The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร 1 เพื่อพัฒนาอาชีพ (รวม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nui_manaphai, 2021-09-17 00:35:34

หลักสูตร 1 เพื่อพัฒนาอาชีพ (รวม)

หลักสูตร 1 เพื่อพัฒนาอาชีพ (รวม)

หreลกั-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 4

ชื่อหลกั สตู ร การปลูกพชื สมนุ ไพรพน้ื บา้ น ฟา้ ทะลายโจร
จำนวน 40 ช่ัวโมง

กลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม

(ท่มี าของภาพประกอบ : กลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา)

ความเป็นมา
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ได้แก่ ความปลอดภัย

ของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิ๊กดาต้า (Big Data) การขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา
ทักษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการศกึ ษาสำหรับผู้ทีม่ ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน.
จึงได้มีการนำนโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการ
ขบั เคล่อื น โดยการจดั ทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพ่ือการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร
5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์
และอาชีพเฉพาะทาง เพ่อื พัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและต่อยอดประกอบอาชีพของตนเอง
รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผลให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ
สร้างรายได้ประชาชนหรอื กลมุ่ เปา้ หมายทอ่ี ย่ใู นชมุ ชน ต่อไป

กอปรกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คณะกรรมการ
พัฒนาระบบยาแห่งชาติ ได้ประกาศให้สามารถใช้ฟ้าทะลายโจร เพื่อบรรเทาอาการของโรคหวัดและการใช้เพื่อรักษา
โรคโควิด (COVID - 19) ในประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 เมือ่ วนั ท่ี 4 มิถนุ ายน 2564 และมผี ลใช้บังคับต้ังแตว่ นั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

4

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1

5

เป็นต้นไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 120 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2564 หน้า 46 - 47)
ดงั นนั้ จึงไดเ้ ล็งเหน็ ความสำคัญของการปลกู พืชสมนุ ไพรพ้ืนบ้าน ฟา้ ทะลายโจร โดยไดน้ ำหลักสูตรการปลูกพืชสมุนไพร
ฟ้าทะลายโจร ที่สถานศึกษาดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว มาปรับปรุงและพัฒนา พร้อมจัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้
ที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น และเผยแพร่หลักสูตรดังกล่าวในวงกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร
หรือประชาชนผู้ที่มีความสนใจได้ศึกษาเรียนรู้ และนำความรู้ไปประกอบอาชีพ ช่วยกันปลูกฟ้าทะลายโจรและแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ผงฟ้าทะลายโจร เพื่อการจำหน่ายสร้างรายได้หรือส่งต่อวัตถุดิบให้โรงงานนำไปแปรรูปต่อไป รวมท้ัง
ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชนทำให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ที่ยั่งยืนแก่
กลุ่มและชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้ และสามารถเป็นต้นแบบเครือข่าย
ใหก้ ับชุมชนอ่นื

หลักการของหลักสูตร
หลกั สูตรการปลูกพชื สมุนไพรพ้ืนบ้าน ฟา้ ทะลายโจร มกี ารกำหนดหลักการของหลกั สูตรไว้ดงั นี้
1. เป็นหลักสตู รทเ่ี น้นการปลูกสมุนไพรพ้นื บ้าน ฟา้ ทะลายโจร การดแู ล ป้องกันโรคและศตั รูพชื ด้วย

วธิ ีการเกษตรธรรมชาติ รวมทั้งการเกบ็ เก่ียว การเกบ็ รักษาเพื่อคงสภาพสารสำคัญไว้ให้มาก
2. เปน็ หลักสตู รทเ่ี พ่มิ มูลค่าผลผลิตสมุนไพรพ้ืนบา้ น ฟา้ ทะลายโจร โดยการแปรรปู เป็นผลติ ภณั ฑส์ มุนไพรต่าง ๆ
3. เปน็ หลักสตู รที่ส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรรวมกล่มุ กนั เพ่ือทำการตลาดสมุนไพรพื้นบา้ น ฟา้ ทะลายโจร
4. เป็นหลักสูตรที่ให้ผู้เรียนได้นำความรู้และประสบการณ์ดา้ นการเกษตรมาใช้ในการปลกู การดูแล

สมนุ ไพรตามวธิ ีการของเกษตรธรรมชาติ โดยการเรยี นรู้จากการปฏิบตั จิ ริง

จุดหมาย
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ลักษณะของสมุนไพรพื้นบ้าน ฟ้าทะลายโจร และประโยชน์

ของสมนุ ไพรพื้นบา้ น ฟ้าทะลายโจร ท่มี ีต่อการสาธารณสขุ การเศรษฐกจิ และการอุตสาหกรรม
2. เพื่อใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับประโยชนแ์ ละสรรพคุณของสมุนไพรพ้นื บา้ น ฟา้ ทะลายโจร
3. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการปลูก การบำรงุ การดแู ลปอ้ งกันศัตรูพชื และโรคต่าง ๆ

ของสมนุ ไพรพ้ืนบา้ น ฟ้าทะลายโจร
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา และการแปรรูปสมุนไพร

พื้นบา้ น ฟา้ ทะลายโจร เปน็ ผลิตภัณฑอ์ าหารและยาสมุนไพรประเภทต่าง ๆ
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การสรา้ งมูลค่าเพิ่มของผลผลติ ทิศทางด้านการตลาด

และการคำนวณตน้ ทนุ การผลิต การจัดจำหนา่ ยเพอื่ สร้างรายได้

(ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุม่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา)

5

หreลัก-สsูตkรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 6

กลุ่มเปา้ หมาย
ประชาชนท่วั ไปที่มีความสนใจในการพฒั นาและตอ่ ยอดอาชพี

ระยะเวลา
ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จำนวน 40 ชว่ั โมง
1. ภาคทฤษฎี จำนวน 15 ชว่ั โมง

2. ภาคปฏิบัติ จำนวน 25 ชวั่ โมง

(ท่มี าของภาพประกอบ : กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา)

โครงสรา้ งหลกั สูตร

ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา จำนวนช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1. ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกบั 1. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับ 1. ลกั ษณะทวั่ ไปของพืช 2 2

พืชสมนุ ไพรพ้ืนบ้าน พืชสมุนไพรพ้ืนบ้าน ฟ้าทะลายโจร สมนุ ไพรพืน้ บ้าน ฟ้าทะลายโจร

ฟา้ ทะลายโจร 2. บอกลักษณะทัว่ ไปและ 1.1 ช่ือสามญั

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.2 ชอื่ วทิ ยาศาสตร์

ของพืชสมนุ ไพรพนื้ บ้าน 1.3 ชื่ออ่นื

ฟ้าทะลายโจร 1.4 ถิ่นกำเนดิ

3. อธิบายความสำคัญของพืช 2. ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

สมนุ ไพรพน้ื บ้าน ฟ้าทะลายโจร ของพชื สมุนไพรพน้ื บ้าน

ฟา้ ทะลายโจร

2.1 ลำต้น

2.2 ใบ

2.3 ดอก

2.4 ผล

3. ความสำคญั ของพชื

สมุนไพรพน้ื บา้ น ฟา้ ทะลายโจร

6

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่อื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

7

ท่ี เร่ือง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา จำนวนช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ

3.1 ดา้ นการแพทย์และ

สาธารณสุข

3.2 ด้านอาหารและ

การบริโภค

3.3 ดา้ นเศรษฐกิจ

3.4 ด้านอตุ สาหกรรม

3.5 ด้านเกษตรกรรม

2. ประโยชน์และสรรพคุณ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ 1. ประโยชนข์ องพืชสมุนไพร 2 2

ของพืชสมุนไพรพืน้ บา้ น ประโยชนแ์ ละสรรพคุณของพืช พน้ื บา้ น ฟ้าทะลายโจร

ฟ้าทะลายโจร สมนุ ไพรพืน้ บ้าน ฟ้าทะลายโจร 2. สรรพคุณและวิธีใช้

2. สามารถอธบิ ายประโยชน์ ของพชื สมนุ ไพรพนื้ บ้าน

สรรพคณุ และวธิ ีใช้ของพชื ฟ้าทะลายโจร

สมนุ ไพรพนื้ บา้ น ฟ้าทะลายโจร

3. การปลกู พืชสมนุ ไพร 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม 4 12

พื้นบ้าน ฟ้าทะลายโจร เก่ียวกบั การปลูกพชื สมนุ ไพร ในการปลูกพืชสมนุ ไพร

พ้ืนบา้ น ฟา้ ทะลายโจร พนื้ บ้าน ฟา้ ทะลายโจร

2. สามารถปลูกพืชสมุนไพร 1.1 สภาพภูมอิ ากาศ

พน้ื บ้าน ฟ้าทะลายโจรได้ 1.2 สภาพพนื้ ที่

1.3 สภาพดนิ

1.4 สายพันธฟ์ุ ้าทะลายโจร

1.5 ผลผลิต

2. ฤดูกาลปลูกพืชสมุนไพร

พนื้ บ้าน ฟ้าทะลายโจร

3. ขน้ั ตอนการปลูกพชื

สมนุ ไพรพื้นบา้ น ฟา้ ทะลายโจร

3.1 การเตรียมดิน

3.2 การปลูก

3.3 การดแู ลรกั ษา

3.4 โรคและศตั รูพืชที่

สำคญั

7

rหeลัก-สsูตkรiเlพlือ่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

8

ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา จำนวนชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

4. การเกบ็ เกี่ยวและ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. การเก็บเกยี่ วพืชสมนุ ไพร 4 6

การแปรรูปพืชสมนุ ไพร เกี่ยวกับการเก็บเกย่ี วและ พื้นบ้าน ฟ้าทะลายโจร

พนื้ บ้าน ฟ้าทะลายโจร การแปรรปู พชื สมุนไพรพื้นบ้าน 1.1 การปฏบิ ัติก่อนและหลงั

ฟ้าทะลายโจร การเก็บเกีย่ ว

2. สามารถเก็บเกี่ยวพืชสมุนไพร 1.2 วิธีการเก็บเกย่ี ว

พนื้ บ้าน ฟา้ ทะลายโจร 1.3 การเก็บเกี่ยว

3. สามารถแปรรูปพืชสมุนไพร 1.4 ผลผลิต

พน้ื บ้าน ฟา้ ทะลายโจร 2. การแปรรปู พืชสมุนไพร

พน้ื บ้าน ฟ้าทะลายโจร

2.1 ยาชง

2.2 ยาเม็ดลกู กลอน

2.3 ยาแคปซูล

2.4 ยาทงิ เจอร์หรือ

ยาดองเหลา้

2.5 ยาผงใช้สูดดม

2.6 ตวั อยา่ งวิธกี ารแปรรปู

ฟา้ ทะลายโจร

2.7 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์

การแปรรูปจากฟ้าทะลายโจร

5. การเพิ่มมูลค่าผลผลติ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ 1. เพมิ่ ผลผลติ และคุณภาพ 3 3

การตลาด และการคดิ การเพม่ิ มูลค่าผลผลิต การตลาด ของฟา้ ทะลายโจร

คำนวณตน้ ทุนผลผลิต และการคดิ คำนวณต้นทนุ 1.1 วธิ ีเพิม่ ผลผลติ และ

พชื สมุนไพรพน้ื บ้าน ผลผลิตพชื สมุนไพรพ้ืนบ้าน คุณภาพของฟา้ ทะลายโจร

ฟา้ ทะลายโจร ฟ้าทะลายโจร 1.2 วิธีการเพิ่มมูลค่าให้กบั

2. สามารถคิดคำนวณต้นทุน ผลติ ภณั ฑด์ ้วยการผลติ

ผลผลิตพืชสมุนไพรพ้นื บ้าน บรรจุภณั ฑ์ทีส่ ร้างสรรค์

ฟ้าทะลายโจร 2. การตลาดพืชสมนุ ไพร

พ้นื บ้าน ฟา้ ทะลายโจร

3. การคดิ คำนวณต้นทุนผลผลิต

8

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-sือ่ kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1

9

การจัดกระบวนการเรยี นรู้
วธิ ีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ดงั นี้
1. การบรรยาย (Lecture)
2. การระดมสมอง (Brainstorming)
3. การอภิปราย (Discussion Method)
4. การชมคลปิ วดี ีโอการบรรยายและการสาธติ
5. การฝึกปฏิบตั ิ
หมายเหตุ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะที่ 1 เรือ่ งท่ี 1 - 3 ศกึ ษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติจรงิ ตามโครงสร้างหลกั สตู ร (เรียนรู้ร่วมกับวิทยากร)
ระยะท่ี 2 เร่ืองท่ี 3 การปลูกพืชสมุนไพร ผเู้ รียนฝกึ และเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง
ระยะที่ 3 เรือ่ งท่ี 4 - 5 ศกึ ษาทฤษฎีและฝึกปฏิบตั ิจริงตามโครงสรา้ งหลักสูตร (เรียนรู้รว่ มกับวทิ ยากร)

ส่อื การเรยี นรู้
การจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสตู ร มีการใชส้ ือ่ การเรยี นรู้ และแหล่งเรยี นรู้ที่หลากหลาย ทนั สมัย

และสอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจุบนั ไดแ้ ก่
1. ใบความรู้
2. คลปิ วีดีโอการบรรยายและการสาธิต
3. ใบงาน

การวดั และประเมินผล
การวัดและประเมินผลหลักสูตร เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล

และสารสนเทศท่ีแสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งสามารถประเมนิ ได้ด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ดังน้ี
1. การสงั เกต
2. การประเมินผลงาน/ชิน้ งาน

การจบหลักสูตร
1. มรี ะยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏิบตั ติ ลอดหลกั สตู ร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ดงั น้ี
2.1 ภาคทฤษฎี สัดส่วนร้อยละ 20
2.1 ภาคปฏิบัติ สดั สว่ นรอ้ ยละ 80

เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
1. หลกั ฐานการเขา้ เรยี นตลอดหลกั สูตร
2. ทะเบียนคุมวฒุ บิ ัตร
3. วุฒบิ ัตรการศกึ ษาออกโดยสถานศึกษาที่มีการจดั การเรียนรู้หลักสูตรการปลูกพืชสมุนไพรพ้ืนบ้าน

ฟ้าทะลายโจร

9

หreลกั-สsูตkรiเlพlอ่ื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1

10
การเทียบโอน

ผู้เรียนที่จบหลักสูตรการปลูกพืชสมนุ ไพรพื้นบ้าน ฟ้าทะลายโจร อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรียน
กบั หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน หรืออื่น ๆ ได้ตามหลักเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด

บรรณานุกรม

(ทีม่ าของภาพประกอบ : กลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา)

10

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sื่อkกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี ีพ1

11

บรรณานุกรม

การคำนวณตน้ ทุนการผลติ แบบงา่ ย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก.
https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วนั ทีส่ ืบค้นขอ้ มลู 27 กรกฎาคม
2564)

การใชฟ้ า้ ทะลายโจรเพ่ือรักษาโรคโควิด -19 ตามประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ. [ออนไลน]์ .
เข้าถงึ ไดจ้ าก. http://healthydee.moph.go.th/view_article.php?id=1531. (วนั ทส่ี ืบคน้ ขอ้ มลู 27
กรกฎาคม 2564)

การทำบัญชรี ายรับ รายจ่าย เบื้องต้น. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. https://flowaccount.com/blog/. (วันที่
สืบคน้ ข้อมูล 27 กรกฎาคม 2564)

กรมสง่ เสริมการเกษตร.(2556).ขัน้ ตอนการปลูกและการดูแลรักษาฟ้าทะลายโจร. กรงุ เทพมหานคร : กรมสง่ เสริม
การเกษตร.

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร หนุนเกษตรกร-ประชาชนปลกู ‘ฟ้าทะลายโจร’ พรอ้ มหาตลาดรองรับ. [ออนไลน]์ . เข้าถึง
ไดจ้ าก https://www.posttoday.com/economy/news/658699. (วันท่ีสืบค้นข้อมลู 27กรกฎาคม
2564)

ขอ้ มลู พืชสมนุ ไพร. คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก
http://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=164. (วันที่สืบค้น
ข้อมลู 27กรกฎาคม 2564)

คุณคา่ แหง่ สมุนไพร สร้างรายได้เกษตรกรบ้านดงบัง ปราจีนบุรี ด้วยแปลงเกษตรอินทรยี ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_109740. (วันที่
สบื คน้ ขอ้ มูล 27กรกฎาคม 2564)

ธนโชติ ธรรมชาติ. (2559).ฟ้าทะลายโจร (วิจัยนี้นี้เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ปฏิบัติการวิจยั และเรือนปลูกพืชทดลอง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน). นครปฐม : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน.

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564
คณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก.
http://www.ratchakitcha.soc.go.th /DATA/PDF /2564/E/103/T_0060.PDF. (วันที่สืบค้นข้อมูล
27 กรกฎาคม 2564)

เพ่ิมมูลคา่ ใหก้ บั ผลิตภณั ฑด์ ว้ ยการผลิตบรรจุภัณฑ์ทสี่ ร้างสรรค์. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก.
https://www.vkplastic.com/2019/07/22/. (วนั ท่สี บื ค้นข้อมูล 27 กรกฎาคม 2564)

ฟ้าทะลายโจร ยกระดบั การผลิตสมุนไพรไทย สู่อุตสาหกรรมยา. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก
https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/ThaiHerb-FB200420.aspx.
(วนั ท่ีสืบค้นขอ้ มลู 27กรกฎาคม 2564)

11

rหeลกั-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

12
ฟา้ ทะลายโจร . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก http://www.agriman.doae.go.th/home/news/2563/61-62.pdf.

(วันท่ีสบื ค้นข้อมูล 28 กรกฎาคม 2564).
ยาแคปซลู ฟ้าทะลายโจร ตราอภัยภเู บศร แก้ไข้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก.https://www.abhaishop.com/th/

product/394966/product-394966. (วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มลู 28 กรกฎาคม 2564)
รฐั บาลผลักดันสมุนไพรไทย ส่งเสริมปลูกสรา้ งรายไดท้ ัง้ เกษตรกรและประเทศ. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://www.thairath.co.th/news/politic/2142750. (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมลู 28 กรกฎาคม 2564).
วิฑูรย์ ปญั ญากลุ และ กมลศรี ศรวี ฒั น.์ (2562). คูม่ อื ปลูกสมนุ ไพรเกษตรอนิ ทรยี ์ : ฟ้าทะลายโจร. (ส่วนหน่ึงของ

โครงการส่งเสริมสมุนไพรเกษตรอนิ ทรยี )์ . มูลนิธสิ ายใยแผ่นดิน มลู นิธโิ รงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร.
วิธีการแปรรูปฟ้าทะลายโจรแคปซูล. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเลย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้

จาก.https://esc.doae.go.th/. (วนั ทสี่ ืบค้นข้อมลู 28 กรกฎาคม 2564)
วธิ กี ารคำนวณตน้ ทนุ ขาย ก่อนต้ังราคาขายใหค้ ุ้ม. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://peakaccount.com/blog/.

(วนั ทส่ี ืบค้นข้อมูล 27 กรกฎาคม 2564)
สำนักยา กลุ่มงานพัฒนาระบบงานระบบยาแห่งชาติและสารสนเทศ. (2556).บัญชียาจากสมุนไพร บัญชียาหลัก

แหง่ ชาติ. นนทบรุ ี : สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
27 สรรพคณุ และประโยชน์ของฟ้าทะลายโจร ! (Kariyat) . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จากhttps://medthai.com/.

(วนั ที่สืบค้นข้อมูล 28 กรกฎาคม 2564)

12

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sื่อkกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1

13

คณะผูจ้ ดั ทำ เลขาธกิ าร กศน.
ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สูตร
ทป่ี รึกษา ที่ปรึกษาด้านพฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
1. นายวรทั พฤกษาทวีกลุ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2. นายชัยพัฒน์ พันธวุ์ ัฒนสกลุ ทีป่ รกึ ษาดา้ นเทคโนโลยที างการศกึ ษา
3. นางศทุ ธนิ ี งามเขตต์

4. นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ

คณะพัฒนาหลกั สูตร

1. นางเอือ้ มพร สุเมธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา/

พัฒนาหลกั สตู ร

2. นางสาวสรอ้ ย สกลุ เด็น ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร/

ผู้เช่ียวชาญเนอ้ื หา

3. นางสาวกฤษณา โสภี ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว้ /

ผ้เู ชีย่ วชาญเน้ือหา

4. สำนักงาน กศน. จังหวดั นครราชสีมา ผู้เช่ยี วชาญเนือ้ หา

5. นางสาวมนทา เกรียงทวที รพั ย์ ข้าราชการบำนาญ/นกั วัดผล

6. นางวรรษวรรณ บนั ลือฤทธ์ิ ครูชำนาญการพิเศษ/นกั วัดผล

7. นางสาวจีราภา เจยี มศักดิ์ นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลักสตู ร

8. นางสาวหทยั มาดา ดฐิ ประวรรตน์ นกั วชิ าการศกึ ษา/พัฒนาหลักสตู ร

คณะบรรณาธกิ าร ทป่ี รกึ ษาด้านพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบและ
1. นางศทุ ธินี งามเขตต์ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ผู้อำนวยการกลุม่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
2. นางเออ้ื มพร สุเมธาวัฒนะ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ
3. นางนสุ รา สกลนกุ รกิจ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ
4. นางสาวจีราภา เจยี มศักด์ิ นักวชิ าการศึกษา
5. นางสาวหทัยมาดา ดฐิ ประวรรตน์

ศิลปกรรม ออกแบบกราฟิก ปก/รปู เลม่

นางเอ้ือมพร สเุ มธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

พสิ จู นอ์ กั ษร นกั วิชาการศกึ ษา
นางสาวหทยั มาดา ดฐิ ประวรรตน์

13

rหeลกั-สsูตkรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 14

ชือ่ หลักสตู ร การปลกู พชื สมุนไพรพน้ื บ้าน ขมิน้ ชัน
จำนวน 40 ชั่วโมง

กลมุ่ อาชพี เกษตรกรรม

(ทมี่ าของภาพประกอบ : กลุม่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา)

ความเป็นมา
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งดว่ น ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย

ของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิ๊กดาต้า (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา
ทักษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน
กศน. จึงไดม้ ีการนำนโยบายทเ่ี กี่ยวข้อง 2 วาระ สำคญั คือ การพฒั นาทักษะทางอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
มาดำเนนิ การขบั เคล่ือน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสตู รเพื่อการพฒั นาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill
จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิด
สร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและต่อยอด
ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุม่ เพ่ือผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล
ให้เกิดการสรา้ งงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ประชาชนหรอื กลมุ่ เป้าหมายท่อี ยใู่ นชมุ ชน ต่อไป

หลกั สตู รการปลูกพืชสมุนไพร ขมิ้นชนั เปน็ การส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน ขมิ้นชัน ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณใช้เป็นยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น

14

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-s่ือkกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1

15

โรคผิวหนงั ผื่นคัน ขับลม ท้องร่วง รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เป็นต้น ขณะเดียวกนั ขม้ินชันโดยเฉพาะในรปู แบบ
ผง ยังสามารถนำมาใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการผลิตเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์เสริมความงามอื่น ๆ เช่น
ครีมบำรงุ ผวิ สบู่ และครีมขัดผิว ซึง่ เป็นผลติ ภณั ฑท์ ่มี สี ่วนแบ่งตลาดค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑป์ ระเภทอ่ืน
ปจั จุบันมีการนำ ขมนิ้ ชนั มาใชเ้ ป็นวัตถดุ บิ ในการผลติ เป็นผลิตภณั ฑม์ ากข้ึน การปลกู ขมนิ้ ชนั จะมสี ารเคอร์คูมินอยด์
(Curcuminoid) ค่อนข้างสูง ส่งผลให้ตลาดมีความต้องการขมิ้นชันสูง ซึ่งสามารถปลูกและพัฒนาให้เป็นพืช
เศรษฐกิจได้ เกษตรกรผู้ปลูกขมิ้นชันหรือประชาชนผู้ที่มีความสนใจ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพ
เพื่อสร้างรายได้ หรอื นำไปต่อยอดอาชีพ เพื่อมอี าชีพและสร้างรายได้เพ่ิม และรวมกลมุ่ นำความรูท้ ี่ได้รับจาการ
ฝึกอาชีพไป ต่อยอด อาชีพในระดับชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้
และสามารถเป็นต้นแบบ เครือข่าย ให้กับชุมชนอื่นได้เป็นพืชสมุนไพรที่ได้รับความนิยมที่มีหลากหลายชนิด
สำนักงาน กศน. ได้เล็งเห็นความสำคัญของการปลูกขมิ้นชัน และส่งเสริมให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพ
การปลกู ขมิน้ ชนั จงึ ไดจ้ ัดทำหลกั สูตรน้ีข้นึ

หลักการของหลักสตู ร
หลกั สูตรการปลกู พชื สมุนไพร ขม้นิ ชัน มกี ารกำหนดหลักการของหลักสูตรไวด้ ังน้ี
1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการปลูกสมุนไพร ขมิ้นชัน การดูแล ป้องกันโรคและศัตรูพืช ด้วยวิธีการ

เกษตรธรรมชาติ รวมทัง้ การเกบ็ เก่ยี ว การเกบ็ รกั ษาเพื่อคงสภาพสารสำคญั ไว้ให้มาก
2. เป็นหลักสูตรที่เพิ่มมูลค่าผลผลิตสมุนไพรพื้นบ้าน ขมิ้นชัน โดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์

สมนุ ไพรต่าง ๆ
3. เปน็ หลกั สตู รทสี่ ง่ เสริมใหเ้ กษตรกรรวมกล่มุ กนั เพอ่ื ทำการตลาดสมนุ ไพร ขมนิ้ ชัน
4. เป็นหลักสูตรที่ให้ผู้เรียนได้นำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตรมาใช้ในการปลูก การดูแล

สมุนไพรตามวธิ ีการของเกษตรธรรมชาติ โดยการเรยี นรู้จากการปฏิบตั ิจรงิ

จดุ หมาย
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของสมุนไพร ขมิ้นชัน และประโยชน์ของ

สมุนไพรขมน้ิ ชนั ทม่ี ตี ่อการสาธารณสุข การเศรษฐกิจ และการอุตสาหกรรม
2. เพอื่ ให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประโยชน์และสรรพคุณของสมนุ ไพร ขมิน้ ชนั
3. เพือ่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ในการปลูก การบำรุง การดแู ลป้องกันศัตรูพืชและโรคต่าง ๆ

ของสมนุ ไพร ขม้นิ ชนั
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา และการแปรรูปสมุนไพร

พ้นื บา้ น ขมิ้นชนั เป็นผลิตภัณฑอ์ าหารและยาสมุนไพรประเภทตา่ ง ๆ
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างมลู คา่ เพิม่ ของผลผลติ ทิศทางด้านการตลาด

และการคำนวณต้นทุนการผลิต การจัดจำหน่ายเพื่อสรา้ งรายได้

15

หreลกั-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1

16

กล่มุ เป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไปที่มีความสนใจในการพฒั นาและต่อยอดอาชีพ

ระยะเวลา
ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสตู ร จำนวน 40 ชั่วโมง

1. ภาคทฤษฎี จำนวน 15 ชัว่ โมง

2. ภาคปฏิบตั ิ จำนวน 25 ชั่วโมง

โครงสร้างหลกั สูตร

ที่ เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา จำนวนชวั่ โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1. ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกับ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ 1. ลกั ษณะทวั่ ไปของ
พชื สมนุ ไพร ขม้นิ ชัน 22

พืชสมุนไพรพ้นื บ้าน ขมิ้นชัน พืชสมุนไพรพ้ืนบ้าน ขม้ินชนั

2. บอกลักษณะทัว่ ไปและทาง 1.1 ชอ่ื สามญั

พฤกษศาสตร์ของพชื สมุนไพร 1.2 ช่ือวิทยาศาสตร์

พน้ื บา้ น ขมน้ิ ชัน 1.3 ช่อื อ่นื

3. บอกความสำคญั ของ 1.4 ถน่ิ กำเนิด

พชื สมนุ ไพรพน้ื บ้าน ขมิน้ ชัน 2. ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

ของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน

ขมน้ิ ชนั

2.1 เหง้าขมิน้

2.2 แง่งขมน้ิ

2.3 ใบขม้ิน

2.4 ดอกขมนิ้

3. ความสำคญั ของพืช

สมนุ ไพรพน้ื บา้ น ขมน้ิ ชนั

3.1 ด้านการแพทย์และ

สาธารณสุข

3.2 ด้านอาหารและการบริโภค

3.3 ด้านเศรษฐกจิ

3.4 ดา้ นอตุ สาหกรรม

3.5 ด้านเกษตรกรรม

16

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

17

ที่ เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา จำนวนชว่ั โมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

2. ประโยชน์และสรรพคุณ มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ 1. ประโยชนข์ องพชื สมุนไพร 2 2

ของพชื สมุนไพรพ้ืนบา้ น ประโยชน์ และสรรพคุณของ พืน้ บ้าน ขมน้ิ ชนั

ขมิน้ ชัน พชื สมนุ ไพรพื้นบ้าน ขมนิ้ ชัน 2. สรรพคุณของพืชสมุนไพร

พื้นบ้าน ขมน้ิ ชนั

3. การปลกู พืชสมนุ ไพร 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั 1. สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม 4 12

ขมิ้นชัน การปลูกพชื สมนุ ไพรพ้ืนบ้าน ในการปลกู พชื สมนุ ไพร

ขม้ินชนั พ้ืนบ้าน ขม้นิ ชนั

2. สามารถปลกู พืชสมนุ ไพร 1.1 สภาพภมู ิอากาศ

พ้นื บา้ น ขมน้ิ ชนั ได้ 1.2 สภาพพื้นท่ีปลกู

1.3 สภาพดิน

1.4 ธาตุอาหาร

1.5 สภาพน้ำ

2. ฤดกู าลปลกู พชื สมนุ ไพร

พนื้ บ้าน ขม้นิ ชัน

3. ข้นั ตอนการปลูกพชื

สมนุ ไพรพน้ื บา้ น ขม้ินชนั

3.1 การเตรียมดิน

3.2 เตรยี มแปลงปลูก

3.3 การเตรยี มพันธ์ุ

3.4 การปลูก

3.5 การดแู ลรกั ษา

4. การเก็บเกย่ี วและการแปร 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ 1. การเก็บเกี่ยวพืชสมุนไพร 4 6

รูป พืชสมุนไพรพื้นบา้ น การเกบ็ เก่ยี วและการแปรรปู พชื พนื้ บา้ น ขม้ินชนั

ขมนิ้ ชัน สมุนไพรพนื้ บา้ น ขมน้ิ ชัน 1.1 ระยะเกบ็ เกย่ี วทเ่ี หมาะสม

2. สามารถการเก็บเก่ยี วพืช 1.2 วิธกี ารเกบ็ เกย่ี ว

สมุนไพร ขมิ้นชนั 1.3 วิธกี ารขดุ

3. สามารถแปรรูปพืชสมนุ ไพร 1.4 ผลผลติ

พนื้ บา้ น ขมิ้นชัน 1.5ข้อควรระวงั ในการเกบ็ เกี่ยว

1.6 การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็

เก่ยี วพืชสมนุ ไพรพ้นื บา้ น

ขม้ินชัน

17

rหeลกั-สsูตkรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

18

ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้ือหา จำนวนชัว่ โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

2. การแปรรูปพชื สมุนไพร

พ้ืนบ้าน ขมิน้ ชัน

2.1 การทำแหง้ ขมนิ้ ชนั ทัง้ หัว

2.2การทำขมิน้ ชนั แห้งแบบชิน้

2.3 การทำขมิน้ ชนั ผง

2.4 การกลัน่ นำ้ มนั

หอมระเหยขมิ้นชนั

2.5 การบรรจุและการเกบ็

รักษาขมิ้นชนั

2.6 ผลติ ภณั ฑ์จากขมน้ิ ชนั

5. การเพิ่มมลู ค่าผลผลิต 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ 1. การเพ่ิมมลู คา่ ผลผลติ 33

การตลาด และการคดิ การเพิ่มมูลคา่ ผลผลิต การตลาด พชื สมนุ ไพรพ้ืนบ้าน ขมิน้ ชนั

คำนวณ ต้นทนุ ผลผลิตพืช และการคิดคำนวณต้นทุน 1.1 วธิ ีเพมิ่ ผลผลติ และ

สมนุ ไพรพน้ื บา้ น ผลผลิต พชื สมุนไพรพื้นบา้ น คุณภาพของขมิ้นชนั

ขม้นิ ชนั ขมิน้ ชนั 1.2 วธิ ีการเพม่ิ มูลคา่ ให้กับ

2. สามารถคิดคำนวณต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ดว้ ยการผลิตบรรจุ

ผลผลติ พืชสมนุ ไพรพ้ืนบ้าน ภณั ฑท์ ี่สรา้ งสรรค์

ขม้ินชันได้ 2. การตลาดพืชสมนุ ไพร

พนื้ บ้าน ขม้ินชัน

3. การคดิ คำนวณต้นทนุ ผลผลติ

การจัดกระบวนการเรียนรู้
วธิ ีการจัดกระบวนการเรยี นรู้ใช้รูปแบบการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ดังน้ี
1. การบรรยาย (Lecture)

2. การระดมสมอง (Brainstorming)
3. อภิปราย (Discussion Method)
4. การฝกึ ปฏิบตั ิ
5. การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

หมายเหตุ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ แบ่งเปน็ 3 ระยะ
ระยะที่ 1 เรื่องที่ 1 - 3 ศกึ ษาทฤษฎแี ละฝกึ ปฏิบตั ิจริงตามโครงสรา้ งหลักสูตร (เรียนรรู้ ่วมกับวิทยากร)

ระยะที่ 2 เรื่องท่ี 3 การปลูกพืชสมุนไพร ผูเ้ รยี นฝกึ และเรียนรู้ด้วยตนเอง

18

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sือ่ kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

19

ระยะท่ี 3 เรื่องที่ 4 - 5 ศึกษาทฤษฎแี ละฝึกปฏิบัติจรงิ ตามโครงสร้างหลักสูตร (เรียนรูร้ ว่ มกบั วทิ ยากร)

สือ่ การเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร มีการใช้สื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย

ทนั สมัย และสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จบุ นั ได้แก่
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. คลิปวดิ โี อ

การวดั และประเมินผล
การวัดและประเมินผลหลักสูตร เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใช้ผลการประเมินเป็น

ขอ้ มลู และสารสนเทศทีแ่ สดงการพฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจ ซ่ึงสามารถประเมินได้ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1. การสังเกต
2. การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน

การจบหลักสูตร
1. มรี ะยะเวลาเรียนและฝึกปฏบิ ัติตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ดังนี้
2.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนรอ้ ยละ 20
2.1 ภาคปฏิบัติ สัดส่วนร้อยละ 80

เอกสารหลักฐานการศึกษา
1. หลกั ฐานการเข้าเรยี นตลอดหลกั สูตร
2. ทะเบียนคมุ วฒุ ิบตั ร
3. วุฒิบัตรการศึกษาออกโดยสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการปลูกพืชสมุนไพร

พน้ื บา้ น ขมนิ้ ชัน

การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสตู รการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้าน ขมิ้นชัน อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรยี น

กบั หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน หรืออนื่ ๆ ได้ตามหลกั เกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด

(ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุม่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา)

19

rหeลกั-สsตู kรiเlพlอ่ื แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 20

บรรณานุกรม

การคำนวณตน้ ทุนการผลิตแบบง่าย.(ออนไลน)์ .https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-
productcost. วันท่ี 26 กรกฎาคม 2564.

การจัดการการผลติ ขมิ้นชนั ในระบบเกษตรอินทรยี เ์ พ่ือเพ่มิ ผลผลติ . (ออนไลน)์ .
https://rae.mju.ac.th/goverment/20130325103535_2013_rae/Doc_2563031110501
5_91741.pdf.วันที่ 26 กรกฎาคม 2564.

การทำบัญชีรายรบั รายจา่ ย เบือ้ งตน้ . (ออนไลน์). https://flowaccount.com/blog/. วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2564.
การปลูกขมน้ิ ชัน กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(ออนไลน์).

http://www.doae.go.th/library/html/veget_all.html.วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2564
การแพทย์แผนไทยและสมนุ ไพรไทย (รายงานวจิ ยั ฉบับนเ้ี ป็นเป็นสว่ นหนึง่ ของกลุม่ งานการแพทยแ์ ผนไทยและ

การแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี) .จันทบุรี : ศูนย์การศึกษา
แพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า.
กองกฎี และสัตววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร.(2543). คำแนะนำการปอ้ งกนั กำจัดแมลงและสตั ว์ศตั รูพืช ปี 2543.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(2544.) ขมน้ิ ชนั .(ผลงานวชิ าการประจำปี 2543).
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั .
กรมสง่ เสริมการเกษตร. (2545). การผลิตสมนุ ไพรและเครื่องเทศ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกดั .
__________________. (2551). ขม้นิ ชนั . คมู่ ือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร. กรงุ เทพฯ : ฝา่ ยโรงพิมพ์
สำนักพฒั นา การถา่ ยทอดเทคโนโลยี.
กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ รารยี า จริ ธนานวุ ฒั น์ และภานุพงษ์ ภู่ตระกูล. (2562). สถานการณ์การวจิ ัยสมนุ ไพรไทย:
การทบทวนวรรณกรรมอยา่ งเป็นระบบและข้อเสนอเชิงนโยบาย (วิจยั น้เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ในวารสาร
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก).นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสขุ .
ข้อมลู พชื สมนุ ไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. (ออนไลน)์ .
http://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=51 .วันท่ี 23
กรกฎาคม 2564.
ข้อมูลสมุนไพรขม้นิ ชนั คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี . (ออนไลน)์ .
http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=34 . วนั ท่ี 23
กรกฎาคม 2564.
ข้นั ตอนการปลกู และการดแู ลรกั ษาขม้ินชัน. (ออนไลน์).
http://www.agriman.doae.go.th/home/Research/Herb57/206.pdf. วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2564.
ขมิ้น . (ออนไลน)์ . https://th.wikipedia.org/wiki/. วันท่ี 23 กรกฎาคม 2564.

20

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1

21

ขมิน้ . (ออนไลน)์ . https://th.wikipedia.org/wiki/. วนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2564.
ขมน้ิ สรรพคุณและประโยชน์ของขมิน้ ชนั . (ออนไลน)์ .https://www.opsmoac.go.th/surin-local_wisdom-

preview-422891791843 . วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2564.
ขมน้ิ สรรพคุณและประโยชน์ของขมิ้นชนั 55 ข้อ !. (ออนไลน)์ . https://medthai.com/. วันที่ 25 กรกฎาคม 2564.
ขม้ินชัน . (ออนไลน)์ . https://sites.google.com/site/areara508/my-map .วนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2564.
ขมิน้ ชัน. (ออนไลน์) . http://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbI D=51 .

วันที่ 23 กรกฎาคม 2564.
ขมิ้นชนั (Khamin chan : Turmeric) . (ออนไลน์)

http://www.agriman.doae.go.th/herbal/herbdoae006/khamin%20chan.pdf .วนั ท่ี 23
กรกฎาคม 2564.
“ขมิน้ ชนั ” ขึ้นทะเบียนยาแผนปจั จุบัน. (ออนไลน)์ . https://www.rajavithi.go.th/rj/?p=5419 .
วันที่ 23 กรกฎาคม 2564.
“ขม้ินชัน” พชื เศรษฐกิจ ยกฐานะเกษตรกร องค์การเภสชั ซือ้ ทำยาสรา้ งรายได้กวา่ 10 ล้าน . (ออนไลน)์ .
https://www.southdeepoutlook.com/ShowAllDetails/detail_trending/.วันที่ 23 กรกฎาคม
2564.
ขม้นิ ชนั กบั 6 คุณประโยชน์ต่อสุขภาพทตี่ ้องร้.ู (ออนไลน)์ .
https://www.megawecare.co.th/content/4992/6-key-benefits-of-curcumin .วันท่ี
23 กรกฎาคม 2564.
คณุ ประโยชน์ของขมนิ้ ชนั . (ออนไลน)์ . https://guru.sanook.com/5904/. วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2564.
คณุ ประโยชนข์ องขม้นิ ชนั สรรพคณุ ป้องกันสารพัดโรค. (ออนไลน์).
https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/1999331. วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2564
โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาด สารสกัดสมุนไพรไทยเปา้ หมาย.(ออนไลน์).
https://www.nanotec.or.th/th/wp-
content/uploads/2019/02/NANOTECebook_herbmarket.pdf วนั ที่ 23 กรกฎาคม 2564.
ชัชวาลย์ ชา่ งทำ. (2558). คุณประโยชน์และฤทธ์ิทางชวี ภาพท่หี ลากหลายของสมนุ ไพรขม้ินชนั .
(วทิ ยานพิ นธน์ ้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระ
เกียรติ 2558.) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั หัวเฉยี วเฉลมิ พระเกียรต.ิ
ฉวีวรรณ พฤกษ์สุนันท์ บรรจบ อินทรสุขศรี และมานิต สีโทชวลิต.(2529).ผลของขมิ้นชันต่อการเปลี่ยนแปลง
เยื่อบุผนังกระเพาะอาหารและลำไส้ดุโอนัมในผู้ป่วยแผลเปื่อยเปปติค รายงานเบื้องต้นในผู้ป่วย 10
ราย.(วิจยั น้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของวารสารเภสัชวทิ ยา).สำนกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

21

rหeลกั-สsูตkรiเlพlอ่ื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1

22

ชฎา พิศาลพงศ์. (2563). การประเมินข้อมูลการวจิ ัยทางคลินกิ ของขมิ้นชันและข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องเพ่ือเสนอ
แนวทางการวิจัยขมิ้นชันในอนาคต (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาการวิจัย
การเกษตร.

ชลู ีรตั น์ คงเรือง. (2548).การผลติ และการตลาดขมนิ้ ชนั และผลิตภณั ฑใ์ นตำบลลานข่อย อำเภอปา่ พะยอม
จังหวัดพัทลุง (วิจัยน้เี ปน็ สว่ นหนึง่ ทไ่ี ด้รบั ทุนอดุ หนุนการวจิ ัยประเภทงบประมาณเงนิ รายได้
ประจำปี2547). สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ถงึ เวลาโกยเงิน SME รกุ ตลาดสมุนไพร.(ออนไลน์).
https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAn
alysis/Documents/Herb_Market.pdf. วันท่ี 26 กรกฎาคม 2564.

เทรนดข์ ม้นิ ชนั อุตสาหกรรมยา เครื่องสำอางมาแรง .(ออนไลน)์ .
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_131723 .วันที่ 23
กรกฎาคม 2564.

นพมาศ สุนทรเจริญนนท์. (2544.).ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ดียุค 2001 ควรเป็นอย่างไรการสัมมนาเรื่องแนว
ทางการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย
และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสูเชิงพาณิชย์ สถาบันวิจัยสมุนไพรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์.
กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ.

บญุ หงษ์ จงคดิ .(2549).การปรับปรุงพนั ธุขม้นิ ชันเพื่อเพิม่ ผลผลติ และคณุ ภาพ วิจัยนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของรายงาน
การวิจัยประจำปี 2549).กรุงเทพมหานคร: คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

แผนแม่บทแห่งชาตวิ ่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 กระทรวงสาธารณสุข.(ออนไลน)์ .
https://www.dtam.moph.go.th/images/download/dl0021/MasterPlan-
Thaiherb.pdf. วันที่ 26 กรกฎาคม 2564.

พนารชั ปรีดากรณ์ เติมธรรม สทิ ธเิ ลิศ สุภาวดี เหลา่ ฤทธิรตั น์ ลลิดา ปรดี ากรณ์ และแพรดาว ฟูพาณิชย์พฤกษ์.
(2563). ยุทธศาสตร์การวิจยั การเกษตรรายสินค้า : ขมิน้ ชันและบัวบก (รายงานผลการวจิ ัย).
กรุงเทพฯ : สำนักงานพฒั นาการวจิ ัยการเกษตร.

พนิดา อติเวทนิ . (2542). อิทธิพลของไนโตรเจนและฟอสฟอรสั และอายุเกบ็ เกีย่ วต่อผลผลิตและปริมาณสาร
เคอร์คูมนิ ในขม้นิ ชนั (Curcuma longa L.). ขอนแกน:มหาวทิ ยาลัยขอนแกน.

เพิ่มมลู คา่ ให้กบั ผลิตภณั ฑ์ดว้ ยการผลิตบรรจุภณั ฑท์ ่สี รา้ งสรรค์. (ออนไลน์).
https://www.vkplastic.com/2019/07/22/. วนั ท่ี 27 กรกฎาคม 2564.

ยทุ ธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(ออนไลน์).
https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171121-moac-thailand-4.pdf.วนั ท่ี
26 กรกฎาคม 2564.

22

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่ือkกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1

23

วิธีปลูกขมิน้ ชัน (Turmeric). (ออนไลน์). https://www.plookphak.com/how-to-plant-turmeric/. วนั ท่ี
27 กรกฎาคม 2564.

วธิ กี ารคำนวณตน้ ทุนขาย ก่อนตง้ั ราคาขายใหค้ มุ้ . (ออนไลน์). https://peakaccount.com/blog/. วนั ที่ 27
กรกฎาคม 2564.

วรวิทย ยิง่ สวสั ด์ิ และบัวบาง ยะอปู . (2536). การวจิ ยั และพฒั นาพชื สมนุ ไพรและเครือ่ งเทศ (วิจยั น้ีเปน็ สว่ นหนึ่งใน
การสัมมนาผลการดำเนินงานโครงการวจิ ัย KIP ประจำปี 2536).กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ประโยชน์ของ ขมนิ้ สมุนไพรพื้นบ้านทีม่ ากคุณค่า. (ออนไลน์).
https://amprohealth.com/herb/turmeric/. วนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2564

สำนกั ยา กลุ่มงานพัฒนาระบบ งานระบบยาแหง่ ชาติและสารสนเทศ. (2556).บญั ชยี าจากสมุนไพร บญั ชยี า
หลกั แหง่ ชาต.ิ นนทบุรี : สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.

สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.(2544). มาตรฐานสมนุ ไพรไทย เลม่ 2
ขมน้ิ ชนั . นนทบรุ ี : กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

สุภาภรณ์ สาชาติ. (2558).วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันอย่างยั่งยืน (รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
โครงการวจิ ัยกรมวิชาการเกษตร). กรงุ เทพมหานคร :กรมวชิ าการเกษตร

สภุ าพดดี ว้ ยสมุนไพรไทย โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ ตอน
ขมน้ิ ชนั ไทย สดุ ยอดสมนุ ไพร Champion Products.(ออนไลน์).
https://www.matichon.co.th/uncategorized/ news_938381 .วันท่ี 23 กรกฎาคม
2564.

สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ. (2561). โครงการศึกษาโอกาสทางการตลาดสมนุ ไพร
ไทยเปา้ หมาย (รายงานผลการวิจยั ). ปทุมธานี : สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ.

สรุ พจน์ วงศ์ใหญ.่ (2555). บทวเิ คราะหด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พื่อเตรียมความพร้อม
ภาคอตุ สาหกรรมสมนุ ไพรไทยเขา้ สู่ ASEAN Harmonization (รายงานผลการวิจัย). ปทุมธานี :
สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ.

23

หreลัก-สsตู kรiเlพlือ่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

24

คณะผจู้ ดั ทำ เลขาธิการ กศน.
ปรกึ ษา ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สูตร
1. นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
2. นายชยั พฒั น์ พันนธุ์วฒั นสกุล การศึกษาตามอธั ยาศัย
3. นางศุทธินี งามเขตต์ ทปี่ รึกษาด้านเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

4. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ

คณะพัฒนาหลกั สูตร

1. นางเอื้อมพร สุเมธาวัฒนะ ผอู้ ำนวยการกล่มุ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

2. นางสาวสรอ้ ย สกุลเดน็ ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร/

ผ้เู ช่ียวชาญเนือ้ หา

3. นางสาวกฤษณา โสภี ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว/

ผเู้ ชย่ี วชาญเนือ้ หา

4. สำนักงาน กศน. จังหวดั นครราชสีมา ผู้เช่ยี วชาญเนื้อหา

5. นางสาวมนทา เกรยี งทวที รัพย์ ข้าราชการบำนาญ/นกั วดั ผล

6. นางวรรษวรรณ บันลือฤทธิ์ ครูชำนาญการพเิ ศษ/นักวดั ผล

7. นางสาวจีราภา เจยี มศักด์ิ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลกั สตู ร

8. นางสาวหทัยมาดา ดฐิ ประวรรตน์ นักวิชาการศึกษา/พฒั นาหลักสตู ร

คณะบรรณาธกิ าร ทีป่ รึกษาด้านพฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
1. นางศทุ ธินี งามเขตต์ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ผู้อำนวยการกลุม่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
2. นางเออ้ื มพร สเุ มธาวัฒนะ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ
3. นางนุสรา สกลนุกรกจิ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ
4. นางสาวจรี าภา เจียมศกั ด์ิ นกั วชิ าการศกึ ษา
5. นางสาวหทัยมาดา ดิฐประวรรตน์

ศลิ ปกรรม ออกแบบกราฟกิ ปก/รปู เลม่

นางเอ้อื มพร สุเมธาวฒั นะ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

พิสูจน์อกั ษร
นางสาวหทยั มาดา ดิฐประวรรตน์ นักวิชาการศกึ ษา

24

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี พี1

25

ชื่อหลักสตู ร การทำอาหารคาวเพอ่ื สุขภาพ
จำนวน 46 ชว่ั โมง
กลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม

(ท่ีมาของภาพประกอบ : กล่มุ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา)

ความเปน็ มา
ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ได้แก่ ความปลอดภัย

ของผเู้ รียน หลักสตู รฐานสมรรถนะ บิก๊ ดาต้า (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา
ทกั ษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวติ และการจดั การศึกษาสำหรับผู้ท่ีมีความต้องการเป็นพิเศษ สำนกั งาน กศน.
จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิตมา
ดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill
จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ
ความคดิ สรา้ งสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพือ่ พฒั นาประชาชนให้มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพฒั นาและต่อยอด
ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุม่ เพื่อผลติ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล
ให้เกิดการสร้างงาน สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายไดป้ ระชาชนหรือกลุ่มเปา้ หมายที่อยใู่ นชมุ ชน ต่อไป

เพื่อสนองต่อนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายและสถานศึกษามคี วามพร้อมในการบรกิ ารตามสภาพบริบท เพ่อื สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาพัฒนา
อาชีพ Re - Skill และ Up - Skill สำหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงาน กศน. จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพ เป็น
หลักสูตรในกลุ่มเสริมภูมิคุ้มกันไวรัสให้แก่ร่างกาย โดยการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของสมุนไพรเสริม
ภูมิคุ้มกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แก่ กระชาย ขิง ฟ้าทะลายโจร มะขามป้อม ขมิ้นชัน เป็นต้น
สอดคลอ้ งกับคำกล่าวทวี่ ่า “รับประทานอาหารเป็นยา” เมนอู าหารได้รับการพัฒนาจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาหาร
และโภชนาการ เป็นเมนูที่พัฒนาขึ้นใหม่ ที่มีวิธีการประกอบอาหารคาวเพื่อสุขภาพ ไม่ยุ่งยาก รสชาติอาหาร
เหมาะสมกับคนไทย แต่เปี่ยมไปด้วยคุณค่าของสารอาหารที่เสริมภูมิคุ้มกัน จัดทำขึ้นเพ่ือตอบสนองนโยบาย
ของสำนักงาน กศน. ที่มุ่งส่งเสริมการจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ Re - Skill และ Up - Skill
ใหแ้ ก่ประชาชนทีไ่ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

25

rหeลัก-สsตู kรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1

26

หลักการของหลักสูตร
หลักสตู รการทำอาหารคาวเพือ่ สุขภาพ มกี ารกำหนดหลักการของหลักสตู รไวด้ งั น้ี
1. เปน็ หลักสูตรการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพท่ีเน้นการใช้สมุนไพรมาเป็นวัตถุดิบเพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน

โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. เปน็ หลกั สตู รท่ใี ห้ความสำคัญกับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดิบต่าง ๆ ทร่ี า่ งกายจะได้รับเพื่อ

เสริมภมู คิ ุ้มกนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3. เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าในการประกอบอาชีพการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพจาก

การเลอื กใช้บรรจภุ ัณฑส์ ำหรับตกแต่ง จัดเสิร์ฟ การคดิ ตน้ ทนุ และช่องทางการจัดจำหน่าย
4. เป็นหลักสูตรทส่ี ามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายได้ให้ท้ังตนเองและชุมชน

จุดหมาย
1. ผ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการทำอาหารคาวเพือ่ สุขภาพ
2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั คุณค่าและประโยชนข์ องวัตถุดิบที่นำมาใชใ้ นการทำอาหารคาว

เพื่อสุขภาพ
3. ผเู้ รยี นสามารถจดั ทำอาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ
4. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การเพ่ิมมูลค่าในการประกอบอาชพี การทำอาหารคาวเพ่ือสุขภาพ

จากการเลอื กใช้บรรจภุ ัณฑ์สำหรบั ตกแต่ง จดั เสิร์ฟ การคิดตน้ ทุน และชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย
5. ผเู้ รียนสามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายได้ให้ทงั้ ตนเองและชุมชน

กลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนทัว่ ไปที่มีความสนใจในการพัฒนาและต่อยอดอาชพี

ระยะเวลา
ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สตู ร จำนวน 46 ชั่วโมง แบง่ เปน็
1. ภาคทฤษฎี จำนวน 16 ชวั่ โมง
2. ภาคปฏิบัติ จำนวน 30 ชวั่ โมง

(ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุม่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา)

26

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

27

โครงสรา้ งหลกั สตู ร

ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอ้ื หา จำนวนชว่ั โมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั 1. ความหมายของอาหารคาว 2 2

อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ อาหารคาวเพอ่ื สุขภาพ เพื่อสุขภาพ

2. ประเภทของอาหารคาว

เพอ่ื สุขภาพ

3. ความสำคัญของอาหารคาว

เพื่อสุขภาพ

4. ประโยชน์ของอาหารคาว

เพ่อื สุขภาพ

5. สขุ อนามยั ในการทำอาหารคาว

เพอื่ สขุ ภาพ

2. เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ 1. เครื่องมอื และอุปกรณ์ในการทำ 2 2

ในการทำอาหารคาว เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในการทำ อาหารคาวเพือ่ สุขภาพ

เพ่อื สุขภาพ อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ 2. การเลอื กเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์

2. สามารถเลือกใช้เครอื่ งมอื ในการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพ

และอุปกรณใ์ นการทำอาหารคาว 3. การดแู ลรกั ษาเครือ่ งมือและ

เพอ่ื สุขภาพ อุปกรณ์ในการทำอาหารคาว

3. สามารถดแู ล เก็บรกั ษา เพื่อสขุ ภาพ

เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในการทำ

อาหารคาวเพ่อื สขุ ภาพ

3. วัตถดุ บิ สำหรบั การทำ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ 1. ส่วนประกอบของอาหารคาว 3 3

อาหารคาวเพ่ือสขุ ภาพ วตั ถุดิบสำหรบั การทำอาหารคาว เพ่อื สุขภาพ

เพื่อสุขภาพ 2. การเลือกวัตถดุ ิบสำหรบั

2. สามารถเลือกใช้วตั ถุดบิ การทำอาหารคาวเพอื่ สขุ ภาพ

การทำอาหารคาวเพอื่ สุขภาพ 3. การเก็บรกั ษาวตั ถดุ ิบอาหารคาว

3. สามารถเกบ็ รกั ษาวตั ถุดิบ เพื่อสุขภาพ

อาหารคาวเพอื่ สขุ ภาพ 4. สมนุ ไพรตา้ นโควดิ

4. สามารถบอกคุณคา่ ประโยชน์ 5. คุณค่าประโยชน์และ

และผลข้างเคยี งของวัตถุดบิ ผลขา้ งเคียงของวตั ถุดิบสำหรับ

27

rหeลัก-สsตู kรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1

28

ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอ้ื หา จำนวนชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ

สำหรบั นำมาใชใ้ นการทำ นำมาใชใ้ นการทำอาหารคาวเพ่อื

อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ สขุ ภาพ

4. การทำอาหารคาว 1. มีความรู้ ความเข้าเกย่ี วกบั 1. การทำอาหารคาวเพ่ือสขุ ภาพ 5 15

เพ่อื สขุ ภาพ การทำอาหารคาวเพอ่ื สขุ ภาพ ต้มโคล้งมะขามป้อม

2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ 1.1 สัดส่วนของวัตถุดบิ

คุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดิบ 1.2 ขน้ั ตอนการทำ

ในการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพ 1.3 เทคนิคการทำ

3. สามารถทำอาหารคาว 1.4 คณุ คา่ และประโยชน์

เพ่อื สุขภาพ ตม้ โคล้งมะขามป้อม ของวัตถุดบิ

4. สามารถทำอาหารคาว 2. การทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพ

เพอ่ื สขุ ภาพ ปกี ไก่ทอดค่วั ขม้ิน ปีกไกท่ อดคว่ั ขมิ้น

5. สามารถทำอาหารคาว 2.1 สัดสว่ นของวตั ถดุ บิ

เพ่ือสขุ ภาพ น้ำพริกกระชายผัด 2.2 ข้นั ตอนการทำ

2.3 เทคนคิ การทำ

2.4 คณุ คา่ และประโยชน์

ของวัตถุดบิ

3. การทำอาหารคาวเพ่ือสุขภาพ

นำ้ พริกกระชายผัด

3.1 สดั สว่ นของวตั ถุดบิ

3.2 ขน้ั ตอนการทำ

3.3 เทคนิคการทำ

3.4 คณุ ค่าและประโยชน์

ของวตั ถุดิบ

5. บรรจภุ ัณฑแ์ ละการจดั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1. ความหมายและความสำคัญ 2 4

ตกแตง่ และจดั เสิร์ฟ เกีย่ วกับ บรรจุภัณฑ์อาหาร ของบรรจุภณั ฑ์

อาหารคาวเพื่อสุขภาพ คาวเพอื่ สุขภาพ 2. ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์

2. มีความรู้ ความเขา้ ใจและ 3. ประโยชนข์ องบรรจภุ ณั ฑ์

เลือกใช้บรรจุภณั ฑ์ได้ 4. การเลอื กใช้บรรจภุ ณั ฑ์

3. สามารถตกแต่งและจัดเสิร์ฟ 5. การจัดตกแตง่ และจัดเสริ ์ฟ

อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ

28

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sื่อkกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1

29

ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอ้ื หา จำนวนชวั่ โมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

6. หลักการจัดจำหนา่ ย 1. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ 1. หลกั และองคป์ ระกอบของ 2 4

และหลักการกำหนด หลกั การจัดจำหน่ายและ การจดั จำหนา่ ย

ราคา หลกั การกำหนดราคาอาหารคาว 2. หลักและองค์ประกอบของ

เพ่ือสุขภาพ การกำหนดราคา

2. สามารถกำหนดราคา 3. ตลาดอาหารคาวเพือ่ สขุ ภาพ

อาหารคาวเพอื่ สขุ ภาพ

3. สามารถอธิบายการตลาด

อาหารคาวเพื่อสขุ ภาพ

4. สามารถอธบิ ายแนวทาง

การจำหน่ายอาหารคาว

เพือ่ สุขภาพ

การจัดกระบวนการเรียนรู้
วิธีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ใช้รูปแบบการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ดังน้ี
1. การบรรยาย (Lecture)
2. การระดมสมอง (Brainstorming)
3. การอภปิ ราย (Discussion Method)
4. การชมคลิปวีดโี อการบรรยายและการสาธิต
5. การฝึกปฏิบัติ

ส่ือการเรียนรู้
การจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลักสูตร มกี ารใชส้ อ่ื การเรียนรู้ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีหลากหลาย ทนั สมัย

และสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปจั จุบนั ได้แก่
1. ใบความรู้
2. คลิปวีดีโอการบรรยายและการสาธติ
3. ใบงาน

29

หreลัก-สsตู kรiเlพlอ่ื แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

30
การวดั และประเมนิ ผล

การวัดและประเมินผลหลักสูตร เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล
และสารสนเทศที่แสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถตอ่ การทำอาหารคาวเพือ่ สุขภาพ ซึ่งสามารถ
ประเมนิ ไดด้ ว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1. การสงั เกต
2. การสอบถาม
3. การตรวจผลงาน/ชน้ิ งาน
4. การทดสอบ

การจบหลกั สตู ร
1. มีระยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏบิ ัติตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ดังน้ี
2.1 ภาคทฤษฎี สดั สว่ นร้อยละ 20
2.1 ภาคปฏบิ ัติ สัดสว่ นรอ้ ยละ 80

เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
1. ใบลงทะเบียนระยะเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบตั ิ
2. ทะเบยี นคุมวฒุ บิ ตั ร
3. วฒุ ิบัตร ออกโดยสถานศึกษา

การเทียบโอน
ผู้เรียนที่จบหลักสูตรการทำอาหารคาวเพื่อสุขภาพ อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรียนกับ

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน หรอื อ่นื ๆ ได้ตามหลกั เกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด

30

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1

31

บรรณานุกรม

การคำนวณตน้ ทุนการผลติ แบบง่าย. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก.
https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วนั ที่สืบค้นขอ้ มูล 27
กรกฎาคม 2564).

การจำแนกชนดิ ของผัก. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://www.scimath.org/article-biology/item/500-
vegetables25. (วันท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564).

การจดั อาหารประเภทสำรบั : การจัดอาหารสำรบั คาว. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/zersaihaha/6-tktaeng-xahar-khaw-laea-hwan-tam-hlak-
withi-kar. (วันท่ีสบื คน้ ขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564)

ขวญั แกว้ วัชโรทัย.(2536). วิวฒั นาการและศลิ ปะการจดั โตะ๊ อาหาร เครอ่ื งดื่มและเมนูอาหาร. กรงุ เทพมหานคร :
อมรินทร์พรน้ิ ตงิ้ กร๊ปุ จำกดั .

ความท้าทายหรือโอกาสอาหารไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก.https://www.prachachat.net/finance/news-
686596. (วันที่สบื ค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564).

ความเปน็ มาของอาหาร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก
http://kruakaangbaan.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html. (วันที่สืบค้นข้อมูล 1
สงิ หาคม 2564).

ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกบั อาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://pubhtml5.com/wkww/lbbh/basic. (วนั ทีส่ บื คน้ ขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564).

ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั อาหารวา่ ง. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://pubhtml5.com/wkww/lbbh/basic. (วันที่สืบค้นข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564).

ความสำคญั ของอาหารและโภชนาการทมี่ ีต่อสุขภาพ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/606150616caruwrrn/khwam-sakhay-khxng-xahar-laea-
phochnakar-thi-mi-tx-sukhphaph. (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมูล 1 สิงหาคม 2564).

ความสำคญั ของอาหาร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/sunisachahmin/khwam-sakhay-khxng-xahar. (วันที่สืบค้น
ขอ้ มูล 1 สงิ หาคม 2564).

เจาะตลาดอาหารไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://www.thaipost.net/main/detail/56094 . (วันที่
สืบคน้ ขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564).

ฉลองศรี พมิ ลสมพงษ.์ ( 2543).การจดั บริการอาหารและเคร่ืองด่ืม. กรุงเทพมหานคร .มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
ชวนชม สงเคราะห์พันธ์ุ. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาหลักการประกอบอาหาร. วิทยาลัย

เทคโนโลยีครวั วนั ดี, กรงุ เทพ ฯ.
ชลธชิ า บุนนาค. (2543). การบรกิ ารอาหารและเครือ่ งดื่ม.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบณั ฑิตย.์

31

หreลัก-สsูตkรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

32

ดร. วิชุดา ณ สงขลา ศรียาภัย. (2540). ตำราอาหารตามสั่ง บทความคิดต้นทุนอาหาร โรงเรียนสอนอาหาร
ครวั วนั ดี กรุงเทพฯ.

นำ้ กระชายเสริมภมู ิคมุ้ กัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2348.
(วนั ท่สี ืบค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564).

นำ้ ขิง ประโยชน์แจม่ จริง ๆ ด่ืมทุกวันย่ิงดีเลย . คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึง
ได้จาก http://fic.ifrpd.ku.ac.th/fic/index.php/en/informaton-service-menu-en/food-
news-menu-en/food-news-main-menu/589-food1-10-08-2018 (วันที่สบื ค้นขอ้ มลู 24
กรกฎาคม 2564).

ปี 2563 : ปที องของอาหารพร้อมรบั ประทาน. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก.
https://marketeeronline.co/archives/135651. (วันท่ีสืบคน้ ข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564).

ประเภทอาหารคาว-5920710042. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก
https://sites.google.com/site/praphethxaharkhaw5920710042/home/xahar-khaw-
khux. (วนั ที่สบื ค้นขอ้ มลู 1 สิงหาคม 2564).

ประโยชน์และสรรพคุณของกระชาย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1889689. (วันที่สืบคน้ ขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564).

โปรตนี สารอาหารท่รี ่างกายขาดไม่ได้. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก
https://amprohealth.com/nutrition/protein/. (วันท่สี ืบคน้ ขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564).

พเิ ชษฐ์ วิไลลกั ษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาผลติ ภัณฑเ์ บเกอร่.ี วิทยาลัยเทคโนโลยีครวั วนั ดี,
กรุงเทพ ฯ.

พิเชษฐ์ วิไลลักษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่ม วิทยาลัย
เทคโนโลยคี รัววนั ดี, กรงุ เทพ ฯ.

พิมชนก รุ่งไหรัญ. (2564). หนังสือภาษาอังกฤษสำหรับการประกอบอาหารไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี,
กรงุ เทพ.

พสิ มยั ปโชตกิ าร. (2521). งานบริการอาหารและเคร่ืองด่ืม.กรงุ เทพมหานคร: ซีเอด็ ยูเคชั่น จำกดั .
มะขามปอ้ ม ผลไม้วติ ามนิ ซสี งู ปรด๊ี . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก

https://health.kapook.com/view178427.html. (วนั ท่สี บื คน้ ข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564).
มานิจ คุ้มแควน้ . (2552).การบริการอาหารและเคร่ืองด่มื . กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร.์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. (2551). เอกสารการสอนชุดวชิ าการจดั การและเทคนิคการบรกิ ารในโรงแรม.

ปากเกรด็ นนทบุรี. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.
ล้วงลกึ 6 สุดยอดสรรพคณุ ในขม้นิ ชัน ท่ีชว่ ยล้างพิษ. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก

https://www.sanook.com/health/24691/. (วนั ทส่ี บื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564).

32

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-s่อื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี พี1

33

วัตถุดบิ ในการปรุงอาหาร. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก
https://w54620632.readyplanet.site/17535810/วัตถดุ บิ ในการปรุงอาหาร. (วนั ที่สืบค้นข้อมูล
24 กรกฎาคม 2564).

วนั ดี ณ สงขลา. (2530). หนงั สอื ทฤษฎีอาหาร โรงเรยี นสอนอาหารครวั วนั ดี กรุงเทพฯ.
ศักดนิ์ รนิ ทร์ หงศร์ ตั นาวรกจิ . (2551). การจัดโต๊ะอาหารและการบรกิ าร.เคร่ืองดื่ม. กรงุ เทพมหานคร :

โอเดยี นสโตร.์
สมนุ ไพรไทยรักษาโรค. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/chayada10381/kar-keb-raksa. (วันทส่ี ืบคน้ ข้อมูล 24
กรกฎาคม 2564).
สรรพคุณฟ้าทะลายโจร. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://med.mahidol.ac.th/altern_med/th/km/19jun2020-1729. (วนั ทสี่ ืบค้นข้อมูล 24
กรกฎาคม 2564).
หลักสตู รฝกึ อบรมการประกอบอาหารไทยประเภทอาหารคาว. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://anyflip.com/ddcvn/xiwd/basic. (วันทสี่ บื ค้นข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564).
อาหารคาว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/foogoflife/home/chnid-khxng-xahar-thiy. (วนั ทีส่ บื คน้
ข้อมูล 1 สิงหาคม 2564).
อาหารคาว. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/savoryfood12/home. (วันทส่ี บื ค้นข้อมูล 1 สงิ หาคม 2564).
อาหารประเภทสำรบั . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://waveakkarapon.wordpress.com/อาหารประเภท
สำรับ/. (วนั ทสี่ ืบค้นขอ้ มูล 23 กรกฎาคม 2564).
อาหารสมนุ ไพร เสริมภูมิคุ้มกัน ในภาวะทม่ี ีการระบาดของโควิด-19. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://www.tcels.or.th/getattachment/Mini-Site/COVID-19/20200430-อาหารสมนุ ไพร
เสริมภูมคิ ุม้ กันในชว่ ง-COVID.pdf.aspx?lang=th-TH. (วันทส่ี บื ค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564).
อาหารและสารอาหาร. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก
https://cogtech.kku.ac.th/innovations/foodsynthesis/resou1_1.htm. (วันที่สืบค้นข้อมูล 1
สิงหาคม 2564).
อปุ กรณ์ เครอ่ื ง เคร่อื งใชใ้ นการประกอบอาหาร. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/606150616caruwrrn/2-xupkrn-kheruxng-mux-kheruxng-
chi-ni-kar-prakxb-xahar. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564).
5 สมุนไพรพ้นื บา้ นชว่ ยต้านโควดิ -19. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.dmh.go.th/news-
dmh/view.asp?id=30588. (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564).

33

rหeลัก-สsูตkรiเlพl่ือแกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1

34

คณะผจู้ ัดทำ

ทีป่ รึกษา

1. นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ เลขาธกิ าร กศน.

2. นายชัยพฒั น์ พนั นธว์ุ ฒั นสกลุ ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลักสตู ร

3. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอัธยาศยั

4. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ ทปี่ รกึ ษาดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

คณะพัฒนาหลกั สตู ร

1. นางเอ้อื มพร สเุ มธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกลุม่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

/พัฒนาหลักสตู ร

2. นางสาววิชุดา ณ สงขลา ศรยี าภัย ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั เทคโนโลยคี รวั วันดี/

ผู้เช่ียวชาญเนื้อหา

3. นางสาวกลั ยาณี ภูผ่ อ่ ง ครู วทิ ยาลยั เทคโนโลยีครัววันดี/ผู้เชย่ี วชาญเน้ือหา

4. นางจไุ รรัตน์ พืชสงิ ห์ ครู วทิ ยาลยั เทคโนโลยคี รวั วนั ดี/ผู้เช่ียวชาญเนื้อหา

5. นางชวนชม สงเคราะห์พนั ธ์ ครู วทิ ยาลยั เทคโนโลยีครัววันด/ี ผ้เู ชย่ี วชาญเนื้อหา

6. นางสาวจฑุ าภรณ์ ชมด ครู วิทยาลัยเทคโนโลยคี รวั วันดี/ผู้เช่ยี วชาญเน้อื หา

7. นางสาววลยั ลักษณ์ เจมิ ววิ ัฒนก์ ุล ครู วิทยาลยั เทคโนโลยีครวั วนั ด/ี ผู้เชีย่ วชาญเน้ือหา

8. นางพรรณทิพา ชนิ ชชั วาล ขา้ ราชการบำนาญ/นักวัดผล

9. นางสาวมณฑา เกรียงทวีทรัพย์ ขา้ ราชการบำนาญ/นักวัดผล

10. นางวรรษวรรณ บันลือฤทธ์ิ ครูชำนาญการพิเศษ/นักวัดผล

11. นางสาวอุษณี โพธเดชขจร นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลกั สูตร

12. นางนุสรา สกลนกุ รกิจ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พฒั นาหลกั สตู ร

13. นางสาวจีราภา เจยี มศกั ดิ์ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ/พัฒนาหลักสตู ร

คณะบรรณาธิการ

1. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอธั ยาศยั

2. นางเออื้ มพร สเุ มธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

3. นางนุสรา สกลนกุ รกจิ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ

4. นางสาวจีราภา เจียมศกั ด์ิ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ

ศิลปกรรม ออกแบบกราฟิก ปก/รปู เลม่

นางเอ้ือมพร สุเมธาวัฒนะ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

พิสจู นอ์ กั ษร

นางสาวจีราภา เจยี มศักดิ์ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ

34

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-s่อื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ ีพ1

35

ชื่อหลกั สตู ร การทำอาหารหวานเพอ่ื สุขภาพ
จำนวน 38 ช่วั โมง
กลุ่มอาชพี เกษตรกรรม

ความเป็นมา
ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งดว่ น ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย

ของผูเ้ รียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บ๊กิ ดาตา้ (Big Data) การขบั เคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา
ทกั ษะทางอาชีพ การศกึ ษาตลอดชวี ิต และการจดั การศึกษาสำหรับผู้ทม่ี ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน.
จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต
มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชพี Re - Skill และ Up - Skill
จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ
ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพฒั นาและต่อยอด
ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุม่ เพื่อผลติ และพัฒนาผลติ ภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล
ให้เกิดการสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ประชาชนหรือกล่มุ เป้าหมายท่อี ย่ใู นชุมชน ต่อไป

เพื่อสนองต่อนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
และสถานศึกษามีความพร้อมในการบริการตามสภาพบริบท เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพ Re - Skill
และ Up - Skill สำหรับประชาชนท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สำนักงาน กศน. จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ เป็นหลักสูตรในกลุ่ม เสริม
ภูมิคุ้มกันไวรัสให้แก่ร่างกาย โดยการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของสมุนไพรเสริมภูมิคุ้มกันไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ได้แก่ กระชาย ขิง ฟ้าทะลายโจร มะขามป้อม ขมิ้นชัน เป็นต้น สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า
“รับประทานอาหารเป็นยา” เมนูอาหารได้รับการพัฒนาจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาหารและโภชนาการ เป็นเมนู
ที่พัฒนาขึ้นใหม่ ที่มีวิธีการประกอบอาหารหวานเพื่อสุขภาพไม่ยุ่งยาก รสชาติอาหารเหมาะสมกับคนไทย แต่เปี่ยม
ไปด้วยคุณค่าของสารอาหารที่เสริมภูมิคุ้มกัน จัดทำขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบายของสำนักงาน กศน. ที่มุ่งส่งเสริม
การจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ Re - Skill และ Up - Skill ให้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

35

หreลัก-สsูตkรiเlพlอ่ื แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1

36
หลักการของหลักสูตร

หลักสตู รการทำอาหารหวานเพื่อสขุ ภาพ มกี ารกำหนดหลกั การของหลกั สตู รไว้ดังน้ี
1. เปน็ หลักสูตรการทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ ที่เนน้ การใชส้ มุนไพรมาเปน็ วัตถุดิบเพ่ือเสริมภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. เป็นหลักสูตรท่ใี หค้ วามสำคญั กับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดบิ ต่าง ๆ ที่ร่างกายจะได้รับเพ่ือ
เสริมภูมคิ ุ้มกันโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
3. เป็นหลักสูตรท่ีส่งเสริมการเพิ่มมูลคา่ ในการประกอบอาชีพการทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพจาก
การเลือกใช้บรรจภุ ัณฑส์ ำหรับตกแตง่ จดั เสริ ์ฟ การคิดตน้ ทุน และช่องทางการจดั จำหน่าย
4. เป็นหลักสตู รท่สี ามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายได้ให้ทั้งตนเองและชุมชน
จุดหมาย
1. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การทำอาหารหวานเพอื่ สุขภาพ
2. ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับคุณคา่ และประโยชน์ของวตั ถุดบิ ที่นำมาใชใ้ นการทำอาหารหวาน
เพ่ือสขุ ภาพ
3. ผู้เรียนสามารถจัดทำอาหารหวานเพือ่ สขุ ภาพ
4. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าในการประกอบอาชีพการทำอาหารหวาน
เพ่ือสขุ ภาพจากการเลอื กใชบ้ รรจุภณั ฑ์สำหรับตกแตง่ จัดเสริ ฟ์ การคดิ ต้นทุน และช่องทางการจัดจำหนา่ ย
5. ผ้เู รยี นสามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายไดใ้ หท้ ง้ั ตนเองและชุมชน
กลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนท่ัวไปที่มีความสนใจในการพฒั นาและต่อยอดอาชพี
ระยะเวลา
ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสตู ร จำนวน 38 ชัว่ โมง แบง่ เปน็
1. ภาคทฤษฎี จำนวน 14 ชัว่ โมง
2. ภาคปฏิบัติ จำนวน 24 ชั่วโมง

36

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

37

โครงสร้างหลักสตู ร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา จำนวนชว่ั โมง
ท่ี เรือ่ ง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1. ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั 1. ความหมายของอาหารหวาน
อาหารหวานเพ่ือสุขภาพ เพื่อสขุ ภาพ 22
อาหารหวานเพื่อสุขภาพ 2. ประเภทของอาหารหวาน
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เพอ่ื สขุ ภาพ 22
2. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ เกี่ยวกับเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ 3. ความสำคญั ของอาหารหวาน
ในการทำอาหารหวาน ในการทำอาหารหวาน เพอ่ื สขุ ภาพ 23
เพ่ือสขุ ภาพ เพ่ือสขุ ภาพ 4. ประโยชนข์ องอาหารหวาน
2. สามารถเลือกใชเ้ ครื่องมอื เพื่อสขุ ภาพ
3. วัตถุดบิ สำหรบั การทำ และอุปกรณ์ในการทำอาหาร 5. สุขอนามัยในการทำอาหารหวาน
อาหารหวานเพื่อสุขภาพ หวานเพอ่ื สขุ ภาพ เพอื่ สุขภาพ
3. สามารถดแู ล เก็บรักษา 1. เคร่อื งมือและอุปกรณ์ในการทำ
เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ อาหารหวานเพื่อสขุ ภาพ
ในการทำอาหารหวาน 2. การเลอื กเคร่ืองมือและอปุ กรณ์
เพอ่ื สขุ ภาพ ในการทำอาหารหวานเพ่ือสุขภาพ
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 3. การดแู ลรกั ษาเคร่อื งมือและ
เกี่ยวกบั วตั ถุดิบสำหรับการทำ อุปกรณ์ในการทำอาหารหวาน
อาหารหวานเพ่ือสุขภาพ เพอ่ื สขุ ภาพ
2. สามารถเลือกใชว้ ัตถุดิบ
สำหรบั การทำอาหารหวาน 1. สว่ นประกอบของอาหารหวาน
เพื่อสุขภาพ เพื่อสขุ ภาพ
3. สามารถเก็บรกั ษาวตั ถุดิบ 2. การเลือกวัตถุดิบสำหรับการทำ
อาหารหวานเพื่อสุขภาพ อาหารหวานเพื่อสขุ ภาพ
3. การเก็บรกั ษาวตั ถดุ บิ อาหารหวาน
เพ่ือสุขภาพ
4. สมุนไพรต้านโควดิ

37

rหeลัก-สsตู kรiเlพlอ่ื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1

38

ท่ี เรื่อง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอ้ื หา จำนวนช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
4. สามารถบอกคณุ ค่า 5. คณุ คา่ ประโยชนแ์ ละผลขา้ งเคียง
48
ประโยชน์และผลข้างเคยี ง ของวัตถุดบิ สำหรบั นำมาใช้ในการทำ
24
ของวัตถุดบิ สำหรบั นำมาใช้ อาหารหวานเพ่ือสุขภาพ

ในการทำอาหารหวาน

เพ่อื สขุ ภาพ

4. การทำอาหารหวาน 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. การทำอาหารหวานเพอ่ื สุขภาพ

เพอื่ สุขภาพ เก่ยี วกับการทำบราวน่ีชาเขียว บราวนช่ี าเขยี วฟ้าทะลายโจร

ฟา้ ทะลายโจร และไอศกรีม 1.1 สัดสว่ นของวัตถดุ ิบ

มะขามปอ้ มอัญชัน 1.2 ขัน้ ตอนการทำ

2.บอกสัดสว่ นและข้ันตอน 1.3 เทคนคิ การทำ

ในการทำอาหารหวานเพ่ือ 1.4 คณุ ค่าและประโยชน์

สุขภาพ บราวนชี่ าเขยี ว ของวัตถุดิบ

ฟ้าทะลายโจร และไอศกรมี 2. การทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ

มะขามปอ้ มอัญชัน ไอศกรีมมะขามป้อมอญั ชัน

3. สามารถทำอาหารหวาน 2.1 สดั ส่วนของวตั ถุดิบ

เพื่อสุขภาพ บราวน่ชี าเขียว 2.2 ข้นั ตอนการทำ

ฟ้าทะลายโจร 2.3 เทคนคิ การทำ

4. สามารถทำอาหารหวาน 2.4 คณุ คา่ และประโยชน์

เพอื่ สขุ ภาพ ไอศกรมี ของวัตถุดิบ

มะขามปอ้ มอัญชัน

5. อธบิ ายคุณค่าและ

ประโยชน์ของวัตถุดิบใน

การทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ

5. บรรจุภัณฑ์ และการจัด 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. ความหมายและความสำคัญ

ตกแตง่ และจัดเสิร์ฟ เก่ยี วกับบรรจุภัณฑ์อาหาร ของบรรจุภัณฑ์

อาหารหวานเพ่ือสุขภาพ หวานเพ่อื สขุ ภาพ 2. ประเภทของบรรจุภัณฑ์

2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 3. ประโยชน์ของบรรจภุ ณั ฑ์

และเลอื กใช้บรรจภุ ณั ฑ์ได้ 4. การเลอื กใช้บรรจุภัณฑ์

3. สามารถตกแต่งและ 5. การจดั ตกแต่งและจัดเสิร์ฟ

จดั เสริ ์ฟอาหารหวาน อาหารหวานเพ่ือสขุ ภาพ

เพ่อื สุขภาพ

38

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-s่ือkกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1

39

ที่ เรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา จำนวนชว่ั โมง

6. หลักการจดั จำหน่าย 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1. หลักและองค์ประกอบของ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
และหลักการกำหนด เกย่ี วกบั หลักการจัดจำหน่าย การจัดจำหนา่ ย 25
ราคา และหลกั การกำหนดราคา 2. หลักและองคป์ ระกอบของ
อาหารหวานเพื่อสุขภาพ การกำหนดราคา
2. สามารถกำหนดราคา 3. ตลาดอาหารหวานเพื่อสุขภาพ
อาหารหวานเพื่อสขุ ภาพ
3. สามารถอธบิ ายการตลาด
อาหารหวานเพ่ือสขุ ภาพ
4. สามารถอธิบายแนวทาง
การจำหนา่ ยอาหารหวาน
เพือ่ สขุ ภาพ

การจดั กระบวนการเรียนรู้
วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ใช้รปู แบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ดงั นี้
1. การบรรยาย (Lecture)
2. การระดมสมอง (Brainstorming)
3. การอภิปราย (Discussion Method)
4. การชมคลปิ วีดีโอการบรรยายและการสาธติ
5. การฝกึ ปฏิบตั ิ

สอื่ การเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตร มีการใช้สอ่ื การเรยี นรู้ และแหลง่ เรียนรูท้ ี่หลากหลาย ทนั สมัย

และสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน ไดแ้ ก่

1. ใบความรู้

2. คลิปวีดโี อการบรรยายและการสาธิต
3. ใบงาน

39

rหeลกั-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1

40
การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผลหลักสตู ร เปน็ การตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล
และสารสนเทศที่แสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถต่อการทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ
ซ่ึงสามารถประเมินได้ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1. การสังเกต
2. การสอบถาม
3. การตรวจผลงาน/ชนิ้ งาน
4. การทดสอบ

การจบหลักสตู ร
1. มรี ะยะเวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ตั ติ ลอดหลักสตู ร ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มผี ลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ดังนี้
2.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนร้อยละ 20
2.1 ภาคปฏิบตั ิ สดั ส่วนร้อยละ 80

เอกสารหลักฐานการศึกษา
1. ใบลงทะเบียนระยะเวลาเรียนและฝกึ ปฏบิ ตั ิ
2. ทะเบยี นคุมวฒุ ิบัตร
3. วฒุ ิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา

การเทยี บโอน
ผู้เรียนที่จบการทำอาหารหวานเพื่อสุขภาพ อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรียนกับหลักสูตร

การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรืออ่ืน ๆ ไดต้ ามหลักเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากำหนด

40

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1

41

บรรณานกุ รม

การคำนวณตน้ ทนุ การผลิตแบบงา่ ย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก.
https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วนั ท่สี บื คน้ ขอ้ มลู 19
สิงหาคม 2564).

การตลาดอาหารหวาน. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก.
https://positioningmag.com/49118. (วันทีส่ ืบคน้ ข้อมูล 19 สงิ หาคม 2564).

ขนมไทย เมนูขนมหวาน อาหารว่างแบบไทย ๆ มอี ะไรบ้าง. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก
https://nlovecooking.com/dessert/. (วนั ท่สี บื คน้ ขอ้ มูล 18 สิงหาคม 2564).

ขวัญแก้ว วัชโรทัย.(2536). วิวัฒนาการและศิลปะการจัดโต๊ะอาหาร เครื่องดื่มและเมนูอาหาร.
กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทร์พร้นิ ติง้ กร๊ปุ จำกัด.

ของหวานสดุ โปรด กับคุณประโยชน์ท่ีคาดไม่ถึง. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก
https://www.pobpad.com/ของหวานสุดโปรด-กบั คุณปร. (วนั ทส่ี ืบค้นขอ้ มลู 18 สิงหาคม
2564).

ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั อาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://pubhtml5.com/wkww/lbbh/basic. (วนั ท่สี ืบค้นขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564).

ความสำคัญของขนมไทย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
https://viewsudza.wordpress.com/ความสำคัญของขนมไทย/ความสำคัญของขนมไทย/. (วนั ท่สี ืบคน้

ขอ้ มลู 18 สงิ หาคม 2564).
ความสำคัญของขนม. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/khnmchawwangbywanwipa/khwam-sakhay-khxng-
khnm. (วันทส่ี ืบค้นขอ้ มลู 18 สิงหาคม 2564).
ชลธชิ า บุนนาค. (2543). การบรกิ ารอาหารและเครือ่ งดมื่ .กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์.
ชวนชม สงเคราะห์พันธุ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาหลักการประกอบอาหาร. วิทยาลัย
เทคโนโลยีครวั วนั ดี, กรงุ เทพ ฯ.
ฉลองศรี พิมลสมพงษ์. ( 2543).การจดั บริการอาหารและเคร่ืองด่ืม. กรงุ เทพมหานคร .มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ดร. วิชุดา ณ สงขลา ศรียาภัย. (2540). ตำราอาหารตามสั่ง บทความคิดต้นทุนอาหาร โรงเรียนสอนอาหาร
ครัววันดี กรงุ เทพฯ.
เทคนคิ การจดั ตกแตง่ ขนมไทย. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://kanomwanthai.wordpress.com/2011/03/09/หลักศิลปะในการตกแตง่ ขน/เทคนิคการจัด
ตกแต่งขนมไทย/. (วนั ที่สืบค้นข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564).
พเิ ชษฐ์ วิไลลกั ษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. วิทยาลยั เทคโนโลยคี รวั วันดี,
กรงุ เทพ ฯ.

41

rหeลกั-สsูตkรiเlพlอ่ื แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

42

พิเชษฐ์ วิไลลักษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่ม วิทยาลัย
เทคโนโลยีครวั วันดี, กรุงเทพ ฯ.

พิมชนก รุ่งไหรัญ. (2564). หนังสือภาษาอังกฤษสำหรับการประกอบอาหารไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี,
กรงุ เทพ.

พิสมยั ปโชติการ. (2521). งานบริการอาหารและเคร่อื งดืม่ .กรงุ เทพมหานคร: ซเี อด็ ยเู คชั่น จำกดั .
มะขามปอ้ ม ผลไมว้ ติ ามินซสี งู ปรด๊ี . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก

https://health.kapook.com/view178427.html. (วันทส่ี บื ค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564).
มานิจ คมุ้ แควน้ . (2552).การบรกิ ารอาหารและเคร่ืองดม่ื . กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร.์
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. (2551). เอกสารการสอนชดุ วิชาการจัดการและเทคนิคการบริการในโรงแรม.

ปากเกรด็ นนทบรุ .ี สำนักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประวัตคิ วามเปน็ มาของขนมหวานไทย. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก

https://sites.google.com/site/khnmhwankhxngthiyyvc2017/prawati-khwam-pen-
khxng-khnm-hwan-thiy. (วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มลู 18 สงิ หาคม 2564).
ประเภทของแปง้ ประกอบอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://toys.dss.go.th/otopinfo/index.php/en/home/26-interesting-articles/180-2018-
05-01-07-28-58. (วนั ทส่ี บื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564).
ประโยชนข์ นมหวาน. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก https://sweetmeatweb.wordpress.com/ประโยชน์ขนม
หวาน/. (วนั ที่สืบค้นขอ้ มลู 18 สิงหาคม 2564).
วธิ กี ารจัดตกแต่งอาหารหวาน. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/most110834/home/9-kar-cad-seirf. (วันท่ีสืบค้นข้อมูล 23
กรกฎาคม 2564).
วันดี ณ สงขลา. (2530). หนงั สือทฤษฎีอาหาร โรงเรียนสอนอาหารครวั วันดี กรุงเทพฯ.
ศักด์ินรนิ ทร์ หงศร์ ัตนาวรกจิ . (2551). การจดั โตะ๊ อาหารและการบริการ.เคร่ืองดืม่ . กรุงเทพมหานคร :
โอเดียนสโตร.์
สมุนไพรไทยรักษาโรค. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/chayada10381/kar-
keb-raksa. (วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564).
สรรพคุณฟ้าทะลายโจร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก
https://med.mahidol.ac.th/altern_med/th/km/19jun2020-1729. (วันที่สืบค้นข้อมูล 24
กรกฎาคม 2564).
สว่ นประกอบของขนมหวาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/khnmhwankhxngthiyyvc2 0 1 7 / swn-prakxb-khxng-khnm-
hwan. (วันท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564).

42

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sื่อkกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ ีพ1

43
หลักและองค์ประกอบของการจดั จำหนา่ ย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก.

https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วนั ท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 19
สงิ หาคม 2564).
อุปกรณ์ทำขนมท่จี ำเปน็ ต้องมี. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก https://www.parpaikin.com/ขนม_11/. (วนั ท่ี
สบื คน้ ข้อมลู 18 สิงหาคม 2564).
อุปกรณ์ เครือ่ งใช้ในการประกอบอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/606150616caruwrrn/2-xupkrn-kheruxng-mux-kheruxng-
chi-ni-kar-prakxb-xahar. (วนั ที่สบื คน้ ข้อมูล 18 สงิ หาคม 2564).
อุปกรณ์อาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://krua.co/cooking_post/อุปกรณ์อาหารว่างไทย/. (วันท่ี
สบื ค้นขอ้ มูล 18 สิงหาคม 2564).
อาหารไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.silpathai.com/thaifood/. (วันที่สืบค้นข้อมูล 18
สิงหาคม 2564).
อาหารหวาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://savethaifood.net/views/15. (วันที่สืบค้นข้อมูล 18
สงิ หาคม 2564).
อัญชัน ประโยชนด์ ีๆ สรรพคุณเดน่ ๆ และขอ้ มลู งานวิจยั . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.disthai.com/17028789/อัญชนั . (วันท่สี ืบค้นขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564).
(TH) รวมประโยชน์จากของหวาน ทีห่ ลายคนอาจยังไมร่ !ู้ . [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://waterlibrary.com/th-รวมประโยชนจ์ ากของหวาน/. (วันที่สืบคน้ ข้อมูล 18 สงิ หาคม
2564).

43

rหeลกั-สsตู kรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1

44

คณะผู้จดั ทำ เลขาธิการ กศน.
1. นายวรัท พฤกษาทวีกุล ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สูตร
2. นายชยั พฒั น์ พนั นธุ์วฒั นสกุล ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
3. นางศทุ ธินี งามเขตต์ การศึกษาตามอธั ยาศยั
ทป่ี รึกษาดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
4. นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ

คณะพฒั นาหลักสตู ร

1. นางเอื้อมพร สุเมธาวฒั นะ ผูอ้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา/

พัฒนาหลักสตู ร

2. นางสาววิชุดา ณ สงขลา ศรยี าภัย ผู้อำนวยการ วิทยาลัยเทคโนโลยคี รวั วันดี/ผเู้ ชย่ี วชาญเนื้อหา

3. นางสาวกลั ยาณี ภู่ผ่อง ครู วิทยาลยั เทคโนโลยคี รวั วันด/ี ผเู้ ชย่ี วชาญเน้ือหา

4. นางจไุ รรตั น์ พชื สงิ ห์ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยคี รัววันดี/ผู้เช่ียวชาญเน้ือหา

5. นางชวนชม สงเคราะห์พันธ์ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยคี รัววันดี/ผู้เชี่ยวชาญเน้อื หา

6. นางสาวจฑุ าภรณ์ ชมด ครู วิทยาลยั เทคโนโลยีครวั วันด/ี ผู้เช่ยี วชาญเน้ือหา

7. นางสาววลยั ลักษณ์ เจมิ วิวฒั นก์ ลุ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยคี รวั วนั ดี/ผ้เู ชี่ยวชาญเนื้อหา

8. นางพรรณทพิ า ชินชชั วาล ขา้ ราชการบำนาญ/นักวดั ผล

9. นางสาวมณฑา เกรยี งทวีทรพั ย์ ข้าราชการบำนาญ/นกั วัดผล

10. นางวรรษวรรณ บนั ลอื ฤทธ์ิ ครชู ำนาญการพิเศษ/นักวัดผล

11. นางนสุ รา สกลนุกรกิจ นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ/พฒั นาหลักสตู ร

12. นางสาวจีราภา เจียมศกั ดิ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลกั สูตร

13. นางสาววันวสิ าข์ ฉลองชน นักวชิ าการศึกษา/พัฒนาหลกั สูตร

คณะบรรณาธกิ าร ท่ปี รกึ ษาด้านพัฒนาหลักสตู รการศึกษานอกระบบและ
1. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ การศึกษาตามอธั ยาศยั
ผอู้ ำนวยการกลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
2. นางเอือ้ มพร สุเมธาวัฒนะ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ
3. นางนุสรา สกลนุกรกิจ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ
4. นางนุสรา สกลนุกรกจิ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพิเศษ
5. นางสาวจีราภา เจยี มศกั ดิ์ นักวชิ าการศึกษา
6. นางสาววนั วสิ าข์ ฉลองชน

44

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sือ่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1

45

ศิลปกรรม ออกแบบกราฟกิ ปก/รูปเล่ม

นางเอ้อื มพร สุเมธาวฒั นะ ผูอ้ ำนวยการกลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

พิสูจน์อักษร นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ
1. นางสาวจีราภา เจยี มศกั ดิ์ นักวชิ าการศกึ ษา

2. นางสาววนั วิสาข์ ฉลองชน

45

rหeลกั-สsูตkรiเlพlื่อแกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 46

ช่อื หลักสูตร การทำอาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ
จำนวน 38 ชั่วโมง

กลุ่มอาชพี เกษตรกรรม

ความเปน็ มา
ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเร่งด่วน ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย

ของผู้เรียน หลกั สตู รฐานสมรรถนะ บกิ๊ ดาต้า (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชวี ศึกษา การพัฒนา
ทกั ษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต และการจัดการศึกษาสำหรับผู้ทมี่ ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน.
จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต
มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up -
Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและ
บริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนา
และต่อยอดประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน
อันจะสง่ ผลใหเ้ กดิ การสรา้ งงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ประชาชนหรือกล่มุ เปา้ หมายทอ่ี ย่ใู นชุมชนตอ่ ไป

เพื่อสนองต่อนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายและสถานศึกษาที่มีความพร้อมในการบริการตามสภาพบริบท เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษา
พัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill สำหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงาน กศน. จึงได้จัดทำหลักสูตรอาหารเสริมภูมิคุ้มกัน
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) : อาหารวา่ งเพื่อสุขภาพ เปน็ หลกั สูตรในกลุ่มเสริมภูมิคุ้มกันไวรัสให้แก่ร่างกาย
โดยการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของสมุนไพรเสริมภูมิคุ้มกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แก่ กระชาย
ขิง ฟ้าทะลายโจร มะขามป้อม ขมิ้นชัน เป็นต้น สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า “รับประทานอาหารเป็นยา”
เมนูอาหารได้รับการพัฒนาจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาหารและโภชนาการ เป็นเมนูที่พัฒนาขึ้นใหม่ที่มีวิธีการ
ประกอบอาหารว่างเพื่อสุขภาพไม่ยุ่งยาก รสชาติอาหารเหมาะสมกับคนไทย แต่เปี่ยมไปด้วยคุณค่าของ
สารอาหารทีเ่ สรมิ ภมู ิคุม้ กัน จดั ทำขึ้นเพือ่ ตอบสนองนโยบายของสำนกั งาน กศน. ที่มุง่ สง่ เสรมิ การจดั การศึกษา

46


Click to View FlipBook Version