The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเขียนโค้ด สำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makeno0507, 2021-07-03 04:54:40

คู่มือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเขียนโค้ด สำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ปี

คู่มือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเขียนโค้ด สำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ปี

คูม่ ือการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

การเขยี นโคด้ สาหรบั เด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ปี
(Coding for Kindergarten)

สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐
และกรอบการเรยี นรู้และแนวทางการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั , สสวท.

 พ้ืนฐานการเรยี นรู้วทิ ยาการคอมพิวเตอร์
 การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
 การเขียนโค้ดสาหรับเด็กปฐมวัย (Unplugged Coding)

บรษิ ทั สะเตม็ เอด็ ดเู คช่นั จากดั STEM EDUCATION CO., LTD.
31/132 ซอยงามวงศ์วาน 47 แยก 6-1 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กทม. 10210
โทร. 02-9546116, 098-2863007 แฟกซ์ 02-9546116
E-mail : [email protected] Website : www.stemedubooks.com

คานา

ปัจจุบันระบบการศึกษาทั่วโลก ให้ความสาคัญกับการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้การเขยี นโคด้ ( Coding )
ให้กับผเู้ รียน โดยฝกึ ให้เดก็ ได้มที กั ษะกระบวนการคิด แก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ลาดับขัน้ ตอนเป็นระบบ และมคี วามคิดสรา้ งสรรค์
ตง้ั แต่ระดับปฐมวยั

คูม่ อื การจัดประสบการณ์การเรยี นรกู้ ารเขยี นโค้ดสาหรับเด็กปฐมวยั (Coding For Kindergarten) ชดุ นี้ จดั ทาขึน้ โดย
เชอ่ื มโยงกบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 และกรอบการเรยี นรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
บรู ณาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวยั , สสวท.

สอดคล้องกับเอกสารหลักสตู รอบรม การจดั ประสบการณ์การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคานวณระดบั อนุบาล สานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ

นาไปใชค้ วบคู่กันกับแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION FOR KINDERGARTEN และหนงั สือชุดกจิ กรรม
การเขยี นโค้ด สาหรบั เด็กปฐมวยั (Coding For Kindergarten) อายุ 3-6 ปขี อง บรษิ ัท สะเต็ม เอด็ ดูเคชั่น จากัด

ขอขอบคุณทีมงานและผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งทุกทา่ น ท่ีไดร้ ว่ มกันจดั ทาค่มู ือ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ การเขียนโค้ด
สาหรับเด็กปฐมวัยชดุ น้ี จนสาเร็จลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี หวงั เป็นอย่างย่งิ ว่าคู่มอื ฯ ชุดนจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ครผู สู้ อน ผปู้ กครอง
ตลอดจนผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งในการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้มคี ุณภาพ และมีความพร้อมในการดาเนนิ ชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ต่อไป

เสนยี ์ โกสิยวัฒน์
ผอู้ านวยการงานวชิ าการสะเต็มศกึ ษาและการเขียนโค้ดสาหรับเดก็ ปฐมวยั

STEM EDUCATION AND CODING FOR KINDERGARTEN
STEM EDUCATION CO., LTD.

สารบัญ

หัวเรอ่ื ง หนา้

สว่ นที่ 1 สาระสาคัญของการจัดประสบการณ์การคิดเชิงคานวณและการเขยี นโค้ด สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ 3-6 ปี 1
 การคดิ เชิงคานวณ (Computational Thinking) 2
 การเขยี นโปรแกรม (Programming) และการเขยี นโคด้ (Coding) 2
 การจดั ประสบการณกื ารเรียนรู้ การคดิ เชิงคานวณและการเขยี นโค้ดสาหรับเดก็ ปฐมวยั อายุ 3-6 ปี 3

สว่ นท่ี 2 ตัวอยา่ งกิจกรรมทเี่ ป็นการปพู ้ืนฐานทางสตปิ ญั ญา และการเรยี นรวู้ ทิ ยาการคอมพิวเตอร,์ กิจกรรมท่ี 5
ส่งเสริมการคดิ เชิงคานวณและการเขียนโค้ดอย่างงา่ ย แบบไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ 3-6 ปี
6
 ตัวอยา่ งกิจกรรมสาหรบั เดก็ รบั ชนั้ อนุบาล 1 (อายุ 3-4 ป)ี 31
 ตัวอยา่ งกจิ กรรมสาหรบั เดก็ รบั ช้ันอนบุ าล 2 (อายุ 4-5 ป)ี 56
 ตัวอยา่ งกจิ กรรมสาหรบั เด็กรบั ชน้ั อนุบาล 3 (อายุ 5-6 ป)ี

ส่วนท่ี 1

สาระสาคัญของ :
การจดั ประสบการณ์การคดิ เชงิ คานวณและการ

เขยี นโคด้ (CODING)
สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ 3-6 ปี

(ขอ้ มลู จาก เอกสารหลักสูตรอบรมการจดั ประสบการณ์การเรียนร้วู ิทยาการคานวณ ระดบั อนบุ าล
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)

1

การจัดประสบการณ์ การเรียนรกู้ ารคดิ เชิงคานวณและการเขียนโค้ดสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ 3-6 ปี

 การคดิ เชงิ คานวณ (Computational Thinking)
การคดิ เชิงคานวณ (Computational thinking) เป็นกระบวนการในการแกป้ ัญหา การคิดวเิ คราะห์อย่างมี เหตผุ ลเป็น
ขนั้ ตอน เพือ่ หาวธิ กี ารแกป้ ัญหาในรปู แบบที่สามารถนาไปประมวลผลได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การคดิ เชิงคานวณน้ียังเป็นพ้นื ฐาน
สาคัญ ของความสามารถในการเขยี นโปรแกรมหรือโค้ดดิ้ง (Coding) ซ่งึ เป็นภาษาที่ใชส้ ่ือสารระหว่างมนุษย์กบั คอมพิวเตอรโ์ ดย
การสร้างลาดบั ของคาส่ังให้คอมพิวเตอรท์ างานช่วยใหม้ นษุ ยส์ อ่ื สารวิธกี ารแกป้ ญั หาทางออกมาอย่างมีตรรกะ มโี ครงสร้างและเปน็
ระบบ (สสวท., 2563)

การคิดเชิงคานวณมีองคป์ ระกอบที่สาคญั ดงั นี้

1.) การแบ่งปญั หาใหญ่ออกเป็นปัญหา/งานย่อย (Decomposition)
เปน็ การพจิ ารณาและแบ่งปญั หา/งาน/ส่วนประกอบออกเป็นสว่ นยอ่ ย เพือ่ ให้จัดการกับปัญหาได้งา่ ยขน้ึ

2.) การพิจารณารูปแบบของปัญหาหรือวธิ ีการแก้ปัญหา (Pattern recognition)
เปน็ การพจิ ารณารูปแบบ แนวโน้มและลักษณะท่ัวไปของข้อมลู โดยพิจารณาวา่ เคยพบปัญหาลกั ษณะนม้ี าก่อนหรือไม่
หากมรี ปู แบบของปัญหาท่ีคล้ายกัน สามารถนาวิธีการแก้ปัญหานัน้ มาประยุกตใ์ ช้และพจิ ารณารูปแบบปัญหาย่อย ซง่ึ
อย่ภู ายในปญั หาเดยี วกนั ว่ามีสว่ นใดทเ่ี หมือนกัน เพ่ือใชว้ ิธีการแกป้ ัญหาเดยี วกนั ได้ทาให้การจัดการกบั ปญั หางา่ ยข้นึ
และทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพเพิ่มข้ึน

3.) การพิจารณาสาระสาคัญของปญั หา (Abstraction)
เป็นพิจารณารายละเอียดที่สาคญั ของปญั หา แยกแยะสาระสาคญั ออกจากสว่ นที่ไม่สาคัญ

4.) การออกแบบอัลกอริทึม (Algorithms)
เปน็ การกาหนดขั้นตอนในการแกป้ ญั หา หรือการทางาน โดยมลี าดับของคาสัง่ หรือวธิ ีการทีช่ ัดเจน ท่คี อมพวิ เตอร์
สามารถปฏิบัตติ ามได้ (สสวท., 2563)

 การเขยี นโปรแกรม (Programming) และการเขียนโค้ด (Coding)

1.) ในปัจจุบันมีการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรอื Application ชว่ ยอานวยความสะดวกอย่างมากมาย เช่น การจัดพิมพ์
เอกสาร การนาเสนอข้อมูล การสบื ค้นขอ้ มูล การติดต่อส่ือสาร เป็นตน้

2.) โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ หรอื Application ถูกพฒั นาขึ้นโดยนักพฒั นา Software หรือ โปรแกรมเมอร์ เพ่ือส่งั การให้
คอมพวิ เตอร์ทางาน หากคอมพวิ เตอร์ไมม่ ี Software โปรแกรม หรอื Application กจ็ ะทางานไมไ่ ด้

3.) นักพัฒนา Software หรอื โปรแกรมเมอร์ ทางานเขยี นโปรแกรม (Programming) เพ่อื ออกคาสงั่ ใหค้ อมพวิ เตอร์
ทางานตามวตั ถุประสงคข์ องมนษุ ย์ ซึ่งการเขยี นโปรแกรมเป็นกระบวนการทีต่ อ้ งมีการวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบ
การเขียน การทดสอบ และการปรบั ปรุงแก้ไขเพ่อื ให้โปรแกรมทางาน

4.) ภายในโปรแกรมทสี่ ร้างขึ้นจะประกอบไปดว้ ยโคด้ (Code) ทเี่ ป็นชุดคาสงั่ เขยี นขึน้ ดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ แสดง
แทนด้วยตัวเลข ตวั อกั ษรหรอื สญั ลักษณ์ การเขียนโค้ด (Coding) จึงเป็นการเขยี นลักษณ์แทนคาสง่ั ในการดาเนนิ การ
อย่างเป็นลาดบั เพอ่ื ให้คอมพิวเตอรเ์ ข้าใจและปฏิบตั ลิ าดบั คาสงั่ นัน้ การเรยี นรเู้ กีย่ วกบั การเขยี นโคด้ จงึ เปรียบเสมือน
การเรยี นรู้ภาษาทจ่ี ะใชใ้ นการส่ังการคอมพวิ เตอร์

2

 การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้การคิดเชงิ คานวณและการเขยี นโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ปี

1.) การจดั การเรยี นรู้การคิดเชิงคานวณและการเขียนโค้ด จดั อยใู่ นสาระวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเปน็ สว่ นหนงึ่ ในสาระ
วิทยาการคานวณ ในมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พศ.2560)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พศ.2551

2.) การสง่ เสริมให้เด็กมีลกั ษณะนิสยั และทักษะพ้ืนฐาน ของการเปน็ โปรแกรมเมอร์ สามารถเริม่ ไดต้ ง้ั แต่ในระดบั อนบุ าล
ครแู ละผปู้ กครองสามารถส่งเสรมิ ได้ด้วยการเป็นแบบอย่าง ของการคิดอย่างเป็นระบบปลูกฝังใหเ้ ด็กคดิ และทาสงิ่
ตา่ ง ๆ อยา่ งมรี ะบบระเบยี บ ผ่านกจิ วัตรและกิจกรรมประจาวนั รวมทงั้ จัดประสบการณ์การเรยี นรูใ้ ห้เดก็ ได้รบั
การปูพ้ืนฐานทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และสง่ เสริมการคิดเชิงคานวณและการเขียนโค้ด อย่างเหมาะสมกับ
พฒั นาการตามวยั

3.) การที่เด็กมคี วามสามารถในการคดิ เชิงคานวณ จะส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ สามารถเขียนโคด้ ได้ขณะเดยี วกนั การฝึกให้เด็ก
เขียนโคด้ ก็จะเปน็ การส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาการคิดเชงิ คานวณไปดว้ ย

4.) ในหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พศ.2560 มีประสบการณส์ าคัญท่สี ง่ เสริมพฒั นาการด้านสติปัญญาซง่ึ เปน็ การปูพ้นื ฐาน
ของการเรยี นรูว้ ทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ในด้าน การแก้ปญั หา แบบรูปการเรียงลาดบั และการใช้ตัวแทน รวมถึงการ
ส่งเสริมการคิดเชิงคานวณ และการเขียนโค้ดครูผสู้ อน สามารถนาไปใช้ในการจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ให้กบั เด็ก
โดยเลอื กประสบการณ์สาคัญทเี่ ป็นหลักในการจดั กจิ กรรม อย่างเหมาะสมกับเวลาและกิจกรรม และควรบูรณาการ
เข้ากับกจิ กรรมประจาวนั

5.) การสง่ เสรมิ การเรียนรวู้ ทิ ยาการคอมพิวเตอร์ในระดับอนบุ าล ควรเรม่ิ ตน้ จากการปูพ้ืนฐานทางดา้ นสตปิ ญั ญาในด้าน
ภาษา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยทั่วไปให้กับเด็กก่อน โดยวัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบรู ณาการผ่าน
การเล่นร่วมกันในลักษณะตา่ ง ๆ จากน้ันจงึ พัฒนาแนวคิดและทักษะทเ่ี ปน็ พน้ื ฐานของการเรียนรู้วทิ ยกาคอมพวิ เตอร์
โดยตรง ได้แก่ การแกป้ ัญหา แบบรูป การเรยี งลาดับ และการใช้ตัวแทน เมือ่ เด็กมีพนื้ ฐานแลว้ จึงจัดประสบการณ์
การเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาการคิดเชงิ คานวณและการเขยี นโคด้ ที่เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย

6.) การจดั ประสบการณ์การเรียนรูเ้ พ่อื ปูพ้นื ฐานของการเรียนรู้วิทยาการคอมพิวเตอรท์ เี่ น้นการแก้ปัญหาแบบรูป
การเรียงลาดับ การใชต้ วั แทน สาหรบั เด็กในระดบั อนุบาล สามารถจดั เป็นกจิ กรรมเพ่อื ฝึกใหเ้ ดก็ ไดค้ ิดและลงมอื
ปฏิบัตกิ บั ส่อื ต่าง ๆ รอบตวั เชน่ การสังเกต จาแนก เปรียบเทยี บ และจดั กลุ่มสิง่ ของต่าง ๆ การสงั เกตแบบรปู ของสิ่ง
ตา่ ง ๆ การทาซ้า ตอ่ เติม และสร้างแบบรปู ของสง่ิ ของ การสังเกตและเรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ในชวี ติ ประจาวนั โดยการ
ใช้สือ่ บตั รภาพหรือสัญลักษณ์ การสังเกตและระบสุ ญั ลักษณท์ พ่ี บในชีวิตประจาวนั หรอื การกาหนกสญั ลกั ษณเ์ พ่ือ
แสดงแทน การกระทาบางอย่าง โดยครคู วรจัดประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกบั บรบิ ทรอบตัวเด็กและใชส้ ื่อทเี่ ด็กคนุ้ เคย
รวมถงึ การฝกึ ใหเ้ ด็กได้คิดวางแผน ในการแก้ปัญหาด้วยตนเองและเปดิ โอกาสให้เดก็ พูดส่ือสาร และใหเ้ หตุผล
ประกอบการตัดสินใจ ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ

7.) การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาการคิดเชงิ คานวณ และการเขียนโค้ดสาหรับเดก็ ในระดับอนุบาล สามารถ
จดั กจิ กรรม เพ่อื สง่ เสรมิ แต่ละองคป์ ระกอบของการคดิ เชิงคานวณหรอื การเขียนโค้ดหรืออาจจดั เปน็ กจิ กรรม ทีใ่ ช้
กระบวนการในการแกป้ ัญหา เพ่ือพัฒนาทุกองค์ประกอบของการคดิ เชงิ คานวณ และการเขยี นโค้ดร่วมกัน แต่
กิจกรรมจะมคี วามซับซ้อนมากขน้ึ จงึ ต้องคานึงถึงประสบการณ์และความรู้พืน้ ฐาน ท่เี ด็กควรมีมาก่อนท่จี ะร่วม
กิจกรรม เช่น ความสามารถในการสงั เกต จาแนก เปรยี บเทยี บ เรยี งลาดับ ความสามารถในการบอกตาแหนง่
ทศิ ทาง และความสามารถในการสอ่ื สาร ด้วยคาพูดหรือสัญลกั ษณ์

3

แนวทางการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ในระดับอนุบาล

* ขอ้ มูลจาก เอกสารหลกั สูตรอบรมการจัดประสบการณ์ การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคานวณระดบั อนุบาล
สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), กระทรวงศึกษาธกิ าร

4

ส่วนที่ 2

ตวั อยา่ งกจิ กรรมทเี่ ป็นการปูพ้ืนฐานทาง
สติปญั ญาและการเรยี นร้วู ิทยาการ

คอมพวิ เตอร์, กจิ กรรมท่สี ง่ เสริมการคดิ เชิง
คานวณและการเขียนโคด้ อย่างงา่ ยแบบไม่ใช้

คอมพิวเตอร์ (Unplugged Coding)
สาหรับเดก็ ปฐมวัยอายุ 3-6 ปี

5

ตัวอย่างกิจกรรม
สาหรับเด็กระดับชัน้ อนุบาล 1 (อายุ 3-4 ป)ี

1 • เรื่อง ตุ๊กตากระดาษ
2 • เรอ่ื ง ฉนั เคลื่อนท่มี ที ศิ ทาง
3 • เรื่อง คนแปลกหน้าอย่ทู ่ไี หน
4 • เรื่อง เทยี่ วตลาดผลไม้
5 • เรื่อง ส่งิ มชี ีวติ และสิ่งไม่มชี ีวิต
6 • เรอ่ื ง ตน้ ถว่ั งอกเติบโตมาจากอะไร
7 • เรื่อง ความลบั ของบาร์โค้ด
8 • เรอื่ ง คุณพ่อพาเทยี่ ว

6

1. เรื่อง ตกุ๊ ตากระดาษ สัปดาหท์ ่ี วันท่ี / / ถงึ วันที่ / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สงั เกตลักษณะสว่ นประกอบของสิง่ ต่าง ๆ
2. จับคู่หรอื เปรยี บเทยี บ คดั แยกสิง่ ตา่ ง ๆ ตามลักษณะหรือหนา้ ทกี่ ารใช้งาน
3. การใช้ความคดิ ที่เปน็ พืน้ ฐานในการเรยี นรู้ เพ่อื มาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระทีค่ วรเรียนรู้ : เรอ่ื งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก “ช่อื เพศ ลกั ษณะรูปรา่ งของตนเอง”
ประสบการณ์สาคญั : การใช้ภาษา การคดิ พืน้ ฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชิงคานวณ การเขียนโคด้ อย่างง่าย
ด้านร่างกาย 1.1.2(4)
ดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ 1.2.4(5)
ดา้ นสงั คม 1.3.4(3)
ดา้ นสติปัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16),

1.4.2(17), 1.4.2(18), 1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจดั กิจกรรมประสบการณ์การเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จดั กจิ กรรมเพื่อปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอ่ื ง ตกุ๊ ตากระดาษ
(ดแู นวทางการจัดกิจกรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเด็กอายุ 3-4 ปี หน่วยที่ 1)

ขน้ั นา Science ขัน้ สอน Technology & ขน้ั สรปุ
Mathematic Engineering
1. ครตู งั้ คาถามท่สี นใจ (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรปุ และ
ร่วมกันกบั เดก็ เกยี่ วกับ (M1-M6) อภปิ รายผลการเรยี นรู้
รูปร่างลักษณะของ 2. ครใู หเ้ ดก็ สารวจรูปร่าง 4. ครูชวนเดก็ มาประดิษฐ์ รว่ มกัน แลว้ ประเมนิ ผล
ตนเองและเพศของเด็ก ลักษณะของตนเองและของ 3. ครใู หเ้ ด็กลองเปรยี บเทียบ “ตกุ๊ ตากระดาษ” โดยกาหนด พัฒนาการเดก็ แต่ละคน
แตล่ ะคน เพอื่ น สนทนารว่ มกนั ถงึ ส่ิงท่ี อวัยวะภายนอกของตนเองกบั เงือ่ นไขคอื "เด็กตอ้ งประดิษฐ์ หลงั สนิ้ สดุ กจิ กรรม
สงั เกตพบ เพื่อนและระหว่างเพอ่ื นกบั ตุ๊กตาและชดุ แต่งกายใหต้ ุก๊ ตา
- ครูนา สืบคน้ จากแหล่งเรยี นรู้ เพ่อื น ตามเพศของตนเอง"
และสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ หนงั สอื ภาพ - อวัยวะของเด็กแตล่ ะคนมี - ครนู าวัสดอุ ปุ กรณม์ าให้เดก็
บัตรภาพ นทิ าน ส่ือตกุ๊ ตาเพอ่ื ขนาดเท่ากนั หรือไม่ สารวจ อธบิ ายและสาธิตวิธกี าร
เรยี นรู้และสรุปเก่ียวกบั - อวยั วะของเด็กกบั เพ่ือนใครมี ทาให้เดก็ ๆ
ลกั ษณะเพศหญิงและเพศชาย ขนาดสงู กว่า, สน้ั กวา่ - ใหเ้ ด็กแต่ละคนออกแบบและ
- อวัยวะสว่ นตา่ งๆมจี านวน ประดษิ ฐ์ตกุ๊ ตากระดาษเพศหญงิ
เทา่ ไหร่ ให้เด็กๆได้นับจานวน หรือเพศชายตามเงื่อนไขท่ี
อวัยวะ กาหนด
- นาเสนอผลงานต๊กุ ตากระดาษ
โดยเดก็ เปน็ ผ้นู าเสนอและอธบิ าย

7

2. นาตกุ๊ ตากระดาษและชุดแตง่ กายตกุ๊ ตามาให้เดก็ สงั เกตและอภปิ ราย แล้วทาให้เดก็ ชว่ ยกนั คัดแยกตกุ๊ ตากระดาษและชดุ แตง่ กายต๊กุ ตา
ตามลักษณะหรือหนา้ ทีก่ ารใช้งาน ตามเกณฑ์ที่กาหนดขึ้นรว่ มกัน

3. นาเดก็ มาทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมท่ี 1.1 - 1.4

กจิ กรรมที่ 1.1 กจิ กรรมท่ี 1.2

กจิ กรรมท่ี 1.3 กจิ กรรมที่ 1.4

8

ส่อื อปุ กรณ์และแหล่งการเรยี นรู้
1. กระดาษแข็งรูปตกุ๊ ตา (ชายและหญงิ )
2. กระดาษสรี ปู ชดุ แต่งกายต่างๆ (ชายและหญงิ )
3. กาว

การวัดและการประเมินผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการรว่ มกิจกรรม
3. สงั เกตจากการปฏิบัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบนั ทกึ การประเมินผลการเรยี นรู้ท้ายเลม่ ของหนงั สือชดุ การเขยี นโค้ดสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมิน* เร่อื งราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก

หวั เร่อื งท่ี 1. ตุก๊ ตากระดาษ

พัฒนาการด้านสติปญั ญา ใบกจิ กรรม 1.1 ใบกิจกรรม 1.2 ใบกิจกรรม 1.3 ใบกิจกรรม 1.4

มฐ.9 ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเร่อื งใหผ้ ้อู ่ืนเขา้ ใจ

9.2 อา่ น เขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มีความสามารถในการคิดทีเ่ ป็นพ้นื ฐานในการเรียนรู้

10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล

10.3 มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลือ่ นไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคตทิ ีด่ ีตอ่ การเรยี นรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มเี จตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้จากผลงานจรงิ ของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกจิ กรรม

ระดบั คะแนนคุณภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบัติได้ดี หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดค้ ลอ่ งแคลว่ และมั่นคง
2 ปฏิบัติได้ หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดบ้ างครง้ั แต่ยังไม่คลอ่ งแคลว่
1 ควรส่งเสรมิ หมายถงึ ยงั แสดงพฤตกิ รรมไดไ้ มช่ ัดเจน

9

2. เร่อื ง ฉนั เคลอ่ื นท่มี ที ศิ ทาง สปั ดาห์ที่ วันที่ / / ถงึ วันที่ / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. สังเกตลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงของส่ิงต่าง ๆ
2. บอกและแสดงทศิ ทางการเคลื่อนทข่ี องสิง่ ต่าง ๆ
3. การใช้ความคดิ ทีเ่ ปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ เพอื่ มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระทคี่ วรเรียนรู้ : เรอื่ งราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก “ตัวเรามกี ารเปลยี่ นแปลงขนาดและรูปรา่ งเมือ่ เจรญิ เตบิ โตขน้ึ ตามลาดับ”
ประสบการณส์ าคญั : การใชภ้ าษา การคดิ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชิงคานวณ การเขียนโค้ดอย่างงา่ ย
ด้านร่างกาย 1.1.2(4)
ด้านอารมณ์จิตใจ 1.2.4(5)
ดา้ นสังคม 1.3.4(3)
ดา้ นสติปัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(14)
แนวทางการจดั กิจกรรมประสบการณ์การเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพ่ือปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอ่ื ง การเจริญเตบิ โตของตวั ฉนั
(ดแู นวทางการจัดกจิ กรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เดก็ อายุ 3-4 ปี หน่วยท่ี 7)

ข้นั นา ข้ันสอน Technology & ขน้ั สรปุ
Science Mathematic Engineering
(T1-T3 & E1-E6) 5. ครนู าสรุปและ
1. ครูนาต้ังคาถามและ (S1-S3) (M1-M6) อภปิ รายผลการเรียนรู้
สนทนาแลกเปล่ยี น 4. ครชู วนเดก็ มาประดิษฐ์ รว่ มกัน แลว้ ประเมินผล
ประสบการณ์เดิมของ 2. ครนู าวีดทิ ัศน์ หนังสือภาพ 3. ครใู ห้เดก็ นับจานวน "แผนภาพการเจรญิ เติบโตของตัว พฒั นาการเด็กแตล่ ะคน
เดก็ เกยี่ วกบั การ นิทาน เรอ่ื งเล่าทีเ่ ก่ียวกบั การ เพือ่ นๆในห้องท่ีเปน็ เพศ เดก็ " โดยกาหนดเง่ือนไขคือ "ให้ หลังสน้ิ สุดกิจกรรม
เจรญิ เติบโตของตวั เด็ก เจรญิ เติบโตของเดก็ มาใหเ้ ดก็ หญงิ และเพศชาย เดก็ นาภาพตวั เด็กเองท่ีชว่ งอายุ
และของเพื่อนๆ เรยี นรแู้ ละสรปุ เกีย่ วกบั การ - เปรียบเทยี บจานวนเพศ 0-1 ป,ี 1-2 ปีและ 2-3 ปี มา
เจรญิ เติบโตของเด็กๆ หญงิ และเพศชาย เรียงตามลาดบั ให้ถกู ต้อง"
- ครนู าภาพแสดงการ - ครนู าวัสดอุ ุปกรณ์สาหรับ
เจรญิ เติบโตของเด็กจานวน ประดษิ ฐแ์ ผนภาพมาให้เดก็
4 ภาพมาใหเ้ ด็กดูทีละคู่ ให้ สารวจและสาธิตใหเ้ ด็กดู
เด็กแสดงลาดับของการ - ให้เด็กออกแบบและประดษิ ฐ์
เจรญิ เตบิ โตตามลาดับ แผนภาพตามเง่ือนไขที่กาหนด
พฒั นาการวา่ ภาพใดเกดิ ขน้ึ - นาเสนอผลงานเด็กแต่ละคน
กอ่ น-หลงั

10

2. นาปา้ ยลูกศรแสดงทศิ ทาง (ซ้าย-ขวา-บน-ล่าง) มาตดิ ลงบนพืน้ สนาม แล้วใหเ้ ด็กสลบั ทาทา่ ทางคลาน เดิน วิ่ง ไปตามทิศทางของ
ลูกศร

3. นาเด็กทากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2.1 – 2.4

กิจกรรมท่ี 2.1 กิจกรรมที่ 2.2

กจิ กรรมที่ 2.3 กิจกรรมท่ี 2.4

11

สอื่ อุปกรณ์และแหล่งการเรยี นรู้
1. กระดาษแขง็
2. ภาพตวั เด็กชว่ งอายุ 0-1ป,ี 1-2ป,ี 2-3ปี
3. กาว
4. กรรไกร
5. สเี ทยี น/สไี ม้
6. ปา้ ยลูกศรแสดงทิศทาง (ซ้าย-ขวา-บน-ล่าง)

การวัดและการประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการรว่ มกจิ กรรม
3. สังเกตจากการปฏบิ ัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบันทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ้ายเลม่ ของหนังสอื ชุดการเขียนโคด้ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมิน* เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตัวเดก็

หัวเรอื่ งที่ 2. ฉันเคล่อื นท่ีมีทิศทาง

พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ใบกจิ กรรม 2.1 ใบกิจกรรม 2.2 ใบกจิ กรรม 2.3 ใบกิจกรรม 2.4

มฐ.9 ใชภ้ าษาส่ือสารได้เหมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเร่อื งใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสญั ลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มีความสามารถในการคดิ ที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้

10.1 มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล

10.3 มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคติท่ดี ีตอ่ การเรยี นรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มีเจตคติท่ดี ตี อ่ การเรียนรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทกึ การประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจริงของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแต่ละใบกจิ กรรม

ระดับคะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏบิ ตั ไิ ด้ดี หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดค้ ลอ่ งแคลว่ และมัน่ คง
2 ปฏิบัตไิ ด้ หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดบ้ างครั้งแต่ยังไม่คลอ่ งแคล่ว
1 ควรส่งเสริม หมายถงึ ยงั แสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

12

3. เรื่อง คนแปลกหนา้ อย่ทู ่ไี หน สัปดาห์ที่ วันที่ / / ถงึ วันท่ี / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกและแสดงตาแหนง่ ทิศทางของสิง่ ตา่ ง ๆ
2. ใช้ภาษาทางคณติ ศาสตรก์ บั เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจาวัน
3. การใช้ความคดิ ท่ีเปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ เพ่อื มาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเด็ก
สาระท่ีควรเรียนรู้ : บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ ม “บุคคลตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นและคนแปลกหนา้ ”
ประสบการณส์ าคญั : การใชภ้ าษา การคิดพ้ืนฐานในการเรียนรู้ การคดิ เชงิ คานวณ การเขยี นโคด้ อย่างงา่ ย
ด้านร่างกาย 1.1.2(4), 1.1.4(2)
ด้านอารมณ์จติ ใจ 1.2.1(6)
ดา้ นสงั คม 1.3.5(2)
ดา้ นสติปัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(3)
แนวทางการจัดกิจกรรมประสบการณ์การเรียนรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพือ่ ปพู ืน้ ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรือ่ ง คนแปลกหนา้ อยู่ท่ไี หน
(ดแู นวทางการจดั กจิ กรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เดก็ อายุ 3-4 ปี หน่วยที่ 12)

ขนั้ นา Science ขน้ั สอน Technology & ข้นั สรปุ
Mathematic Engineering
1. ครูตง้ั คาถามนา (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรุปและ
เกยี่ วกบั บุคคลต่างๆ (M1-M6) อภิปรายผลการ
ในโรงเรยี นเพือ่ ใหเ้ ด็ก 2. ครนู าเด็กสารวจทาความร้จู กั 4. ครชู วนเดก็ มาประดิษฐ์ "แผนผงั เรียนรรู้ ่วมกนั แลว้
เรยี นรเู้ กี่ยวกบั คนตา่ งๆในโรงเรยี นหรือพา 3. ครูนาต้งั คาถามท่ีสนใจ บรเิ วณโรงเรยี น" กาหนดเงื่อนไขคือ ประเมนิ ผล
- บุคคลตา่ งๆใน บคุ คลในโรงเรยี นมาแนะนาให้ เก่ยี วกบั ตาแหน่งที่อยู่ของ "จะตอ้ งนาภาพบุคคลตา่ งๆใน พัฒนาการเด็กแตล่ ะ
โรงเรียนมีใครบ้าง เดก็ ๆรจู้ ักและรว่ มกนั สบื ค้นจาก บคุ คลในโรงเรยี นและของ โรงเรยี นและภาพบุคคลแปลกหน้า คนหลงั ส้ินสุด
- ความสมั พันธข์ อง หนังสือภาพ นทิ าน เรื่องเล่าหรือ บุคคลแปลกหน้าเมือ่ เทยี บกบั มาตดิ ภายในโรงเรยี นหรือภายนอก กจิ กรรม
เด็กๆกับบคุ คลตา่ งๆ วิธกี ารอ่นื ๆ เพอ่ื เรียนรู้และสรปุ บรเิ วณโรงเรยี น โรงเรยี นให้ถูกต้อง"
ในโรงเรียนเป็น เก่ียวกบั คนแปลกหนา้ และการ - เดก็ ๆพบใครบา้ งทอ่ี ย่ขู า้ งใน - แบง่ เด็กออกเป็นกลุ่มยอ่ ย ใหเ้ ด็ก
อยา่ งไร ปฏบิ ตั ิตนของเด็กๆเมื่อพบกบั คน โรงเรยี น แตล่ ะกลมุ่ สารวจวัสดุอุปกรณ์ทีจ่ ะ
- คนแปลกหนา้ คือ แปลกหนา้ - ข้างนอกโรงเรยี นเดก็ ๆเคย ใช้ประดษิ ฐ์แผนผัง
ใคร พบเหน็ ใครบา้ ง - เดก็ แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ออกแบบ
- เดก็ ๆควรทา - ในเวลากลางวันและกลางคนื และประดษิ ฐแ์ ผนผงั บริเวณ
อยา่ งไรเมือ่ พบเจอ เด็กๆพบใครบา้ ง โรงเรยี นและนอกโรงเรียน พรอ้ มตดิ
คนแปลกหน้า ภาพบุคคลตา่ งๆตามเง่ือนไข
- นาเสนอผลงานของแต่ละกล่มุ โดย
เดก็ เป็นผู้นาเสนอ

13

2. เขียนเสน้ ทพ่ี ้ืนสนาม แสดงแผนผังบรเิ วณต่าง ๆ ในโรงเรยี น เช่น ห้องเรียน หอ้ งอาหาร หอ้ งน้า เปน็ ตน้ แล้วร่วมกนั สรา้ งชดุ คาสั่งเพอ่ื
สั่งใหเ้ ด็กเคล่ือนทไ่ี ปยัง “ขา้ งใน” และ “ข้างนอก” บรเิ วณตา่ ง ๆ ชุดคาสั่งแบบที่ 1 ใช้เสยี งพดู แบบท่ี 2 ไมใ่ ช้เสียงพูด แบบท่ี 3 ใช้สัญลกั ษณ์

3. นาเดก็ ทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมที่ 3.1 – 3.4

กจิ กรรมที่ 3.1 กจิ กรรมที่ 3.2

กิจกรรมท่ี 3.3 กิจกรรมที่ 3.4

14

สื่อ อปุ กรณแ์ ละแหลง่ การเรียนรู้
1. กระดาษ A3
2. ภาพบคุ คลตา่ ง ๆ ในโรงเรียน
3. ภาพบคุ คลแปลกหน้า
4. กาว
5. กรรไกร

การวดั และการประเมินผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการรว่ มกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รือทดลองจริง
4. แบบบันทึกการประเมนิ ผลการเรียนรู้ท้ายเลม่ ของหนงั สือชุดการเขียนโคด้ สาหรับเดก็ ปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมิน* บุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็

หัวเรื่องที่ 3. คนแปลกหนา้ อยทู่ ีไ่ หน

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ใบกจิ กรรม 3.1 ใบกจิ กรรม 3.2 ใบกิจกรรม 3.3 ใบกิจกรรม 3.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสญั ลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคดิ ท่ีเป็นพนื้ ฐานในการเรยี นรู้

10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคิดเชงิ เหตผุ ล

10.3 มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มีเจตคติทดี่ ตี อ่ การเรยี นรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทึกการประเมินผลการเรยี นรู้จากผลงานจริงของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกิจกรรม

ระดบั คะแนนคุณภาพ (Rubrics)
3 ปฏบิ ัติได้ดี หมายถงึ แสดงพฤติกรรมไดค้ ล่องแคล่วและมัน่ คง
2 ปฏิบัติได้ หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมได้บางครั้งแต่ยังไม่คลอ่ งแคลว่
1 ควรส่งเสรมิ หมายถึง ยังแสดงพฤตกิ รรมไดไ้ มช่ ดั เจน

15

4. เร่ือง เทยี่ วตลาดผลไม้ สปั ดาหท์ ี่ วนั ท่ี / / ถงึ วันท่ี / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สังเกตลกั ษณะสว่ นประกอบส่งิ ตา่ ง ๆ จากมุมมองทีต่ า่ งกนั
2. คดั แยกหรือจาแนก เรยี งลาดับส่งิ ต่าง ๆ ตามลกั ษณะรปู ร่างและรปู ทรง
3. การใช้ความคดิ ทีเ่ ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ เพอื่ มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวยั เดก็
สาระท่คี วรเรยี นรู้ : บคุ คลและสถานท่ีแวดล้อมเดก็ “ชมุ ชนและบคุ คลต่าง ๆ ทเี่ ด็กรู้จัก เชน่ ตลาดผลไม้”
ประสบการณ์สาคัญ : การใชภ้ าษา การคดิ พืน้ ฐานในการเรยี นรู้ การคดิ เชงิ คานวณ การเขียนโค้ดอยา่ งง่าย
ดา้ นรา่ งกาย 1.1.2(4)
ด้านอารมณจ์ ติ ใจ 1.2.1(6)
ดา้ นสังคม 1.3.2(2), 1.3.6(1)
ดา้ นสตปิ ญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(3)
แนวทางการจดั กจิ กรรมประสบการณ์การเรียนรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพอ่ื ปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เร่อื ง ถงุ กระดาษใสผ่ ลไม้
(ดแู นวทางการจดั กจิ กรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เดก็ อายุ 3-4 ปี หนว่ ยที่ 13)

ขน้ั นา Science ข้ันสอน Technology & ข้ันสรปุ
Mathematic Engineering
1. ครูสนทนาร่วมกนั (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครนู าสรปุ และ
กบั เด็กเก่ียวกับตลาด (M1-M6) อภปิ รายผลการเรียนรู้
ผกั และผลไม้ 2. ครนู าเดก็ ๆไปสารวจตลาดผกั 4. ครูชวนเดก็ มาประดษิ ฐ์ “ถุง ร่วมกนั แลว้ ประเมินผล
- ใหเ้ ดก็ ๆเลา่ และผลไม้ใกล้โรงเรียน(ถ้ามี) หรอื 3. ครูให้เดก็ ๆนับจานวนและ กระดาษใส่ผลไม้” โดยกาหนด พัฒนาการเดก็ แต่ละคน
ประสบการณ์การไป อาจเปิดวีดที ัศน์ รปู ภาพตลาดผัก เปรียบเทียบจานวนผกั หรือ เง่อื นไขคอื "ถงุ กระดาษตอ้ ง หลังส้นิ สุดกจิ กรรม
ตลาดผกั และผลไม้ และผลไม้ ใหเ้ ด็กๆสงั เกตลกั ษณะ ผลไมใ้ นร้านค้าทม่ี ีจานวนไม่ สามารถใสส่ ม้ ไดจ้ านวน 5 ผล
ของตลาด เกิน 10 โดยไมข่ าด"
- บรเิ วณตลาดมอี ะไรบา้ ง - มแี ตงโมกี่ผล - แบ่งเด็กออกเป็นกลุม่ ย่อยแล้ว
- พ่อค้า แมค่ า้ เป็นผู้ซ้ือหรือผขู้ าย - แตงโมกับสม้ อะไรมี ให้เดก็ แตล่ ะกลุ่มสารวจวสั ดุ
- ผกั และผลไม้มีชื่ออะไรบ้าง มากกวา่ กัน อปุ กรณท์ ่จี ะใชป้ ระดษิ ฐ์
- รา้ นขายแตงโมกับรา้ นขาย - ให้เดก็ แต่ละกล่มุ ร่วมกัน
ทเุ รยี นต้ังอยตู่ รงไหนของ ออกแบบและประดษิ ฐ์ถุง
ตลาด กระดาษใหเ้ ป็นไปตามเง่ือนไขที่
กาหนด
- นาเสนอผลงานของแตล่ ะกลมุ่
โดยให้เดก็ เปน็ ผ้นู าเสนอและ
อธิบาย

16

2. นาผลไมท้ เุ รยี นของจรงิ มาให้เดก็ สงั เกตรูปรา่ ง ลกั ษณะภายนอก นาต้งั คาถามท่สี นใจร่วมกนั เชน่ ผลไม้ทเุ รยี น มคี วามเหมอื นและ
ความแตกต่างจากผลไม้อืน่ ๆ ที่เดก็ รู้จกั หรอื ไม่ แลว้ ให้เด็กวาดรูปผลไมท้ เุ รยี น

3. นาเด็กทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมท่ี 4.1 – 4.4

กจิ กรรมที่ 4.1 กจิ กรรมที่ 4.2

กิจกรรมท่ี 4.3 กิจกรรมที่ 4.4

17

สอื่ อปุ กรณ์และแหล่งการเรยี นรู้
1. กระดาษ A3
2. กาว/เทปกาว
3. ผลไม้ของจริง ไดแ้ ก่ สม้ ทเุ รียน

การวดั และการประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการร่วมกิจกรรม
3. สงั เกตจากการปฏิบัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบนั ทกึ การประเมินผลการเรียนรู้ท้ายเลม่ ของหนงั สอื ชุดการเขยี นโคด้ สาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมนิ * บุคคลและสถานท่แี วดลอ้ มเดก็

หัวเร่ืองท่ี 4. เท่ียวตลาดผลไม้

พฒั นาการด้านสติปัญญา ใบกจิ กรรม 4.1 ใบกิจกรรม 4.2 ใบกจิ กรรม 4.3 ใบกิจกรรม 4.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเร่อื งให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตผุ ล

10.3 มีความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาและตดั สินใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงทา่ ทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคติทีด่ ตี อ่ การเรียนรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรูไ้ ด้เหมาะสมกับวยั

12.2 มเี จตคติที่ดตี อ่ การเรยี นรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้จากผลงานจริงของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกจิ กรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบัติไดด้ ี หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดค้ ลอ่ งแคลว่ และม่ันคง
2 ปฏิบตั ไิ ด้ หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมไดบ้ างคร้งั แต่ยังไมค่ ล่องแคล่ว
1 ควรส่งเสริม หมายถงึ ยังแสดงพฤติกรรมไดไ้ ม่ชดั เจน

18

5. เรอื่ ง สง่ิ มีชวี ิตและสง่ิ ไม่มีชีวิต สปั ดาห์ท่ี วนั ท่ี / / ถึงวันท่ี / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สังเกตลกั ษณะแบบรปู การทาซ้า ต่อเติมแบบรูป
2. คาดเดาหรอื คาดคะเนส่งิ ที่อาจจะเกดิ ข้ึนอย่างมีเหตุผล
3. การใช้ความคิดทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานในการเรียนรู้ เพื่อมาแกป้ ัญหาต่าง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเด็ก
สาระท่ีควรเรียนรู้ : ธรรมชาตริ อบตวั “ลกั ษณะต่าง ๆ ของสิง่ มีชีวิตและสิ่งไมม่ ชี ีวติ ”
ประสบการณ์สาคญั : การใชภ้ าษา การคดิ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ การคดิ เชงิ คานวณ การเขียนโค้ดอย่างงา่ ย

ด้านรา่ งกาย 1.1.2(4)
ด้านอารมณ์จติ ใจ 1.2.4(5)
ดา้ นสังคม 1.3.2(2), 1.3.4(3)
ด้านสตปิ ญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(4)

แนวทางการจัดกิจกรรมประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (Active Learning)
1. จดั กิจกรรมเพื่อปูพืน้ ฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เรือ่ ง กล่องเกบ็ สิง่ ที่ไม่มีชวี ิต
(ดูแนวทางการจัดกจิ กรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เด็กอายุ 3-4 ปี หนว่ ยท่ี 17)

ข้ันนา ขัน้ สอน ขนั้ สรุป

Science Mathematic Technology & 5. ครนู าสรุปและ
Engineering อภิปรายผลการเรยี นรู้
1. ครูสนทนารว่ มกนั (S1-S3) (M1-M6) (T1-T3 & E1-E6) ร่วมกนั แลว้ ประเมนิ ผล
กับเดก็ เกีย่ วกับลกั ษณะ พฒั นาการเด็กแตล่ ะคน
ของสง่ิ มีชีวติ และ 2. ครูนาตั้งคาถามเกี่ยวกบั 3. ครูใหเ้ ด็กนบั จานวนและ 4. ครูชวนเดก็ มาประดษิ ฐ์ "กลอ่ ง หลงั สิน้ สดุ กจิ กรรม
สงิ่ ไมม่ ชี ีวติ ลักษณะของสิ่งมีชีวติ แลว้ พา เปรยี บเทยี บจานวนของ เก็บสงิ่ ไม่มีชวี ิต" โดยกาหนด
เดก็ ๆสงั เกตสตั วห์ รือพชื ท่สี นใจท่ี สงิ่ มชี วี ติ และส่งิ ไมม่ ชี วี ิตท่ี เง่ือนไขคอื "ต้องเปน็ กลอ่ งทรง
ไมเ่ ปน็ อนั ตรายในบรเิ วณ สนใจและปลอดภยั ส่ีเหลย่ี มมมุ ฉากท่เี ดก็ ใช้สองมือ
โรงเรยี น เพ่อื สรปุ ลกั ษณะและ กาได้รอบและมฝี าเปดิ ปดิ ได้"
พฤตกิ รรมของส่ิงที่มชี ีวิต - ครูนาวัสดอุ ปุ กรณ์มาใหเ้ ดก็
- ครูนาตัง้ คาถามเก่ียวกบั สารวจอธิบายและสาธิตการ
ลักษณะของสิ่งไม่มีชวี ิต พาเดก็ ๆ ประดิษฐ์กล่อง
สังเกตสิง่ ไมม่ ชี วี ติ ทีส่ นใจทไี่ ม่เป็น - ให้เด็กออกแบบและประดิษฐ์
อนั ตรายในบริเวณโรงเรยี นและ กลอ่ งเก็บสงิ่ ไม่มชี วี ติ ตามเงอื่ นไข
สนทนาเพือ่ สรุปลักษณะและ ทก่ี าหนด
พฤติกรรมของสิง่ ไมม่ ชี ีวิต - นากล่องไปเก็บตวั อย่างสิ่งทไี่ ม่
- ครูนาสรปุ ความเหมือนและ มชี วี ิต 5 ตัวอยา่ งที่ไมซ่ ้ากนั
ความแตกต่างของส่งิ มชี วี ิตและ - นาเสนอผลงานโดยเดก็ เป็นผู้
สิ่งไม่มีชวี ติ อธิบาย

19

2. นาตวั อย่างสิ่งทไ่ี มม่ ีชีวิตของแตล่ ะกลมุ่ มาใหเ้ ดก็ สังเกตและอภปิ ราย แล้วให้เดก็ ช่วยกนั คดั แยกตัวอยา่ งของสิ่งท่ไี ม่มีชวี ติ ตามลักษณะ
หรอื ตามเกณฑท์ ่ีกาหนดขึน้ รว่ มกนั

3. นาเด็กทากจิ กรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 5.1 – 5.4

กิจกรรมที่ 5.1 กจิ กรรมท่ี 5.2

กจิ กรรมที่ 5.3 กิจกรรมท่ี 5.4

20

ส่อื อุปกรณ์และแหล่งการเรยี นรู้
1. กลอ่ งนมหรือกลอ่ งขนม
2. กาว
3. เทปกาว
4. กรรไกร

การวดั และการประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการร่วมกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบนั ทกึ การประเมินผลการเรยี นรู้ท้ายเลม่ ของหนงั สือชุดการเขยี นโค้ดสาหรับเดก็ ปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมนิ * ธรรมชาติรอบตัว

หัวเร่อื งท่ี 5. สิง่ มชี วี ติ และส่งิ ไมม่ ีชีวติ

พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ใบกจิ กรรม 5.1 ใบกิจกรรม 5.2 ใบกจิ กรรม 5.3 ใบกิจกรรม 5.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสือ่ สารได้เหมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ

9.2 อา่ น เขียนภาพและสญั ลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มีความสามารถในการคิดทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตผุ ล

10.3 มีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตัดสินใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงทา่ ทาง/เคลือ่ นไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคติทด่ี ีต่อการเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับวยั

12.2 มเี จตคติทีด่ ตี ่อการเรยี นรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกิจกรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบัตไิ ด้ดี หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดค้ ลอ่ งแคล่วและม่ันคง
2 ปฏบิ ตั ิได้ หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้บางคร้งั แต่ยังไมค่ ลอ่ งแคลว่
1 ควรส่งเสรมิ หมายถงึ ยังแสดงพฤตกิ รรมไดไ้ มช่ ดั เจน

21

6. เรื่อง ตน้ ถวั่ งอกเติบโตมาจากอะไร สัปดาห์ท่ี วนั ท่ี / / ถึงวันที่ / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สังเกตลกั ษณะส่วนประกอบการเปลยี่ นแปลงส่ิงต่าง ๆ
2. บอกและเรียงลาดับกจิ กรรมหรอื เหตุการณต์ ามช่วงเวลาได้
3. การใชค้ วามคิดท่เี ป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้ เพ่ือมาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระท่ีควรเรยี นรู้ : ธรรมชาตริ อบตัว “การเจรญิ เติบโตและการดารงชีวิตของสัตวแ์ ละพืช”
ประสบการณส์ าคญั : การใช้ภาษา การคดิ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชงิ คานวณ การเขียนโค้ดอยา่ งง่าย
ดา้ นร่างกาย 1.1.2(5)
ด้านอารมณ์จิตใจ 1.2.5(1)
ดา้ นสงั คม 1.3.2(4)
ด้านสติปญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจดั กจิ กรรมประสบการณก์ ารเรียนรู้ (Active Learning)

1. จดั กิจกรรมเพ่อื ปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เร่ือง ต้นถัว่ งอก
(ดแู นวทางการจดั กจิ กรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เด็กอายุ 3-4 ปี หน่วยท่ี 18)

ขน้ั นา Science ขน้ั สอน Technology & Engineering ขั้นสรปุ
Mathematic (T1-T3 & E1-E6)
1. ครูนาสนทนาร่วมกนั (S1-S3) 5. ครนู าสรปุ และ
กบั เดก็ เกี่ยวกับ (M1-M6) 4. ครชู วนเดก็ มาทดลอง "ตน้ ถ่วั งอก อภปิ รายผลการเรียนรู้
ประสบการณเ์ ดมิ ของ 2. ครนู าเด็กสารวจ สบื ค้น มาจากไหน" กาหนดเง่ือนไขคือ รว่ มกนั แลว้ ประเมนิ ผล
เด็กในเรอื่ งถ่ัวงอก เก่ียวกบั การเจรญิ เติบโตของ 3. ครูนาตัวอย่างเมล็ดถั่ว "เด็กๆต้องได้คาตอบวา่ ตน้ ถ่ัวงอก พัฒนาการเด็กแตล่ ะคน
ร่วมกันตัง้ คาถามท่ี ถ่วั งอกจากหนงั สือ นทิ าน เขียว เมล็ดมะขามและก้อน เติบโตมาจากอะไร เมือ่ นาเมลด็ ถ่วั หลงั สิ้นสดุ กิจกรรม
น่าสนใจเกีย่ วกับต้น ภาพโปสเตอรห์ รอื แหล่ง กรวดมาใหเ้ ด็กๆดู ครู เขียว เมลด็ มะขามและก้อนกรวดมา
ถ่วั งอก เรียนรอู้ ่ืนๆเพือ่ เรยี นรู้ กระตุ้นเดก็ ตัง้ คาถามเพอ่ื ทดลองเพาะปลกู "
- ใครรจู้ กั ถัว่ งอกบา้ ง เกย่ี วกบั การเจรญิ เติบโตของ เรยี นรเู้ ก่ยี วกับ - แบง่ เด็กออกเป็นกล่มุ ย่อย ให้เดก็ แต่
- ถว่ั งอกมรี ูปร่าง ถั่วงอก - การนับจานวนเมล็ด ละกลมุ่ สารวจวสั ดุอุปกรณ์
ลักษณะอยา่ งไร - ต้นถวั่ งอกมาจากไหน มะขาม, เมลด็ ถั่วเขยี ว, ก้อน - เดก็ ๆรว่ มกนั ออกแบบและทดลอง
- ตน้ ถัว่ งอกมีชีวติ หรือไม่ กรวด เพาะปลกู ตามเง่ือนไขท่กี าหนด
- การเปรียบเทยี บจานวน - เด็กๆพรมน้าทกุ เช้าและเยน็ ทกุ วัน
เมล็ดมะขามกบั กอ้ นกรวด ใหเ้ ด็กสังเกตการเจรญิ เติบโตทกุ วัน
และเมล็ดถ่ัวเขียว เป็นเวลา 4 วนั
- เม่ือครบ 4 วันแลว้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ
นาเสนอผลงานการปลกู ต้นถว่ั งอกวา่
เตบิ โตมาจากอะไร

22

2. นาบัตรภาพแสดงลาดบั การเจรญิ เติบโตของตน้ ถ่ัวงอกมาให้เดก็ สงั เกตและอภิปราย แล้วใหเ้ ด็กเรียงลาดบั บตั รภาพ และอธบิ าย
เหตผุ ลของการจดั ลาดับบตั รภาพ

3. นาเดก็ ทากจิ กรรมตามใบกิจกรรมท่ี 6.1 – 6.4

กจิ กรรมท่ี 6.1 กิจกรรมท่ี 6.2

กจิ กรรมท่ี 6.3 กจิ กรรมที่ 6.4

23

สอื่ อปุ กรณ์และแหล่งการเรยี นรู้
1. จานพลาสติก
2. กระดาษทิชชู
3. เมล็ดถ่ัวเขยี ว
4. เมล็ดมะขาม
5. กอ้ นกรวด
6. บัตรภาพแสดงลาดบั การเจรญิ เตบิ โตของต้นถั่วงอก

การวัดและการประเมินผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการร่วมกจิ กรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รือทดลองจริง
4. แบบบันทกึ การประเมินผลการเรยี นรู้ทา้ ยเลม่ ของหนงั สอื ชุดการเขียนโค้ดสาหรับเด็กปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทกึ ผลการประเมิน* ธรรมชาติรอบตัว

หวั เร่ืองที่ 6. ต้นถวั่ งอกเตบิ โตมาจากอะไร

พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา ใบกิจกรรม 6.1 ใบกจิ กรรม 6.2 ใบกิจกรรม 6.3 ใบกิจกรรม 6 .4

มฐ.9 ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วัย

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอ่ื งใหผ้ ้อู น่ื เข้าใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสัญลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคดิ ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้

10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด

10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล

10.3 มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคล่ือนไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มีเจตคติที่ดตี อ่ การเรยี นรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทึกการประเมินผลการเรยี นร้จู ากผลงานจริงของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแต่ละใบกจิ กรรม

ระดับคะแนนคุณภาพ (Rubrics)
3 ปฏบิ ตั ิไดด้ ี หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ล่องแคลว่ และมน่ั คง
2 ปฏิบัตไิ ด้ หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้บางคร้งั แตย่ ังไม่คลอ่ งแคล่ว
1 ควรส่งเสรมิ หมายถงึ ยงั แสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

24

7. เรอื่ ง ความลบั ของบาร์โค้ด สัปดาห์ที่ วันท่ี / / ถงึ วนั ที่ / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ ความสัมพนั ธข์ องส่ิงตา่ ง ๆ
2. การคัดแยกหรอื จาแนก การจดั กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด
3. การใช้ความคิดท่เี ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ เพอื่ มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวยั เดก็
สาระท่ีควรเรียนรู้ : ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็ “ของเล่นของใชร้ อบตัวมชี ือ่ ลักษณะและสว่ นประกอบแตกต่างกัน”
ประสบการณส์ าคญั : การใช้ภาษา การคดิ พื้นฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชงิ คานวณ การเขยี นโคด้ อยา่ งงา่ ย
ด้านร่างกาย 1.1.2(4)
ด้านอารมณจ์ ิตใจ 1.2.1(6)
ดา้ นสังคม 1.3.1(2), 1.3.6(1)
ด้านสติปญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจัดกจิ กรรมประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จดั กจิ กรรมเพ่อื ปพู นื้ ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอ่ื ง อุปกรณ์เครอื่ งเขียน
(ดูแนวทางการจดั กิจกรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเด็กอายุ 3-4 ปี หน่วยท่ี 25)

ขน้ั นา Science ขัน้ สอน Technology & ขน้ั สรปุ
Mathematic Engineering
1. ครูนาตั้งคาถาม (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรุปและ
สนทนาแลกเปลี่ยน (M1-M6) อภิปรายผลการเรยี นรู้
ประสบการณเ์ ดิมของ 2. ครูใหเ้ ด็กสังเกตของเล่นของใช้ 4. ครูชวนเดก็ มาประดษิ ฐ์ "ชน้ั รว่ มกัน แลว้ ประเมินผล
เดก็ เกีย่ วกบั ลกั ษณะ ในห้องเรยี นดว้ ยประสาทสมั ผัส 3. ครใู หเ้ ด็กช่วยกันคดั เลือก เกบ็ อปุ กรณเ์ คร่อื งเขยี น" โดย พัฒนาการเดก็ แตล่ ะคน
และส่วนประกอบของ บอกชอื่ ลกั ษณะสว่ นประกอบ อุปกรณเ์ คร่อื งเขยี นออกมา กาหนดเงอื่ นไขคือ "ตอ้ งมชี ่อง หลังสิ้นสดุ กจิ กรรม
เลน่ ของใช้ต่างๆรอบตัว ของสิง่ ของน้นั จดั กลุ่มของเลน่ กองไวร้ วมกนั สาหรบั เกบ็ จานวน 3 ชอ่ ง"
ของใช้ตามลกั ษณะและ - ใหเ้ ด็กลองแยกอุปกรณ์ - แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่มยอ่ ยแลว้
สว่ นประกอบที่เหมือนกันตาม เคร่อื งเขียนตามรปู ทรง ให้เด็กสารวจวัสดอุ ุปกรณ์ทจี่ ะใช้
เกณฑ์ของตนเอง เรขาคณิตตา่ งๆ ประดษิ ฐ์
- ร่วมกันต้งั คาถามทีน่ ่าสนใจ - ใหเ้ ดก็ นบั จานวนสีเทียน - แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันออกแบบและ
เก่ยี วกบั ประโยชน์และโทษของ หรือสไี ม้ ประดิษฐช์ นั้ อปุ กรณ์เครอื่ งเขยี น
ของเลน่ ของใช้ - ให้เด็กเปรียบเทยี บจานวน ตามเงือ่ นไข
- สังเกต สืบคน้ เพ่ือเรียนรแู้ ละ ของอปุ กรณ์เครือ่ งเขียน - นาเสนอผลงานประดษิ ฐ์ของแต่
สรุปวธิ กี ารใชส้ ่ิงของเครื่องใช้ ประเภทตา่ งๆ ละกลุ่มโดยให้เด็กเปน็ ผนู้ าเสนอ
ตา่ งๆให้ถกู ตอ้ งไมเ่ กดิ โทษ - ใหเ้ ดก็ เปรียบเทียบความ และอธบิ าย
ยาวสั้นของสเี ทยี นกบั สไี ม้

25

2. เตรียมตะกรา้ มา 3 ใบ ใบท่ี 1 สาน้าเงิน สาหรบั เกบ็ อปุ กรณเ์ ครอื่ งเขยี น ใบที่ 2 สีชมพู สาหรบั เกบ็ ภาชนะรับประทานอาหาร และใบ
ท่ี 3 สีแดง สาหรับเกบ็ เครอ่ื งแตง่ กาย แล้วใหเ้ ดก็ ๆ ช่วยกนั นาสง่ิ ของเคร่ืองใชต้ ่าง ๆ มาใส่ลงในตะกรา้ ใหถ้ ูกตอ้ ง

3. นาเดก็ ทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 7.1 – 7.4

กิจกรรมที่ 7.1 กิจกรรมที่ 7.2

กจิ กรรมที่ 7.3 กิจกรรมที่ 7.4

26

สอ่ื อุปกรณแ์ ละแหลง่ การเรยี นรู้
1. กลอ่ งนม
2. กรรไกร
3. เทปกาว
4. วสั ดุสาหรับใชต้ กแต่งให้สวยงาม
5. กระดาษสี
6. กาว
7. ตะกร้า 3 ใบ (สีแดง, สีน้าเงนิ , สีชมพู)

การวดั และการประเมนิ ผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการรว่ มกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบันทึกการประเมินผลการเรียนรทู้ ้ายเลม่ ของหนงั สอื ชุดการเขียนโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทึกผลการประเมนิ * สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเดก็

หัวเร่อื งที่ 7. ความลับของบารโ์ คด้

พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ใบกจิ กรรม 7.1 ใบกจิ กรรม 7.2 ใบกิจกรรม 7.3 ใบกจิ กรรม 7.4

มฐ.9 ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโต้ตอบและเลา่ เร่ืองใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจ

9.2 อ่าน เขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคิดทีเ่ ป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรู้

10.1 มีความสามารถในการคิดรวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล

10.3 มีความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาและตดั สินใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงทา่ ทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั

12.2 มีเจตคติท่ดี ตี อ่ การเรยี นรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทกึ การประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในช่อง  ของแต่ละใบกิจกรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบตั ิได้ดี หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ลอ่ งแคล่วและมั่นคง
2 ปฏิบตั ไิ ด้ หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้บางครั้งแตย่ งั ไม่คล่องแคล่ว
1 ควรส่งเสรมิ หมายถงึ ยังแสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

27

8. เรอ่ื ง คุณพอ่ พาเที่ยว สปั ดาห์ท่ี วันที่ / / ถงึ วันที่ / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. แกป้ ัญหาอยา่ งง่ายไดเ้ หมาะสมกบั วยั
2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางานโดยใชภ้ าพ และ/หรอื สญั ลกั ษณ์
3. การเขยี นโคด้ อย่างง่ายโดยใชส้ ือ่ แบบไมใ่ ช่คอมพิวเตอรไ์ ดเ้ หมาะสมวยั
สาระทค่ี วรเรียนรู้ : ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั เดก็ “ส่วนประกอบของยานพาหนะและการคมนาคม”
ประสบการณส์ าคัญ : การใชภ้ าษา การคิดพื้นฐานในการเรยี นรู้ การคดิ เชงิ คานวณ การเขยี นโคด้ อยา่ งง่าย
ดา้ นร่างกาย 1.1.2(4)
ด้านอารมณ์จติ ใจ 1.2.5(1)
ดา้ นสังคม 1.3.2(2), 1.3.6(1)
ด้านสติปญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจัดกจิ กรรมประสบการณก์ ารเรียนรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพือ่ ปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอ่ื ง ลอ้ รถหมุนได้
(ดูแนวทางการจดั กจิ กรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเดก็ อายุ 3-4 ปี หน่วยที่ 30)

ข้ันนา Science ขนั้ สอน Technology & ขน้ั สรุป
Mathematic Engineering
1. สนทนาแลกเปล่ียน (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครนู าสรุปและ
ประสบการณ์เดมิ ของ (M1-M6) อภิปรายผลการเรียนรู้
เด็กเก่ียวกบั 2. ครูนาเด็กไปสารวจและสงั เกต 4. ครชู วนเดก็ มาประดิษฐ์ "รถ ร่วมกัน แลว้ ประเมนิ ผล
ยานพาหนะทางบก ยานพาหนะทางบก ไดแ้ ก่ รถ 3. ครนู ารถของเลน่ มาให้เดก็ จากเศษวสั ด"ุ โดยกาหนดเงอื่ นไข พฒั นาการเดก็ แตล่ ะคน
แลว้ ใหค้ รูเลา่ นิทาน ตา่ งๆท่ีมีอยภู่ ายในโรงเรียน ดู เชน่ รถยนต์ รถเมล์ คอื "ล้อของรถประดิษฐต์ อ้ ง หลงั ส้นิ สดุ กจิ กรรม
เกย่ี วกบั การเดินทาง - ยานพาหนะแตล่ ะประเภทมชี อ่ื รถบรรทกุ รถสามล้อ สามารถหมุนไดท้ ้ัง 4 ลอ้ "
แล้วสนทนาร่วมกนั เรียกอะไรบ้าง รถจักรยาน รถไฟ - ใหเ้ ด็กสารวจวัสดอุ ปุ กรณท์ จี่ ะ
เกย่ี วกบั เนอ้ื หานทิ าน - มรี ปู ร่าง ลกั ษณะและ - ให้เดก็ สงั เกตและนับ ใชป้ ระดิษฐ์
และต้ังคาถาม สว่ นประกอบอยา่ งไร จานวนลอ้ รถของรถแตล่ ะ - แบง่ เด็กออกเป็นกลุ่มยอ่ ยแลว้
- ยานพาหนะมีก่ี - เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ประเภท ใหเ้ ด็กแต่ละกล่มุ รว่ มกัน
ประเภท จากนนั้ ใหเ้ ดก็ กลบั เขา้ หอ้ งเรยี น - ใหเ้ ด็กเปรยี บเทยี บจานวน ออกแบบและประดษิ ฐ์
- เด็กๆมาโรงเรียนดว้ ย แลว้ วาดภาพยานพาหนะทางบก ลอ้ รถแตล่ ะประเภทวา่ มี - เด็กแต่ละกลุ่มทดสอบและ
วิธีการใดบ้าง ทเ่ี ดก็ ชอบ จานวนเทา่ กันหรือไม่เท่ากัน ปรับปรุงแกไ้ ขรถประดษิ ฐใ์ หต้ รง
- เด็กสงสัยอะไรเกีย่ วกับรถ ตามเง่อื นไขที่กาหนด
ของเล่นบ้าง - นาเสนอผลงานประดษิ ฐ์ของแต่
- เด็กๆคิดว่ารถเคลอื่ นท่ไี ด้ ละกล่มุ โดยให้เดก็ เปน็ ผนู้ าเสนอ
อย่างไร และอธิบาย

28

2. นาบัตรคาส่ังลกู ศรแสดงแทนทศิ ทาง (  ,  ,  ,  ) มาอธบิ ายและสาธิตให้เดก็ เขา้ ใจการเคลอ่ื นที่ตามบตั รคาส่ังลกู ศร แลว้
ใหเ้ ดก็ ๆ เล่นเกมเคลื่อนท่ีตามบัตรคาสัง่ โดยยืนจดุ เรม่ิ ตน้ ในช่องตารางกรดิ 3x3 ท่คี รูตีเสน้ เตรียมไวแ้ ละเคล่ือนทีไ่ ปตามบัตรคาสงั่ ทค่ี รกู าหนดให้

3. นาเด็กทากิจกรรมตามใบกิจกรรมท่ี 8.1 – 8.4

กิจกรรมท่ี 8.1 กจิ กรรมที่ 8.2

กจิ กรรมที่ 8.3 กิจกรรมท่ี 8.4

29

สอ่ื อปุ กรณ์และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสอื นิทานเก่ียวกับการเดนิ ทาง, รถของจรงิ , รถของเลน่
2. กลอ่ งขนม, กระดาษส,ี หลอดกาแฟ, ไม้เสียบลูกชิ้น, ไม้ไอศกรีม
3. เชือก, หนังยาง, ขวดน้า, ฝาขวดน้า, แกนทชิ ชู
4. กระดาษA4, ดนิ สอ, สเี ทยี น, ยางลบ, กรรไกร, กาว, เทปกาว
5. บตั รคาส่งั ลูกศร แสดงทิศทาง ( ,,,)

การวัดและการประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการร่วมกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏบิ ัตหิ รอื ทดลองจรงิ
4. แบบบันทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ า้ ยเลม่ ของหนังสือชดุ การเขียนโค้ดสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ 3-4 ปี

บันทกึ ผลการประเมนิ * สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

หัวเรื่องท่ี 8. คุณพ่อพาเทย่ี ว

พัฒนาการดา้ นสติปัญญา ใบกจิ กรรม 8.1 ใบกิจกรรม 8.2 ใบกจิ กรรม 8.3 ใบกิจกรรม 8.4

มฐ.9 ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วัย

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอื่ งให้ผู้อ่นื เข้าใจ

9.2 อา่ น เขียนภาพและสญั ลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคิดทีเ่ ปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตผุ ล

10.3 มีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตดั สินใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรยี นรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทึกการประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเด็ก โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกจิ กรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบตั ิได้ดี หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ลอ่ งแคลว่ และมน่ั คง
2 ปฏบิ ัติได้ หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดบ้ างครั้งแต่ยังไม่คลอ่ งแคล่ว
1 ควรสง่ เสรมิ หมายถงึ ยังแสดงพฤตกิ รรมไดไ้ ม่ชัดเจน

30

ตวั อยา่ งกจิ กรรม
สาหรบั เด็กระดบั ช้ันอนบุ าล 2 (อายุ 4-5 ป)ี

1 • เรอื่ ง โปสเตอรต์ วั ฉัน
2 • เร่ือง แผนภาพการเจริญเติบโต
3 • เรอื่ ง ครอบครวั ผกู พัน
4 • เรอื่ ง มอี ะไรอยู่ในโรงเรียน
5 • เรื่อง หนูนอ้ ยนกั สารวจ
6 • เรอ่ื ง โลกสีน้าเงิน
7 • เร่ือง แม่สีสรา้ งสรรค์
8 • เรอ่ื ง เทย่ี วเมืองจราจร

31

1. เรอ่ื ง โปสเตอร์ตวั ฉัน สปั ดาห์ที่ วนั ที่ / / ถึงวนั ที่ / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกตลักษณะส่วนประกอบของสิง่ ต่าง ๆ
2. การบอกและแสดงตาแหน่ง ทศิ ทางของส่ิงต่าง ๆ
3. การใช้ความคิดทเ่ี ป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรู้ เพ่ือมาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวยั เดก็
สาระทคี่ วรเรยี นรู้ : เร่อื งราวเก่ยี วกบั ตัวเดก็ “ชอ่ื เพศ ลักษณะและรปู ร่างภายนอกของตนเอง”
ประสบการณ์สาคญั : การใช้ภาษา การคดิ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชิงคานวณ การเขยี นโคด้ อย่างงา่ ย
ดา้ นรา่ งกาย 1.1.2(2)
ดา้ นอารมณ์จติ ใจ 1.2.1(5)
ดา้ นสงั คม 1.3.5(2), 1.3.6(1)
ดา้ นสติปญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจัดกิจกรรมประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จดั กจิ กรรมเพอ่ื ปพู ื้นฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอื่ ง โปสเตอรต์ ัวฉนั
(ดแู นวทางการจดั กจิ กรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเด็กอายุ 4-5 ปี หน่วยท่ี 1)

ขั้นนา Science ขนั้ สอน Technology & ขนั้ สรปุ
Mathematic Engineering
1. ครนู าสนทนา (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรปุ และ
แลกเปลี่ยน (M1-M6) อภิปรายผลการเรียนรู้
ประสบการณ์เดมิ กบั 2. ครนู าต้ังคาถามทีส่ นใจ 4. ครชู วนเดก็ มาทดลองประดิษฐ์ ร่วมกนั แลว้ ประเมนิ ผล
เด็กเก่ยี วกบั รูปรา่ ง เกยี่ วกบั อวยั วะต่าง ๆ ของ 3. ครูใหเ้ ด็กนับจานวนของ “โปสเตอร์ตวั ฉันเอง” โดย พัฒนาการเด็กแต่ละคน
ลกั ษณะภายนอกของ ร่างกายแลว้ ร่วมกันสบื ค้นจาก อวัยวะภายนอกของตนและ กาหนดเงอ่ื นไข คอื “โปสเตอร์ หลงั ส้นิ สดุ กจิ กรรม
ตนเองและของเพอ่ื น แหล่งเรยี นรูแ้ ละสื่อต่าง ๆ เชน่ ของเพอื่ น และใหเ้ ดก็ ลอง ต้องมีขนาดรปู รา่ งและอวัยวะ
แลว้ จับคูก่ นั สารวจ ส่อื ต๊กุ ตา หนังสือภาพ บัตรคา เปรียบเทียบขนาดของ ภายนอกเท่ากนั กับตัวของเด็ก
อวัยวะตา่ งๆของ นิทาน เพ่ือเรียนร้แู ละสรปุ อวยั วะภายนอกตา่ ง ๆ จรงิ ๆ”
รา่ งกายเพ่อื น แลว้ เล่น เกยี่ วกบั ชื่อ หน้าท่ี และวธิ ีการใช้ ระหวา่ งตนเองและเพ่อื น - แบ่งเดก็ ออกเป็นกลุ่มย่อย แลว้
เกมแตะสว่ นตา่ ง ๆ อวยั วะภายนอกต่างๆอย่าง - อวัยวะของแต่ละคนมี ให้เดก็ แตล่ ะกล่มุ สารวจวัสดุ
ของรา่ งกาย แขน ขา ถูกต้องเหมาะสมและปลอดภยั ขนาดเท่ากันหรอื ไม่ อุปกรณท์ ี่จะใช้ประดษิ ฐ์โปสเตอร์
ลาตัว ศีรษะ มอื เท้า - ชอื่ เรียกของอวยั วะสว่ นตา่ ง ๆ - อวัยวะอะไรทีม่ จี านวนเปน็ ตวั ฉนั เอง
เป็นต้น ตามที่ครูบอก - อวยั วะภายนอกที่เดก็ ๆ สังเกต คู่ - ให้เด็กแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั
มีลักษณะอยา่ งไร - อวยั วะอะไรทีม่ จี านวนมาก ออกแบบและประดษิ ฐ์แผนภาพ
- อวัยวะภายนอกตา่ ง ๆ มหี นา้ ท่ี ท่ีสดุ โปสเตอร์ตัวฉันเองตามเง่ือนไขท่ี
อะไรบา้ ง กาหนด
- มวี ธิ กี ารใชอ้ วยั วะภายนอก - นาเสนอผลงานของแต่ละกลมุ่
ต่างๆ ให้ถูกตอ้ งเหมาะสมและ โดยใหเ้ ด็กเป็นผู้นาเสนอ
ปลอดภยั อย่างไรบ้าง

32

2. ให้เด็กแตล่ ะกลมุ่ นาโปสเตอรต์ วั ฉันทป่ี ระดษิ ฐ์ขนึ้ มาลากเสน้ แบ่งครึ่งในแนวตง้ั และแนวนอน แล้วนาปา้ ยลกู ศรแสดงทิศทาง (ด้านบน
ดา้ นล่าง ด้านซา้ ย ดา้ นขวา) มาตดิ กากบั ลงในโปสเตอร์ใหส้ ัมพนั ธ์กนั

3. นาเด็กมาทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมที่ 1.1 – 1.4

กจิ กรรมที่ 1.1 กจิ กรรมที่ 1.2

กิจกรรมที่ 1.3 กจิ กรรมที่ 1.4

33

สือ่ อปุ กรณแ์ ละแหลง่ การเรียนรู้
1. กระดาษโปสเตอร์แผน่ ใหญก่ ว่าตวั เด็ก
2. ดนิ สอ
3. สีเทียน
4. กรรไกร
5. ปา้ ยลูกศร แสดงทิศทาง (ด้านบน, ดา้ นลา่ ง, ดา้ นซ้าย, ด้านขวา)

การวดั และการประเมนิ ผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการรว่ มกจิ กรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รือทดลองจรงิ
4. แบบบันทกึ การประเมินผลการเรยี นรู้ทา้ ยเลม่ ของหนังสอื ชุดการเขียนโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 4-5 ปี

บันทกึ ผลการประเมนิ * เร่ืองราวเกี่ยวกับตวั เดก็

หัวเร่ืองที่ 1. โปสเตอร์ตวั ฉนั

พัฒนาการด้านสติปญั ญา ใบกิจกรรม 1.1 ใบกิจกรรม 1.2 ใบกิจกรรม 1.3 ใบกิจกรรม 1.4

มฐ.9 ใชภ้ าษาสอื่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรือ่ งใหผ้ ูอ้ ื่นเข้าใจ

9.2 อ่าน เขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มีความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล

10.3 มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลอื่ นไหวตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อการเรียนรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทกึ การประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในช่อง  ของแต่ละใบกจิ กรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบัติไดด้ ี หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ล่องแคลว่ และม่นั คง
2 ปฏบิ ัติได้ หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดบ้ างครง้ั แตย่ ังไมค่ ลอ่ งแคลว่
1 ควรส่งเสรมิ หมายถึง ยงั แสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

34

2. เร่อื ง แผนภาพการเจริญเติบโต สปั ดาหท์ ่ี วนั ที่ / / ถงึ วันที่ / / /

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. เปรยี บเทียบความแตกต่างหรือความเหมือนของส่ิงตา่ ง ๆ
2. การบอกและเรียงลาดับกิจกรรมหรือเหตกุ ารณ์ตามชว่ งเวลา
3. การใช้ความคดิ ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้ เพ่อื มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระทคี่ วรเรยี นรู้ : เรื่องราวเกย่ี วกบั ตัวเดก็ “ตัวเรามกี ารเปลีย่ นแปลงขนาดและรปู รา่ งเมือ่ เจริญเตบิ โตข้ึนตามลาดบั ”
ประสบการณ์สาคัญ : การใชภ้ าษา การคิดพน้ื ฐานในการเรยี นรู้ การคิดเชงิ คานวณ การเขยี นโคด้ อย่างงา่ ย
ดา้ นรา่ งกาย 1.1.2(4)
ดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ 1.2.4(5)
ด้านสงั คม 1.3.4(3)
ด้านสตปิ ัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(14)
แนวทางการจดั กิจกรรมประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จดั กิจกรรมเพ่อื ปพู ืน้ ฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เรือ่ ง แผนภาพการเจริญเติบโต
(ดแู นวทางการจดั กิจกรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเดก็ อายุ 4-5 ปี หนว่ ยท่ี 6)

ขั้นนา Science ข้นั สอน Technology & ข้นั สรปุ
Mathematic Engineering
1. ครนู าต้งั คาถามและ (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรปุ และ
สนทนาแลกเปลี่ยน (M1-M6) อภิปรายผลการเรยี นรู้
ประสบการณ์เดมิ ของ 2. ครนู าวีดิทัศน์หรือหนังสือภาพ 4. ครชู วนเด็กมาประดิษฐ์ ร่วมกันและประเมนิ ผล
เดก็ เก่ียวกบั การ หนงั สอื นิทานหรือภาพที่เกยี่ วกับ 3. ครูใหเ้ ดก็ นับจานวนเพอ่ื น “แผนภาพแสดงการเจรญิ เติบโต พัฒนาการเด็กแต่ละคน
เจริญเตบิ โตของตวั เดก็ การเจริญเตบิ โตของเด็กมาให้เด็ก ในห้องท่ีเปน็ ผู้หญงิ และ ของตัวเด็ก” โดยกาหนดเง่ือนไข หลังส้ินสุดกิจกรรม
ดูและสังเกต ผูช้ าย คือ “ตอ้ งมีภาพเด็กทัง้ 4 ชว่ ง
- ครนู าตั้งคาถามท่ีสนใจเพ่อื - เปรียบเทยี บจานวน อายุคอื 0-1ปี, 1-2ปี, 2-3ปี
เรยี นร้แู ละสรุปเกีย่ วกบั การ เดก็ ผ้หู ญิงหรือผู้ชาย และ 3-4ป”ี
เจริญเตบิ โตของเดก็ ๆ แต่ละคน ครูนาภาพแสดงการ - ให้เดก็ แต่ละคนตรวจสอบเลือก
เจริญเตบิ โตของเดก็ จานวน วสั ดุอปุ กรณ์ทีจ่ ะใช้ประดษิ ฐ์
4 ภาพมาใหเ้ ดก็ เรียงลาดบั - เดก็ ออกแบบและประดษิ ฐ์
การเจริญเติบโต แผนภาพแสดงการเจริญเติบโต
ของตัวเองตามเงอื่ นไขทีก่ าหนด
- นาเสนอผลงานของเดก็ แต่ละ
คนโดยเด็กเป็นผู้นาเสนอ

35

2. นาภาพการเจริญเติบโตของเดก็ ตามชว่ งอายุ 1 ปี, 2 ปี, 3 ป,ี และ 4 ปี มาให้เด็กสงั เกตความเหมือนและความแตกตา่ ง ต้งั คาถามท่ี
สนใจเพือ่ เรียนรู้รว่ มเกี่ยวกบั การเจรญิ เตบิ โตของเด็ก

3. นาเดก็ มาทากิจกรรมตามใบกิจกรรมท่ี 2.1 – 2.4

กิจกรรมท่ี 2.1 กจิ กรรมท่ี 2.2

กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมท่ี 2.4

36

สื่อ อุปกรณ์และแหลง่ การเรยี นรู้
1. กระดาษแข็ง
2. ภาพตวั เด็กแตล่ ะช่วงอายคุ ือ 0-1ปี, 1-2ป,ี 2-3ป,ี และ 3-4ปี
3. กาว
4. กรรไกร
5. สีเทยี น/สไี ม้ สาหรับเขยี นลาดบั การเจรญิ เติบโตและตกแต่งให้สวยงาม

การวัดและการประเมนิ ผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สงั เกตจากการรว่ มกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รือทดลองจริง
4. แบบบันทกึ การประเมนิ ผลการเรียนรทู้ ้ายเลม่ ของหนังสอื ชดุ การเขียนโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 4-5 ปี

บันทึกผลการประเมิน* เรื่องราวเก่ยี วกับตวั เดก็

หวั เร่ืองที่ 2. แผนภาพการเจรญิ เติบโต

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ใบกิจกรรม 2.1 ใบกิจกรรม 2.2 ใบกิจกรรม 2.3 ใบกิจกรรม 2.4

มฐ.9 ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วยั

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งให้ผู้อืน่ เข้าใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสัญลักษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคิดท่ีเปน็ พนื้ ฐานในการเรียนรู้

10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชงิ เหตผุ ล

10.3 มีความสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตดั สินใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงทา่ ทาง/เคลอื่ นไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียนรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทึกการประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแต่ละใบกจิ กรรม

ระดบั คะแนนคุณภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบตั ิได้ดี หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ล่องแคล่วและมน่ั คง
2 ปฏิบตั ิได้ หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้บางครงั้ แต่ยังไม่คลอ่ งแคล่ว
1 ควรสง่ เสริม หมายถึง ยงั แสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

37

3. เรือ่ ง ครอบครัวผกู พนั สัปดาห์ท่ี วนั ท่ี / / ถึงวนั ท่ี / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. การจดั กลมุ่ และการจาแนกสง่ิ ตา่ ง ๆ
2. การบอกและแสดงอันดับของสง่ิ ตา่ ง ๆ
3. การใช้ความคดิ ทเี่ ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ เพอื่ มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระท่คี วรเรียนรู้ : บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ้ ม “ความสมั พันธ์ของบุคคลในครอบครวั ”
ประสบการณ์สาคัญ : การใช้ภาษา การคิดพน้ื ฐานในการเรียนรู้ การคิดเชงิ คานวณ การเขียนโคด้ อยา่ งงา่ ย
ดา้ นร่างกาย 1.1.2(4)
ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ 1.2.1(5)
ดา้ นสังคม 1.3.4(3)
ดา้ นสตปิ ญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4)
แนวทางการจัดกิจกรรมประสบการณ์การเรยี นรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพอื่ ปพู ้นื ฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เรื่อง ครอบครัวผูกพนั
(ดแู นวทางการจดั กจิ กรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรบั เด็กอายุ 4-5 ปี หน่วยท่ี 9)

ขนั้ นา ขั้นสอน Technology & ขน้ั สรปุ
Science Mathematic Engineering
(T1-T3 & E1-E6) 5. ครนู าสรปุ และ
1. ครนู าสนทนา (S1-S3) (M1-M6) อภิปรายผลการเรียนรู้
แลกเปล่ยี น 4. ครูชวนเด็กมาประดิษฐ์ รว่ มกันและประเมินผล
ประสบการณเ์ ดมิ ของ 2. ครนู าภาพถา่ ยของบคุ คลใน 3. ครนู าตั้งคาถามเก่ียวกับ “แผนผังบคุ คลในครอบครวั ” พัฒนาการเด็กแต่ละคน
เด็กเกี่ยวกบั บุคคลใน ครอบครัวมาให้เดก็ ๆสงั เกต ความสมั พันธข์ องคนใน โดยกาหนดเงอื่ นไขคือ “จะต้องมี หลงั สิ้นสุดกจิ กรรม
ครอบครวั แล้ว ครนู าตัง้ เปรียบเทยี บและสรุปความ ครอบครวั แล้วให้เดก็ การโยงเสน้ ลาดบั ความสมั พันธ์
คาถามท่ีสนใจเก่ยี วกบั เหมือนและความแตกต่างของคน - นบั จานวนบุคคลใน ของบคุ คลในครอบครวั ให้
ลกั ษณะของบคุ คลใน ในครอบครวั เดียวกนั ครอบครัว ถูกต้อง”
ครอบครัวเดยี วกนั และ - และครนู าภาพถา่ ยของบุคคล - เปรยี บเทียบจานวนบคุ คล - ใหเ้ ด็กๆวาดใบหน้าคนใน
ลกั ษณะจากต่าง ตา่ งครอบครวั มาใหเ้ ด็กสังเกต ในครอบครวั เพศชายและ ครอบครัวของตนเองลงใน
ครอบครัว เปรียบเทียบและสรุปความ เพศหญิง กระดาษเช่น ปู่ ยา่ ตา ยาย พ่อ
- ใหเ้ ดก็ ๆเล่า เหมือนและความแตกตา่ งของคน แม่ พี่ นอ้ ง
ประสบการณค์ วาม ในครอบครวั ตนเองและคนใน 38 - นาใบหนา้ ทงั้ หมดมาแปะวาง
เหมือนหรอื คล้ายใคร ครอบครวั คนอน่ื บนกระดาษแลว้ ใช้สีลากโยง
ในครอบครัว ความสมั พนั ธใ์ หถ้ ูกต้อง
-นาเสนอผลงานแผนผังบุคคลใน
ครอบครวั ของตนเอง

2. นาภาพใบหนา้ ของบุคคลในครอบครวั เดียวกนั ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ พี่ น้อง และของบุคคลในครอบครวั อื่นมาใหส้ งั เกตใหเ้ ดก็
แตล่ ะกลุ่มกาหนดเกณฑ์ในการจดั กลมุ่ แล้วหมุนเวียนกนั นาเสนอ

3. นาเดก็ มาทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 3.1 – 3.4

กจิ กรรมที่ 3.1 กิจกรรมท่ี 3.2

กิจกรรมท่ี 3.3 กิจกรรมที่ 3.4

39

สือ่ อปุ กรณ์และแหลง่ การเรียนรู้
1. กระดาษ
2. สีเทียน/สไี ม้
3. กรรไร
4. กาว
5. ภาพใบหน้าของบคุ คลในครอบครัวเดยี ว ไดแ้ ก่ ปู่ ยา่ ตา ยาย พอ่ แม่ พี่ น้อง ของเด็กในหอ้ งเรยี น

การวัดและการประเมนิ ผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการรว่ มกิจกรรม
3. สงั เกตจากการปฏบิ ัตหิ รอื ทดลองจริง
4. แบบบนั ทกึ การประเมินผลการเรียนรูท้ ้ายเลม่ ของหนังสือชดุ การเขียนโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 4-5 ปี

บันทึกผลการประเมิน* บุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเดก็

หัวเรือ่ งท่ี 3. ครอบครวั ผูกพัน

พัฒนาการด้านสติปญั ญา ใบกิจกรรม 3.1 ใบกิจกรรม 3.2 ใบกิจกรรม 3.3 ใบกิจกรรม 3.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกับวัย

9.1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องให้ผอู้ ื่นเข้าใจ

9.2 อ่าน เขยี นภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคิดทีเ่ ปน็ พืน้ ฐานในการเรยี นรู้

10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล

10.3 มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตัดสนิ ใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคติทด่ี ีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนรู้

12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทกึ การประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจรงิ ของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในช่อง  ของแต่ละใบกิจกรรม

ระดับคะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏบิ ัติไดด้ ี หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ลอ่ งแคล่วและมน่ั คง
2 ปฏิบตั ิได้ หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้บางครงั้ แต่ยังไม่คล่องแคลว่
1 ควรส่งเสริม หมายถึง ยังแสดงพฤตกิ รรมไดไ้ ม่ชัดเจน

40

4. เรือ่ ง มีอะไรอยใู่ นโรงเรียน สปั ดาหท์ ี่ วันที่ / / ถงึ วันท่ี / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั : มฐ. 9, 10, 11, 12
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. การใช้สญั ลักษณ์แสดงแทนสิง่ ตา่ ง ๆ
2. การทาซา้ การตอ่ เตมิ การสรา้ งแบบรูป
3. การใช้ความคดิ ที่เป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้ เพ่ือมาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวัยเด็ก
สาระที่ควรเรยี นรู้ : บคุ คลและสถานท่ีแวดล้อม “ความสัมพันธ์ของตัวเรากบั สถานทต่ี ่าง ๆ ในโรงเรียน”
ประสบการณ์สาคญั : การใช้ภาษา การคดิ พน้ื ฐานในการเรียนรู้ การคิดเชิงคานวณ การเขียนโค้ดอยา่ งงา่ ย
ด้านร่างกาย 1.1.2(4)
ดา้ นอารมณ์จติ ใจ 1.2.1(5)
ด้านสงั คม 1.3.5(1), 1.3.6(1)
ดา้ นสตปิ ญั ญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(3)
แนวทางการจดั กจิ กรรมประสบการณก์ ารเรียนรู้ (Active Learning)

1. จัดกิจกรรมเพื่อปูพนื้ ฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอ่ื ง มอี ะไรอยูใ่ นโรงเรยี น
(ดูแนวทางการจัดกิจกรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเดก็ อายุ 4-5 ปี หนว่ ยที่ 12)

ข้นั นา Science ขน้ั สอน Technology & ขัน้ สรุป
Mathematic Engineering
1. ครูสนทนาร่วมกนั (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรปุ และ
กับเด็กแลว้ ตัง้ คาถาม (M1-M6) อภปิ รายผลการเรียนรู้
นาเกย่ี วกับสถานท่ี 2. ครูนาเด็กสารวจ ทาความ 4. ครูชวนเด็กมาประดษิ ฐ์ “แผนผัง ร่วมกนั แลว้ ประเมนิ ผล
ตา่ งๆภายในโรงเรยี นที่ รจู้ ักสถานท่แี ละบริเวณตา่ ง ๆ 3. ครนู าตัง้ คาถามเพื่อ แสดงห้องตา่ ง ๆ ภายในโรงเรยี น” พัฒนาการเด็กแต่ละคน
เด็กสนใจ ภายในโรงเรียนหรอื สบื ค้นจาก กระตนุ้ ใหเ้ ด็กเรียนรูเ้ กย่ี วกับ โดยกาหนดเงอ่ื นไขคือ “ตอ้ งมีพ้นื ท่ี หลังส้นิ สุดกจิ กรรม
- เด็ก ๆ ชอบไปสถานท่ี หนังสือ สนทนา เร่ืองเล่าเพ่ือ - ตาแหนง่ ที่อยูข่ องส่ิงต่าง ๆ สาคญั 4 ส่วนคือ หอ้ งเรียน
ไหนบา้ งทีอ่ ยูภ่ ายใน เรียนรูแ้ ละสรุปเก่ียวกับ เมื่อเทยี บกบั สถานท่ตี า่ ง ๆ หอ้ งสมดุ ห้องพกั ครหู อ้ งนา้ และ
โรงเรยี น ความสมั พนั ธแ์ ละประโยชน์ ในโรงเรียน นาภาพสง่ิ ของตา่ งๆมาติดในพ้ืนท่ี
- ให้เด็กเล่า ของสถานทีต่ า่ งๆในโรงเรยี น - เสาธงของโรงเรียนอยู่ ใหถ้ ูกต้อง”
ประสบการณ์เกยี่ วกับ - ความสัมพันธ์ของเดก็ ๆ กบั ด้านหน้าหรอื ดา้ นหลงั ของ - แบ่งเดก็ ออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยใหแ้ ต่
สถานทท่ี เี่ ดก็ ๆ ชอบไป สถานท่ีต่าง ๆ ภายในโรงเรียน หอ้ งเรยี น ละกลุ่มสารวจวสั ดุอปุ กรณท์ จ่ี ะใช้
ในโรงเรียน เป็นอย่างไร - ห้องนา้ อยูด่ า้ นซา้ ยหรอื ประดษิ ฐ์
ด้านขวาเม่อื ออกจาก - ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มออกแบบและผลติ
หอ้ งเรียน แผนผังแสดงทอี่ ย่สู ่ิงต่าง ๆ ภายใน
โรงเรยี นตามเง่อื นไขท่ีกาหนด
- นาเสนอผลงานของแตล่ ะกลมุ่

41

2. นาเด็กสารวจสถานท่แี ละบรเิ วณต่าง ๆ ภายในโรงเรียน สนทนาและอภิปรายรว่ มกนั เก่ยี วกบั ความสัมพนั ธ์ของตวั เรากับสถานทต่ี า่ ง ๆ
ในโรงเรยี น

3. นาเด็กมาทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 4.1 – 4.4

กจิ กรรมที่ 4.1 กิจกรรมท่ี 4.2

กิจกรรมที่ 4.3 กิจกรรมท่ี 4.4

42

สือ่ อุปกรณ์และแหลง่ การเรียนรู้
1. กระดาษ A3
2. ภาพส่งิ ของตา่ ง ๆ เชน่ โตะ๊ เกา้ อี้ กระดานดา อา่ งลา้ งมอื ตหู้ นงั สือ

การวัดและการประเมนิ ผล
1. สังเกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการรว่ มกจิ กรรม
3. สงั เกตจากการปฏบิ ัตหิ รอื ทดลองจริง
4. แบบบันทกึ การประเมินผลการเรียนรทู้ า้ ยเลม่ ของหนังสอื ชดุ การเขียนโค้ดสาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ 4-5 ปี

บันทกึ ผลการประเมนิ * บุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเดก็

หัวเรอ่ื งที่ 4. มีอะไรอยู่ในโรงเรียน

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ใบกิจกรรม 4.1 ใบกจิ กรรม 4.2 ใบกิจกรรม 4.3 ใบกจิ กรรม 4.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวยั

9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ้อู ่ืนเขา้ ใจ

9.2 อา่ น เขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มีความสามารถในการคิดท่ีเป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล

10.3 มีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตัดสินใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.1 ทางานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลอื่ นไหวตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการ

แสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกบั วยั

12.2 มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บนั ทกึ การประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจริงของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในช่อง  ของแตล่ ะใบกิจกรรม

ระดบั คะแนนคณุ ภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบัติได้ดี หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดค้ ล่องแคลว่ และมนั่ คง
2 ปฏิบตั ิได้ หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้บางครงั้ แต่ยังไมค่ ลอ่ งแคล่ว
1 ควรส่งเสริม หมายถึง ยังแสดงพฤติกรรมไดไ้ มช่ ัดเจน

43

5. เรือ่ ง หนนู อ้ ยนักสารวจ สัปดาห์ท่ี วันท่ี / / ถึงวนั ที่ / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. เปรยี บเทยี บความแตกต่างหรือความเหมือน
2. จาแนกและจดั กลุ่มสิ่งตา่ ง ๆ ตามเกณฑท์ ี่กาหนดข้นึ
3. การใช้ความคดิ ทเ่ี ป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้ เพ่ือมาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระท่ีควรเรียนรู้ : ธรรมชาตริ อบตัว “ลักษณะตา่ ง ๆ ของส่ิงมีชีวติ และสิ่งไมม่ ชี วี ิต”
ประสบการณส์ าคญั : การใช้ภาษา การคิดพ้นื ฐานในการเรียนรู้ การคิดเชิงคานวณ การเขียนโค้ดอยา่ งงา่ ย
ดา้ นรา่ งกาย 1.1.2(2)
ด้านอารมณจ์ ติ ใจ 1.2.4(5)
ดา้ นสังคม 1.3.5(1), 1.3.5(2)
ด้านสติปัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(5)
แนวทางการจัดกจิ กรรมประสบการณ์การเรียนรู้ (Active Learning)

1. จดั กจิ กรรมเพอื่ ปพู ื้นฐานการเรยี นรู้ รปู แบบ STEM EDUCATION เรอื่ ง หนนู อ้ ยนักสารวจ
(ดูแนวทางการจัดกิจกรรมได้จากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเด็กอายุ 4-5 ปี หนว่ ยท่ี 17)

ขั้นนา Science ขัน้ สอน Technology & ขน้ั สรุป
Mathematic Engineering
1. ครูนาสนทนาร่วมกนั (S1-S3) (T1-T3 & E1-E6) 5. ครูนาสรปุ และ
กบั เด็กเกี่ยวกับลกั ษณะ (M1-M6) อภิปรายผลการเรยี นรู้
ของสง่ิ มชี วี ติ และ 2. ครนู าคาถามเกยี่ วกับลกั ษณะของ 4. ครชู วนเด็กมาประดษิ ฐ์ รว่ มกนั แลว้ ประเมินผล
สง่ิ ไม่มีชีวิต สิ่งมีชวี ิต แลว้ พาเดก็ ๆสงั เกตสัตวห์ รือ 3. ครูใหเ้ ด็กนบั จานวน “กระดานวิเศษ” โดยมีเงอ่ื นไข พฒั นาการเดก็ แต่ละคน
พชื ทีส่ นใจ ที่ไม่เปน็ อนั ตรายในบรเิ วณ และเปรยี บเทียบ สงิ่ มชี วี ิต "กระดานวเิ ศษจะแยกภาพ หลงั สน้ิ สุดกจิ กรรม
โรงเรยี นและ สนทนา เพอ่ื สรุป และสิง่ ไม่มีชีวติ ทเ่ี ด็ก ๆ สิง่ มีชวี ติ ไว้ทางซา้ ยมือและ
ลักษณะและพฤตกิ รรมของสงิ่ ที่มีชวี ิต สนใจและปลอดภยั ส่งิ ไม่มีชีวติ อยู่ทางขวามอื "
- ครูนาต้ังคาถามเกีย่ วกบั ลักษณะของ - ให้เดก็ ๆ สารวจวสั ดอุ ุปกรณ์
ส่ิงไมม่ ชี วี ติ พาเดก็ ๆ สังเกต ท่ใี ชป้ ระดิษฐ์
สิ่งไมม่ ชี ีวติ ที่สนใจ ท่ีไมเ่ ปน็ อนั ตราย - ใหเ้ ดก็ ร่วมกันออกแบบและ
ในบรเิ วณโรงเรียนและสนทนา เพอื่ ประดษิ ฐ์กระดานวิเศษ พรอ้ ม
สรปุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของ ทง้ั นารปู ภาพส่ิงมชี วี ติ และ
สงิ่ ไม่มีชีวิต ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ ท่แี ตล่ ะคนวาดไป
- ครนู าสรุปความเหมือนและความ ติดบนกระดานตามเง่ือนไข
แตกต่างของสง่ิ มีชวี ิตและส่งิ ไม่มีชวี ิต - นาเสนอ ผลงานกระดาน
- ใหเ้ ดก็ แต่ละคนวาดภาพสงิ่ มีชีวติ ที่ วิเศษโดยเดก็ เป็นผนู้ าเสนอ
สารวจพบมา 1 ภาพและสิ่งไมม่ ีชีวิตท่ี และอธบิ าย
สารวจพบมา 1 ภาพ

44

2. นากระดานแมเ่ หลก็ พรอ้ มแผ่นรูปภาพส่งิ ท่มี ชี วี ติ และส่ิงทไี่ ม่มชี ีวติ มาใหเ้ ด็กสารวจ รว่ มกนั กาหนดเกณฑใ์ นการจดั กลมุ่ แผ่นรปู ภาพ
และนามาตดิ บนกระดานแมเ่ หลก็

3. นาเด็กมาทากิจกรรมตามใบกจิ กรรมที่ 5.1 – 5.4

กิจกรรมท่ี 5.1 กจิ กรรมท่ี 5.2

กิจกรรมท่ี 5.3 กจิ กรรมที่ 5.4

45

สอ่ื อุปกรณ์และแหลง่ การเรยี นรู้
1. ฟิวเจอร์บอร์ด
2. กระดาษ
3. เทปกาว
4. กระดานแมเ่ หล็ก

การวดั และการประเมินผล
1. สงั เกตจากการตอบคาถาม
2. สังเกตจากการร่วมกิจกรรม
3. สังเกตจากการปฏิบัตหิ รอื ทดลองจริง
4. แบบบนั ทึกการประเมินผลการเรยี นรูท้ า้ ยเลม่ ของหนังสือชุดการเขียนโค้ดสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ 4-5 ปี

บันทึกผลการประเมนิ * ธรรมชาติรอบตัว

หัวเรอื่ งท่ี 5. สิง่ มชี วี ติ และส่งิ ไมม่ ีชีวติ

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ใบกิจกรรม 5.1 ใบกิจกรรม 5.2 ใบกจิ กรรม 5.3 ใบกิจกรรม 5.4

มฐ.9 ใช้ภาษาสอื่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเรื่องให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ

9.2 อา่ น เขยี นภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้

มฐ.10 มคี วามสามารถในการคิดท่เี ป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้

10.1 มีความสามารถในการคดิ รวบยอด

10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล

10.3 มีความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาและตัดสินใจ

มฐ.11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.1 ทางานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

11.2 แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

มฐ.12 มีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรียนรู้และมคี วามสามารถในการ

แสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับวยั

12.2 มเี จตคตทิ ่ดี ตี อ่ การเรยี นรู้

12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

*หมายเหตุ : บันทึกการประเมินผลการเรยี นรจู้ ากผลงานจริงของเดก็ โดยใสค่ ะแนนคณุ ภาพ 3, 2, 1 ลงในชอ่ ง  ของแตล่ ะใบกิจกรรม

ระดบั คะแนนคุณภาพ (Rubrics)
3 ปฏิบตั ิได้ดี หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดค้ ลอ่ งแคล่วและม่ันคง
2 ปฏบิ ัติได้ หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดบ้ างคร้งั แตย่ งั ไม่คลอ่ งแคลว่
1 ควรส่งเสรมิ หมายถึง ยงั แสดงพฤตกิ รรมไดไ้ ม่ชดั เจน

46

6. เรอ่ื ง โลกสนี ้าเงนิ สัปดาหท์ ่ี วันที่ / / ถงึ วันท่ี / / /

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย : มฐ. 9, 10, 11, 12
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. การบอกและเรียงลาดับเหตุการณ์ตา่ ง ๆ
2. การบอกและแสดงตาแหน่ง ทศิ ทางของสิง่ ต่าง ๆ
3. การใช้ความคดิ ทเ่ี ป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรู้ เพอ่ื มาแก้ปญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมตามวัยเดก็
สาระทีค่ วรเรียนรู้ : ธรรมชาตริ อบตัว “องค์ประกอบตา่ ง ๆ ของโลกและลักษณะภมู ิประเทศตา่ ง ๆ ”
ประสบการณส์ าคัญ : การใชภ้ าษา การคดิ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ การคดิ เชงิ คานวณ การเขียนโค้ดอย่างงา่ ย
ด้านรา่ งกาย 1.1.2(4), 1.1.2(5)
ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ 1.2.1(5)
ด้านสงั คม 1.3.2(3), 1.3.5(1), 1.3.6(1)
ด้านสติปัญญา 1.4.1(1), 1.4.1(4), 1.4.1(6), 1.4.2(1), 1.4.2(8), 1.4.2(9), 1.4.2(13), 1.4.2(15), 1.4.2(16), 1.4.2(17), 1.4.2(18),

1.4.2(19), 1.4.3(1), 1.4.3(2), 1.4.3(3), 1.4.4(1), 1.4.4(2), 1.4.4(3), 1.4.4(4), 1.4.2(4)
แนวทางการจัดกจิ กรรมประสบการณก์ ารเรียนรู้ (Active Learning)

1. จัดกจิ กรรมเพ่อื ปูพื้นฐานการเรยี นรู้ รูปแบบ STEM EDUCATION เรอื่ ง โลกสีนา้ เงิน
(ดูแนวทางการจัดกิจกรรมไดจ้ ากแผนการจดั ประสบการณ์ STEM EDUCATION สาหรับเด็กอายุ 4-5 ปี หน่วยท่ี 22)

ขัน้ นา ขนั้ สอน Technology & Engineering ข้นั สรปุ
Science Mathematic (T1-T3 & E1-E6)
5. ครูนาสรปุ และ
1. ครนู าสนทนารว่ มกนั (S1-S3) (M1-M6) 4. ครชู วนเดก็ มาประดิษฐ์ อธิบายรว่ มกนั แลว้
กบั เด็กเก่ียวกับ “แบบจาลองพ้ืนผิวโลก 3 มิติ” โดย ประเมินผล พฒั นาการ
องค์ประกอบต่างๆของ 2. ครนู าตัง้ คาถามท่ีเด็ก 3. ครนู าภาพแบบจาลอง กาหนดเงือ่ นไขคือ “แบบจาลอง เดก็ แต่ละคนหลังเสรจ็
โลกและลักษณะภูมิ สนใจเก่ียวกบั องค์ประกอบ พืน้ ผิวโลก 3 มิตมิ าใหเ้ ดก็ ๆดู พนื้ ผวิ โลกต้องประกอบไปดว้ ย 4 สิน้ กิจกรรม
ประเทศตา่ ง ๆ เชน่ ดิน ต่างๆของโลก แลว้ นาสบื ค้น - ภูเขาในแบบจาลองมี สว่ นคือ ส่วนที่เปน็ พนื้ นา้ ส่วนท่เี ป็น
นา้ อากาศและการ ข้อมูลจากแหล่งเรยี นร้หู รอื รปู รา่ ง รูปทรงเหมอื นหรอื พืน้ ดนิ สว่ นท่เี ปน็ ภเู ขาและส่วนที่
เปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ สอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ หนังสอื คล้ายเรขาคณิตอะไรบ้าง เป็นปา่ ไม้"
นทิ าน สนทนาเพ่อื ให้เด็ก - ใหเ้ ด็ก ๆ นับจานวนภูเขา - แบง่ เดก็ ออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย แล้วให้
เรยี นรูแ้ ละสรปุ เกีย่ วกับ ในแบบจาลอง เด็กแต่ละกลมุ่ สารวจวัสดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้
- ผิวโลกประกอบไปด้วย ประดิษฐ์
อะไรบา้ ง - แต่ละกลุม่ ออกแบบและประดิษฐ์
- ส่วนที่เป็นพน้ื น้า ได้แก่ พื้นผวิ โลกและสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามเง่อื นไข
อะไรบ้าง - นาเสนอผลงานของแตล่ ะกลุม่ โดย
- ส่วนท่เี ป็นพ้นื ดินของโลก เดก็ เปน็ ผูน้ าเสนอ
ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

47


Click to View FlipBook Version