2-1
ก แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ค ำน ำ “แนวทางการจัดท้าแผนการใช้ที่ดินต้าบล” ฉบับนี ได้ยึดหลักการของ UNEP and FAO ที่ก้าหนด ไว้ในเอกสารชื่อ “Negotiating a Sustainable Future for Land” ซึ่งมีขั นตอนในการก้าหนดทางเลือก ในการใช้ที่ดิน ดังนี หลักการดังกล่าวได้น้ามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานภาพของประเทศไทย ร่วมกับวิธีการต่างๆ ที่จ้าเป็นอีกหลายด้าน เช่น Participatory Rural Appraisal (PRA) การประเมินคุณภาพที่ดิน ฯลฯ ซึ่ง ได้ปรากฏอยู่ในแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินต้าบล ฉบับนี คณะผู้จัดท้า กันยายน 2564 ทำงเลือกในกำรใช้ที่ดิน สิ่งแวดล้อมมีควำมยั่งยืน สังคมยอมรับ มีควำมเป็นไปได้ทำงเศรษฐกิจ มีควำมเหมำะสมทำงกำยภำพ
ข แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สำรบำญ หน้ำ ค ำน ำ ก สำรบำญตำรำง ง สำรบำญรูป จ บทที่ 1 บทน ำ 1-1 1.1 หลักการและเหตุผล 1-1 1.2 วัตถุประสงค์ 1-1 1.3 ระยะเวลาและสถานที่ด้าเนินงาน 1-1 1.4 ขั นตอนการด้าเนินงาน 1-1 1.5 นิยามศัพท์ 1-2 1.6 ค้าส้าคัญ 1-4 บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไป 2-1 2.1 ที่ตั งและอาณาเขต 2-1 2.2 การแบ่งส่วนการปกครอง 2-1 2.3 ประวัติและเอกลักษณ์ 2-2 2.4 สภาพภูมิประเทศ 2-2 2.5 สภาพภูมิอากาศ 2-6 2.6 สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบัน 2-10 2.7 สภาพเศรษฐกิจและสังคม 2-15 บทที่ 3 ทรัพยำกรธรรมชำติ 3-1 3.1 ทรัพยากรป่าไม้ 3-1 3.2 ทรัพยากรน ้า 3-3 3.3 ทรัพยากรดิน 3-3 บทที่ 4 กระบวนกำรมีส่วนร่วมของชุมชน 4-1 4.1 หลักการ 4-1 4.2 การวิเคราะห์ผลจากการจัดท้ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (PRA) 4-1 4.3 ระบบการปลูกพืชในปัจจุบัน 4-4
ค แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สำรบำญ (ต่อ) หน้ำ บทที่ 5 กำรประเมินคุณภำพที่ดิน 5-1 5.1 ทรัพยากรดิน 5-1 5.2 ประเภทการใช้ที่ดิน 5-1 5.3 การประเมินคุณภาพที่ดิน 5-1 บทที่ 6 แผนกำรใช้ที่ดิน 6-1 6.1 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6-1 6.2 นโยบายแห่งรัฐในการก้าหนดแผนการใช้ที่ดิน 6-2 6.3 การก้าหนดเขตการใช้ที่ดิน 6-4 6.4 เขตการใช้ที่ดิน 6-5 6.5 ระบบการปลูกพืชตามแผนการใช้ที่ดิน 6-13 6.6 การจัดการความเสี่ยง 6-14 บทที่ 7 กำรขับเคลื่อนแผนกำรใช้ที่ดิน 7-1 7.1 ขั นตอนการด้าเนินงาน 7-1 7.2 ตัวชี วัด 7-1 7.3 กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินในเขตการใช้ที่ดินที่จะด้าเนินการในปีงบประมาณ 2563 7-1 7.4 กิจกรรมที่ขอการสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น 7-3 เอกสำรอ้ำงอิง อ1
ง แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สำรบำญตำรำง ตำรำงที่ หน้ำ 2-1 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศอ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2532-2561 2-8 2-2 สภาพการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-11 2-3 จ้านวนประชากรและครัวเรือน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562 2-15 2-4 จ้านวนและสัดส่วนครัวเรือนเกษตร ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562 2-16 2-5 สภาพสังคมในพื นที่ของต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562 2-18 2-6 รายได้-รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2562 2-20 3-1 ทรัพยากรน ้าในต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-1 3-2 หน่วยแผนที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-6 3-3 สมบัติดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-7 3-4 การชะล้างพังทลายของดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-10 5-1 ชั นความเหมาะสมทางกายภาพของหน่วยแผนที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 5-4 6-1 นโยบายแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับแผนการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-2 6-2 เขตการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-5 6-3 การเปรียบเทียบระบบการปลูกพืชก่อนและหลังมีแผนการใช้ที่ดิน 6-14 7-1 กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินในเขตการใช้ที่ดินที่จะด้าเนินการในปีงบประมาณ 2565 7-4 7-2 สรุปกิจกรรมที่ขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการอื่นในเขตการใช้ที่ดิน 7-5 7-3 เป้าหมายการด้าเนินงานและงบประมาณโครงการน้าร่อง ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี แผน 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) 7-6
จ แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สำรบำญรูป รูปที่ หน้ำ 2-1 ที่ตั งและอาณาเขต ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-3 2-2 ความลาดชัน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-4 2-3 ภูมิประเทศ ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-5 2-4 เส้นชั นน ้าฝน จังหวัดสุพรรณบุรี 2-9 2-5 สมดุลของน ้าเพื่อการเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี 2-10 2-6 สภาพการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-14 2-7 สัดส่วนครัวเรือนเกษตร ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-16 2-8 รายได้-รายจ่ายเฉลี่ยครัวเรือน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 2-21 3-1 ชั นคุณภาพลุ่มน ้า ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-2 3-2 ภูมิประเทศและชุดดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-8 3-3 ทรัพยากรดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-9 3-4 การชะล้างพังทลายของดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 3-11 4-1 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยระบบ DPSIR ของต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-3 4-2 ระบบการปลูกพืชในปัจจุบัน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-4 6-1 เขตการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-12 6-2 ระบบการปลูกพืชตามแผนตามแผนการใช้ที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-13
ฉ แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 1-1 บทที่ 1 บทน ำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 72 (1) ได้ก้าหนดให้มีการ “วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยให้เหมาะสมกับสภาพพื นที่และศักยภาพของที่ดิน ตามหลักการ พัฒนาอย่างยั่งยืน” ต่อมาได้มีประกาศส้านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ ลงวันที่ 6 เมษายน 2561 มีแผนการปฏิรูปด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งก้าหนดให้มีการ จัดท้าแผนการใช้ที่ดินของชาติทั งระบบให้สอดคล้องและเหมาะสมกับศักยภาพของพื นที่และการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ปรับปรุงแผนการใช้ที่ดินต้าบล จ้านวน 7,225 ต้าบล ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2565 ตลอดจนน้าแผนการใช้ที่ดินต้าบลไปสู่การปฏิบัติเพื่อเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และประกาศส้านักนายกรัฐมนตรีเรื่องการประกาศแผนปฏิรูปประเทศ ดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดท้าแผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีขึ น 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อให้การใช้ที่ดินในต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีมีผลตอบแทนสูงสุด ต่อหน่วยเนื อที่และเป็นไปอย่างยั่งยืน 1.3 ระยะเวลำและสถำนที่ด ำเนินงำน 1.3.1 ระยะเวลา 1 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2564 1.3.2 สถานที่ ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 1.4 ขั้นตอนกำรด ำเนินงำน 1.4.1 ทบทวนเอกสารเพื่อรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิที่จะน้ามาวิเคราะห์และใช้ใน การก้าหนดเขตการใช้ที่ดิน ดังนี (1) ด้านกายภาพ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน ้า ทรัพยากรป่าไม้ ภูมิอากาศ สภาพ การใช้ที่ดิน ชั นคุณภาพลุ่มน ้า ภัยธรรมชาติ ฯลฯ (2) ด้านเศรษฐกิจสังคม ได้แก่ การถือครองที่ดิน การใช้ที่ดิน พืชหลักหรือพืชเศรษฐกิจ ที่ส้าคัญ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจในการก้าหนดเขตการใช้ที่ดิน ตลาดสินค้าเกษตร รายได้ รายจ่าย ประชากร โครงสร้างประชากร การศึกษา ฯลฯ (3) นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ ยุทธศาสตร์ภาค
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 1-2 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด และเทศบาลต้าบลหรือองค์การบริหารส่วนต้าบล 1.4.2 จัดท้ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal : PRA) เพื่อรับ ฟังความคิดเห็น ประเด็นปัญหา ความต้องการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเกษตรกรในต้าบล 1.4.3 ประเมินคุณภาพที่ดิน 1.4.4 สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการจัดท้า PRA ร่วมกับสภาพการใช้ที่ดิน การถือครองที่ดินราย แปลงจากแผนที่ส้ามะโนที่ดิน หรือ แผนที่ภาษีที่ดินในปัจจุบัน ผลจากการประเมินคุณภาพที่ดิน และ กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดิน (ตามอ้านาจหน้าที่ของกรมฯ) 1.4.5 ส้ารวจข้อมูลทั ง กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ในพื นที่ต้าบลที่ด้าเนินการเพิ่มเติมตาม ประเด็นปัญหาและความต้องการจาก PRA ให้ละเอียดยิ่งขึ น โดยการสัมภาษณ์เกษตรกรเป็นรายบุคคล 1.4.6 ก้าหนด (ร่าง) แผนการใช้ที่ดินต้าบล 1.4.7 รับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ (ร่าง) แผนการใช้ที่ดิน 1.4.8 ปรับปรุงแผนการใช้ที่ดิน 1.4.9 น้าแผนการใช้ที่ดินไปสู่การปฏิบัติ เป้าหมายที่ส้าคัญ คือ (1) การที่สภาต้าบล หรือ สภาเทศบาลน้าแผนการใช้ที่ดินที่มีกิจกรรมของกรมพัฒนา ที่ดินเข้าไปบรรจุในแผน 3 ปี โดยสภาเทศบาล หรือ สภาต้าบล มีมติรับรอง ซึ่งอาจมีการตั งงบของ เทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนต้าบลด้าเนินการ เช่น งบซื อเมล็ดพันธุ์พืชคลุมดิน ซึ่งปลูกโดย เกษตรกรในพื นที่ต้าบลนั น เป็นต้น (2) กิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินตามอ้านาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในกฎหมาย (มาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551) มีการปฏิบัติในเขตการใช้ที่ดินที่ก้าหนดในแผนการใช้ที่ดิน เขตต่างๆ โดยมีงบประมาณด้าเนินการในแต่ละปี (3) กิจกรรมของส่วนราชการต่างๆ ที่จะสนับสนุนความต้องการของเกษตรกรและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การขุดเจาะบ่อบาดาล เป็นต้น 1.5 นิยำมศัพท์ 1.5.1 ที่ดิน (Land) “ที่ดิน” หมายความว่า พื นที่ดินทั่วไปและให้หมายความถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บางล้าน ้า ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลด้วย (มาตรา 4 ประมวลกฎหมายที่ดิน) “ที่ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึง “ชีวมณฑลบนพื นผิวโลก ประกอบด้วย ชั นบรรยากาศ ชั นดิน ชั นหิน ลักษณะความลาดเทของพื นที่ ลักษณะทางอุทกศาสตร์ พืช สัตว์ และผลที่เกิดจากการกระท้าของมนุษย์ทั งในอดีตและปัจจุบัน” (FAO, 1974)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 1-3 “ที่ดิน” หมายถึง พื นที่หนึ่งๆ ที่อยู่บนพื นผิวของโลก ประกอบด้วยลักษณะที่ส้าคัญ คือ สภาพแวดล้อมทั งทางกายภาพและชีวภาพซึ่งมีอิทธิพลต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนั นที่ดินจึงไม่ได้ หมายถึงดินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายรวมถึงลักษณะภูมิสัณฐาน (landforms) ภูมิอากาศ (climate) อุทกวิทยา (hydrology) พืชพรรณ (vegetation) และสัตว์ (fauna) ซึ่งการปรับปรุงที่ดิน (land improvement) ได้แก่ การท้าขั นบันไดและการระบายน ้า เป็นต้น (FAO, 1993) 1.5.2 ดิน (Soil) “ดิน” หมายความรวมถึง หิน กรวด ทราย แร่ธาตุ น ้า และอินทรียวัตถุต่างๆ ที่เจือปนกับ เนื อดินด้วย (มาตรา 4 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551) “ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ นบน พื นผิวโลกเป็นวัตถุที่ค ้าจุนการเจริญเติบโต และการทรงตัวของต้นไม้ ประกอบด้วย แร่ธาตุ และ อินทรียวัตถุต่างๆ มีลักษณะชั นแตกต่างกัน แต่ละชั นที่อยู่ต่อเนื่องกันจะมีแนวสัมพันธ์ซึ่งกันและกันตาม ขบวนการก้าเนิดดินที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระท้าร่วมกันของภูมิอากาศ พืชพรรณ วัตถุต้นก้าเนิด ดิน ระยะเวลา และความต่างระดับของพื นที่ในบริเวณนั น (FAO 1974: 39-40) “ดิน” อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่จับตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื นผิวโลก เป็นผลมา จากปัจจัยด้านการก้าเนิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิ ประเทศ วัตถุต้นก้าเนิดและระยะเวลา ความเหมาะสมต่อการผลิตพืชของดินแตกต่างกัน เนื่องมาจาก ลักษณะและสมบัติทางกายภาพ เคมีชีวภาพ และสัณฐานวิทยา (คณะกรรมการจัดท้าปทานุกรม ปฐพีวิทยา, 2551: 128) 1.5.3 กำรใช้ที่ดิน “กำรใช้ที่ดิน” หมายถึง การจัดการที่ดินตามที่มนุษย์ต้องการ ซึ่งรวมทั งการใช้ที่ดินใน ชนบท เขตชานเมือง และเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น (FAO, 1993) “กำรใช้ที่ดิน” หมายถึง ผลของความพยายามของมนุษย์ ในการด้าเนินการเปลี่ยนแปลง ลักษณะทางกายภาพพื นที่ของทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อสนองความต้องการของตนเอง (Vink, 1975) 1.5.4 กำรวำงแผนกำรใช้ที่ดิน “การวางนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน” หมายความว่า การวางนโยบายและแผนการใช้ ที่ดินให้เหมาะสมกับสภาพของดิน และสอดคล้องกับประเภทของที่ดินที่ได้จ้าแนกไว้ “การวางแผนการใช้ที่ดิน” หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการ แสวงหาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เป็นการก้าหนดทิศทางของการลงทุน แนวทางของการพัฒนา เทคโนโลยี เป็นการเปลี่ยนแปลงของหน่วยงานต่างๆ ให้ด้าเนินการอยู่ในภาพรวมเดียวกัน และเป็นการ
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 1-4 เพิ่มศักยภาพทั งในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ (NRC, 1975 และ ADB , 2012) 1.5.5 “เศรษฐกิจที่ดิน” หมายความว่า ภาวะความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับที่ดินทางด้าน เศรษฐกิจ 1.5.6 “เกษตรกรรม” หมายความว่า การท้านา ท้าไร่ ท้าสวน เลี ยงสัตว์ เลี ยงสัตว์น ้า และ กิจกรรมอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก้าหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 1.5.7 “กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน” หมายความว่า ปรากฏการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้างกัดเซาะ พังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน ้า ลม หรือโดยเหตุอื่นใดให้เกิดการเสื่อมโทรม สูญเสียเนื อดิน หรือ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน 1.5.8 “กำรอนุรักษ์ดินและน้ ำ” หมายความว่า การกระท้าใดๆ ที่มุ่งให้เกิดการระวังป้องกัน รักษาดินและที่ดิน ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน และการรักษาน ้าในดินหรือบนผิวดินให้คงอยู่เพื่อรักษาดุลธรรมชาติให้เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ที่ดินในการเกษตรกรรม 1.6 ค ำส ำคัญ “ดินดี น ้าสมบูรณ์”
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-1
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-1 บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไป 2.1 ที่ตั้งและอำณำเขต ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี โดยตั งอยู่ทางทิศเหนือของอ้าเภอเดิม บางนางบวช มีเนื อที่ 38.24 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 23,899 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังรูปที่ 2-1 ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลวังไก่เถื่อน อ้าเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ทิศใต้ ติดต่อกับ ต้าบลเดิมบาง อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลดงคอน อ้าเภอสรรคบุรีจังหวัดสุพรรณบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลเดิมบาง อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีและ ต้าบลบ้านเชี่ยน อ้าเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ต้าบลปากน ้ามีถนนสายหลัก คือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 3216 ถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 3184 และถนนภายในหมู่บ้านเป็นถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน และ ถนนเข้าสู่พื นที่ท้าการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นถนนลาดยาง จ้านวน 6 สาย ถนนลูกรังจ้านวน 40 สาย ถนน คอนกรีตเสริมเหล็กภายในหมู่บ้านบางส่วนอีกจ้านวน 20 สาย ในพื นที่ต้าบลปากน ้ามีแม่น ้าท่าจีน (แม่น ้า สุพรรณบุรี) ไหลผ่าน ในอดีตจึงใช้เป็นเส้นทางสัญจรและเป็นเส้นทางค้าขายทางเรือ แต่เนื่องจากปัจจุบัน มีการสร้างถนนเป็นจ้านวนมากท้าให้การใช้ทางน ้าในการเดินทางมีจ้านวนน้อยลง (เทศบาลต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี, 2564) 2.2 กำรแบ่งส่วนกำรปกครอง ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี แบ่งส่วนการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ดังนี หมู่ที่ 1 บ้านปากน ้า หมู่ที่ 2 บ้านท่าสะตือ หมู่ที่ 3 บ้านท่าทอง หมู่ที่ 4 บ้านแหลมข่อย หมู่ที่ 5 บ้านปากน ้า หมู่ที่ 6 บ้านปากคลอง หมู่ที่ 7 บ้านท่ามะกอก (เทศบาลต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี, 2564)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-2 2.3 ประวัติและเอกลักษณ์ เหตุที่ชื่อปากน ้า เพราะมีคลองๆหนึ่ง แยกมาจากแม่น ้าน้อยที่บ้านท่าละมาด ในเขตอ้าเภอสรรค บุรี จังหวัดชัยนาท ทางทิศใต้ผ่านล้าห้วยตาสี บ้านสระไม้แดง บ้านสะตือสิงห์ บ้านขุยใหญ่ บ้านถ ้าเข้ และมาบรรจบกับแม่น ้าท่าจีนตอนที่มาบรรจบกับแม่น ้าท่าจีนของอ้าเภอเดิมบางนางบวชนั น เดิมกว้าง มาก จึงเรียกว่า ปากน ้า ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ ต้าบลปากน ้า ในที่สุด (เทศบาลต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี, 2564) 2.4 สภำพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ โดยพื นที่ส่วนใหญ่มีความลาด ชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 0-15 เมตร โดยบริเวณตอนกลางของต้าบลเป็น บริเวณที่ดอนริมแม่น ้า (รูปที่ 2-2 และรูปที่ 2-3)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 2-1 ที่ตั้งและอำณำเขต ต ำบลปำกน้ ำ อ
2-3 อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 2-2 ควำมลำดชัน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภ
2-4 ภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 2-3 ภูมิประเทศ ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำง
2-5 งนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ความสูงจากระดับน ้าทะเล
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-6 2.5 สภำพภูมิอำกำศ สภาพภูมิอากาศจังหวัดสุพรรณบุรี มีรายละเอียดดังนี 2.5.1 สภำวะอำกำศทั่วไป ลักษณะอากาศของจังหวัดสุพรรณบุรี ขึ นอยู่กับอิทธิพลของมรสุมที่พัดประจ้าฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดพามวลอากาศเย็นและแห้งจากประเทศจีนเข้าปกคลุมประเทศ ไทย ในช่วงฤดูหนาว (ตั งแต่ประมาณกลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์) ท้าให้มีอากาศ หนาวเย็นและแห้งทั่วไป และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งพัดพามวลอากาศชื นจากทะเล และมหาสมุทร เข้าปกคลุมประเทศไทยในช่วงฤดูฝน (ประมาณกลางเดือนสิงหาคมถึงประมาณกลางเดือนตุลาคม) ท้า ให้มีฝนตกชุกทั่วไป 2.5.2 ฤดูกำล ฤดูกาลของจังหวัดสุพรรณบุรี พิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทย แบ่งออกได้ เป็น 3 ฤดู ดังนี ฤดูร้อน เริ่มตั งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ประมาณ 3 เดือน เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวมากที่สุด เนื่องจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ และถูกปก คลุมด้วยบริเวณความกดอากาศสูง ซึ่งศูนย์กลางอยู่ในทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก บริเวณความกด อากาศสูงนี ทางอุตุนิยมวิทยาถือว่าเป็นบริเวณที่มีอากาศร้อน อุณหภูมิสูง กระแสลมที่ พัดเข้ามาจึงร้อน ฤดูฝน เริ่มต้นเมื่อลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เริ่มพัดเข้าถึงก้นอ่าวไทยประมาณเดือน พฤษภาคม พอถึงปลายเดือนพฤษภาคม หรือต้นเดือนมิถุนายน ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะพัดผ่านท้า ให้มีฝนตกมากขึ น ในเดือนสิงหาคมและกันยายนเป็นระยะที่มีฝนตกชุกที่สุด โดยปกติแล้วฤดูฝนจะ สิ นสุดราวกลางเดือนตุลาคม รวมระยะเวลาประมาณ 5-6 เดือน ฤดูหนาว เริ่มจากปลายเดือนตุลาคมหรือต้นเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ประมาณ 4 เดือน ระยะนี ฝนตกเป็นครั งคราวไม่มากนัก และจะมีลมเย็นพัดจากเหนือมาใต้ สลับกันเป็น ระยะๆ เดือนธันวาคมและมกราคมเป็นช่วงที่มีอากาศหนาวเย็นมากที่สุด แต่อุณหภูมิลดลงไม่มากนัก เพราะอยู่ปลายลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และได้รับอิทธิพลจากทะเลในบริเวณอ่าวไทย 2.5.3 อุณหภูมิ อุณหภูมิ เฉลี่ยตลอดปี 28.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยตลอดปี 34.1 องศา เซลเซียส โดยพบอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน คือ 37.3 องศาเซลเซียส และพบอุณหภูมิต่้าสุดในเฉลี่ย ตลอดปี 24.1 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิต่้าสุดในเดือนมกราคม คือ 21.0 องศาเซลเซียส
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-7 2.5.4 ฝน ปริมาณน ้าฝน ปริมาณน ้าฝนรวมตลอดปี 985.6 มิลลิเมตร มีจ้านวนวันที่ฝนตกทั งปีทั งสิ น 103 วัน โดยในเดือนกันยายน มีปริมาณน ้าฝนมากที่สุด 216.6 มิลลิเมตร และเดือนมกราคมมีปริมาณ น ้าฝนน้อยที่สุด คือ 5.4 มิลลิเมตร (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2561) 2.5.5 สมดุลของน้ ำเพื่อกำรเกษตร จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศในคาบ 30 ปี (ปี 2549-2560) ณ สถานีตรวจอากาศสุพรรณบุรี ได้น้ามาวิเคราะห์สมดุลของน ้าเพื่อการเกษตร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หาช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืช ตลอดจน ช่วงระยะเวลาที่พืชเสี่ยงต่อการขาดน ้า ข้อมูลที่น้ามาวิเคราะห์ คือ ปริมาณน ้าฝน และศักยภาพการคาย ระเหยน ้าอ้างอิง (ETo) ซึ่งค้านวณด้วยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยใช้สมการ Penman-Monteith สามารถสรุปสมดุลของน ้าเพื่อการเกษตรในเขตอาศัยน ้าฝนได้ดังนี ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน ้าฝนมากกว่าค่า 0.5 การระเหยจาก ผิวดินและการคายน ้าของพืช เป็นช่วงที่ดินมีความชุ่มชื นพอเหมาะต่อการเพาะปลูกพืช ซึ่งช่วงนี จะเริ่ม ตั งแต่ในช่วงกลางเดือนเมษายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ช่วงที่มีน ้ามากเกินพอ เป็นช่วงที่ค่าปริมาณน ้าฝนมากกว่าค่าการระเหยจากผิวดินและการ คายน ้าของพืช ซึ่งช่วงนี จะเริ่มตั งแต่เดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนตุลาคม และช่วงนี อาจจะเกิดภาวะน ้า ท่วมท้าให้พืชเสียหายได้ในช่วงกลางเดือนสิงหาคมถึงปลายเดือนตุลาคม ช่วงขาดน ้า เป็นช่วงฤดูแล้งที่ค่าปริมาณน ้าฝนน้อยกว่าค่า 0.5 การระเหยจากผิวดินและ การคายน ้าของพืช ซึ่งพืชอาจจะเสียหายจากการขาดแคลนน ้าได้ จะเริ่มตั งแต่กลางเดือนพฤศจิกายนถึง กลางเดือนเมษายน (ตารางที่ 2-1 และรูปที่ 2-4 ถึง รูปที่ 2-5)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-8 ตำรำงที่ 2-1 สถิติภูมิอำกำศ ณ สถำนีตรวจอำกำศอ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2532-2561 เดือน อุณหภูมิ ต่ ำสุด ( o C) อุณหภูมิ สูงสุด ( o C) อุณหภูมิ เฉลี่ย ( o C) ควำมชื้น สัมพัทธ์ (%) ปริมำณ น้ ำฝน (มม.) จ ำนวนวัน ฝนตก (วัน) ปริมำณ ฝนใช้กำร* (มม.) กำรระเหย และกำรคำยน้ ำ อ้ำงอิง* (มม.) ม.ค. 21.0 32.1 26.0 71.0 5.4 1.4 65.1 5.4 ก.พ. 22.7 34.1 27.6 72.0 6.7 1.0 67.2 6.6 มี.ค. 24.5 35.8 29.3 73.0 29.5 3.1 86.2 28.1 เม.ย. 25.8 37.3 30.7 71.0 54.9 5.0 91.8 50.1 พ.ค. 26.0 36.2 30.2 74.0 123.5 12.3 92.1 99.1 มิ.ย. 25.7 35.0 29.5 75.0 89.9 12.6 88.8 77.0 ก.ค. 25.2 34.3 28.9 76.0 95.1 14.6 89.6 80.6 ส.ค. 25.0 34.2 28.7 77.0 119.4 15.8 86.5 96.6 ก.ย. 24.9 33.7 28.5 80.0 216.6 18.4 73.8 141.5 ต.ค. 24.6 32.8 28.3 80.0 192.7 14.0 71.6 133.3 พ.ย. 23.0 32.2 27.3 74.0 44.5 4.0 70.5 41.3 ธ.ค. 20.8 31.3 25.7 70.0 7.4 1.3 71.6 7.3 รวม - - - - 985.6 103.5 954.8 766.9 เฉลี่ย 24.1 34.1 28.4 74.4 - - - - หมำยเหตุ: * จากการค้านวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 ที่มำ: กรมอุตุนิยมวิทยา (2562)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 2-4 เส้นชั้นน้ ำ
2-9 ำฝน จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-10 รูปที่ 2-5 สมดุลของน้ ำเพื่อกำรเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี 2.6 สภำพกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน สภาพการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งส้ารวจโดยกลุ่ม วิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน (2561) ประกอบด้วย ประเภทการใช้ที่ดินต่างๆ ดังนี 1) พื นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื อที่ 2,922ไร่ หรือร้อยละ 12.23ของพื นที่ต้าบล 2) พื นที่เกษตรกรรม มีเนื อที่ 4,516 ไร่ หรือร้อยละ 74.74 ของพื นที่ต้าบล ประกอบด้วย การ ใช้ประโยชน์ที่ดินด้านเกษตรกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี 2.1) นาข้าว มีเนื อที่ 16,277 ไร่ หรือร้อยละ 68.11 ของพื นที่ต้าบล 2.2) พืชไร่ มีเนื อที่ 658 ไร่ หรือร้อยละ 2.76 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ ข้าวโพด อ้อย พริก กระเจี๊ยบแดง 2.3) ไม้ยืนต้น มีเนื อที่ 5 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ ยูคาลิปตัส 2.4) ไม้ผล มีเนื อที่ 3,477 ไร่ หรือร้อยละ 5.54 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ ไม้ผลร้าง/เสื่อมโทรม ไม้ผลผสม ส้ม มะม่วง กล้วย มะนาว ส้มโอ มะปราง มะยงชิด 2.5) พืชสวน มีเนื อที่ 82 ไร่ หรือร้อยละ 0.35 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ พืชสวนร้าง/เสื่อม โทรม พืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ นาหญ้า 2.6) โรงเรือนสัตว์ปีก มีเนื อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื นที่ต้าบล 2.7) พืชน ้า มีเนื อที่ 12 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ พืชน ้าร้าง แห้ว
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-11 2.8) สถานที่เพาะเลี ยงสัตว์น ้า มีเนื อที่ 34 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของพื นที่ต้าบล ได้แก่ สถานที่เพาะเลี ยงสัตว์น ้าร้าง สถานที่เพาะเลี ยงปลา 3) พื นที่แหล่งน ้า มีเนื อที่ 1,227 ไร่ หรือร้อยละ 5.12 ของพื นที่ต้าบล ประกอบด้วย แม่น ้า ล้า ห้วย ล้าคลอง อ่างเก็บน ้า บ่อน ้าในไร่นา และคลองชลประทาน 4) พื นที่เบ็ดเตล็ดอื่นๆ มีเนื อที่ 753 ไร่ หรือร้อยละ 3.14 ของพื นที่ต้าบล ประกอบด้วย ทุ่ง หญ้าธรรมชาติ ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ พื นที่ลุ่ม เหมืองเก่า บ่อขุดเก่า บ่อทราย และพื นที่ถม (ตารางที่ 2-2 และรูปที่ 2-6) ตำรำงที่ 2-2 สภำพกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี หน่วยแผนที่ กำรใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ A100 นาร้าง 42 0.18 A101 นาข้าว 16,235 67.93 A200 ไร่ร้าง 2 0.01 A202 ข้าวโพด 2 0.01 A203 อ้อย 630 2.64 A229 พริก 19 0.08 A235 กระเจี๊ยบแดง 5 0.02 A304 ยูคาลิปตัส 5 0.02 A400 ไม้ผลร้าง/เสื่อมโทรม 22 0.09 A401 ไม้ผลผสม 236 0.99 A402 ส้ม 3 0.01 A407 มะม่วง 1,456 6.09 A411 กล้วย 25 0.10 A422 มะนาว 7 0.03 A427 ส้มโอ 170 0.71 A429 มะปราง มะยงชิด 8 0.03 A500 พืชสวนร้าง/เสื่อมโทรม 18 0.08
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-12 ตำรำงที่ 2-2 สภำพกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี(ต่อ) หน่วยแผนที่ กำรใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ A502 พืชผัก 35 0.15 A503 ไม้ดอก ไม้ประดับ 22 0.09 A510 นาหญ้า 7 0.03 A703 โรงเรือนเลี ยงสัตว์ปีก 2 0.01 A800 พืชน ้าร้าง 8 0.03 A805 แห้ว 4 0.02 A900 สถานที่เพาะเลี ยงสัตว์น ้าร้าง 17 0.07 A902 สถานที่เพาะเลี ยงปลา 17 0.07 M101 ทุ่งหญ้าธรรมชาติ 19 0.08 M102 ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ 541 2.26 M201 พื นที่ลุ่ม 35 0.15 M300 เหมืองเก่า บ่อขุดเก่า 15 0.06 M303 บ่อทราย 87 0.36 M405 พื นที่ถม 56 0.23 U201 หมู่บ้านบนพื นราบ 1,949 8.16 U301 สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ 166 0.69 U405 ถนน 294 1.23 U502 โรงงานอุตสาหกรรม 351 1.47 U503 ลานตากและแหล่งรับซื อทางการเกษตร 6 0.03 U601 สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 156 0.65 W101 แม่น ้า ล้าห้วย ล้าคลอง 749 3.13 W201 อ่างเก็บน ้า 92 0.38
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-13 ตำรำงที่ 2-2 สภำพกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี(ต่อ) หน่วยแผนที่ กำรใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ W202 บ่อน ้าในไร่นา 60 0.25 W203 คลองชลประทาน 326 1.36 พื้นที่รวม 23,899 100 ที่มำ: กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน (2561)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 2-6 สภำพกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ
2-14 ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-15 2.7 สภำพเศรษฐกิจและสังคม 2.7.1 สภำพสังคมโดยทั่วไป 1) ประชำกร จากหลักฐานทะเบียนราษฎร์ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี 2562 พบว่า ประชากรที่อาศัยในพื นที่ต้าบลปากน ้า มีประชากรรวม 3,069 คน แยกเป็นชาย 1,414 คน เป็นหญิง 1,655 คน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ย 38.24 คนต่อตารางกิโลเมตร มีจ้านวนครัวเรือนทั งหมด 1,072 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนเกษตรที่มาขึ นทะเบียนกรมส่งเสริมการเกษตร 260 ครัวเรือน หรือร้อยละ 24.28 เป็นครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่นๆ และครัวเรือนเกษตรที่ไม่ได้มาขึ นทะเบียนกรมส่งเสริม การเกษตร 812 ครัวเรือน หรือร้อยละ 75.72 ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-3 ถึง 2-4 และรูปที่ 2-7 ตำรำงที่ 2-3จ ำนวนประชำกรและครัวเรือน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี ปี 2562 พื้นที่ จ ำนวนครัวเรือน จ ำนวนประชำกร (คน) ชำย หญิง รวม ต ำบลปำกน้ ำ 1,072 1,414 1,655 3,069 หมู่ที่ 1 ปากน ้า 160 216 279 495 หมู่ที่ 2 ท่าสะตือ 125 181 197 378 หมู่ที่ 3 ท่าทอง 111 162 182 344 หมู่ที่ 4 แหลมข่อย 215 321 337 658 หมู่ที่ 5 ปากน ้า 125 150 167 317 หมู่ที่ 6 ปากคลอง 189 227 282 509 หมู่ที่ 7 ท่ามะกอก 147 157 211 368 ที่มำ : กรมการปกครอง (2562)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-16 ตำรำงที่ 2-4จ ำนวนและสัดส่วนครัวเรือนเกษตร ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี ปี 2562 รำยกำร จ ำนวน (ครัวเรือน) ร้อยละ จ ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1) 1,072 100.00 - จ้านวนครัวเรือนเกษตรที่มาขึ นทะเบียนกรมส่งเสริมการเกษตร 2) 260 24.28 - จ้านวนครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่นๆ และจ้านวนครัวเรือนเกษตรที่ไม่ได้มาขึ นทะเบียนฯ 812 75.72 ที่มำ: 1) กรมการปกครอง (2562) 2) กรมส่งเสริมการเกษตร (2562) รูปที่ 2-7 สัดส่วนครัวเรือนเกษตร ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี จ ำนวนครัวเรือน เกษตรกร 24% จ ำนวนครัวเรือน ที่ไม่ได้ท ำอำชีพ กำรเกษตร 76%
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-17 2) สภำพทั่วไป จากข้อมูลพื นฐานระดับหมู่บ้านหรือชุมชน ปี 2561 สภาพทั่วไปของต้าบลปากน ้า ได้แก่ แหล่งน ้า โครงสร้างพื นฐาน การประกอบอาชีพ สถานที่ส้าคัญ การคมนาคมขนส่ง ต้าบลปากน ้า มีถนนสายหลัก คือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ทางหลวงชนบทหมายเลข 3216 ทางหลวงชนบท หมายเลข 3184 และได้ด้าเนินการปรับปรุง พัฒนาเส้นทางคมนาคมให้ประชาชนสามารถสัญจรได้ สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยมากขึ น การไฟฟ้าจัดให้มีไฟฟ้าสาธารณะภายในหมู่บ้านเพื่อท้าให้เกิดแสง สว่างเพื่อสะดวกในการเดินทางและลดอุบัติเหตุ ลดปัญหาอาชญากรรม รวมถึงความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ต้าบลปากน ้าใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค แต่มีบางครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ เหตุเพราะเนื่องจากอยู่ห่างไกลจากชุมชน ยากต่อการขยายเขตไฟฟ้า จ้านวน 6 ครัวเรือน 3) แหล่งน้ ำใช้ในครัวเรือนและแหล่งน้ ำที่สร้ำงขึ้น ครัวเรือนในพื นที่ต้าบลปากน ้าส่วน ใหญ่จะใช้น ้าประปาหมู่บ้าน ซึ่งมีครบทุกหมู่บ้าน แต่การประปาภูมิภาคจะมีแค่บางหมู่เท่านั น 4) สถำบันกำรศึกษำ โรงเรียนระดับประถมศึกษา 2 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาศ 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง 5) โครงสร้ำงพื้นฐำน/บริกำรสำธำรณะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1 แห่ง ส้านักงาน เทศบาลต้าบล 1 แห่ง วัด 3 แห่ง ศูนย์ OTOP ต้าบล 1 แห่ง วิสาหกิจชุมชน 1 แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ ประจ้าหมู่บ้าน 7 แห่ง 6) สถำนที่ท่องเที่ยวส ำคัญ ในพื นที่เทศบาลต้าบลปากน ้า ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่มีพื นที่ ติดกับแหล่งท่องเที่ยวคือ บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ ท้าให้พื นที่บางส่วนได้รับผลดีทางด้านการค้าขายของ ฝากบริเวณข้างทาง และทางเทศบาลได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก้าลังร่วมกันคิดพัฒนาให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวทางศาสนา คือ จัดให้มีการล่องเรือไหว้พระ 9 วัด การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้าง สวนสาธารณะส้าหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-5
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-18 ตำรำงที่ 2-5 สภำพสังคมในพื้นที่ของต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 สภำพสังคม จ ำนวน (แห่ง) แหล่งน้ ำตำมธรรมชำติ แม่น ้าท่าจีน (แม่น ้าสุพรรณบุรี) 1 บึงหนองลี 1 บึงหรรไกร 1 สถำบันกำรศึกษำ โรงเรียนระดับประถมศึกษา 2 โรงเรียนขยายโอกาส 2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 โครงสร้ำงพื้นฐำน/บริกำรสำธำรณะในหมู่บ้ำน(แห่ง) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1 ส้านักงานเทศบาลต้าบล 1 วัด (มหานิกาย) 3 ส้านักสงฆ์ 1 สถานีต้ารวจ 1 ศูนย์ OTOP ต้าบล 2 วิสาหกิจชุมชน 1 ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ้าหมู่บ้าน 7 สถำนที่ท่องเที่ยวส ำคัญ วัด 3 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร 1 ที่มำ: เทศบาลต้าบลปากน ้า (2564)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-19 7) หมอดินอำสำ กรมพัฒนำที่ดิน หมอดินอาสาในต้าบลปากน ้ามีจ้านวน 13 ราย คือ 1. นายแว้น ช้างวงษ์ หมอดินอาสาระดับต้าบล 2. นายทะนงศักดิ์นิลน้อย หมอดินอาสาระดับหมู่บ้าน 3. นายธงชาติ มะลิทอง หมอดินอาสาระดับหมู่บ้าน 4. นายสมาน ศรีโมรา หมอดินอาสาระดับหมู่บ้าน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564) 8) กำรถือครองที่ดิน ปี 2562 ประชากรต้าบลปากน ้าจ้านวน 3,069 คน ถือครองที่ดินเฉลี่ยคนละ 7.79 ไร่ 9) ลักษณะทำงเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของชุมชนในต้าบลปากน ้า ส่วนใหญ่ชาวบ้านมีอาชีพหลักคือ ท้าการ เกษตรกรรม ได้แก่ ท้านา ท้าสวนไม้ผล ท้าไร่ อาชีพเสริม ได้แก่ ค้าขาย รับจ้าง 9.1) กำรประกอบอำชีพ ต้าบลปากน ้า เป็นพื นที่เหมาะท้าการเกษตร มีแหล่งน ้าที่อุดมสมบูรณ์ประชากร ส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ท้านา ท้าสวนไม้ผล ท้าไร่ และมีอาชีพเสริม เช่น การค้าขาย และรับจ้าง เป็นต้น 9.1.1) อำชีพท ำเกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกข้าว มะม่วง อ้อย ไม้ผลผสม ส้มโอ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น 9.1.2) ด้ำนอุตสำหกรรม ต้าบลปากน ้ามีโรงสีข้าวขนาดใหญ่ 3 แห่ง อุตสาหกรรม ครัวเรือน เช่น กลุ่มท้าธูปหอม กลุ่มพานพุ่ม กลุ่มดอกไม้จันท์ กลุ่มมะม่วงส่งออก กลุ่มข้าวหอม 9.2) ด้ำนแรงงำน ประชากรส่วนใหญ่จะใช้แรงงานจากคนภายในต้าบลเพราะ ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ นอกนั นประกอบอาชีพค้าขาย รับจ้างทั่วไป รับราชการ และงานอื่นๆ 9.3) ด้ำนแหล่งน้ ำทำงกำรเกษตร มีแหล่งน ้าที่ส้าคัญหลายแห่ง คือ แม่น ้าท่าจีน คลองชลประทาน คลองถ ้าเข้ คลอง ล้าตะลุ้ง บึงหนองลี บึงหรรไกร สระน ้าในไร่นา บ่อบาดาล ซึ่งเป็นแหล่งน ้าที่ใช้ในการเพาะปลูก
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-20 9.4) ด้ำนรำยได้-รำยจ่ำย จากข้อมูลพื นฐาน (จปฐ.) ปี 2562 พบว่า รายได้ครัวเรือนเฉลี่ยปีละ 175,949.72 บาท รายได้บุคคลเฉลี่ยปีละ 61,459.14 บาท รายจ่ายครัวเรือนเฉลี่ยปีละ 94,536.74 บาท รายจ่ายบุคคล เฉลี่ยปีละ 33,021.63 บาท เมื่อพิจารณาจะเห็นว่ารายได้ครัวเรือนมากกว่ารายจ่ายครัวเรือนปีละ 81,412.98 บาท และรายได้บุคคลมากกว่ารายจ่ายบุคคลปีละ 28,437.51 บาท ดังรายละเอียดในตาราง ที่ 2-6 และรูปที่ 2-8 (กรมการพัฒนาชุมชน, 2562) ตำรำงที่ 2-6 รำยได้-รำยจ่ำยเฉลี่ยครัวเรือน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี ปี 2562 พื้นที่ แหล่งรำยได้ของครัวเรือน (บำท/ปี) รำยได้ ครัวเรือน เฉลี่ย (บำท/ ปี) รำยได้ บุคคล เฉลี่ย (บำท/ปี) รำยจ่ำย ครัวเรือน เฉลี่ย (บำท/ปี) รำยจ่ำย บุคคล เฉลี่ย อำชีพหลัก อำชีพรอง รำยได้อื่น ท ำ-หำเอง (บำท/ปี) ต ำบลปำกน้ ำ 144,497.85 21,674.07 6,366.98 3,410.82 175,949.72 61,459.14 94,536.74 33,021.63 หมู่ที่ 1 ปากน ้า 137,000.00 6,906.25 7,104.38 3,020.63 154,031.25 49,787.88 68,551.25 22,157.98 หมู่ที่ 2 ท่าสะตือ 166,561.60 6,908.00 6,548.00 6,217.60 186,235.20 61,585.71 119,752.00 39,600.53 หมู่ที่ 3 ท่าทอง 202,126.13 25,131.53 8,527.93 4,687.39 240,472.97 77,594.48 139,992.79 45,172.09 หมู่ที่ 4 แหลมข่อย 138,539.53 7,774.42 2,867.91 3,325.58 152,507.44 49,831.46 76,683.26 25,056.08 หมู่ที่ 5 ปากน ้า 142,592.00 58,440.00 7,872.80 2,690.40 211,595.20 83,436.59 148,380.00 58,509.46 หมู่ที่ 6 ปากคลอง 103,994.71 41,868.78 6,052.91 2,137.04 154,053.44 57,202.55 53,751.32 19,958.74 หมู่ที่ 7 ท่ามะกอก 152,792.52 10,794.56 8,019.73 2,859.86 174,466.67 69,691.85 99,820.34 39,873.89 ที่มำ: กรมการพัฒนาชุมชน (2562)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-21 รายได้ครัวเรือน เฉลี่ย (บาท/ปี) 175,949.72 รายจ่ายครัวเรือน เฉลี่ย (บาท/ปี) 94,536.74 รายได้สุทธิ ครัวเรือนเฉลี่ย (บาท/ปี) 81,412.98 รูปที่ 2-8 รำยได้-รำยจ่ำยของครัวเรือนเฉลี่ย ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2-22
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-1 บทที่ 3 ทรัพยำกรธรรมชำติ ทรัพยากรธรรมชาติที่ส้าคัญในต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี คือ 1) ทรัพยากรป่าไม้2) ทรัพยากรน ้า และ 3) ทรัพยากรดิน โดยมีรายละเอียดดังนี 3.1 ทรัพยำกรป่ำไม้ ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีไม่มีทรัพยากรป่าไม้
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 3-1 ชั้นคุณภำพลุ่มน้ ำ ต ำบลปำกน้ ำ อ ำ
6-2 ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-3 3.2 ทรัพยำกรน้ ำ 3.2.1 น้ ำผิวดิน 1) แหล่งน ้าตามธรรมชาติ ได้แก่ แม่น ้าท่าจีน 2) การพัฒนาแหล่งน ้า ได้แก่ คลองชลประทาน คลองถ ้าเข้ คลองล้าตะลุ้ง บึงหนองลี บึง หรรไกร 3) บ่อสาธารณะและบ่อส่วนตัว ตำรำงที่ 3-1 ทรัพยำกรน้ ำในต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี แหล่งน้ ำตำมธรรมชำติ แม่น ้า 1 ล้าน ้า ล้าหัวย (สาย) 2 แหล่งน้ ำที่มีกำรพัฒนำ คลองชลประทาน 4 บ่อสาธารณะ (แห่ง) 2 บ่อส่วนตัว (แห่ง) 77 ที่มำ : ส้านักงานเทศบาลต้าบลปากน ้า (2563) 3.3 ทรัพยำกรดิน 3.3.1 สถำนภำพทรัพยำกรดิน ทรัพยากรดินในพื นที่ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย 1) ชุดดินชัยนาท (Cn) สภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายค่อนข้างเลวถึงเลว - หน่วยแผนที่ดิน Cn-siclA/d5,E0: ชุดดินชัยนาท มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปน ทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากและไม่มีการกร่อน มีเนื อที่ 6,439 ไร่ หรือร้อยละ 26.94 ของพื นที่ต้าบล - หน่วยแผนที่ดิน Cn-siclA/d5,E0,rb : ชุดดินชัยนาท มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปน ทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อนและมีการยกร่อง มีเนื อที่ 784 ไร่ หรือร้อยละ 3.28 ของพื นที่ต้าบล
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-4 2) ชุดดินสิงห์บุรี(Sin) สภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายเลว - หน่วยแผนที่ดิน Sin-sicA/d5,E0: ชุดดินสิงห์บุรี มีเนื อดินบนเป็นดินเหนียวปนทราย แป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากและไม่มีการกร่อน มีเนื อที่ 9,826 ไร่ หรือร้อยละ 41.11 ของ พื นที่ต้าบล - หน่วยแผนที่ดิน Sin-sicA/d5,E0,rb : ชุดดินสิงห์บุรี มีเนื อดินบนเป็นดินเหนียวปนทราย แป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากไม่มีการกร่อนและมีการยกร่อง มีเนื อที่ 666 ไร่ หรือร้อยละ 2.78 ของพื นที่ต้าบล 3) ดินคล้ายชุดดินสรรพยา (Sa) สภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาด ชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายน ้าค่อนข้างเลวถึงเลว - หน่วยแผนที่ดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0: ดินคล้ายชุดดินสรรพยาที่เป็นดินทรายแป้ง ละเอียด มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากและไม่มีการกร่อน มีเนื อที่ 176 ไร่ หรือร้อยละ 0.74 ของพื นที่ต้าบล - หน่วยแผนที่ดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb : ดินคล้ายชุดดินสรรพยาที่เป็นดินทรายแป้ง ละเอียด มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากไม่มีการกร่อนและ มีการยกร่อง มีเนื อที่ 36 ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของพื นที่ต้าบล 4) ดินคล้ายชุดดินเชียงใหม่ (Cn) สภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความ ลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายน ้าดีปานกลางถึงดี - หน่วยแผนที่ดิน Cm-fsi-silA/d5,E0: ดินคล้ายชุดดินเชียงใหม่ที่เป็นดินทรายแป้ง ละเอียด มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากและไม่มีการกร่อน มีเนื อ ที่ 1,187 ไร่ หรือร้อยละ 4.97 ของพื นที่ต้าบล - หน่วยแผนที่ดิน Cm-fsi-silA/d5,E0,b : ดินคล้ายชุดดินเชียงใหม่ที่เป็นดินทรายแป้ง ละเอียด มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมากไม่มีการกร่อนและมีคัน นา มีเนื อที่ 411 ไร่ หรือร้อยละ 1.72 ของพื นที่ต้าบล 5) พื นที่เบ็ดเตล็ด (Miscellaneous areas) มีเนื อที่รวมทั งหมด 4,380 ไร่ หรือร้อยละ 18.32 ของพื นที่ต้าบล ประกอบด้วย 7 หน่วยแผนที่ดิน คือ 5.1) หน่วยแผนที่ดิน AQ : สถานที่เพาะเลี ยงสัตว์น ้า มีเนื อที่ 35ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของพื นที่ต้าบล 5.2) หน่วยแผนที่ดิน LF : คอกปศุสัตว์มีเนื อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื นที่ ต้าบล
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-5 5.3) หน่วยแผนที่ดิน MAR: ที่ลุ่มชื นแฉะ มีเนื อที่ 35ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของพื นที่ ต้าบล 5.4) หน่วยแผนที่ดิน MML : ที่ดินดัดแปลง มีเนื อที่ 56 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ของ พื นที่ต้าบล 5.5) หน่วยแผนที่ดิน P: บ่อขุด มีเนื อที่ 102ไร่ หรือร้อยละ 0.43 ของพื นที่ต้าบล 5.6) หน่วยแผนที่ดิน U : พื นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื อที่ 2,922ไร่ หรือร้อยละ 12.22 ของพื นที่ต้าบล 5.7) หน่วยแผนที่ดิน W : พื นที่แหล่งน ้า มีเนื อที่ 1,228 ไร่ หรือร้อยละ 5.14 ของ พื นที่ต้าบล ดังรายละเอียดในตารางที่ 3-2 ถึง 3-4 และรูปที่ 3-2 ถึง 3-4
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำงที่ 3-2 หน่วยแผนที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพร ที่มำ: กองส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2562) Cn-siclA/d5,E0 ชดุดินชยันาท มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนเหนยีวปนทรายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ Cn-siclA/d5,E0,rb ชดุดินชยันาท มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนเหนยีวปนทรายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ Sin-sicA/d5,E0 ชดุดินสงิห์บุรีมีเนอื ดินบนเป็นดินเหนยีวปนทรายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึม Sin-sicA/d5,E0,rb ชดุดินสงิห์บุรีมีเนอื ดินบนเป็นดินเหนยีวปนทรายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึม Sa-fsi-siclA/d5,E0 ดินคลา้ยชดุดินสรรพยาที่เป็นดินทรายแป้งละเอยีด มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนเหนยีวปนทร Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb ดินคลา้ยชดุดินสรรพยาที่เป็นดินทรายแป้งละเอยีด มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนเหนยีวปนทร Cm-fsi-silA/d5,E0 ดินคลา้ยชดุดินเชยีงใหม่ที่เป็นดินทรายแป้งละเอยีด มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง Cm-fsi-silA/d5,E0,b ดินคลา้ยชดุดินเชยีงใหม่ที่เป็นดินทรายแป้งละเอยีด มีเนอื ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง AQ สถานที่เพาะเลยี งสตัว์น ้า L F คอกปศุสตัว์ MAR ที่ลมุ่ชนื แฉะ MML ที่ดินดัดแปลง P บ่อขดุ U พื นที่ชมุชนและสงิ่ปลกูสร้าง W พื นที่แหลง่น ้า หน่วยแผนที่ค ำอธิบำย รวม
6-6 รรณบุรี ไร่ร้อยละ ต์ลกึมากและไม่มีการกร่อน 6,439 26.94 ต์ลกึมาก ไม่มีการกร่อนและมีการยกร่อง 784 3.28 มากและไม่มีการกร่อน 9,826 41.11 มาก ไม่มีการกร่อนและมีการยกร่อง 666 2.78 ายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึมากและไม่มีการกร่อน 176 0.74 ายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึมาก ไม่มีการกร่อนและมีการยกร่อง 36 0.15 ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึมากและไม่มีการกร่อน 1,187 4.97 ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ต์ลกึมาก ไม่มีการกร่อนและมีคันนา 411 1.72 35 0.14 2 0.01 35 0.15 56 0.23 102 0.43 2,922 12.22 1,228 5.14 23,903 100.00 เนื้อที่
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำงที่ 3-3 สมบัติดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุี หน่วยแผนที่ดิน ควำมลำดชัน (%) กำรระบำยน้ ำ CEC (meq/g) BS (%) ควำมลึก (ซม.) อิ Cn-siclA/d5,E0 0-2 เลว >20 35-75 >150 ป Cn-siclA/d5,E0,rb 0-2 ปานกลาง >20 35-75 >150 ป Sin-sicA/d5,E0 0-2 เลว >20 >75 >150 ค Sin-sicA/d5,E0,rb 0-2 ปานกลาง >20 >75 >150 ค Sa-fsi-siclA/d5,E0 0-2 ค่อนข้างเลว >20 >75 >150 ป Sa-fsisiclA/d5,E0,rb 0-2 ปานกลาง 10-20 >75 >150 ป Cm-fsi-silA/d5,E0 0-2 ดี 10-20 35-75 >150 ป Cm-fsi-silA/d5,E0,b 0-2 ค่อนข้างเลว >20 35-75 >150 ป AQ - - - - - - LF - - - - - - MAR - - - - - - MML - - - - - - P - - - - - - U - - - - - - W - - - - - - ที่มำ: กองส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2562)
6-7 รี นทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส ที่เป็นประโยชน์ (P2O5 ) โพแทสเซียม ที่เป็นประโยชน์ (K2O) ควำมอุดม สมบูรณ์ของดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ ปานกลาง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ปานกลาง 6,439 26.94 ปานกลาง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ปานกลาง 784 3.28 ค่อนข้างต่้า ต่้าปานกลาง ต่้ามาก ปานกลาง 9,826 41.11 ค่อนข้างต่้า ต่้าปานกลาง ต่้ามาก ปานกลาง 666 2.78 ปานกลาง ค่อนข้างสูง ต่้า ปานกลาง 176 0.74 ปานกลาง ค่อนข้างสูง ต่้า ปานกลาง 36 0.15 ปานกลาง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ปานกลาง 1,187 4.97 ปานกลาง ค่อนข้างสูง ปานกลาง ปานกลาง 411 1.72 - - - 35 0.14 - - - 2 0.01 - - - 35 0.15 - - - 56 0.23 - - - 102 0.43 - - - 2922 12.22 - - - 1228 5.14 รวมเนื้อที่ทั้งหมด 23,905 100.00
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 3-2 ภูมิประเทศและชุดดิน ต ำบลปำกน้ ำ Cn-siclA/d5,E0 Cn-siclA/d5,E0,rb Sa-fsi-siclA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb Cm-fsi-silA/d5,E0 Cm-fs