6-8 อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี i-silA/d5,E0,b Sin-sicA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb ความสูงระดับทะเลปานกลาง (เมตร)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 3-3 ทรัพยำกรดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภ
6-9 ภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-10 3.3.2 กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน จากการประเมินการชะล้างพังทลายของดินโดยใช้สมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation; USLE) ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มีการชะล้าง พังทลายของดิน ดังรายละเอียดในตารางที่ 3-4 และรูปที่ 3-4 ตำรำงที่ 3-4 กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ น้อย (0-2 ตัน/ไร่/ปี) 23,895 99.96 ปานกลาง (2-5 ตัน/ไร่/ปี) 6 0.03 รุนแรง (5-15 ตัน/ไร่/ปี) 2 0.01 รวม 23,903 100.00
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 3-4 กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน ต ำบลปำกน
4-11 น้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-12
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-1 บทที่ 4 กระบวนกำรมีส่วนร่วมของชุมชน (Participatory Rural Appraisal : PRA) 4.1. หลักกำร กระบวนการมีส่วนร่วมเป็นความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ 1) พื นที่ (Area) 2) หน้าที่ขององค์กร หรือภารกิจ (Function) 3) ความร่วมมือ (Participation) การจัดท้ากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีสาระส้าคัญที่จ้าเป็นในการจัดท้าโครงการ เช่น 1) สภาพปัญหาของชุมชนหรือเกษตรกร 2) ความต้องการของชุมชน 3) โครงการที่จะแก้ไขปัญหาที่เป็นไปตามความต้องการของประชาชน 4) พื นที่ที่จะด้าเนินโครงการ ทั งนี ผู้ที่จ้าเป็นต้องเข้าร่วมกระบวนการ คือ เกษตรกรในพื นที่ต้าบล ผู้แทนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน และก้านัน รวมทั งเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในกรณีของแผนการใช้ที่ดินต้าบลนั น การจัดท้ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนจะมีสาระส้าคัญ ของชุมชนในภาพรวม และเกษตรกรแต่ละราย เช่น 1) ปัญหาทรัพยากรดิน 2) ปัญหาการประกอบอาชีพ 3) ความต้องการของชุมชนหรือเกษตรกรแต่ละราย 4) แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ในปัจจุบัน จากสาระส้าคัญใน 4 ประการ ดังกล่าว แผนการใช้ที่ดินต้าบลจะต้องจัดท้าขึ นโดยมี “กิจกรรม ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน หรือเกษตรกรแต่ละราย รวมทั งตอบสนองต่อแผนงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น” ตรงตามอ้านาจหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดิน และโดยความร่วมมือของส่วนราชการ ต่างๆ 4.2 กำรวิเครำะห์ผลจำกกำรจัดท ำกระบวนกำรมีส่วนร่วมของชุมชน (PRA) การวิเคราะห์ผลจากการจัดท้ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (PRA) เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2564 มีสาระส้าคัญสรุปได้ดังนี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-2 4.2.1 ปัญหาหลักของต้าบลปากน ้า คือ 1) ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ 2) ต้นทุนการผลิตสูงจากปุ๋ยเคมี สารเคมีก้าจัดวัชพืชและศัตรูพืช 3) ราคาผลผลิตตกต่้าและคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน 4.2.2 ความต้องการของชุมชน เกษตรกร และเทศบาลต้าบลปากน ้า มีความต้องการ 3 ประการ คือ 1) การปรับปรุงบ้ารุงดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน 2) การลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต 3) การประกันราคาสินค้า 4) แนวทางการผลิตพืชตามมาตรฐาน GAP หรือ ระบบเกษตรอินทรีย์ 4.3 กำรวิเครำะห์ปัญหำของพื้นที่ 1. ดินปัญหาและขาดความอุดมสมบูรณ์ 2. น ้าท่วมขังในฤดูฝนและการขาดแคลนน ้าในฤดูแล้ง ความต้องการของเกษตรกร : การป้องกันน ้าท่วมขังในฤดูฝนและแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร เพิ่มเติมจากที่มีอยู่ในปัจจุบัน จากการวิเคราะห์ถึงสภาพภูมิอากาศ ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัด สุพรรณบุรี มี ปริมาณฝนเฉลี่ย 997.1 มิลลิเมตรต่อปี มีช่วงที่ขาดแคลนน ้า คือ ช่วงเดือนกลางเดือน พฤศจิกายน – กลางเดือนเมษายน เป็นเวลาประมาณ 5 เดือน (ดังรายละเอียด ในหัวข้อ 2.5 หน้า 2-4)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-3 รูปที่ 4-1 ตัวอย่ำงกำรวิเครำะห์สถำนกำรณ์โดยระบบ DPSIR ของต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี • ดินปัญหาทางการเกษตร • น ้าท่วมในฤดูฝน/ขาดแคลนน ้าในฤดู แล้ง • ราคาผลผลิตไม่แน่นอน • ใช้ปุ๋ยเคมีมากขึ น • ผลผลิตเสียหายจากโรคและแมลง เข้าท้าลาย • หนี สินจากการลงทุนภาคเกษตร • รายได้จากภาคเกษตรลดลง • ผลผลิตต่้า • ต้นทุนการผลิตสูง • คุณภาพชีวิต อดีต-ปัจจุบัน • การปรับปรุงบ้ารุงดิน / ไถกลบ ตอซัง • การลดต้นทุน • การใช้สารชีวภาพ/ชีวภัณฑ์ อนำคต • เพิ่มปริมาณและคุณภาพกิจกรรมที่ ตอบสนองในอดีต-ปัจจุบัน • เปลี่ยนการผลิตเป็นการผลิตพันธุ์ข้าว แทนการผลิตข้าวเพื่อบริโภค • เกษตรแปลงใหญ่ • เกษตรผสมผสาน • จัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า แรงขับเคลื่อน (D) แรงกดดัน (P) สภำวะ (S) ผลกระทบ (I) กำรตอบสนอง (R)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-4 เดือน ระบบเกษตร 4.3 ระบบกำรปลูกพืชในปัจจุบัน ระบบการปลูกพืชในปัจจุบันของต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มี รายละเอียดดังนี จะท้านาในช่วงเดือนพฤษภาคม – พฤศจิกายน หลังการเก็บเกี่ยวจะปลูกยาสูบ หรือ ฟักทอง ในช่วงเดือนมกราคม – เมษายน ส่วนพื นที่นาดอนจะมีการท้านาในช่วงเดือนมิถุนายน – พฤศจิกายน หลังเก็บเกี่ยวมิได้มีการ ใช้ที่ดิน ดังรูปที่ 4-2 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. นำลุ่ม (ข้ำว) ไม้ผล เกษตร ผสมผสำน รูปที่ 4-2 ระบบกำรปลูกพืช ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มะม่วง, ฝรั่ง, กล้วย นำข้ำว พืชผัก พืชสมุนไพร ประมง เช่น เสี้ยงปลำกินพืช ปศุสัตว์ เช่น เลี้ยงเป็ดและไก่ ข้ำวนำปี ข้ำวนำปรัง ข้ำวนำปรัง
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 4-1
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 5-1 บทที่ 5 กำรประเมินคุณภำพที่ดิน 5.1 ทรัพยำกรดิน จากการส้ารวจทรัพยากรดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีโดยกอง ส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน พบว่า มีดิน 2 ชุดดิน และ 2 ดินคล้ายชุดดิน โดยมีการประเมินคุณภาพ ที่ดิน ดังรายละเอียดในตารางที่ 5-1 5.2 ประเภทกำรใช้ที่ดิน ประกอบด้วยพืชเศรษฐกิจหลัก หรือพืชอัตลักษณ์ (Signature crops) ที่ปลูกอยู่ในปัจจุบันของ ต้าบลปากน ้า ได้แก่ ข้าว พืชที่มีอนาคตทั งด้านคุณภาพและราคาตลาด (Promising crop) ได้แก่ มะม่วง พืชทางเลือกที่ปลูกเป็นรายได้เสริม ได้แก่ พืชผัก และพืชสมุนไพร 5.3 กำรประเมินคุณภำพที่ดิน จากการใช้คู่มือการประเมินคุณภาพที่ดิน ส้าหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับต้าบลและระดับ จังหวัด (ศันสนีย์ อรัญวาสน์ และค้ารณ ไทรฟัก, 2562) ประเมินคุณภาพที่ดิน ได้จ้าแนกชั นความ เหมาะสมทางกายภาพและข้อจ้ากัดของประเภทการใช้ที่ดิน ดังนี ข้ำว ชั้นที่มีความเหมาะสม (S2) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านความ อิ่มตัวด้วยด่าง (b) ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb Cm-fsi-silA/d5,E0,b CnsilA/d5,E0 Cn-siclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0 Sin-sicA/d5,E0,rb ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsisilA/d5,E0 ข้ำวโพด ชั้นที่มีความเหมาะสม (S2) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านความ อิ่มตัวด้วยด่าง (b) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0 Sin-sicA/d5,E0,rb Cn-silA/d5,E0 CnsiclA/d5,E0,rb
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-2 ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (S3) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0,b ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsisiclA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0 อ้อย ชั้นที่มีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0 Sin-sicA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (S3) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0,b ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsisiclA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb Cn-silA/d5,E0 Cn-siclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0 ถั่วเขียว ชั้นที่มีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ ชุดดิน Sin-sicA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสม (S2) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านความ เนื อดินที่เป็นดินทราย หรือดินร่วนปนทราย (s) และมีข้อจ้ากัดด้านการระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0 Cm-fsi-silA/d5,E0,b Cn-silA/d5,E0 Cn-siclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0 SinsicA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (S3) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้าน ปฏิกิริยาดิน (a) ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0 Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb มะม่วง ชั้นที่มีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ ชุดดิน Cm-fsi-silA/d5,E0 Sin-sicA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสม (S2)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-3 พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (S3) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0 Cm-fsi-silA/d5,E0,b Cn-silA/d5,E0 CnsiclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0 ข่ำ ชั้นที่มีความเหมาะสม (S2) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) และปฏิกิริยาดิน (a) ได้แก่ ชุดดิน Sin-sicA/d5,E0,rb ชั้นที่มีความเหมาะสมน้อย (S3) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชคือ มีข้อจ้ากัดด้านการ ระบายน ้า (o) ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb Cm-fsi-silA/d5,E0 Cm-fsi-silA/d5,E0,b ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) พบว่าคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ได้แก่ ชุดดิน Sa-fsisiclA/d5,E0 Cn-silA/d5,E0 Cn-siclA/d5,E0,rb Sin-sicA/d5,E0
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-4 ตำรำงที่ 5-1 ชั้นควำมเหมำะสมทำงกำยภำพของดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี หน่วยที่ดิน ข้ำว ข้ำวโพด อ้อย ถั่วเขียว มะม่วง ข่ำ Sa-fsi-siclA/d5,E0 S2b N N S3o S3o N Sa-fsi-siclA/d5,E0,rb S2 N N S3o S2o S3o Cm-fsi-silA/d5,E0 N S2 S1 S2 S1 S3 Cm-fsi-silA/d5,E0,b S2b S3o S3o S2so S3o S3so Cn-silA/d5,E0 S2b N N S2so S3o N Cn-siclA/d5,E0,rb S2b N N S2o S3o N Sin-sicA/d5,E0 S2b N N S2o S3o N Sin-sicA/d5,E0,rb S2b S2b S1 S1 S1 S2o หมำยเหตุ : 1. ค้าอธิบายชุดดินดูจากตารางหน่วยแผนที่ดิน ต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 2. ข้อจ้ากัดในการประเมินคุณภาพที่ดิน S1 = มีความเหมาะสมมาก o = การระบายน ้า S2 = มีความเหมาะสม s = ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร S3 = มีความเหมาะสมน้อย b = ความอิ่มตัวด้วยด่าง
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-5
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-1 บทที่ 6 แผนกำรใช้ที่ดิน 6.1 ปรัชญำในกำรจัดท ำแผนกำรใช้ที่ดินต ำบล ในการจัดท้าแผนการใช้ที่ดินต้าบลฉบับนี ได้ใช้ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 1 เป็นหลัก โดยมี รายละเอียดดังนี “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี ถึงแนวทางการด้ารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด้าเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ้าเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั งภายนอกและภายใน ทั งนี จะต้อง อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน้าวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและด้าเนินการทุกขั นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีส้านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ด้าเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั งด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี” 1 ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2550: 6-7) ได้หมายเหตุว่า “ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชด้ารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวมทั งพระราชด้ารัสอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้รับ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้น้าไปใช้และเผยแพร่ได้เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและ ประชาชนโดยทั่วไป
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-2 6.2 นโยบำยแห่งรัฐในกำรก ำหนดแผนกำรใช้ที่ดินต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำง บวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำงที่ 6-1 นโยบำยแห่งรัฐที่เกี่ยวข้องกับแผนกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำง บวช จังหวัดสุพรรณบุรี ล ำดับ ที่ กฎหมำย/ยุทธศำสตร์/แผนกำร ปฏิบัติ/แผนแม่บท รำยละเอียด 1 รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 72 (1) วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศไทยเหมาะสมกับสภาพ ของพื นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม 3 แผนการปฏิรูปประเทศด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ประเด็นย่อยที่ 2.1 จัดท้าแผนการใช้ที่ดินของชาติทั งระบบให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับศักยภาพของพื นที่และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ ประเด็นย่อยที่ 2.2 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่าง ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อหลักการพัฒนา อย่างยั่งยืน 5 นโยบายและแผนการบริหาร จัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ของประเทศ (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านใช้ที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน 6 ยุทธศาสตร์ภาคกลางและพื นที่ กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2560 – 2565) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการน ้าและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อแก้ไข ปัญหาน ้าท่วม ภัยแล้ง และคงความสมดุลของระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 7 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาค กลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2561- 2564) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ให้ ได้คุณภาพ มาตรฐาน ยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพครบวงจร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม สินค้า ชุมชน และภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต โดยเน้นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ประเทศไทย 4.0
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-3 ตำรำงที่ 6-1 (ต่อ) 8 แผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี (พ.ศ. 2561-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตรเชื่อมโยง สู่เกษตร อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองสู่มาตรฐานพัฒนาการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติสู่มั่นคงยั่งยืน 9 แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาด้านเศรษฐกิจชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างและพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความ สมดุล
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-4 6.3 กำรก ำหนดเขตกำรใช้ที่ดิน การวางแผนการใช้ที่ดินเป็นกระบวนการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ตัดสินใจในการก้าหนด รูปแบบหรือกิจกรรมการใช้ที่ดินที่เหมาะสมไว้ล่วงหน้า โดยมีพื นฐานจากศักยภาพการใช้ประโยชน์ของ ทรัพยากรดินตามธรรมชาติ สภาพเศรษฐกิจและสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีการใช้ที่ดิน อย่างมี ประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด การวางแผนการใช้ที่ดินมิได้สิ นสุดลงในขั นตอนการตัดสินใจ ว่าที่ดิน จะท้าอะไรดีที่สุด แต่จะต้องรวมถึงการจัดท้ามาตรการทุกด้านในการใช้ที่ดินเพื่อให้บรรลุถึงความ ต้องการใช้ที่ดินนั น จ้าเป็นต้องระบุถึงมาตรการ กิจกรรม โครงการ แผนงาน และนโยบายที่มีความ เหมาะสมกับพื นที่ ซึ่งจะท้าให้บรรลุถึงความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง การวางแผนการใช้ที่ดินระดับต้าบล เป็นการวิเคราะห์และประเมินข้อมูลด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ เพื่อก้าหนดการใช้พื นที่อย่างเป็นระบบ เป็นการตัดสินใจ ในการใช้พื นที่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของ ชุมชน โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการที่จะน้าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป เป็น สิ่งส้าคัญที่ต้องด้าเนินการเพื่อให้เป็นที่ยอมรับ โดยมีความมุ่งหมายให้การใช้ที่ดินที่ก้าหนดขึ นนั น ตอบสนองความต้องการของชุมชนมากที่สุด การก้าหนดเขตการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้าใช้ยุทธศาสตร์ จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2562 เป็นแนวทาง ซึ่งยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2562 ได้เชื่อมโยง กับนโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ทิศทาง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนปฏิรูปประเทศ รวมทั งแผนพัฒนา รายสาขา ต่างๆ หรือแผนเฉพาะด้าน เช่น แผนพัฒนาการเกษตร แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-5 6.4 เขตกำรใช้ที่ดิน แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ก้าหนดออกเป็น 5 เขต ได้แก่ เขตพื นที่ป่าไม้ เขตพื นที่เกษตรกรรม พื นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง เขตอุตสาหกรรม และ พื นที่แหล่งน ้า รายละเอียดดังตารางที่ 6-2 และรูปที่ 6-1 ตำรำงที่ 6-2 เขตกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี สัญลักษณ์ที่ เขตกำรใช้ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ เขตเกษตรกรรม 18,998 79.50 1.1 เขตท ำนำ 16,292 68.18 1 - เขตท้านาพื นที่ลุ่ม 15,881 66.46 2 - เขตท้านาพื นที่ดอน 411 1.72 1.2 เขตปลูกพืชไร่ 656 2.75 3 - เขตปลูกอ้อย 630 2.64 4 - เขตปลูกพริก 26 0.11 1.3 เขตปลูกไม้ผล 1,927 8.05 5 - เขตปลูกส้ม 3 0.01 6 - เขตปลูกมะม่วง 1,456 6.09 7 - เขตปลูกกล้วย 25 0.1 8 - เขตปลูกมะนาว 7 0.03 9 - เขตปลูกส้มโอ 170 0.71 10 - เขตปลูกมะปราง มะยงชิด 8 0.03 11 - เขตปลูกไม้ผลร้าง 22 0.09 12 - อื่นๆ 236 0.99 1.4 เขตปลูกไม้ยืนต้น 5 0.02 13 - เขตปลูกยูคาลิปตัส 5 0.02 1.5 เขตปลูกพืชสวน 82 0.35 14 - เขตปลูกพืชผัก 35 0.15
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-6 ตำรำงที่ 6-2 เขตกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี(ต่อ) สัญลักษณ์ที่ เขตกำรใช้ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ 15 - เขตปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ 22 0.09 16 - เขตปลูกนาหญ้า 7 0.03 17 - เขตปลูกพืชสวนร้าง 18 0.08 1.6 เขตปศุสัตว์ 2 0.01 18 - เขตเลี ยงสัตว์ปีก 2 0.01 1.7 เขตเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ 34 0.14 19 - เขตเพาะเลี ยงปลา 17 0.07 20 - เขตเพาะเลี ยงสัตว์น ้าร้าง 17 0.07 21 2. พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้ำง 2,565 10.73 22 3. พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้ำง (ดินถม) 56 0.23 23 4. เขตอุตสำหกรรม 357 1.49 24 5. พื้นที่แหล่งน้ ำ 1,227 5.13 25 6. เขตพื้นที่อื่นๆ (ทุ่งหญ้ำ/ไม้พุ่ม/ไม้ละเมำะ) 661 2.77 26 7. เขตพื้นที่อื่นๆ (ที่ลุ่มชื้นแฉะ) 35 .015 รวมเนื้อที่ทั้งหมด 23,899 100.00 หมำยเหตุ: เนื อที่ค้านวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-7 6.4.1 เขตเกษตรกรรม มีเนื อที่ 18,998 ไร่ หรือร้อยละ 79.50 ของเนื อที่ต้าบล แบ่งออกเป็น 7 เขต ดังนี 1) เขตท ำนำ 1.1) เขตท ำนำพื้นที่ลุ่ม มีเนื อที่ 10,921 ไร่ หรือร้อยละ 17.53 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินในเขตนี ส่วนใหญ่ คือ ชุดดินสิงห์บุรี(Sin) ชุดดินชัยนาท (Cn) ชุดดินเชียงใหม่ (Cm) และชุดดิน สรรพยา (Sa) ตามล้าดับ ปัญหำกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน - ปัญหาน ้าท่วมขังในฤดูฝน/ขาดแคลนน ้าในฤดูแล้ง - ดินปัญหาและความอุดมสมบูรณ์ของดินต่้า - ต้นทุนการผลิตสูงเนื่องจากการใช้ปุ๋ยเคมีและยาก้าจัดวัชพืชและแมลง - ปัญหาการระบาดของโรคและแมลง กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - การให้ค้าแนะน้าเรื่องการจัดการดินหลังน ้าท่วมขัง โดยพิจารณาจากความ รุนแรงและความเสียหายที่เกิดกับระยะการเจริญเติบโตของข้าวขณะนั น - การให้ค้าแนะน้าเรื่องแนวทางการแก้ไขดินปัญหา การปรับปรุงบ้ารุงดินเพื่อ เพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารทางดิน - สุ่มเก็บตัวอย่างดินในนาก่อนปลูกวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารในดิน และใช้ ปุ๋ยเคมีตามสูตรและอัตราแนะน้าจากผลวิเคราะห์ดิน - เพิ่มองค์ความรู้ให้เกษตรกรด้านการก้าจัดโรค/แมลง กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินที่จะด ำเนินกำร - เก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารพืช - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง - ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร - ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ้ารุงดิน - ส่งเสริมการปรับปรุงพื นที่ดินกรด - พัฒนากลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ กิจกรรมที่ขอรับกำรสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นๆ - สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าว สนับสนุนเรื่อง ถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้พันธุ์ข้าว ต้านทานโรคและแมลง - สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าว และส้านักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรี สนับสนุน เรื่อง ถ่ายทอดความรู้เรื่องการป้องกัน ก้าจัด ศัตรูข้าว และการจัดการโรคและแมลง
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-8 1.2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื อที่ 656 ไร่ หรือร้อยละ 2.75 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินในเขต นี ส่วนใหญ่ คือชุดดินชัยนาท (Cn) ชุดดินเชียงใหม่ (Cm) และชุดดินสิงห์บุรี(Sin) ตามล้าดับ ปัญหำกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน - ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า - ส่วนใหญ่ดินค่อนข้างเป็นกรด - ขาดแคลนน ้า เนื่องจากฝนทิ งช่วง กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - ปรับปรุงบ้ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยชีวภาพ ควบคู่กับการใช้ ปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนที่เหมาะสม - ปรับปรุงความเป็นกรดของดิน - พัฒนาแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินที่จะด ำเนินกำร - ส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด - ถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมกรมพัฒนาที่ดินในการผลิต การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ - ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดและรณรงค์การไถกลบตอซัง - ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงความเป็นกรดของดิน - สนับสนุนการสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ทั งวิธีพืชและวิธีกล กิจกรรมที่ขอรับกำรสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นๆ 1) กรมวิชาการเกษตร ให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีในการผลิต 2) กรมชลประทาน สนับสนุนการขุดลอกแหล่งน ้าธรรมชาติ และคลองส่งน ้า 1.3) เขตปลูกไม้ผล มีเนื อที่ 1,927 ไร่ หรือร้อยละ 8.05 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินใน เขตนี ส่วนใหญ่ คือชุดดินสิงห์บุรี(Sin) ชุดดินชัยนาท (Cn) และชุดดินเชียงใหม่ (Cm) ตามล้าดับ ปัญหำกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน - ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า - ขาดแคลนน ้าในฤดูแล้ง กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - ตรวจวิเคราะห์ดินเพื่อดูปริมาณธาตุอาหารในดินและส่งเสริมการใส่ปุ๋ยเคมีตาม ค่าวิเคราะห์ดิน - การปรับปรุงบ้ารุงดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารทางดิน กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินที่จะด ำเนินกำร
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-9 - เก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารพืช - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง - ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร - ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ้ารุงดิน - ส่งเสริมการปรับปรุงพื นที่ดินกรด กิจกรรมที่ขอสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นๆ - กรมวิชาการเกษตร สนับสนุนเรื่อง ถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้สารเคมีก้าจัด แมลงและศัตรูพืชอย่างถูกต้อง และถ่ายทอดความรู้เรื่องการผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก 1.4) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื อที่ 5 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินในเขต นี คือ ชุดดินสิงห์บุรี(Sin) ปัญหำกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน - กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินที่จะด ำเนินกำร - กิจกรรมที่ขอสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นๆ - 1.5) เขตปลูกพืชสวน มีเนื อที่ 82 ไร่ หรือร้อยละ 0.35 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินใน เขตนี ส่วนใหญ่ คือชุดดินเชียงใหม่ (Cm) ชุดดินชัยนาท (Cn) และชุดดินสิงห์บุรี(Sin) ตามล้าดับ ปัญหำกำรใช้ที่ดินในปัจจุบัน - ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า - ขาดแคลนน ้าในฤดูแล้ง กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - ตรวจวิเคราะห์ดินเพื่อดูปริมาณธาตุอาหารในดินและส่งเสริมการใส่ปุ๋ยเคมีตาม ค่าวิเคราะห์ดิน - การปรับปรุงบ้ารุงดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารทางดิน กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินที่จะด ำเนินกำร - เก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารพืช - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง - ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-10 - ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ้ารุงดิน - ส่งเสริมการปรับปรุงพื นที่ดินกรด กิจกรรมที่ขอสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นๆ - กรมวิชาการเกษตร สนับสนุนเรื่อง ถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้สารเคมีก้าจัด แมลงและศัตรูพืชอย่างถูกต้อง 1.6) เขตปศุสัตว์มีเนื อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดินในเขตนี คือ ชุดดินเชียงใหม่ (Cm) กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - ควบคุมมลภาวะด้านกลิ่น เสียง และน ้าเสียไม่ให้รบกวนและส่งผลกระทบต่อ ชุมชนและพื นที่ใกล้เคียงควบคุมและป้องกันโรคระบาดอย่างใกล้ชิดและเข้มงวด ปฏิบัติตามค้าแนะน้า ของทางราชการอย่างเคร่งครัด 1.7) เขตเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ มีเนื อที่ 34 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื อที่ต้าบล ชุดดิน ในเขตนี คือ ชุดดินสิงห์บุรี (Sin) และชุดดินเชียงใหม่ (Cm) ตามล้าดับ กำรจัดกำรที่ดินในอนำคต - ต้องปฏิบัติตามนโยบายด้านการใช้พื นที่เพื่อการเพาะเลี ยงสัตว์น ้าอย่าง เข้มงวด เนื่องจากกิจกรรมนี อาจส่งผลกระทบต่อพื นที่ข้างเคียง - ควรก้าหนดเขตการเพาะเลี ยงสัตว์น ้าให้ชัดเจนเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ 6.4.2 เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้ำง มีเนื อที่ 2,565 ไร่ หรือร้อยละ 10.73 ของเนื อที่ต้าบล ประกอบด้วยเขตชุมชน สถานที่ ราชการ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจและสถานที่ที่เกิดจากการกิจกรรมของชุมชน (ที่ทิ งขยะ) และระบบ โครงข่ายคมนาคม จ้าแนกตามข้อมูลจากการส้ารวจสภาพการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า (กลุ่มวิเคราะห์สภาพ การใช้ที่ดิน, 2561) ร่วมกับจากการส้ารวจภาคสนามเพิ่มเติม และค้านวณเนื อที่ด้วยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ พื นที่ชุมชนที่ก้าหนดในแผนการใช้ที่ดินนี เป็นชุมชนที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน หากมีการ ขยายตัวในอนาคต ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 6.4.3 เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้ำง (ดินถม) มีเนื อที่ 56 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ของเนื อที่ต้าบล ประกอบด้วยเขตชุมชน สถานที่ราชการ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจและสถานที่ที่เกิดจากการกิจกรรมของชุมชน (ที่ทิ งขยะ) และระบบโครงข่าย คมนาคม จ้าแนกตามข้อมูลจากการส้ารวจสภาพการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า (กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-11 ที่ดิน, 2561) ร่วมกับจากการส้ารวจภาคสนามเพิ่มเติม และค้านวณเนื อที่ด้วยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ พื นที่ชุมชนที่ก้าหนดในแผนการใช้ที่ดินนี เป็นชุมชนที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน หากมีการ ขยายตัวในอนาคต ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 6.4.4 เขตอุตสำหกรรม มีเนื อที่ 357 ไร่ หรือร้อยละ 1.49 ของเนื อที่ต้าบล ประกอบด้วยพื นที่โรงงานอุตสาหกรรม และลานตากและแหล่งรับซื อทางการเกษตร บ่อดิน และบ่อลูกรัง จ้าแนกตามข้อมูลจากการส้ารวจ สภาพการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า (กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน, 2561) ร่วมกับจากการส้ารวจ ภาคสนามเพิ่มเติม และค้านวณเนื อที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 6.4.5 เขตแหล่งน้ ำ มีเนื อที่ 1,227 ไร่ หรือร้อยละ 5.13 ของเนื อที่ต้าบล ได้แก่ แม่น ้า ล้าคลอง หนอง บึงต่างๆ อ่างเก็บน ้าและบ่อน ้า แหล่งน ้าเหล่านี ใช้ประโยชน์ทั งทางด้านเก็บกักน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และใช้ใน ด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและแหล่งเพาะเลี ยงสัตว์น ้าของชุมชน รูปแบบกำรพัฒนำและแนวทำงกำรจัดกำร ควรดูแลรักษาแหล่งน ้าธรรมชาติและแหล่ง น ้าที่สร้างขึ นไม่ให้เสื่อมโทรมทั งด้านคุณภาพของน ้าและการกักเก็บน ้า ไม่ปล่อยให้ล้าน ้าตื นเขินและถูก บุกรุก หมั่นขุดลอกคูคลอง ไม่ทิ งขยะหรือปล่อยน ้าเสียลงในแหล่งน ้า เร่งรัดพัฒนาแหล่งน ้าขนาดเล็กให้ กระจายอยู่ทั่วพื นที่ เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคและการเพาะปลูกในช่วงขาดน ้า 6.4.6 เขตพื้นที่อื่นๆ (ทุ่งหญ้ำ/ไม้พุ่ม/ไม้ละเมำะ) มีเนื อที่ 661 ไร่ หรือร้อยละ 2.77 ของเนื อที่ต้าบล ได้แก่ แม่น ้า ล้าคลอง หนอง บึงต่างๆ อ่างเก็บน ้าและบ่อน ้า แหล่งน ้าเหล่านี ใช้ประโยชน์ทั งทางด้านเก็บกักน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และใช้ใน ด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและแหล่งเพาะเลี ยงสัตว์น ้าของชุมชน 6.4.6 เขตพื้นที่อื่นๆ (ที่ลุ่มชื้นแฉะ) มีเนื อที่ 35 ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของเนื อที่ต้าบล ได้แก่ แม่น ้า ล้าคลอง หนอง บึงต่างๆ อ่างเก็บน ้าและบ่อน ้า แหล่งน ้าเหล่านี ใช้ประโยชน์ทั งทางด้านเก็บกักน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และใช้ใน ด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและแหล่งเพาะเลี ยงสัตว์น ้าของชุมชน
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี รูปที่ 6-1 เขตกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภ
6-12 ภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-13 6.5 ระบบกำรปลูกพืชตำมแผนกำรใช้ที่ดิน หลังการวางแผนการใช้ที่ดินจะต้องจัดท้าระบบการปลูกพืชขึ นใหม่ว่ามีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม อย่างไรโดยเปรียบเทียบเป็นตารางดังตัวอย่าง ตารางที่ 6-3 รูปที่ 6-2 ระบบกำรปลูกพืชตำมแผนกำรใช้ที่ดิน ต ำบลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัด สุพรรณบุรี ม.ค. ก.พ. ม.ีค. เม.ย. พ.ค. ม.ิย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ระบบปลูกพืชตำมแผนกำรใชท้ี่ดิน
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-14 6.6 กำรจัดกำรควำมเสี่ยง จากระบบการปลูกพืช (cropping pattern) วัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ตัดวงจรโรคแมลง (2) การปลูกพืชตระกูลถั่วหรือพืชปุ๋ยสดจะได้ประโยชน์ 2 อย่าง เป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุในดินท้าให้ดินร่วนซุย ดูดซับน ้าได้ดีมากขึ น ดูดซับปุ๋ยเคมี ได้มากขึ น หากสามารถเก็บเมล็ดจ้าหน่ายได้ เช่น ถั่วพร้า ถั่วเขียว ปอเทือง จะเป็นรายได้ แทนข้าวนาปรัง เกษตรกรจะได้ที่ดินท้ากินที่มีคุณภาพสูงขึ นจากอินทรียวัตถุที่มาจากพืชตระกูล ถั่ว และพืชปุ๋ยสดเมื่อมีการไถกลบไปในดิน ตำรำงที่ 6-3 กำรเปรียบเทียบระบบกำรปลูกพืชก่อนและหลังมีแผนกำรใช้ที่ดิน เขตกำรใช้ที่ดิน ระบบกำรปลูกพืชปัจจุบัน ระบบกำรปลูกพืชหลังมีแผนกำรใช้ที่ดิน เขตท้านา นาปี/นาปรัง/นาปรัง นาปี/นาปรัง//พืชตระกูลถั่ว นาปี/นาปรัง//ปอเทือง ปลูกไม้ผล ไม้ผล ไม้ผล เขตเพาะเลี ยงสัตว์น ้า ปลากินพืช ปลากินพืช
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 6-15
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 7-1 บทที่ 7 กำรขับเคลื่อนแผนกำรใช้ที่ดิน 7.1 ขั้นตอนกำรด ำเนินงำน ภายหลังการจัดท้าแผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีแล้ว จะต้องด้าเนินการดังต่อไปนี 7.1.1 จัดท้าเป้าหมายการด้าเนินงานและงบประมาณและกิจกรรมต่างๆ ที่จะด้าเนินการใน ปีงบประมาณ 2563 7.1.2 น้าแผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้าไปเสนอต่อสภาเทศบาลต้าบลปากน ้า เพื่อมีมติให้ความ ร่วมมือในกับกรมพัฒนาที่ดินด้าเนินการกิจกรรมต่างๆ ที่ก้าหนดไว้ในแผน 7.1.3 สถานีพัฒนาที่ดินสุพรรณบุรีเสนอเป้าหมายและงบประมาณให้รายงานมายังกรมพัฒนา ที่ดิน 7.2 ตัวชี้วัด กิจกรรมที่กรมพัฒนาที่ดินจะด้าเนินการในต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัด สุพรรณบุรีจ้านวน 4 โครงการ ดังนี 1) การปรับปรุงบ้ารุงดิน 2) การบริหารจัดการน ้า 3) การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า 7.3 กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินในเขตกำรใช้ที่ดินที่จะด ำเนินกำรในปีงบประมำณ 2565 งบประมาณที่ก้าหนดไว้เป็นการประมาณเบื องต้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามที่ได้รับการจัดสรร ให้ด้าเนินการ เขตพื้นที่เกษตรกรรม 1) เขตท ำนำ มีแผนงาน/โครงการ ดังนี 1.1) การส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 1.2) การผลิต-จัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด 1.3) การส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด 1.4) การพัฒนากลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 1.5) การรณรงค์ไถกลบตอซัง 1.6) การจัดหาปูนโดโลไมท์
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 7-2 1.7) การส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงพื นที่ดินกรด 1.8) การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้าลุ่ม-ดอน 2) เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล และเขตปลูกไม้ยืนต้น มีแผนงาน/โครงการ ดังนี 2.1) การส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 2.2) การผลิต-จัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด 2.3) การส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด 2.4) การพัฒนากลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 2.5) การจัดตั งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ 2.6) การจัดหาปูนโดโลไมท์ 2.7) การส่งเสริมการปรับปรุงบ้ารุงพื นที่ดินกรด 2.8) การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าพร้อมปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ว 3) เขตปศุสัตฺว์ และเขตเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ มีแผนงาน/โครงการ ดังนี 3.1) การส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 7-3 7.4 กิจกรรมที่ขอกำรสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่น 7.4.1 เขตพื้นที่เกษตรกรรม 1) เขตท ำนำ มีกิจกรรมที่ขอการสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น ดังนี 1.1) จัดอบรมถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้พันธุ์ข้าว (กรมการข้าว) 1.2) จัดอบรมถ่ายทอดความรู้เรื่องการป้องกันก้าจัดศัตรูข้าวและการจัดการโรค/แมลง (กรมการข้าว) 1.3) ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว (กรมการข้าว) 2) เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล และเขตปลูกไม้ยืนต้น มีกิจกรรมที่ขอการสนับสนุน จากส่วนราชการอื่น ดังนี 2.1) การอบรมให้ความรู้การเข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย (GAP) (กรมวิชาการเกษตร) 2.2) จัดอบรมถ่ายทอดความรู้การท้าการเกษตรผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง (กรมส่งเสริมการเกษตร) 2.3) สนับสนุนการขุดเจาะน ้าบาดาล (หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา/กรมทรัพยากรน ้า บาดาล) 3) เขตปศุสัตฺว์ และเขตเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ มีกิจกรรมที่ขอการสนับสนุนจากส่วนราชการ อื่น ดังนี การเลี ยงปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน และการเพาะเลี ยงสัตว์น ้าอย่างถูกวิธี(ส้านักงานปศุสัตว์จังหวัด สุพรรณบุรีและส้านักงานประมงจังหวัดสุพรรณบุรี) 7.4.2 พื้นที่แหล่งน้ ำ มีกิจกรรมที่ขอการสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น ดังนี สนับสนุนการพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาแหล่งน ้าตื นเขิน และก้าจัดวัชพืชน ้าที่กีดขวางการระบายน ้า (ส้านักงานชลประทาน สุพรรณบุรี)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำงที่ 7-1 กิจกรรมของกรมพัฒนำที่ดินในเขตกำรใช้ที่ดินที่จะด ำเนินกำรใ เขตกำรใช้ที่ดิน 1 เขตพื นที่เกษตรกรรม 1.1 เขตท้านา เนื อที่ 16,292 ไร่ 1.1 การส่งเสริมการผ 1.2 การผลิต-จัดหาเม 1.3 การส่งเสริมการป 1.4 การพัฒนากลุ่มเก 1.2 เขตปลูกพืชไร่ เนื อที่ 656 ไร่ 1.3 เขตปลูกไม้ผล เนื อที่ 1,927 ไร่ 1.4 เขตปลูกไม้ยืนต้น เนื อที่ 5 ไร่ 1.5 เขตปลูกพืชสวน เนื อที่ 82 ไร่ 1.1 การส่งเสริมการผ 1.2 การพัฒนากลุ่มเก 1.3 การจัดหาปูนโดโ 1.4 การส่งเสริมการป 1.6 เขตปศุสัตฺว์เนื อที่ 2 ไร่ 1.7 เขตเพาะเลี ยงสัตว์น ้า เนื อที่ 34 ไร่ 1.1 การส่งเสริมการผ หมำยเหตุ: งบประมาณที่ก้าหนดไว้นี เป็นการประมาณเบื องต้น อาจมีการเปลี่ย
อ4 ในปีงบประมำณ 2565 แผนงำน/โครงกำร งบประมำณ ผลิตและการใช้สารอินทรีย์ มล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด ปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด กษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 17,500 2,975 1,500 20,000 ผลิตและการใช้สารอินทรีย์ กษตรกรใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ลไมท์ ปรับปรุงบ้ารุงพื นที่ดินกรด 17,500 12,000 34,000 1,500 ผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 3,500 นแปลงตามที่ได้รับการจัดสรรให้ด้าเนินการ
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำงที่ 7-2 สรุปกิจกรรมที่ขอรับกำรสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่นในเขตกำ เขตกำรใช้ที่ดิน 1. เขตพื นที่เกษตรกรรม 1.1 เขตท้านา เนื อที่ 16,292 ไร่ 1. จัดอบรมถ่ายทอดความ 2. จัดอบรมถ่ายทอดความ 3. ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อ 1.2 เขตปลูกพืชไร่ เนื อที่ 656 ไร่ 1.3 เขตปลูกไม้ผล เนื อที่ 1,927 ไร่ 1.4 เขตปลูกไม้ยืนต้น เนื อที่ 5 ไร่ 1.5 เขตปลูกพืชสวน เนื อที่ 82 ไร่ 1. การอบรมให้ความรู้การ เกษตร) 2. จัดอบรมถ่ายทอดความ การเกษตร) 3. สนับสนุนการขุดเจาะน ้า 1.6 เขตปศุสัตฺว์ เนื อที่ 2 ไร่ 1.7 เขตเพาะเลี ยงสัตว์น ้า เนื อที่ 34 ไร่ 1. การเลี ยงปศุสัตว์ให้ได้มา สุพรรณบุรีและส้านักงานป 2. พื นที่แหล่งน ้า เนื อที่ 1,227 ไร่ 1. สนับสนุนการพัฒนาเพื่อ (ส้านักงานชลประทานสุพร
อ5 ำรใช้ที่ดิน กิจกรรมที่ขอกำรสนับสนุนจำกส่วนรำชกำรอื่น รู้เรื่องการใช้พันธุ์ข้าว (กรมการข้าว) รู้เรื่องการป้องกันก้าจัดศัตรูข้าวและการจัดการโรค/แมลง (กรมการข้าว) งการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว (กรมการข้าว) เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย (GAP) (กรมวิชาการ รู้การท้าการเกษตรผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง (กรมส่งเสริม าบาดาล (หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา/กรมทรัพยากรน ้าบาดาล) าตรฐาน และการเพาะเลี ยงสัตว์น ้าอย่างถูกวิธี(ส้านักงานปศุสัตว์จังหวัด ประมงจังหวัดสุพรรณบุรี) อแก้ปัญหาแหล่งน ้าตื นเขิน และก้าจัดวัชพืชน ้าที่กีดขวางการระบายน ้า รรณบุรี)
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ตำรำง 7-3 เป้ำหมำยกำรด ำเนินงำนและงบประมำณโครงกำรน ำร่อง ต ำบ 2569) เขตกำรใช้ที่ดิน งำน/โครงกำร/กิจกรรม หน่วย นับ เป้ำหมำย 2565 2566 2567 2568 2 1. กำรปรับปรุงบ ำรุงดิน เขตพื นที่ เกษตรกรรม 1.1 การส่งเสริมการผลิต และการใช้สารอินทรีย์ ราย 105 105 105 105 เขตนาข้าว 1.2 การผลิต-จัดหาเมล็ด พันธุ์พืชปุ๋ยสด กก. 100 100 100 100 เขตนาข้าว 1.3 การส่งเสริมการ ปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยพืชปุ๋ย สด ไร่ 20 20 20 20 เขตพื นที่ เกษตรกรรม 1.4 การพัฒนากลุ่ม เกษตรกรใช้สารอินทรีย์ลด การใช้สารเคมีทาง การเกษตร กลุ่ม 7 7 7 7 เขตปลูกพืชไร่/ไม้ ผล/ไม้ยืนต้น 1.6 การจัดหาปูนโดโลไมท์ ตัน 20 20 20 20 เขตปลูกพืชไร่/ไม้ ผล/ไม้ยืนต้น 1.7 การส่งเสริมการ ปรับปรุงบ้ารุงพื นที่ดินกรด ไร่ 40 40 40 40 หมำยเหตุ: งบประมาณที่ก้าหนดไว้นี เป็นการประมาณเบื องต้น อาจมีการเปลี่ย
อ6 บลปำกน้ ำ อ ำเภอเดิมบำงนำงบวช จังหวัดสุพรรณบุรีแผน 5 ปี (พ.ศ. 2565- รวม งบประมำณ รวม หน่วยงำน 2569 2563 2564 2565 2566 2567 รับผิดชอบ 105 525 36,750 36,750 36,750 36,750 36,750 183,750 พด. 100 500 2,975 2,975 2,975 2,975 2,975 14,875 พด. 20 100 300 300 300 300 300 1,500 พด. 7 35 35,000 35,000 35,000 35,000 35,000 175,000 พด. 20 100 34,000 34,000 34,000 34,000 34,000 170,000 พด. 40 200 600 600 600 600 600 3,000 พด. นแปลงตามที่ได้รับการจัดสรรให้ด้าเนินการ
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี อ1 เอกสำรอ้ำงอิง บทที่ 1 คณะกรรมการจัดท้าปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2551. ปทำนุกรมปฐพีวิทยำ. ส้านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. FAO. 1974. A Land Capability Appraisal Indonesia: Interim Report. (AGL/INS), Rome. . 1993. Guidelines for Land Use Planning. Rome. ADB. 2012. The State of Pacific Towns and Cities: Urbanization in ADB’s Pacific Developing Member Countries. Mandaluyong City, Philippines. NRC. 1975. Land Use Planning. The National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine, Washington, D.C. Vink, A.P.A. 1975. Land Use in Advancing Agriculture. Springer-Verlag Berlin Heidelberg. บทที่ 2 กรมพัฒนาชุมชน. 2564.ข้อมูลพื้นฐำนระดับหมู่บ้ำน/ชุมชน (กชช. 2ค) ปี 2562 กระทรวงมหาดไทย. แหล่งที่มา: http://ebmn.cdd.go.th, 1 สิงหาคม 2564 กรมพัฒนาชุมชน. 2564. ข้อมูลควำมจ ำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.)ปี 2562 กระทรวงมหาดไทย. แหล่งที่มา: http://ebmn.cdd.go.th, 1 สิงหาคม 2564 กรมอุตุนิยมวิทยา. 2561. สถิติภูมิอำกำศ พ.ศ. 2561 (ไฟล์ข้อมูล). กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร. เอกสารจากเครื่องคอมพิวเตอร์. กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน. 2561. ข้อมูล สภำพกำรใช้ที่ดินจังหวัดสุพรรณบุรี. ไฟล์ข้อมูล. บทที่ 3 กองส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. 2562. ข้อมูลทรัพยำกรดิน. ไฟล์ข้อมูล.
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี อ2 บทที่ 5 ศันสนีย์ อรัญวาสน์ และค้ารณ ไทรฟัก. 2562. คู่มือกำรประเมินคุณภำพที่ดิน ส ำหรับกำรวำง แผนกำรใช้ที่ดิน ระดับต ำบลและระดับจังหวัด. บทที่ 6 กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 กลุ่มยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง. 2561. แผนพัฒนำกลุ่มจังหวัดภำคกลำงตอนล่ำง 1 พ.ศ.2561-2565. ไฟล์ข้อมูล. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ. 2550. กำรประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง. ไฟล์ข้อมูล. ส้านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี. 2562. ยุทธศำสตร์เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สุพรรณบุรีพ.ศ. 2562. ไฟล์ข้อมูล. . 2562. ยุทธศำสตร์จังหวัดสุพรรณบุรีพ.ศ. 2562. ไฟล์ข้อมูล. ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . 2559. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชำติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560-2564). ไฟล์ข้อมูล. ส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2560. ร่ำง นโยบำยและแผนกำร บริหำรจัดกำรที่ดินและทรัพยำกรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560-2579). ไฟล์ข้อมูล. ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2562. แผนพัฒนำภำคกลำง. ไฟล์ข้อมูล. ส้านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 2562. ค ำแถลงนโยบำยของคณะรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภำ วันที่ 25 กรกฎำคม 2562. ไฟล์ข้อมูล.
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำ นางนงนุช ศรีพุ่ม ผู้อ้านวยการส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 นางมัทธนา ชัยมหาวัน ผู้เชี่ยวชาญด้านวางระบบการพัฒนาที่ดิน ผู้ด ำเนินกำร สถานีพัฒนาที่ดินสุพรรณบุรี 1) นายไพโรจน์ ประสิทธิ์นอก ผู้อ้านวยการสถานีพัฒนาที่ดินสุพรรณบุรี 2) นายชัยวัฒน์ วงษ์ไร นักวิชาการเกษตรช้านาญการ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กลุ่มส้ารวจเพื่อท้าแผนที่ ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กลุ่มวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
แผนการใช้ที่ดินต้าบลปากน ้า อ้าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี