ามารถถา่ ยทอดและบนั ทกึ ลงในส่อื ได้ เช่น สง่ิ พมิ พ์ ซีดีรอม เปน็ ตน้
ขน้ั สอน
• การเขา้ ถึงข้อมลู การเขา้ ใชง้ านโปรแกรมหรอื ระบบคอมพิวเตอร์ มักจะมกี ารกา� หนด
1. ครบู อกขอบเขตเนอื้ หาหรอื ประเดน็ สาํ คญั ทจ่ี ะ สิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ท้ังน้ีเพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปด�าเนินการต่าง ๆ กับข้อมูลของ
เรียนในช่ัวโมงนี้ ผู้ใชท้ ี่ไม่มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง และเปน็ การรักษาความลบั ของขอ้ มลู

2. ครถู ามคาํ ถามกระตนุ ความคดิ จากหนงั สอื เรยี น 2.1  จรรยาบรรณในการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ)
ม.1 หนา 86 วา Creative Commons เกยี่ วขอ ง จรรยาบรรณ คอื ประมวลความประพฤตทิ ผ่ี ปู้ ระกอบอาชพี การงานกา� หนดขน้ึ จรรยาบรรณ
กบั จรยิ ธรรมในการใชเ ทคโนโลยหี รอื ไม อยา งไร ในการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีดงั นี้
1. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์เพ่อื กอ่ อาชญากรรมหรอื ละเมิดสทิ ธขิ องผู้อนื่
แนวตอบ คําถามประจาํ หนวยการเรยี นรู 2. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์รบกวนผ้อู น่ื
3. ไม่ทา� การสอดแนม แก้ไข หรอื เปดิ ดูไฟลเ์ อกสารของผ้อู นื่ กอ่ นไดร้ ับอนญุ าต
Creative Commons เกยี่ วขอ งกบั จรยิ ธรรมใน 4. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นการโจรกรรมข้อมลู ขา่ วสาร
การใชเ ทคโนโลยี เพราะสารสนเทศทถ่ี กู สรา งขน้ึ มา 5. ไม่ใช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลักฐานเทจ็
ในปจ จบุ ันเขา ถงึ ไดง าย ซ่งึ มีการคัดลอกหรอื นาํ ไป 86 6. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์ในการคดั ลอกโปรแกรมทีม่ ลี ิขสิทธ์ิ
ใชงานโดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ จึง
มกี ารจดั ทาํ สญั ญาอนญุ าตขน้ึ เพอื่ ใหผ ทู ตี่ อ งการนาํ
สารสนเทศไปใชไ ดค ํานงึ ถึงจรยิ ธรรม

เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ

ครูมอบหมายใหนักเรียนแตละคนจัดทํา Infographic แสดงถึงจริยธรรม การเก็บรวบรวม การเก็บรกั ษา และการเผยแพรข อ มลู สารสนเทศ
ในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ ลงในกระดาษ A4 ตามความเขาใจของนักเรียน เกี่ยวกับปจเจกบุคคลคือประเด็นขอใดของจริยธรรมในการใช
เสร็จแลวครูคัดเลือกผลงานมาจัดแสดงหนาช้ันเรียน จากน้ันครูและนักเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมกันอภิปรายสรุปเน้ือหาเก่ียวกับจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
อีกครัง้ 1. ความถูกตอง
2. ความเปนสว นตัว
3. ความเปนเจาของ
4. การเขาถึงขอ มูล

(วิเคราะหคําตอบ ปจ เจกบคุ คล คอื บุคคลแตล ะคน ซ่งึ การเก็บ
รวบรวม การเก็บรักษา และการเผยแพรขอมูลสารสนเทศ เปน
สิทธิที่เจาของสามารถที่จะควบคุมขอมูลของตนเองในการ
เปด เผยใหก บั ผอู น่ื จงึ หมายถงึ ความเปน สว นตวั ดงั นน้ั ตอบขอ 2.)

T94

64

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

7. ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ในการละเมิดการใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยตนเองไม่มีสิทธ์ิ ขนั้ สอน
8. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์เพือ่ นา� เอาผลงานของผูอ้ น่ื มาเป็นของตนเอง
9. คา� นงึ ถงึ ผลของการกระทา� ที่จะเกดิ ข้นึ ต่อสงั คม 3. ครกู ลา ววา จรยิ ธรรม คอื หลกั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมารยาท ที่ถูกตองเหมาะสม เพื่อเปนแนวทางในการ
ปฏิบัติตนอยางสมบูรณ และสอดคลองกับ
2.2  ข้อกา� หนด ข้อตกลงในการใชแ้ หล่งข้อมลู มาตรฐานทีด่ งี ามอนั เปน ท่ยี อมรับของสังคม

สารสนเทศถกู สรา้ งสรรคข์ นึ้ มากมายในปจั จบุ นั การเขา้ ถงึ สารสนเทศทา� ไดง้ า่ ยและสะดวก 4. ครูอธิบายเนื้อหาเก่ียวกับ จริยธรรมในการใช
จสึงญั มญกี าาอรคนัดญุ ลาอต1ก (หCรrอืeaนtiา� vสeาCรสoนmเmทoศnทsี่ไ:มCใ่ ชC่ล) ขิ ขสน้ึ ิท เธพิ์ขอื่อใงหตเ้ นจา้ไปขใอชงง้สาานรโสดนยเไทมศ่ไไดดร้ ม้ บั ออบนสญุ ทิ าธตใิ์ น กกาารรจทัดา� ทซา้�า� เทคโนโลยสี ารสนเทศ และจรรยาบรรณในการ
เผยแพร่ จดั แสดง ดดั แปลงสารสนเทศของตนให้แก่บคุ คลอนื่ นา� ไปใชไ้ ด้ จะมีการก�าหนดสัญญา ใชง านเทคโนโลยสี ารสนเทศ จากหนงั สอื เรยี น
อนญุ าติครเี อทฟี คอมมอนส์หรือเงอ่ื นไข ดังน้ี รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ)
ม.1 หนา 86-87 ซึ่งในขณะที่ครูอธิบายให
แสดงที่มา (Attribution : BY) ตอ้ งแสดงที่มา นกั เรยี นจดบนั ทกึ ลงในสมดุ ประจาํ ตวั และเมอ่ื
ของช้ินงานตามรูปแบบทผ่ี ้สู รา้ งสรรค์หรือผู้อนุญาต ครูอธิบายจบ ครูถามนักเรียนเปนรายบุคคล
กา� หนด วา จรรยาบรรณ คือ อะไร แลวจรรยาบรรณ
ในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย
Attribution : BY อะไรบาง โดยแบงกันตอบคนละ 1 ขอ เพ่ือ
ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ (NonCommercial : NC) ไมใ่ ห้ เปนการตรวจสอบความสนใจของนักเรียนใน
น�าข้อมูลน้ีไปใชเ้ พื่อวตั ถปุ ระสงค์ทางการคา้ การฟง ครอู ธบิ าย

NonCommercial : NC 5. ครูอธิบายถึงขอกําหนด ขอตกลงในการใช
แหลงขอมูล และเช่ือมโยงไปถึงการจัดทํา
ไม่ดดั แปลง (No Derivative Works : ND) ไมแ่ ก้ไข สัญญาอนุญาต (Creative Commons)
เปล่ยี นแปลงหรอื สร้างงานจากงานน้ี จากน้ันใหนักเรียนศึกษาสัญญาอนุญาตและ
เง่ือนไขของแตละแบบ จากหนังสือเรียน
วิทยาการคาํ นวณ ม.1 หนา 87-88

No Derivative Works : ND อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike : SA) ถ้าหาก หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
Share Alike : SA ดดั แปลง เปลยี่ นรปู หรอื ตอ่ เตมิ ชนิ้ งานน ี้ ตอ้ งใชส้ ญั ญา
อนุญาตแบบเดียวกัน หรือแบบที่เหมือนกับหรือที่
เข้ากนั ได้กับสญั ญาอนญุ าตท่ใี ช้กบั งานนเ้ี ท่านน้ั

87

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู

จรยิ ธรรมในการใชไปรษณยี อ ิเลก็ ทรอนกิ สม ีอะไรบาง จงอธบิ าย 1 สัญญาอนุญาต (Creative Commons) คือ สัญญาอนุญาตทางลิขสิทธ์ิ
(แนวตอบ 1. ไมโฆษณาหรือเสนอขายสินคา จํานวนหน่ึง ชวยใหเจาของลิขสิทธ์ิสามารถใหสิทธิบางสวนหรือทั้งหมดแก
2. รูตัววากาํ ลงั กลา วอะไร สาธารณะ ในขณะทย่ี ังคงสงวนสิทธิอ่ืนๆ ไวได โดยมจี ดุ ประสงคเ พื่อหลีกเล่ียง
3. ถาไมเห็นดวยกับหลักพื้นฐานของรายช่ือกลุมที่ตนเปน การเกิดปญหาลิขสิทธิ์ตอการแบงปนสารสนเทศ ครีเอทีฟคอมมอนสเปน
สมาชิก กค็ วรออกจากกลมุ ไมค วรโตแยง องคก รไมแสวงหาผลกําไรในสหรัฐอเมริกา กอ ต้ังเมอื่ ค.ศ. 2001
4. คิดกอ นเขียน
5. อยา ใชอ ารมณ T95
6. ไมสง ขาวสารท่กี ลาวราย หลอกลวง หยาบคาย ขม ขู
7. ไมส ง ตอจดหมายลูกโซ หรอื อีเมลขยะ
8. ใหค วามระมดั ระวังกบั คาํ เสยี ดสี และอารมณข ัน
9. อานขอความในอเี มล ใหล ะเอยี ดกอ นสง ความประณตี
และตัวสะกด การันต เปนสงิ่ ท่ีควรคาํ นงึ ถึง
10. ดูรายชอื่ ผรู บั ใหดวี า เขาคือคนท่ีเราตงั้ ใจจะสง ไปถงึ )

65

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน นอกจากเงอ่ื นไขท่ีก�าหนดขา้ งต้นแล้ว ยังสามารถผสมเงอ่ื นไขไดต้ ามตอ้ งการ ดังนี้

6. ครูสุมตัวอยางสัญญาอนุญาต (Creative CC CC-BY ใหเ้ ผยแพร ่ ดดั แปลง โดยตอ้ งระบทุ ม่ี า
Commons) ทเ่ี ปน ไอคอน แลว สมุ ถามนกั เรยี น BY
วา ไอคอนสญั ญาอนุญาตดังกลา วคอื อะไร มี
เงอื่ นไขอยา งไร โดยใหน กั เรยี นปด หนงั สอื เรยี น
เพ่ือเปนการตรวจสอบความเขาใจในเน้ือหา
ท่ีไดศ กึ ษาไปแลว

ใหเ้ ผยแพร ่ ดดั แปลง โดยตอ้ งระบทุ ม่ี า
CC CC-BY-SA และต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้
BY SA สัญญาอนญุ าตเดียวกนั

CC BY ND CC-BY-ND ใหเ้ ผยแพร ่ โดยตอ้ งระบทุ ม่ี า แตห่ า้ ม
ดัดแปลง

CC CC-BY-NC ใหเ้ ผยแพร ่ ดดั แปลง โดยตอ้ งระบทุ มี่ า
BY NC แตห่ ้ามใช้เพอื่ การค้า

CC CC-BY- ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ
BY NC SA NC-SA ท่ีมา แต่ห้ามใช้เพื่อการค้า และต้อง
เผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญา
อนุญาตเดยี วกนั

CC CC-BY- ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุทมี่ า แต่ห้าม
BY NC ND NC-ND ดดั แปลง และห้ามใช้เพือ่ การค้า

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา88

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ

เพ่ือสรางความเขาใจใหนักเรียนมากยิ่งข้ึน ครูควรยกตัวอยางสารสนเทศ คาํ วา shareware หมายความวา อยา งไร
หรือแหลง ขอ มูลทม่ี ีการกาํ หนดสัญญาอนญุ าต (Creative Commons) ที่เช่ือม 1. ซื้อลิขสิทธิ์ และมสี ิทธใิ์ ช
โยงถงึ เงอ่ื นไขตา งๆ และการเขา ถงึ สารสนเทศหรอื แหลง ขอ มลู นนั้ ๆ เชน ขอ มลู 2. เปน โปรแกรมหรือขอมูลทม่ี ีคนสงมาให
จากเว็บไซต http://tdri.or.th/ ท่ีมกี ารกําหนดสญั ญาอนญุ าตไวอยางชดั เจนวา 3. ใหทดลองใชไดกอนท่จี ะตดั สนิ ใจซือ้
ใหเผยแพร ดัดแปลง โดยตองระบทุ ี่มา แตหามใชเพอ่ื การคา และตองเผยแพร 4. ใหใชงานไดฟรี คดั ลอก และเผยแพรใ หผ อู นื่ ได
งานดดั แปลงโดยใชส ัญญาอนุญาตเดียวกนั
(วิเคราะหคําตอบ shareware หรือ แชรแวร คือ ชนิดของ
T96 โปรแกรมที่ผูเปนเจาของแจกจายใหผูใชโดยไมตองเสียคาใช
จายใดๆ ในลักษณะของการทดลองใชงาน และมักมีการจํากัด
ความสามารถของโปรแกรมที่ใชงานได มักเปดใหดาวนโหลด
ไดจากอินเทอรเน็ต จากแผนซีดีที่แถมมากับนิตยสาร หรือจาก
หนังสือพิมพ จุดประสงคของโปรแกรมแชรแวรก็เพ่ือ ใหผูซื้อได
ทดลองใชตัวโปรแกรม กอนตัดสินใจถึงความคุมคาสําหรับการ
ซือ้ สิทธ์โิ ปรแกรมตัวเตม็ ดงั นัน้ ตอบขอ 3.)

66

นาํ สอน สสรรปุปุ ประเมนิ

• มารยาทของผใู้ ชส้ อ่ื หรอื แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ บนอนิ เทอรเ์ นต็ ในฐานะทเี่ ราเปน็ บคุ คลทใ่ี ช้ ขน้ั สอน
ส่อื หรือแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ บนอนิ เทอร์เน็ต ดังนั้น เราควรมีมารยาทในการใชส้ ่ือหรือแหลง่ ขอ้ มูล
ดังน้ี 7. ครกู ลา วถงึ มารยาทของผใู ชส อ่ื หรอื แหลง ขอ มลู
- ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู และขา่ วสารตา่ ง ๆ กอ่ นนา� ไปเผยแพรบ่ นเครอื ขา่ ย ตางๆ บนอนิ เทอรเ นต็ โดยสรปุ วา ผใู ชสื่อควร
เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อมูลทีเ่ ป็นจรงิ ตรวจสอบความถกู ตอ งของขอมูลตางๆ กอน
- ใช้ภาษาทสี่ ุภาพและเป็นทางการในการเผยแพร่ข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ น็ต นําไปเผยแพร ควรใชภาษาท่ีสุภาพและเปน
- เผยแพร่ข้อมูลและข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ไม่ควรน�าเสนอข้อมูล ทางการ ไมเผยแพรขอมูลท่ีไมเปนประโยชน
ขา่ วสารทขี่ ดั ตอ่ ศลี ธรรมและจรยิ ธรรมอันดี รวมท้งั ขอ้ มูลทกี่ ่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อผู้อืน่ ในทางสรางสรรค ควรระบุแหลงที่มาให
- ควรระบุแหล่งที่มา วันเดือนปีทท่ี า� การเผยแพร่ข้อมูล รวมทง้ั ควรมคี า� แนะน�า และ ชัดเจน ไมควรเผยแพรขอมูลของผูอ่ืนกอน
ค�าอธิบายการใช้ขอ้ มูลท่ชี ัดเจน ไดรับอนุญาต และไมควรเผยแพรโปรแกรม
- ควรระบขุ ้อมูลข่าวสารทเ่ี ผยแพรใ่ หช้ ดั เจนวา่ เปน็ โฆษณา ความคดิ เห็น หรอื ท่ีนําความเสียหาย เชน ไวรัส เขาสูระบบ
ความจรงิ คอมพวิ เตอร
- ไมค่ วรเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร หรอื โปรแกรมของผอู้ นื่ กอ่ นไดร้ บั อนญุ าต และไมค่ วร
แก้ไข เปล่ียนแปลงข้อมูลของผอู้ น่ื ทเ่ี ผยแพร่บนเครือข่าย ขน้ั สรปุ
- ไม่ควรเผยแพร่โปรแกรมท่ีน�าความเสียหาย เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบ
เครือขา่ ย และควรตรวจสอบแฟ้มขอ้ มลู ข่าวสาร หรือโปรแกรมวา่ ปลอดไวรัส กอ่ นเผยแพร่เขา้ สู่ 1. ครเู ปดโอกาสใหน กั เรียนสอบถามเน้อื หา เรอื่ ง
ระบบอินเทอร์เน็ต จริยธรรมในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ วา มี
สว นไหนทย่ี งั ไมเ ขา ใจและครใู หค วามรเู พมิ่ เตมิ
Com Sci ในสว นนนั้

activity 2. ครูใหนกั เรยี นทาํ กจิ กรรม Com Sci activity
เรื่อง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ปลอดภัย จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.1 หนา 89
ให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 3-5 คน แล้วร่วมกันระดมความคิดเพ่อื ตอบค�าถามตอ่ ไปน้ี ลงในสมดุ
1. รูปแบบภยั คุกคามตอ่ ระบบรักษาความปลอดภยั ทางคอมพิวเตอรม์ อี ะไรบ้าง และคิดว่าภยั คกุ คาม
3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมา
รปู แบบใดท่เี ปน็ ภยั คกุ คามทีใ่ กล้ตวั มากที่สดุ เพราะอะไร อภปิ รายผลการทํากจิ กรรม การใชเ ทคโนโลยี
2. การใชง้ านสื่อสังคมออนไลนม์ ีข้อดี ข้อเสียอยา่ งไร และมผี ลต่อความปลอดภยั กับตนเองอย่างไร สารสนเทศอยา งปลอดภัย หนาช้นั เรยี น
3. วธิ ีการใดท่ีจะเปน็ การป้องกันภัยคกุ คามต่อขอ้ มูล จงอธบิ าย
4. จงบอกประโยชนข์ องการใช้ Creative Commons
หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 2. ทักษะการส่ือสาร
1. ทกั ษะการคดิ และการแกป้ ัญหา

89

ขอสอบเนน การคดิ สื่อ Digital

การสนทนาบนเครือขา ยอินเตอรเ น็ตอยา งถูกวิธีตองทาํ อยางไร ศกึ ษาเพิ่มเติมไดจ ากอนิ เตอรเ นต็ เชน ศกึ ษาจาก Youtube เร่อื ง มารยาท
1. ใชภาษาแบบเปน กันเอง ในการใชอินเทอรเน็ต โดยสามารถดูไดจาก https://www.youtube.com/
2. ใชข อความที่สุภาพในการสอ่ื สาร watch?v=WXt7u4oJDPw
3. ใชข อความที่เปน จดหมายลกู โซ
4. ใชข อความนนิ ทาใสร ายผูอนื่

(วเิ คราะหค าํ ตอบ การใชส อื่ หรอื แหลง ขอ มลู ตา งๆ บนอนิ เทอรเ นต็
เชน Line Facebook Twitter หรือ Instagram เปนตน ผูใชควร
มมี ารยาทในการใชส อื่ หรือแหลง ขอมูล เชน ใชภ าษาท่สี ุภาพและ
เปน ทางการ เปน ตน ดงั นั้น ตอบขอ 2.)

T97

67

นาํ สอน สสรรปุุป ประเมนิประเมิน

ขน้ั สรปุ Summary

4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาเกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย อยา่ งปลอดภัย
เพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีถูกตองและเปน
แนวทางเดียวกัน โดยดูจากหนังสือเรียน ความปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ
รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ)
ม.1 หนา 90 ความปลอดภัยของเทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ นโยบาย ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ และมาตรการ
ทางเทคนิคท่ีน�ามาใช้ป้องกันการใช้งานจากบุคคลภายนอก การเปล่ียนแปลง การขโมย หรือ
5. ครใู หน กั เรยี นตรวจสอบความเขา ใจของตนเอง การท�าความเสียหายต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าระบบรักษาความปลอดภัยมาใช้
จากกรอบ Self Check ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ า รว่ มกบั เทคนคิ และเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ ในการปกปอ้ งคอมพวิ เตอร ์ ฮารด์ แวร ์ ซอฟตแ์ วร ์ ขอ้ มลู ระบบ
พนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ม.1 เครอื ขา่ ยและการสอื่ สาร เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั คกุ คามตา่ ง ๆ ทเี่ ขา้ มาสเู่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ภยั คกุ คาม
หนา 91 ตอ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี
• ภยั คุกคามตอ่ ฮาร์ดแวร์ • ภยั คกุ คามต่อซอฟต์แวร์
6. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด Unit • ภยั คุกคามตอ่ ระบบเครือขา่ ยและการสือ่ สาร • ภัยคกุ คามต่อข้อมูล
Question 4 จากหนังสือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ม.1 หนา 91 จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
ลงในสมุด จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ คือ หลกั ศลี ธรรมจรรยาที่ก�าหนดขึน้ เพื่อใช้เป็น
แนวทางปฏิบัต ิ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ
7. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ • การจัดทา� สญั ญาอนญุ าตครีเอทฟี คอมมอนส ์ (Creative Commons : CC)
ตรวจสอบความเขาใจหลังเรียนของนกั เรยี น
หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา แสดงที่มา (Attribution : BY) ต้องแสดงท่ีมาของชิ้นงานตามรูปแบบที่
ขน้ั ประเมนิ Attribution : BY ผสู้ รา้ งสรรค์หรอื ผู้อนุญาตกา� หนด

1. ครูตรวจสอบการจดบันทึกเน้ือหาท่ีครูอธิบาย ไมใ่ ชเ้ พอื่ การคา้ (NonCommercial : NC) ไมใ่ หน้ า� ขอ้ มลู นเ้ี พอื่ วตั ถปุ ระสงค์
ในสมดุ ประจาํ ตัวนักเรียน NonCommercial : NC ทางการคา้

2. ครูตรวจแบบตรวจตอบตนเองของนักเรียน ไมด่ ดั แปลง (No Derivative Works : ND) ไมแ่ ก้ไขเปลี่ยนแปลงหรอื สรา้ ง
3. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน No Derivative Works : ND งานจากงานนี้

เพอ่ื ตรวจสอบความเขา ใจหลงั เรยี นของ อนุญาตแบบเดยี วกนั (Share Alike : SA) ถา้ หากดดั แปลง เปลี่ยนรูป หรือ
นกั เรียน ต่อเตมิ ชิน้ งานนี ้ ต้องใชส้ ัญญาอนญุ าตแบบเดยี วกนั หรอื แบบทเ่ี หมือนกับ
4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการ Share Alike : SA หรอื ท่เี ขา้ กนั ได้กบั สญั ญาอนญุ าตทใ่ี ชก้ บั งานน้ีเทา่ น้ัน
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
การทํางานกลุม และจากการนําเสนอผลการ 90
ศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรมในการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศหนา ช้นั เรยี น
5. ครูวัดและประเมินผลจากช้ินงานการทํา
กิจกรรม Com Sci activity เร่ือง การใช
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคดิ

ครสู ามารถสังเกตพฤติกรรมการทํากิจกรรม Com Sci activity เรอื่ ง การ ขอ ใดไมจ ัดวา เปน อาชญากรรมคอมพิวเตอร
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ท่ีนักเรียนไดทําในข้ันสรุป โดยศึกษา 1. การเปลย่ี นแปลง และการทําลายขอ มูล
เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมท่ีแนบ 2. การขโมยขอ มลู ขา วสารและเครื่องมือ
มาทา ยแผนการจดั การเรยี นรูหนว ยที่ 4 3. การใชค อมพวิ เตอรแ อบโอนเงนิ จากบญั ชผี อู นื่ เขา บญั ชตี วั เอง
4. การใชโปรแกรมประเภทตารางมาใชในการพมิ พเ อกสาร
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
(วิเคราะหค ําตอบ อาชญากรรมคอมพิวเตอร คือ การกระทําผดิ
คาช้ีแจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งที่ ทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร หรือการใชคอมพิวเตอรเพ่ือ
ตรงกบั ระดับคะแนน กระทําผิดทางอาญา เชน ทําลาย เปล่ียนแปลง หรอื ขโมยขอ มลู
ตางๆ เปนตน ระบบคอมพิวเตอรในที่นี้ หมายรวมถึงระบบ
ลาดับท่ี ชอื่ –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทางาน ความมนี ้าใจ การมี รวม เครือขายคอมพิวเตอรและอุปกรณท่ีเช่ือมกับระบบดังกลาวดวย
ของนกั เรยี น ความคิดเห็น ฟงั คนอ่นื ตามท่ไี ดร้ ับ ส่วนรว่ มใน 15 สําหรับอาชญากรรมในระบบเครือขายคอมพิวเตอร ดังนั้น
มอบหมาย การปรับปรุง ตอบขอ 4.)
ผลงานกลุม่ คะแนน

321321321321321

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............./.................../...............

ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

14–15 ดมี าก

11–13 ดี

T98 8–10 พอใช้

68

แบบฝกหัด หลักสูตรตปรวั ับอยป่ารงงุ ’60

รายวชิ าพ้นื ฐาน

เทคโนโลยี

1(วิทยาการคาํ นวณ) ม.

ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้วี ัด กลุมสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

แบบฝึกหดั รายวชิ าพ้นื ฐาน ปรับหปลรักุงส'6ตู 0ร
เท( ควโทนิ โลยยาี การคำนวณ )1ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตกาปลมมุ่ีทหสล่ี ากั รสะตูกราแรกเรนยี กนลราวู้ งทิ กยตาาารศมศามกึ สาษตตารขร์ น้ัฐ(พาฉนน้ื บกฐบั าาปรนรเบัรพปยี ทุ รนธงุ รศพแู้ กั ล.ศระ.าต2ชวั 5ช26ว้ี50ดั 5)1
หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน

ม.1

³¯Ñ ° â͸¹Ò·Ã¾Ñ  áÅФ³Ð ª¹Ô¹·Ã à©ÅÔÁÊØ¢ ÍÀÔªÒµÔ ¤Ó»ÅÔÇ

³Ñ¯° â͸¹Ò·ÃѾÂ

แบบฝก หัดเลม จริงอาจมีขนาดตา งไปจากตัวอยางท่เี สนอในเลมนี้

69













Activity เรื่อง ไวรสั เดง ดึ๋ง ฝกทกั ษะการตดั สนิ ใจ Creating
ฝกทกั ษะการแกป ญหา Evaluating
ทกั ษะกระบวนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ Analyzing
ฝก ทักษะการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ Applying
Understanding
อานสถานการณท ี่กําหนด แลว ตอบคําถาม Remembering

10คทะแ่ไี นดน คเะตแ็มนน

อลัน เม่อื วานเธอสงไฟลอ ะไรมาใน ไฟลอะไร เราไมไดสง นัน่ มนั เปน เมื่อวานเราก็โดนแบบน้ี
อินบอ็ กซข องเฟซบุก เรา พอเขา ไป อะไรไปใหเธอเลยนะ ไฟลไวรัสนะอลสิ เหมือนกนั คอมพิวเตอร
ดาวนโหลดก็ไมเหน็ มอี ะไรเลย
ที่บานติดไวรัส
มนั ชื่อไฟล ใชงานไมไ ดเ ลย
Video_2573.mp4.7Z

เฉฉบลับย

1) จากสถานการณข า งตน ปญ หาที่เกิดขึ้นคืออะไร
คอมพิวเตอรต ดิ ไวรสั เน่ืองจากดาวนโหลดไฟลจ ากเว็บไซตท ่เี ส่ียงภัย...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

8 แบบฝกหดั

76

2) ถา เหตกุ ารณด งั กลา วเกิดข้นึ กบั ตัวนักเรียน นักเรยี นควรปฏบิ ัตอิ ยา งไร
• แจงไปยงั เพอ่ื น ๆ วาไมใหกดเปด ไฟลท ี่ติดไวรสั นี้...................................................................................................................................................................................................................................................
..•.....ถ.....า...เ..ค....ร....่ือ....ง....ไ...ม....ต....ิด.....ต....ั้ง....ร....ะ...บ....บ.....ป.....อ....ง...ก.....ัน.....ไ...ว...ร....ัส.....ก....็ท.....ํา...ก....า...ร....ต.....ิด....ต.....้ัง.........เ..พ.....ื่อ....ต....ร....ว...จ....ห.....า...ไ...ว...ร....ัส.....ท....่ีเ..ป.....น.....ต....น.....เ..ห.....ต....ุ..
ถาพบกท็ าํ การกําจัดไวรัส ถา มีโปรแกรมอยแู ลว กท็ าํ การอปั เดตและตรวจหาไวรัส...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

3) นักเรยี นมีแนวทางปอ งกันไมใหปญ หาดังกลา วเกดิ ข้ึนกับตนเองไดอ ยางไร เฉฉบลับย
• ติดตงั้ โปรแกรมปอ งกันไวรัสท่ีมีลิขสิทธิ์ และหมน่ั อปั เดตโปรแกรมไวรสั เสมอ...................................................................................................................................................................................................................................................
• เม่ือไดร บั ไฟล หรือลงิ กต า งๆ ที่ยงั ไมแนใจควรสอบถามผสู ง ใหแ นใจกอนเปด...................................................................................................................................................................................................................................................
..•.....เ..ม....่ือ....ร....ูว....า...ต....ิด.....ไ...ว...ร....ัส.....ค....อ....ม....พ.....ิว...เ..ต.....อ....ร....ต.....อ....ง...ร....ีบ.....แ....จ....ง....ไ..ป.....ย....ัง....บ....ุค.....ค.....ล....ห.....ร....ือ....ผ...ู.ท....่ีค.....า...ด....ว....า...จ....ะ...ไ...ด.....ร...ับ.....ไ...ว...ร....ัส.....น.....ั้น.......
เพ่ือเปนการสกัดหรือปองกันไมใ หไ วรสั แพรร ะบาดไป...................................................................................................................................................................................................................................................
• ติดต้ังไฟรวอลล และควรปรับปรุงระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรใหทันสมัยอยูตลอด...................................................................................................................................................................................................................................................
เวลา...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

เกณฑก ารใหค ะแนน สรุปปญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ไดถูกตอ ง คะ2แนน
เขียนวธิ กี ารปฏิบัติเพ่ือปอ งกนั ปญ หาไดถกู ตอง ตรงตามประเดน็ 4
การตอบคําถาม เขียนแนวทางปอ งกนั ปญหาไดถกู ตอง ชัดเจน 4

(10 คะแนน) แบบฝก หดั 9

77

Activity เรื่อง เงินหายไปไหน ฝก ทกั ษะการตดั สินใจ Creating
ฝกทกั ษะการแกปญหา Evaluating
ทักษะกระบวนการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ Analyzing
ฝกทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ Applying
Understanding
อา นสถานการณท กี่ าํ หนด แลวตอบคาํ ถาม Remembering

10คทะแ่ีไนดน คเะตแม็นน

จิรากรไดใชบริการรานอินเทอรเน็ตคาเฟ การเขา้ ใชง้ านลม้ เหลว !!
ซ่ึงในระหวางท่ีใชงานเขาไดมีการโอนเงิน
ซื้อของผานทางอินเทอรเน็ต ผานไป 2 วัน OK
จิรากร login เขาอเี มลเพือ่ ทาํ ธุรกรรมทางการ
เงิน พบวา เขาไมสามารถเขาใชง านอเี มลได การเขา้ ใชง้ านลม้ เหลว
จิรากรจึงไปธนาคารเพื่อตรวจสอบ ซึ่ง OK
เจาหนาท่ีธนาคารแจงใหเขาทราบวา เงินใน
เฉฉบลับย บญั ชีถกู ถอนออกไปหมดแลว

1) นักเรียนคดิ วา จากสถานการณนเี้ กดิ ขน้ึ จากสาเหตใุ ด (ตวั อยา ง)
• จิรากรอาจบนั ทกึ username และ password ขณะใชง านในรานอนิ เทอรเน็ตแลว ผูใช...................................................................................................................................................................................................................................................
งานตอจากจิรากรอาจ login เขาไปสวมรอยเปนจิรากรแลวทําการโอนเงินซ้ือสินคา...................................................................................................................................................................................................................................................
หรือบริการตา ง ๆ...................................................................................................................................................................................................................................................
• รานอินเทอรเน็ตอาจมีการติดต้ังซอฟตแวรท่ีสามารถบันทึกประวัติการเขาใชงาน...................................................................................................................................................................................................................................................
คอมพวิ เตอร แลวทําการโจรกรรมขอมลู...................................................................................................................................................................................................................................................
• คอมพวิ เตอรทร่ี า นอินเทอรเ น็ตอาจตดิ สปายแวร ทําใหมกี ารดกั ดูขอมูลการใชงานของ...................................................................................................................................................................................................................................................
ผูใช แลว สงไปยังผูที่ติดตง้ั สปายแวร...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................

10 แบบฝก หดั

78

2) ถา เหตุการณน ีเ้ กดิ ขึน้ กับนักเรยี นจะมวี ิธแี กปญหาไดอยา งไร
• นําหลักฐานติดตอพนกั งานธนาคารและแจงความเพอ่ื ทาํ การตรวจสอบ...................................................................................................................................................................................................................................................
• เปลย่ี นรหสั ผานทกุ ระบบท่ใี ชรหัสผานเดียวกบั อเี มล...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

3) นกั เรยี นมวี ิธีปอ งกนั ปญหานี้อยางไรเพ่ือไมใหเกิดข้นึ กับตนเอง เฉฉบลับย
• ไมใชงานอีเมล หรือทําธุรกรรมทางการเงินกับคอมพิวเตอรสาธารณะ หรือถาจําเปน...................................................................................................................................................................................................................................................
ตอ งทาํ ให logout ออกทกุ ครงั้ และไมก ดบนั ทกึ username และ password...................................................................................................................................................................................................................................................
• ใชง านเครอื่ งคอมพวิ เตอรท ม่ี กี ารตดิ ตง้ั โปรแกรมปอ งกนั ไวรสั และหมน่ั อปั เดตโปรแกรม...................................................................................................................................................................................................................................................
เสมอ...................................................................................................................................................................................................................................................
• ตงั้ password ท่ยี ากตอการเขา ถงึ และไมใ ช password เดียวกันทุกระบบ...................................................................................................................................................................................................................................................
• ไมเ ขาเวบ็ ไซตที่เส่ียงภัย...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

4) จากเหตุการณดังกลาวผูกระทําการโจรกรรมขอมูลทําผิดจริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช
เทคโนโลยสี ารสนเทศหรือไม อธิบายเหตุผลประกอบ
ผิดจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางดานความเปนสวนตัว เน่ืองจาก...................................................................................................................................................................................................................................................
ผกู ระทาํ การโจรกรรมละเมดิ สทิ ธขิ องเจา ของ โดยทเ่ี จา ของไมอ นญุ าต และผดิ จรรยาบรรณ...................................................................................................................................................................................................................................................
ในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ คอื ใชค อมพวิ เตอรเพ่ือการโจรกรรมขอมลู และละเมดิ...................................................................................................................................................................................................................................................
สทิ ธขิ องผอู ่นื...................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

เกณฑการใหคะแนน บอกสาเหตุไดถ ูกตอง ชดั เจน คะแนน
อธิบายวธิ กี ารปฏบิ ัตเิ พอ่ื ปอ งกันปญ หาไดถ กู ตอ ง ตรงตามประเด็น
การตอบคาํ ถาม อธบิ ายแนวทางปองกนั ปญหาไดถูกตอง ชดั เจน 2
บอกจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศไดถูกตอ ง ชัดเจน 3
(10 คะแนน) 3
2

แบบฝกหัด 11

79

Unit test 4

µÍ¹·Õè 1 เลอื กคําตอบท่ีถูกตอ งทส่ี ดุ 10คทะแีไ่ นดน คเะตแม็นน

1. เม่ือสินชัยถูกแฮกอีเมล แลวผูแฮกติดตอกลับมาเพื่อใหนําเงินไปแลกกับขอมูลในอีเมล
กรณีน้ีจดั เปนภยั คุกคามตอสิ่งใด
1. ขอมลู 2. ซอฟตแ วร
3. ฮารดแวร 4. ระบบเครอื ขาย

2. การที่บุคคลบุกรุกระบบคอมพิวเตอรเพื่อล็อกเคร่ืองคอมพิวเตอรไมใหสามารถทํางานได
จัดเปนภัยคุกคามตอระบบคอมพวิ เตอรร ปู แบบใด
1. ภัยคกุ คามที่ไมมเี ปาหมาย
2. ภัยคกุ คามตอ ผใู ชและระบบ
3. ภัยคกุ คามความเปนสว นตัว
4. ภยั คกุ คามท่ีสรา งความรําคาญ
เฉฉบลบั ย 3. โปรแกรมทถี่ กู บรรจเุ ขา คอมพวิ เตอรเ พอ่ื เกบ็ ขอ มลู เลขทบ่ี ญั ชธี นาคาร หมายเลขบตั รเครดติ

คือขอ ใด
1. มลั แวร
2. มาโทรจนั
3. ไวรสั คอมพิวเตอร
4. หนอนคอมพิวเตอร

4. ขอใดคือวธิ ีท่ีดที ี่สุดในการปอ งกนั ไวรสั ทคี่ กุ คามระบบคอมพิวเตอร
1. เปล่ยี นฮารดดสิ ก 2. ลงโปรแกรมใหม
3. ลบไฟลทต่ี ดิ ไวรสั 4. ตรวจจบั ไฟลท ต่ี ิดไวรสั

5. แนวโนมของภัยคุกคามในอนาคตนา จะเปน อยางไรมากทีส่ ุด เพราะเหตุใด
1. ลดลง เนอื่ งจากรัฐมีความเขม งวดมากขน้ึ
2. ลดลง เพราะมรี ะบบความปลอดภัยสูงจึงไมส ามารถบุกรุกได
3. เพม่ิ ขน้ึ เพราะระบบความปลอดภัยมีจดุ ออ นใหโจมตีมากขึ้น
4. เพม่ิ ขน้ึ เพราะสามารถดาวนโหลดโปรแกรมจากอินเทอรเ น็ตไดงาย

12 แบบฝก หัด

80

6. ถา ตอ งการทําธรุ กรรมทางการเงินใหป ลอดภัย ควรเลือกใชระบบรักษาความปลอดภยั
เทคโนโลยสี ารสนเทศรปู แบบใด
1. ระบบปองกันไวรัส 2. ระบบการเขา รหัสขอมลู
3. ระบบปองกนั การโจรกรรมขอ มูล 4. ระบบปอ งกันแฟมขอ มลู สว นบุคคล

7. บุคคลใดไมไดทาํ ผิดจรรยาบรรณในการใชง านเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. จริ าไมพ อใจปรียา จริ าจึงไปโพสตอวา ปรียาในเฟซบกุ ของตัวเอง
2. ธาดาเปน นายจา งไดเ ปดอานอีเมลองคกรทีเ่ ปนของบญั ชาซงึ่ เปนลูกจา ง
3. นาวาดาวนโหลดโปรแกรมจากอินเทอรเ น็ตเพราะจะไดไมต องเสยี คาลิขสิทธ์ิ
4. ทชิ ายมื คอมพิวเตอรของรดา แลวลมื logout จากไลน รดาจงึ เปดอา นไลนข องทิชา

8. CC-BY-NC-SA มคี วามหมายตรงกับขอใด
1. ใหเผยแพร โดยตอ งระบทุ ม่ี า แตหามดัดแปลง
2. ใหเ ผยแพร ดดั แปลง โดยตองระบทุ ม่ี า แตห ามใชเ พอ่ื การคา
3. ใหเผยแพร โดยตอ งระบุท่มี า แตหามดัดแปลง และหา มใชเ พอื่ การคา
4. ใหเผยแพร ดัดแปลง โดยตองระบุที่มาและตองเผยแพรงานดัดแปลง โดยใชสัญญา
อนุญาตเดียวกนั เฉฉบลับย

9. สญั ลกั ษณข อ ใดมคี วามหมายวา ใหเผยแพร โดยตองระบุทมี่ า แตหา มดัดแปลง
1. 2.

CC CC

BY BY SA

3. 4.

CC CC

BY ND BY NC

10. บคุ คลใดถอื วา ไมม ีมารยาทในการใชส อ่ื หรอื แหลง ขอมลู ตา งๆ บนอนิ เทอรเนต็
1. การะเกดตรวจสอบไวรัสของแฟมขอ มูลกอนสงตอ ใหเพอื่ น
2. กรองแกวจะระบุทม่ี าและวนั เดือนปท กุ คร้งั ทเ่ี ผยแพรข อมลู และขาวสาร
3. กรกนกตรวจสอบความถูกตองของขอ มลู กอ นเผยแพรบ นอินเทอรเน็ต
4. กชกรไดรบั อีเมล ซงึ่ ระบุวา ใหสงตอ ใหผูอ่นื อกี จํานวน 20 คน แลว จะราํ่ รวย มีโชคลาภ
กชกรจงึ สงอีเมลนต้ี อใหเ พอ่ื นอกี 20 คน

แบบฝก หดั 13

81

µÍ¹·Õè 2 ตอบคําถามตอไปนี้ 10คทะแไ่ี นดน คเะตแ็มนน

ใหนักเรียนวิเคราะหแนวโนมของภัยคุกคามในอนาคตของประเทศไทย วาจะมีแนวโนมเปน

อยางไร
มแี นวโนม เพมิ่ มากขนึ้ เพราะคนในปจ จบุ นั มคี วามรเู กย่ี วกบั เทคโนโลยกี นั มากขน้ึ และมกี ลมุ...............................................................................................................................................................................................................................................................
คนบางกลมุ ไดม กี ารใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในทางทผี่ ดิ โดยการสรา งไวรสั ชนดิ ใหม ๆ ขนึ้ มา เชน...............................................................................................................................................................................................................................................................
สรา งไวรัสมาเพ่อื ทําการโจรกรรมขอมลู หรือเรยี กคาไถ ทาํ ใหค นท่ีตกเปนเหย่อื ตองยอมเสยี...............................................................................................................................................................................................................................................................
เงินเพ่ือแลกกับขอมูล เปนตน และแนวโนมภัยคุกคามในอนาคตอาจมาในรูปแบบของการ...............................................................................................................................................................................................................................................................
แทรกซมึ เขา ไปในโปรแกรมประยกุ ตท ผี่ ใู ชง านไดท าํ การดาวนโ หลดจากแอปพลเิ คชนั สโตร โดย...............................................................................................................................................................................................................................................................
เฉพาะโปรแกรมในกลมุ ของสอ่ื สงั คมออนไลนต อ งมกี ารเขา สรู ะบบการทาํ งานบนอนิ เทอรเ นต็...............................................................................................................................................................................................................................................................
ตลอดเวลา ซง่ึ อาจมกี ารลกั ลอบขโมยขอ มลู ตา ง ๆ ไดแ ละหากเขา ไปในขอ มลู ทเี่ กบ็ ไวใ นอปุ กรณ...............................................................................................................................................................................................................................................................
ซง่ึ อาจเช่ือมโยงไปถึงการคนหาพิกัดสถานท่ีจนทาํ ใหเกิดอันตรายกบั ผใู ชงานได...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

เฉฉบลับย ...............................................................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................................................................................................

เกณฑการใหค ะแนน คะแนน
การตอบคาํ ถาม
ตอบคาํ ถามไดถกู ตอ ง ชัดเจน 10
(10 คะแนน)

ตารางบันทึกคะแนน ประจาํ หนวยการเรียนรทู ่ี 4

หนวยที่ มาตรฐานการ เครอ่ื งมอื วดั และผลคะแนน

เรยี นรู / ตัวชี้วัด เครอ่ื งมือวัดผล คะแนนทไ่ี ด คะแนนเต็ม

หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 ว 4.2 ม.4/1 Exercise 30
การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ Activity
อยางปลอดภยั Unit Test 20

รวม 20

70

14 แบบฝกหดั

82

PowerPoint หลักสูตรตปรวั บัอยป่ารงุง’60

รายวิชาพื้นฐาน

เทคโนโลยี

1(วทิ ยาการคํานวณ) ม.

PowerPoint ประกอบการสอน
บรรจอุ ยใู นแผน CD และสามารถ
ดาวนโหลดได้จาก
www.aksorn.com

83

ตวั อยา่ ง หนวยการเรยี นรทู้ ี่ 1
การออกแบบและการเขียนอัลกอรทิ มึ

ตวั อยา่ ง หนวยการเรียนรู้ท่ี 2
การออกแบบและการเขยี นโปรแกรมเบ้ืองตน้

84

ตัวอยา่ ง หนวยการเรยี นรูท้ ่ี 3
การจัดการข้อมลู สารสนเทศ

85

ตัวอยา่ ง หนวยการเรียนรู้ที่ 4
การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั

86

อจท. เตรยี มสือ่ สำหรบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชว้ี ดั

พรอ มฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 ทุกช้ัน ทุกวิชาไว้

ใหแนวทางในการจดั การเรียน มีเนอื้ หาครบถวน ครอบคลมุ ชัดเจน
ใชเปน หลักฐานในการประเมิน
ฉตบรงบั ตปารมบั มปารตุงรฐพา.นศห. 2ล5ัก6ส0ตู ร
นำเสนอเนือ้ หาโดยใช Infographic

แผน หนังสอื
การสอน เรยี น

ตอ ยอดเนื้อหาในบทเรยี น สื่อเสริม Learning คู่มือครู เตรียมการสอนชวยครู
มุงยกระดับผลการเรียนรู ต่าง ๆ Ecosystem
ใชง า ย ใชสะดวก
อานสนุก เขา ใจงาย สอดคลอ งกับหนงั สอื เรยี น

Power แบบฝึกหดั
Point

เปน เครอ่ื งมอื ประกอบการสอน สรา งกิจกรรมเหมาะกับธรรมชาตวิ ชิ า
สรปุ รวบยอดองคค วามรู เนน ใหเกดิ การพัฒนาทกั ษะตางๆ
ชดั เจน ครอบคลมุ เขา ใจงา ย นำไปตอ ยอดในชีวติ ประจำวัน

ก้าวทัน เนน้ เนอื้ หา ฝกึ ทักษะเพอ่ื
การพฒั นา ตรงสาระ ยกระดบั ผู้เรียน

บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั รหัสสินค้า 2108019
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200
โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) แนวทางฯ วิทยาการคำนวณ ม.1 ( V.2)
www.aksorn.com Aksorn ACT www.aksorn.com
8 858649 140081


Click to View FlipBook Version