The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานหมู่บ้านชนบทไทย (กชช.2ค.) ปี 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สนง.พมจ.บุรีรัมย์, 2020-12-14 22:26:55

รายงานหมู่บ้านชนบทไทย (กชช.2ค.) ปี 2560

รายงานหมู่บ้านชนบทไทย (กชช.2ค.) ปี 2560

Keywords: รายงานหมู่บ้านชนบทไทย (กชช.2ค.) ปี 2560

รายงาน

จากขŒอมูลพ้ืนฐานระดับหมู‹บŒาน (กชช. 2ค) ป‚ 2560

โดย คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (พชช.)

จัดทาํ โดย กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย





ช่ือเร่ือง : รายงานหมูบานชนบทไทย จากขอมูลพน้ื ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2560
จดั ทำโดย : คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.)

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ISBN : 978-974-423-151-2
ปทพ่ี ิมพ : พ.ศ. 2560
จำนวน : 180 หนา
คร้งั ที่พิมพ : ครง้ั ท่ี 1
จำนวนพมิ พ : 2,500 เลม
พิมพท ่ี : หจก. อุดมศึกษา

คำ� นำ� 1

เอกสารรายงานหมู่บ้านชนบทไทย จากขอ้ มลู พืน้ ฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2560 เป็นเอกสารท่ีน�ำเสนอผล รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
การจดั เก็บข้อมลู กชช. 2ค ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ สถานการณก์ ารพฒั นาหมู่บา้ นในชนบทท่วั ประเทศ ทัง้ ดา้ นข้อมลู สภาพทั่วไป
และสภาพปญั หาของหมบู่ ้านในชนบทดา้ นตา่ งๆ เชน่ โครงสรา้ งพื้นฐาน สภาพพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ สภาพแรงงาน
สขุ ภาพและอนามยั ความรู้และการศึกษา การมีส่วนร่วมและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ความปลอดภยั จากภัยพบิ ัติและความเสี่ยงในชมุ ชน รวมทง้ั การวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ระดบั ความรุนแรงของปญั หาด้าน
ต่างๆ ทหี่ ม่บู ้านในชนบทเผชญิ อย่ใู นภาพรวมระดบั ประเทศ ระดบั ภาค และการจดั ระดบั การพัฒนาของหมูบ่ า้ น ซึง่ แบ่ง
ออกเปน็ 3 ระดับ คอื หมู่บา้ นเร่งรัดพฒั นาอันดบั 1 หมู่บ้านเรง่ รัดพฒั นาอนั ดบั 2 และหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดบั 3

กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอ�ำนวยการงานพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวติ ของประชาชน (พชช.) รบั ผิดชอบในการบรหิ ารการจดั เก็บขอ้ มลู พนื้ ฐานระดบั หมบู่ า้ น (กชช. 2ค) เป็นประจ�ำทุก 2 ปี
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2530 โดยข้อมลู กชช. 2ค เป็นข้อมูลกลางของประเทศทม่ี ีความส�ำคัญต่อ
การบริหารการพัฒนาชนบทของทุกภาคสว่ น ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และกลมุ่ องค์กร
เครือข่าย ซ่ึงท�ำให้ทราบพื้นที่เป้าหมายในการวางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีย่ิงข้ึน
และตรงตามความตอ้ งการของประชาชนอยา่ งแท้จริง

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอ�ำนวยการงานพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ของประชาชน (พชช.) หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารรายงาน “หมบู่ ้านชนบทไทย จากข้อมูลพื้นฐานระดบั หมู่บา้ น
(กชช. 2ค) ปี 2560” จะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาชนบทของทกุ ภาคส่วนในทุกระดบั ต่อไป

กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย
สิงหาคม 2560

สารบญั
หนา้

ค�ำนำ� ............................................................................................................. 1
บทสรุปส�ำหรบั ผู้บริหาร............................................................................. 4
ส่วนท่ี 1 สภาพทั่วไปของหมูบ่ ้านในชนบทไทย..................................11
ส่วนท่ี 2 สภาพปญั หาและระดับการพัฒนาของหมบู่ า้ น..................39

2.1 สภาพปัญหาตามตัวช้ีวดั .....................................................................40

1) ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน (7 ตวั ชว้ี ัด).......................................................................40
2) ด้านสภาพพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ (7 ตัวชี้วัด)....................................................47
3) ดา้ นสุขภาวะและอนามัย (3 ตัวชีว้ ดั ).................................................................54
4) ดา้ นความร้แู ละการศกึ ษา (3 ตวั ช้ีวดั )................................................................57
5) ด้านการมีส่วนร่วมและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน (5 ตวั ชีว้ ัด).........................60
6) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (5 ตัวชี้วดั ).....................................65
7) ด้านความเสีย่ งของชมุ ชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วดั ).........................................70

สารบัญ หนา้

2.2 ระดับการพฒั นาของหม่บู า้ นชนบทไทย...........................................73

สว่ นท่ี 3 ปญั หาท่ีควรไดร้ ับการแกไ้ ขของหมูบ่ า้ นชนบทไทย..........79

3.1 สรุปปญั หาที่ควรไดร้ บั การแกไ้ ข 10 อันดบั แรก...........................80
3.2 จงั หวัดทมี่ ปี ญั หาท่คี วรไดร้ บั การแกไ้ ข 10 ล�ำดบั แรก..................81

ภาคผนวก...................................................................................................91

- สภาพปัญหาและลำ� ดบั ตวั ช้วี ดั ที่มีปญั หาระดับประเทศ.....................................92
- สภาพปญั หาและลำ� ดบั ตัวชีว้ ัดที่มีปัญหาระดบั ภาค............................................94
- สภาพปญั หาจำ� แนกตามตัวช้วี ดั ระดับจงั หวัด....................................................103

บทสรปุ สำ� หรับผูบ้ รหิ าร

ขอ้ มลู พืน้ ฐานระดบั หม่บู า้ น (กชช. 2ค) คือ ข้อมูลพ้นื ฐานด้านเศรษฐกจิ และสังคมระดับหมู่บ้าน เป็นข้อมลู ระดบั หมู่บ้าน
ทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ สภาพทั่วไปและสภาพปญั หาของหมบู่ ้านในชนบทด้านตา่ งๆ เช่น โครงสรา้ งพื้นฐาน สภาพพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ
สภาพแรงงาน สุขภาพและอนามัย ความรู้และการศึกษา การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อม ความปลอดภัยจากภยั พบิ ตั แิ ละความเสย่ี งในชมุ ชน

ข้อมลู กชช. 2ค เป็นข้อมูลทด่ี �ำเนนิ การจัดเก็บในทกุ หมู่บา้ นเขตชนบท ทกุ 2 ปี ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่อื วันท่ี 22 กันยายน
2530 และมีการปรับปรงุ เครอ่ื งชีว้ ดั เกณฑช์ ้ีวดั และแบบสอบถาม ทุก 5 ปี ตามห้วงระยะเวลาของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติ ซึง่ เครือ่ งชีว้ ัดข้อมลู กชช. 2ค ที่ใชใ้ นช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) มี 7 ดา้ น 33 ตัวชี้วดั

ปี 2560 ดำ� เนนิ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู กชช. 2ค จากทกุ หมบู่ า้ นในเขตชนบท จำ� นวน 70,402 หมบู่ า้ น 6,766 ตำ� บล 875 อำ� เภอ
76 จังหวัด (มี 3 อ�ำเภอ ที่ไม่มีหมู่บ้านในเขตชนบท คือ อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี อ�ำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
และอ�ำเภอธัญบรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธาน)ี โดยมีผลการจัดเก็บสรุปได้ ดงั น้ี

ขอ้ มูลสภาพท่ัวไปของหม่บู ้านในชนบท

4

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

15,465 หมูบาน 31,709 หมูบ า น
2,389,205 ครวั เรือน 4,165,935 ครวั เรอื น

ภาคใต ภาคกลาง

8,307 หมบู า น 14,921 หมูบา น
1,565,212 ครัวเรอื น 2,669,814 ครัวเรอื น

สำรวจทัง้ หมด 70,402 หมบู า น
10,790,166 ครวั เรอื น

ประชากร 32,434,921 คน

1. โครงสรา้ งพนื้ ฐาน

1.1 ครวั เรอื นทง้ั หมด จำ� นวน 10,790,166 ครวั เรอื น จาก 70,402 หมบู่ า้ น เฉลยี่ หมบู่ า้ นละ 153 ครวั เรอื น โดยภาคใต้
มจี �ำนวนครวั เรือนเฉลีย่ ต่อหมู่บ้านสูงทีส่ ุด เฉล่ียหมู่บา้ นละ 188 ครวั เรอื น ขณะท่ภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มจี �ำนวนครวั เรือนเฉลยี่
ตอ่ หมูบ่ ้านตำ่� ทส่ี ุด เฉล่ยี หม่บู า้ นละ 131 ครัวเรือน

1.2 ประชากร จำ� นวน 32,434,921 คน แยกเป็นเพศชาย 15,887,074 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.98 และเพศหญงิ
16,547,847 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.02 จ�ำนวนประชากรเฉลยี่ หมูบ่ า้ นละ 460 คน

ภาค หมบู่ ้านทั้งหมด ครัวเรือนทงั้ หมด จ�ำนวนประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
กลาง 14,921 2,669,814 5
เหนือ 15,465 2,389,205 3,565,018 3,785,465 7,350,483
ใต้ 8,307 1,565,212 3,366,435 3,493,370 6,859,805
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 31,709 4,165,935 2,366,146 2,430,214 4,796,360
70,402 10,790,166 6,589,475 6,838,798 13,428,273
รวม 15,887,074 16,547,847 32,434,921

1.3 แหล่งนำ้� ด่ืม-น�้ำใช้ หมู่บา้ นในชนบท มีแหล่งน้�ำดืม่ -น�้ำใช้ ประเภท รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
- บ่อน�้ำตน้ื จ�ำนวนทัง้ สน้ิ 1,273,513 บ่อ จำ� แนกเปน็ บอ่ น�้ำต้ืนสว่ นตัว จ�ำนวน 1,172,300 บอ่ บ่อนำ�้ ตืน้
สาธารณะ จำ� นวน 101,213 บอ่
- บ่อบาดาล จำ� นวนทง้ั สิ้น 915,678 บ่อ จำ� แนกเป็นบอ่ บาดาลส่วนตวั จ�ำนวน 802,738 บอ่ บอ่ บาดาลสาธารณะ
จำ� นวน 112,940 บ่อ
1.4 น�้ำดมื่ -น้ำ� ใช้ หมบู่ า้ นในชนบท
- ครัวเรือนในชนบท “มนี �้ำสะอาดส�ำหรบั ดืม่ และบริโภคเพยี งพอตลอดปี” จำ� นวน 10,596,109 ครวั เรอื น คดิ เปน็
รอ้ ยละ 98.20
- ครัวเรอื นในชนบท “มีน้�ำใช้เพียงพอตลอดปี” จ�ำนวนทั้งหมด 10,469,383 ครวั เรือน คดิ เป็นร้อยละ 97.03
1.5 ระบบประปา หมบู่ ้านในชนบท
- หม่บู ้านในชนบทที่ “มรี ะบบน้�ำประปา” จำ� นวนทั้งหมด 65,696 หมูบ่ ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ 93.40
- ครวั เรอื นในชนบท “มีน�้ำประปาใช้ตลอดป”ี จ�ำนวน 9,625,185 ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 89.20
1.6 น้�ำเพอ่ื การเกษตร หมู่บ้านมปี รมิ าณน�้ำจากแหลง่ น้�ำในหมู่บ้าน สำ� หรับใชใ้ นการเพาะปลูกเพยี งพอตลอดปี จ�ำนวน
34,072 หม่บู า้ น (ร้อยละ 48.40) เพยี งพอเฉพาะฤดูฝน จ�ำนวน 27,845 หมบู่ า้ น (ร้อยละ 39.55) และไม่เพียงพอ จ�ำนวน
4,772 หมบู่ ้าน (รอ้ ยละ 6.78) มีหม่บู า้ นที่ไมม่ ีแหล่งน�้ำส�ำหรบั เพาะปลกู /ไม่ได้ใชแ้ หลง่ น้�ำส�ำหรับเพาะปลกู จำ� นวน 1,459 หมบู่ า้ น
(รอ้ ยละ 2.07)
1.7 ไฟฟา้ ครวั เรือนในหม่บู า้ นชนบท มีไฟฟา้ ใช้จ�ำนวน 10,572,977 ครัวเรอื น คิดเปน็ ร้อยละ 97.99 ไม่มีไฟฟ้าใช้ จ�ำนวน
15,366 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.14 ทั้งน้ี มคี รวั เรอื นในชนบทที่ใชไ้ ฟฟา้ จากพลงั งานทดแทน จ�ำนวนทัง้ หมด 22,786 ครัวเรือน
คิดเป็นรอ้ ยละ 0.21 ของจำ� นวนครัวเรือนท้งั หมดทสี่ �ำรวจ

2. สภาพพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ

2.1 การท�ำนา ครัวเรือนทีท่ �ำนา มีจำ� นวนทัง้ หมด 4,506,523 ครัวเรือน คิดเป็นรอ้ ยละ 41.77 ของครวั เรือนทั้งหมด
ในพนื้ ทีท่ ำ� นา ทงั้ หมด 63,870,824 ไร่ โดยครวั เรือนมีรายได้โดยเฉลย่ี จากการท�ำนา จำ� นวน 69,328 บาทต่อปีต่อครัวเรอื น

2.2 การท�ำไรอ่ ายสุ นั้ ครวั เรือนทปี่ ลกู พืชไรอ่ ายสุ ้ัน มีจ�ำนวนท้งั หมด 938,891 ครัวเรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 8.70 ของ
ครวั เรอื นทงั้ หมด ในพื้นที่ 9,302,007 ไร่ โดยภาคเหนือมพี ื้นที่ท�ำไร่อายุสนั้ มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 5,040,316 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ
54.19 ของพ้นื ทท่ี ำ� ไรอ่ ายสุ น้ั ทงั้ หมด

2.3 การทำ� ไรอ่ ายยุ าว ครวั เรอื นทป่ี ลกู พชื ไรอ่ ายยุ าว มจี ำ� นวนทง้ั หมด 1,298,412 ครวั เรอื น ในพนื้ ที่ 20,521,860 ไร่ โดยภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือมีพ้นื ท่ีทำ� ไรอ่ ายยุ าวมากที่สดุ จ�ำนวน 9,662,431 ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 47.08 ของพ้นื ที่ท�ำไร่อายุยาวทงั้ หมด

2.4 การทำ� สวน
- การทำ� สวนผลไม้ ครวั เรือนทีท่ �ำสวนผลไม้ มีจ�ำนวนทั้งหมด 590,679 ครัวเรือน ในพ้นื ท่ที ำ� สวนผลไม้ ท้ังหมด
4,964,157 ไร่
- การทำ� สวนยางพารา ครัวเรอื นที่ทำ� สวนยางพารา มจี �ำนวนท้งั หมด 1,355,076 ครวั เรือน ในพนื้ ที่ทำ� สวน
ยางพารา ทัง้ หมด 18,325,936 ไร่

2.5 การปลูกพืชเศรษฐกิจอืน่ ๆ และการเกษตรฤดแู ล้ง
- การปลูกพืชเศรษฐกจิ อน่ื ๆ ครวั เรือนท่ปี ลกู พชื เศรษฐกิจอนื่ ๆ มีจ�ำนวนท้ังหมด 570,596 ครัวเรอื น ในพนื้ ที่
6 ปลูกพืชเศรษฐกจิ อนื่ ๆ ทั้งหมด 7,948,276 ไร่

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 - การเกษตรฤดูแล้ง ครวั เรือนท่ีทำ� การเกษตรฤดูแลง้ มจี �ำนวนท้งั หมด 245,448 ครวั เรือน ในพ้นื ทีท่ ำ� การเกษตร
ฤดแู ลง้ ทั้งหมด 1,067,759 ไร่

2.6 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรอื น และสถานประกอบการและอุตสาหกรรมในทอ้ งถน่ิ
- ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมในครวั เรอื น มจี �ำนวนทัง้ หมด 184,065 ครัวเรือน คดิ เป็นร้อยละ 1.71
ของครัวเรือนท้งั หมดในชนบท โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีครวั เรือนทป่ี ระกอบอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรอื น
มากท่สี ดุ จำ� นวน 100,957 ครัวเรือน
- ครัวเรือนทีท่ �ำงานในสถานประกอบการภายในต�ำบล มีจำ� นวนทง้ั หมด 254,722 ครัวเรือน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.36
ของครัวเรือนทง้ั หมดในชนบท
- ครัวเรอื นทท่ี �ำงานในสถานประกอบการภายนอกต�ำบล มีจำ� นวนทั้งหมด 366,084 ครัวเรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ
3.39 ของครัวเรือนทั้งหมดในชนบท

3. สุขภาพและอนามัย

3.1 การได้รบั บรกิ ารและดูแลสขุ ภาพอนามัย กรณเี จบ็ ป่วยรุนแรง คนสว่ นมากในหมู่บา้ น เดนิ ทางไปรบั การรกั ษาพยาบาล
จากโรงพยาบาลของรัฐ โดยใชเ้ วลาในการเดนิ ทาง ดังน้ี

1) ภายในครง่ึ ช่วั โมง จำ� นวน 54,601 หมูบ่ า้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 77.56
2) ภายในเวลา 31-60 นาที จ�ำนวน 14,261 หมู่บา้ น คิดเปน็ ร้อยละ 20.26
3) มากกว่า 1 ชั่วโมง จำ� นวน 1,510 หม่บู ้าน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.14

3.2 การกีฬา
- หมูบ่ า้ น/ชุมชน ท่วั ประเทศ มกี ารจัดแข่งขันกฬี าภายในหมู่บ้าน/ชมุ ชน จ�ำนวน 49,364 หมูบ่ ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ
70.12
- หมูบ่ ้าน/ชมุ ชน ทว่ั ประเทศ มีการฝกึ สอนกีฬาให้กบั ประชาชนในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน จ�ำนวน 40,079 หม่บู า้ น
คดิ เปน็ ร้อยละ 56.93 รวม 111,685 ครง้ั
- หมูบ่ ้าน/ชุมชน ทว่ั ประเทศ เข้ารว่ มการแขง่ ขันกีฬาระหวา่ งหม่บู า้ น/ชมุ ชน จ�ำนวน 53,174 หม่บู า้ น คิดเป็น
ร้อยละ 75.53

4. ความร้แู ละการศึกษา

ในรอบปที ผี่ า่ นมาคนในหมบู่ า้ นไดร้ บั การฝกึ อบรมจากหนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชน ทง้ั ในและนอกหมบู่ า้ น ดงั น้ี

4.1 การฝึกอบรมด้านอาชพี ของคนในหมูบ่ ้าน

1) ด้านเกษตรกรรม จำ� นวน 1,149,205 คน

2) ดา้ นอุตสาหกรรม จ�ำนวน 338,213 คน

3) ด้านการค้า การตลาดและการบริการ จ�ำนวน 358,759 คน

4.2 การฝึกอบรมดา้ นการศึกษา 7

1) การฝกึ อบรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม หน้าทีแ่ ละสิทธพิ ลเมอื ง จ�ำนวน 1,126,529 คน

2) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม จำ� นวน 1,094,773 คน รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

3) การเรยี นรกู้ ารใช้งานดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ จ�ำนวน 469,617 คน

4) การเรยี นรู้ตามแนวทางพระราชด�ำริ จำ� นวน 1,698,516 คน

5) การเรยี นรดู้ า้ นกฎหมายในชวี ิตประจ�ำวนั จ�ำนวน 642,867 คน

6) การเรียนรู้ด้านสวสั ดิการสังคม จำ� นวน 798,719 คน

5. การมีส่วนรว่ มและความเข้มแขง็ ของชุมชน

5.1 การจดั เวทปี ระชาคมในการค้นหาปญั หา แกไ้ ขปัญหาและจดั ท�ำแผนชมุ ชน
หมบู่ ้านส่วนใหญม่ ีการจดั เวทีประชาคม (ปลี ะ 1-6 ครั้ง และมากกว่าปีละ 6 คร้งั ต่อปี) จำ� นวน 68,339 หมบู่ า้ น
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97.07 ทง้ั นี้ มีจำ� นวน 2,005 หมูบ่ า้ น (รอ้ ยละ 2.85) ทไ่ี มม่ ีการจัดเวทีประชาคม

5.2 การจดั ทำ� แผนชุมชนและการน�ำแผนชุมชนไปปฏิบตั ิ
ในรอบปที ี่ผา่ นมา หมู่บา้ นมีการจดั ท�ำแผนชมุ ชนและน�ำแผนชมุ ชนไปปฏิบัติ จ�ำนวน 58,152 หมบู่ า้ น (ร้อยละ
82.60) มกี ารจดั ท�ำแผนชุมชนแตไ่ ม่ได้นำ� แผนชมุ ชนไปปฏบิ ัติ จ�ำนวน 10,486 หมู่บ้าน (รอ้ ยละ 14.89) ไม่มกี ารจัดท�ำแผน
ชุมชน จ�ำนวน 1,531 หมบู่ า้ น (รอ้ ยละ 2.17)

5.3 การมสี ว่ นรว่ มทำ� กจิ กรรมสาธารณะ ของครัวเรอื น
ครวั เรอื นมสี ่วนรว่ มทำ� กจิ กรรมสาธารณะเพ่อื ประโยชน์ของชมุ ชน จ�ำนวนมากกวา่ 7,357,035 ครวั เรือน คิดเป็น
รอ้ ยละ 68.18

5.4 การเปน็ สมาชิกกลมุ่ สหกรณ์ กองทนุ ของครวั เรอื น คนในครัวเรือนเขา้ เปน็ สมาชิกกลมุ่ สหกรณ์ กองทนุ จ�ำนวน
มากกว่า 7,946,652 ครวั เรือน ซง่ึ คดิ เป็นร้อยละ 73.65

5.5 ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภูมปิ ญั ญาชาวบ้าน และศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชน
- มีผู้ร้ภู ูมิปญั ญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาชาวบา้ น และปราชญช์ าวบ้าน จ�ำนวน 3,254,343 คน
- มศี นู ย์เรยี นรชู้ มุ ชน จำ� นวน 22,797 หมู่บา้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 32.38 รวมท้ังสิ้น 26,816 แห่ง
- ครวั เรือนไดเ้ รยี นรู้จากปราชญช์ าวบ้าน/ศูนย์เรยี นรูช้ ุมชน จ�ำนวน 2,565,659 ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 23.78

6. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

6.1 คุณภาพดิน หมบู่ า้ นทไ่ี ม่มีปญั หาคณุ ภาพดิน จ�ำนวน 52,970 หมูบ่ า้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 75.24 มีปัญหาดินตน้ื
หนา้ ดนิ ถกู ซะล้าง ดนิ จืด จำ� นวน 7,220 หมู่บ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.26 และมีปญั หาดนิ มีกรวดทราย ดนิ ดาน ดินเคม็ ดินเปรีย้ ว
จำ� นวน 10,212 หมู่บา้ น คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.51

6.2 คณุ ภาพแหล่งนำ้� ผวิ ดินของหม่บู ้าน หมบู่ ้านท่มี แี หลง่ น้�ำผิวดนิ ท่ีมคี ณุ ภาพเหมาะสมดี จ�ำนวน 62,836 แหง่ มีคณุ ภาพ
เหมาะสมพอใช้ จ�ำนวน 36,875 แหง่ มคี ณุ ภาพไม่เหมาะสม จ�ำนวน 5,832 แห่ง

6.3 การปลกู ปา่ หรอื ไมย้ นื ตน้ มพี นื้ ทที่ ไ่ี ดป้ ลกู ปา่ หรอื ไมย้ นื ตน้ แลว้ จำ� นวน 16,370 หมบู่ า้ น ในเนอื้ ทรี่ วม 3,656,778 ไร่
คิดเปน็ ร้อยละ 80.15 ของพื้นทปี่ ลูกปา่ หรอื ไมย้ ืนต้นทั้งหมด

8 6.4 หมู่บ้านทีม่ ีพน้ื ที่ปา่ ชมุ ชน จ�ำนวน 11,606 หมู่บา้ น เปน็ เนอ้ื ท่ี 1,935,169 ไร่ เฉล่ียหมบู่ า้ นละ 167 ไร่ โดยภาคเหนือ
มพี ้ืนที่ปา่ ชุมชนมากท่ีสดุ จำ� นวน 991,467 ไร่

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 7. ความเส่ยี งของชุมชนและภยั พบิ ตั ิ

7.1 การใชย้ าเสพติดในหมู่บ้าน หมู่บ้านที่มีการใชย้ าเสพติด จ�ำนวน 54,730 หมู่บ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 77.74

ท้งั นี้ หมูบ่ า้ นในชนบทมสี ถานการณก์ ารใช้ยาเสพติดในหม่บู า้ นลดลง จ�ำนวน 42,251 หมู่บ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 60.01
ของหม่บู ้านทงั้ หมด มสี ถานการณก์ ารใช้ยาเสพตดิ ในหมูบ่ ้านคงที่ จำ� นวน 25,305 หมู่บา้ น คิดเป็นร้อยละ 35.94 ของหมู่บ้าน
ท้งั หมด มสี ถานการณ์การใช้ยาเสพตดิ ในหมู่บา้ นเพ่ิมขน้ึ จำ� นวน 2,780 หมู่บา้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.95 ของหมบู่ ้านทง้ั หมด

7.2 การดำ� เนินกจิ กรรมปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ หมู่บ้านทไี่ มม่ กี ารด�ำเนนิ การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา ยาเสพตดิ
จำ� นวน 9,409 หมบู่ ้าน (ร้อยละ 13.36) มีการด�ำเนินการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด จ�ำนวน 60,934 หมบู่ ้าน (ร้อยละ
86.55)

7.3 ความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ หมบู่ า้ นทม่ี คี วามเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ จำ� นวน 21,152 หมบู่ า้ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.04 โดยแยกเปน็
มีความเส่ียงจากภัยนำ้� ทว่ ม/ดนิ ถลม่ /พายุ จำ� นวน 18,179 หม่บู ้าน มีความเสี่ยงจากภัยแล้ง จำ� นวน 15,510 หมูบ่ ้าน มคี วามเสี่ยง
จากภัยไฟปา่ /หมอกควัน/ควันพิษ จำ� นวน 14,417 หมู่บ้าน มคี วามเส่ยี งจากภัยอนื่ ๆ รวมจ�ำนวน 14,225 หมู่บา้ น

ทงั้ น้ี มีหมบู่ ้านท่ีมีการเตรยี มความพร้อมรับมือ ภัยพิบตั ิ จ�ำนวน 38,651 หมู่บ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.90

7.4 การประสบภยั พบิ ัติในหมบู่ ้าน ในรอบปีที่ผา่ นมา มีครัวเรอื นในชนบททีป่ ระสบภยั พบิ ัติ ท�ำใหบ้ า้ นเรอื นเสียหาย หรือ
ทำ� ใหค้ นในครวั เรอื นไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ จากภยั นำ�้ ทว่ ม ดนิ ถลม่ พายุ ไฟปา่ ควนั พษิ /หมอกควนั ภยั แลง้ หรอื ภยั กอ่ ความไมส่ งบ ฯลฯ
รวมทง้ั ส้นิ จ�ำนวน 278,882 ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.58 ของจ�ำนวนครวั เรอื นทงั้ หมด โดยภาคหนือ มีครัวเรอื นท่ปี ระสบภยั
มากทส่ี ดุ จำ� นวน 126,968 ครวั เรอื น รองลงมาคอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จำ� นวน 65,065 ครวั เรอื น ภาคใต้ จำ� นวน 49,139 ครวั เรอื น
และภาคกลาง จำ� นวน 37,710 ครวั เรือน ตามลำ� ดับ

สรปุ ผลการจดั เก็บขอ้ มลู กชช. 2ค ปี 2560 (ตามตวั ช้ีวัด)

1. ปัญหาท่ีควรได้รบั การแกไ้ ข 5 ลำ� ดบั แรก (เรียงล�ำดบั จากจ�ำนวนหมบู่ ้านท่เี ป็นปญั หาจ�ำนวนมากไปหานอ้ ย)
1) ตัวชี้วัดที่ 20 การไดร้ บั การศึกษา มปี ัญหามาก 38,344 หมูบ่ ้าน คิดเป็นร้อยละ 54.46
2) ตวั ชวี้ ดั ที่ 32 ความปลอดภยั จากภยั พิบตั ิ มีปญั หามาก 37,775 หมู่บ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 53.66
3) ตัวชีว้ ัดท่ี 17 การกึฬา มปี ญั หามาก 30,507 หม่บู ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.33
4) ตวั ช้วี ดั ที่ 21 การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน มปี ัญหามาก 24,116 หมูบ่ า้ น คิดเปน็ ร้อยละ 34.25
5) ตวั ชี้วัดที่ 24 การเรียนรูโ้ ดยชมุ ชน มีปัญหามาก 23,515 หมูบ่ ้าน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.40
2. ระดับการพฒั นาของหมูบ่ า้ น
2.1 จำ� นวนหม่บู ้านในแต่ละระดบั การพฒั นา
1) หมบู่ ้านเร่งรดั พฒั นาอนั ดบั 1 จ�ำนวน 984 หมูบ่ ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.40
2) หมูบ่ ้านเร่งรดั พัฒนาอนั ดับ 2 จ�ำนวน 22,106 หมู่บา้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 31.40
3) หมบู่ า้ นเร่งรัดพัฒนาอันดบั 3 จ�ำนวน 47,312 หม่บู ้าน คดิ เปน็ ร้อยละ 67.20

9

เรงรดั ฯ อันดับ จำนวน รอยละ รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
เรง รัดฯ อนั ดับ 1.40
984

จำนวน รอยละ
31.40
22,106

เรงรัดฯ อันดบั จำนวน รอ ยละ
67.20
47,312

2.2 จ�ำนวนหมู่บา้ นเร่งรดั พัฒนาอนั ดับ 1 จำ� แนกรายภาค
1) ภาคกลาง จ�ำนวน 191 หมู่บา้ น
2) ภาคเหนือ จ�ำนวน 358 หมู่บา้ น
3) ภาคใต ้ จ�ำนวน 73 หมู่บ้าน
4) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 362 หมู่บา้ น

ภาค หมูบ่ ้าน เรง่ รัดฯ อันดับ 1 เร่งรัดฯ อันดบั 2 เรง่ รดั ฯ อันดบั 3
ทงั้ หมด จ�ำนวน รอ้ ยละ
กลาง จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน ร้อยละ
เหนือ 14,921 191 1.28
ใต้ 15,465 358 2.31 4,754 31.86 9,976 66.86
ตะวันออกเฉยี งเหนือ 8,307 73 0.88
31,709 362 1.14 5,278 34.13 9,829 63.56
ภาพรวมประเทศ 70,402 984 1.40
2,262 27.23 5,972 71.89

9,812 30.94 21,535 67.92

22,106 31.40 47,312 67.20

10 2.3 จงั หวัดทีม่ จี ำ� นวนหมู่บ้านเร่งรัดพฒั นาอันดบั 1 มากทสี่ ุด 5 จงั หวัดแรก

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 1) จังหวัดเชียงใหม ่ จ�ำนวน 87 หมู่บ้าน
2) จงั หวัดกาญจนบรุ ี และนครสวรรค์ จ�ำนวน 64 หมูบ่ า้ น

3) จังหวดั ตาก จ�ำนวน 58 หมู่บ้าน
4) จงั หวดั สรุ นิ ทร ์ จ�ำนวน 52 หมู่บา้ น

5) จงั หวัดชัยภมู ิ จ�ำนวน 48 หมู่บ้าน

หมู่บ้านเรง่ รดั พัฒนาอันดบั 1 ทง้ั หมด จำ� นวน 984 หมบู่ า้ น พบว่าตัวช้ีวัดทีม่ ปี ัญหามาก 10 ลำ� ดบั แรกทค่ี วร
ได้รบั การแกไ้ ข คอื เรื่องการไดร้ ับการศกึ ษา ความปลอดภยั จากภยั พิบัติ การกึฬา การมีสว่ นร่วมของชุมชน การเรยี นรโู้ ดยชุมชน
การมีงานท�ำ การเขา้ ถงึ แหลง่ เงินทุน ผลผลติ จาการท�ำเกษตรอนื่ ๆ การตดิ ตอ่ สอื่ สาร และการมีทด่ี ินท�ำกนิ

โดยสรุป สภาพปัญหาของหมู่บ้านไทยในชนบท จากขอ้ มลู กชช. 2ค ปี 2560 ทีต่ ้องเน้นพฒั นา
ให้มากเปน็ พิเศษ ไดแ้ ก่ เรอ่ื งการได้รบั การศกึ ษา ความปลอดภยั จากภยั พิบัติ การกึฬา การมสี ่วนรว่ มของ
ชมุ ชน การเรยี นรูโ้ ดยชุมชน การมีงานทำ� การเข้าถึงแหล่งเงินทุน ผลผลติ จาการท�ำเกษตรอนื่ ๆ การติดตอ่
สื่อสาร และการมที ีด่ นิ ทำ� กนิ เปน็ ตน้ และหมูบ่ า้ นเปา้ หมายท่ีควรได้รบั การแก้ไขเป็นล�ำดับแรก คอื หมูบ่ า้ น
เร่งรัดพัฒนาอนั ดบั 1 และ อนั ดบั 2 ซึ่งมอี ย่ทู งั้ หมด 984 หมบู่ ้าน และ 22,106 หมู่บ้าน ตามล�ำดับ

ส่ว1นที่

11

สภาพทวั่ ไป รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

ของหมู่บ้านในชนบทไทย

จากการส�ำรวจขอ้ มูลพ้นื ฐานระดบั หมู่บา้ น (กชช. 2ค) ซึ่งเปน็ การส�ำรวจข้อมลู พืน้ ฐานด้านเศรษฐกจิ และสังคม ระดับหมู่บ้าน
เป็นข้อมูลในระดับหมู่บ้านท่ีแสดงใหเ้ หน็ สภาพทั่วไป และสภาพปญั หาของหมูบ่ ้านในชนบทดา้ นต่าง ๆ เชน่ โครงสรา้ งพ้ืนฐาน
สภาพพ้นื ฐานทางเศรษฐกจิ สภาพแรงงาน สขุ ภาพและอนามัย ความรแู้ ละการศึกษา การมีส่วนร่วมและความเขม้ แข็งของชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ความปลอดภยั จากภัยพบิ ัติและความเสีย่ งในชุมชน เปน็ ข้อมลู ทดี่ ำ� เนินการจัดเกบ็ ทุกหมู่บา้ น
ในชนบท ทุก 2 ปี ซ่งึ ผลการดำ� เนนิ การจัดเก็บขอ้ มลู ใน ปี 2560 มดี งั นี้

หมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร

ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

15,465 หมบู า น 31,709 หมูบา น
2,389,205 ครัวเรือน 4,165,935 ครวั เรือน

ภาคใต ภาคกลาง
12 8,307 หมบู า น
1,565,212 ครวั เรอื น 14,921 หมบู าน
2,669,814 ครัวเรือน
รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560
สำรวจทงั้ หมด 70,402 หมบู า น
10,790,166 ครวั เรือน

ประชากร 32,434,921 คน

ภาค หมบู่ า้ นทง้ั หมด ครัวเรอื นท้งั หมด จำ� นวนประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
กลาง 14,921 2,669,814
เหนือ 15,465 2,389,205 3,565,018 3,785,465 7,350,483
ใต้ 8,307 1,565,212 3,366,435 3,493,370 6,859,805
ตะวันออกเฉียงเหนอื 31,709 4,165,935 2,366,146 2,430,214 4,796,360
70,402 10,790,166 6,589,475 6,838,798 13,428,273
รวม 15,887,074 16,547,847 32,434,921

ครวั เรอื น

หมบู่ า้ นในชนบทมคี รวั เรอื นทง้ั หมด จำ� นวน 10,790,166 ครวั เรอื น จาก 70,402 หมบู่ า้ น เฉลยี่ หมบู่ า้ นละ 153 ครวั เรอื น
โดยภาคใต้ มจี �ำนวนครัวเรือนเฉลี่ยตอ่ หมู่บา้ นสูงท่ีสุด เฉล่ยี หมบู่ า้ นละ 188 ครวั เรอื น ขณะท่ภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มจี �ำนวน
ครวั เรือนเฉลย่ี ตอ่ หม่บู า้ นตำ�่ ทส่ี ุด เฉล่ียหมู่บา้ นละ 131 ครัวเรือน

ประชากร

ประชากรท่อี าศัยอย่จู รงิ ในหมบู่ ้านชนบท มีจำ� นวนท้งั หมด 32,434,921 คน แยกเป็นเพศชาย 15,887,074 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 48.98 และเพศหญิง 16,547,847 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 51.02

สำ� หรับจำ� นวนประชากรเฉล่ยี ต่อหมู่บา้ น มจี ำ� นวนเฉล่ียหมบู่ ้านละ 460 คน โดยภาคใต้ มจี �ำนวนประชากรเฉลยี่ ตอ่ หมู่บา้ น
สูงทสี่ ุด คือ หมูบ่ ้านละ 577 คน ขณะท่ีภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มจี �ำนวนประชากรเฉล่ียต่อหมูบ่ ้านต�่ำท่ีสดุ หมูบ่ า้ นละ 423 คน

13

รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

โครงสร้างพื้นฐาน

แหลง่ น้ำ� ดืม่ -น้�ำใช้-น้�ำเพอ่ื การเกษตร

ครวั เรือนในชนบท คิดเปน

“มนี ำ้ สะอาดสำหรบั ด่ืมและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี” จำนวน 10,596,109 ครัวเรอื น 98.20%

คิดเปน

“น้ําใชเ พยี งพอตลอดป” จํานวนทงั้ หมด 10,469,383 ครวั เรอื น 97.03%

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560หมูบ า นในชนบทมี “ระบบประปา” น้ำต ก หมูบ านในชนบทมี “บอ นาํ้ ต้ืน”

จํานวน 66,764 หมูบาน คิดเปน (ใสป ลอกซีเมนต, ไม, คอนกรีตและบอดิน)
จํานวน 1,273,513 บอ
94.83%
- บอ ขดุ สวนตวั จํานวน 1,172,300 บอ
14 - บอขดุ สาธารณะ จาํ นวน 101,213 บอ
ครวั เรอื นในชนบท“มนี าํ้ ประปาใชต ลอดป”

จาํ นวน 9,625,185 ครัวเรือน คิดเปน

89.20%

แอ่งนำ้ผลติ นำ้ ประปาเพอ่ื บริโภแคมน่ ้ำ น้ำเพื่อกบาอ่รเนกษ้ำตร หมบู า นในชนบทมี “น้ําสําหรบั การเพาะปลกู ”
จาํ นวน 34,072 หมบู าน คิดเปน 48.40%
นำ้ ใต้ดนิ
- ภาคกลาง จาํ นวน 9,363 หมูบ า น คิดเปน 62.75%
หมูบานในชนบทมี “บอบาดาล” - ภาคเหนือ จาํ นวน 6,283 หมูบา น คดิ เปน 40.63%
- ภาคใต จาํ นวน 5,077 หมบู า น คดิ เปน 61.12%
(บอ ตอก บอเจาะ) - ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จาํ นวน 13,349 หมบู า น
จํานวน 915,678 บอ
คิดเปน 42.10%
- บอบาดาลสว นตัว จํานวน 802,738 บอ
- บอ บาดาลสาธารณะ จํานวน 112,940 บอ

แหลง่ น�้ำดม่ื -น้ำ� ใช้

ภาค สว่ นตวั บ่อน�ำ้ ต้ืน รวม ส่วนตัว บอ่ บาดาล รวม
สาธารณะ สาธารณะ

กลาง 172,981 16,856 189,837 99,576 24,753 124,329

เหนอื 289,894 23,626 313,520 178,752 24,964 203,716

ใต้ 427,252 18,628 445,880 84,919 13,260 98,179

ตะวันออกเฉียงเหนอื 282,173 42,103 324,276 439,491 49,963 489,454

รวม 1,172,300 101,213 1,273,513 802,738 112,940 915,678

หมู่บา้ นในชนบทที่มบี ่อน้�ำตื้น (ใสป่ ลอกซีเมนต,์ ไม้, คอนกรีตและ บอ่ ดนิ ) มีจ�ำนวนท้งั หมด 1,273,513 บ่อ จำ� แนกเป็น 15
บอ่ ขดุ ส่วนตวั จำ� นวน 1,172,300 บอ่ และบอ่ ขดุ สาธารณะ จ�ำนวน 101,213 บ่อ โดยภาคทีม่ ีบ่อน้�ำต้นื มากที่สดุ คอื ภาคใต้
รองลงมาคอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื และภาคกลาง ตามลำ� ดับ รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

หมู่บา้ นในชนบททม่ี ีบอ่ บาดาล (บอ่ ตอก บ่อเจาะ) มจี �ำนวนทง้ั หมด 915,678 บ่อ จ�ำแนกเป็น บ่อบาดาลสว่ นตวั จ�ำนวน
802,738 บ่อ และบ่อบาดาลสาธารณะ จำ� นวน 112,940 บ่อ โดยภาคท่ีมบี อ่ บาดาลมากทีส่ ดุ คอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
รองลงมาคือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ตามลำ� ดับ

น�้ำดม่ื -น้ำ� ใช้

ภาค หมู่บา้ น ครวั เรอื น มนี �้ำสะอาดสำ� หรบั ดื่ม มีนำ้� ใช้เพียงพอตลอดปี
ท้ังหมด ทั้งหมด และบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปี ครวั เรือน ร้อยละ

ครัวเรือน ร้อยละ

กลาง 14,921 2,669,814 2,635,091 98.70 2,607,708 97.67

เหนอื 15,465 2,389,205 2,333,379 97.66 2,302,339 96.36

ใต้ 8,307 1,565,212 1,526,651 97.54 1,506,251 96.23
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 31,709 4,165,935 4,100,988 98.44 4,053,085 97.29

รวม 70,402 10,790,166 10,596,109 98.20 10,469,383 97.03

ครัวเรอื นในชนบททม่ี ีน�้ำสะอาดสำ� หรับด่มื และบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี มีจำ� นวนทง้ั หมด 10,596,109 ครัวเรอื น คดิ เป็น
ร้อยละ 98.20 โดยภาคกลาง มคี รวั เรือนท่มี นี ำ้� สะอาดสำ� หรับดื่มและบรโิ ภคเพยี งพอตลอดปมี ากทส่ี ุด คิดเปน็ ร้อยละ 98.70 และ
ภาคใต้ มคี รวั เรือนทมี่ นี �้ำสะอาดสำ� หรับด่มื และบริโภคเพียงพอตลอดปนี อ้ ยทีส่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.54

ครัวเรอื นในชนบทท่มี นี ้�ำใชเ้ พยี งพอตลอดปี มีจำ� นวนทัง้ หมด 10,469,383 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 97.03 โดยภาคกลาง
มคี รัวเรอื นท่ีมีน้�ำใชเ้ พียงพอตลอดปมี ากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 97.67 และภาคใต้ มีครวั เรือนทมี่ นี ำ�้ ใช้เพยี งพอตลอดปีนอ้ ยท่สี ุด
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.23

ระบบน�้ำประปา

หมู่บ้าน ครัวเรือน ระบบประปาหมบู่ ้าน ครัวเรือนทใ่ี ช้น�้ำประปา
ทั้งหมด ทั้งหมด
ภาค ตลอดปี
14,921 2,669,814
กลาง 15,465 2,389,205 หมูบ่ า้ น รอ้ ยละ แห่ง ครัวเรือน รอ้ ยละ
เหนอื 8,307 1,565,212
ใต้ 31,709 4,165,935 14,307 95.88 30,073 2,432,187 91.10
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 70,402 10,790,166 14,998 96.98 24,729 2,197,967 92.00
7,446 89.64 14,553 1,258,890 80.43
รวม 30,013 94.65 45,411 3,736,141 89.68
66,764 94.83 114,766 9,625,185 89.20

หมบู่ ้านในชนบทที่มีระบบประปา (น�้ำท่ีเก็บไวท้ ถ่ี งั แลว้ สง่ ไปตามท่อถงึ ครวั เรือน หรอื ระบบประปาท่ตี อ่ มาจากหมบู่ า้ นอนื่ )
มีจ�ำนวนท้งั หมด 66,764 หมู่บา้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.83 ของจ�ำนวนหมบู่ า้ นทั้งหมดทสี่ ำ� รวจ โดยภาคเหนือ มีหมูบ่ ้านทมี่ ีระบบ
ประปามากท่ีสดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 96.98 (14,998 หมบู่ ้าน) และภาคใต้ มีหม่บู ้านทีม่ รี ะบบประปาน้อยทสี่ ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 89.64
(7,446 หมบู่ า้ น)
ครวั เรือนในชนบทท่ีมีน�้ำประปาใช้ตลอดปี มจี ำ� นวนท้งั หมด 9,625,185 ครวั เรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ 89.20 โดยภาคเหนอื
มีครัวเรือนทมี่ นี ้ำ� ประปาใชต้ ลอดปมี ากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 92.00 และภาคใต้ มีครวั เรอื นทมี่ ีนำ้� ประปาใชต้ ลอดปนี อ้ ยท่สี ดุ คดิ เป็น
16 ร้อยละ 80.43

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 น�ำ้ เพอื่ การเกษตร

หมบู่ า้ น การใชน้ ำ้� จากแหลง่ นำ้� ในหม่บู ้าน/ชมุ ชน สำ� หรับการเพาะปลูก
ทง้ั หมด
ภาค เพียงพอตลอดปี เพยี งพอเฉพาะฤดูฝน ไมเ่ พียงพอ ไมไ่ ดใ้ ช้แหล่งนำ�้
สำ� หรับเพาะปลูก
กลาง
เหนือ หมูบ่ ้าน ร้อยละ หม่บู า้ น รอ้ ยละ หมบู่ ้าน รอ้ ยละ หมู่บ้าน ร้อยละ
ใต้
ตะวันออกเฉียงเหนือ 14,921 9,363 62.75 4,142 27.76 767 5.14 265 1.78

รวม 15,465 6,283 40.63 7,156 46.27 1,515 9.80 240 1.55
8,307 5,077 61.12 2,268 27.30 385 4.63 167 2.01
31,709 13,349 42.10 14,279 45.03 2,105 6.64 787 2.48
70,402 34,072 48.40 27,845 39.55 4,772 6.78 1,459 2.07

น�้ำเพอื่ การเกษตร ส�ำหรับการเพาะปลูก

หมู่บ้านในชนบทท่ีมีน�้ำจากแหล่งน้�ำในหมู่บ้าน/ชุมชน ส�ำหรับการเพาะปลูกเพียงพอตลอดปี มีจ�ำนวนท้ังหมด 34,072
หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 48.40 ของจ�ำนวนหมู่บ้านทั้งหมดท่ีส�ำรวจ โดยภาคกลาง มีหมู่บ้านที่มีน�้ำส�ำหรับการเพาะปลูก
เพียงพอตลอดปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62.75 และภาคเหนือ มีหมู่บ้านที่มีน้�ำส�ำหรับการเพาะปลูกเพียงพอตลอดปีน้อยท่ีสุด
คดิ เปน็ เพียงร้อยละ 40.63

ส�ำหรับหมู่บ้านในชนบทที่มีน�้ำจากแหล่งน�้ำในหมู่บ้าน/ชุมชน ส�ำหรับการเพาะปลูกไม่เพียงพอ มีจ�ำนวนทั้งหมด 4,772
หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 6.78 ของจ�ำนวนหมู่บ้านทั้งหมดที่ส�ำรวจ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหมู่บ้านที่มีน�้ำส�ำหรับ
การเพาะปลูกไมเ่ พียงพอมากที่สดุ จำ� นวน 2,105 หมู่บ้าน และภาคใต้ มีหมบู่ ้านทมี่ นี ำ�้ สำ� หรับการเพาะปลูกไม่เพียงพอน้อยทสี่ ดุ
จ�ำนวน 385 หมู่บ้าน

ไฟฟา้

ภาค หมู่บ้านท้งั หมด ครวั เรือน มีไฟฟ้าใช้ ไมม่ ไี ฟฟา้ ใช้ ใชไ้ ฟฟา้
ทัง้ หมด
กลาง 14,921 ครวั เรือน ร้อยละ ครวั เรอื น รอ้ ยละ พลงั งานทดแทน
เหนอื 15,465 2,669,814
ใต้ 8,307 2,389,205 2,642,926 98.99 1,854 0.07 ครัวเรอื น ร้อยละ
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 31,709 1,565,212 2,320,148 97.11 5,529 0.23
70,402 4,165,935 1,515,156 96.80 3,129 0.20 4,394 0.16
รวม 10,790,166 4,094,747 98.29 4,854 0.12 9,401 0.39
10,572,977 97.99 15,366 0.14 2,258 0.14
6,733 0.16
22,786 0.21

ครัวเรือนในชนบทที่มไี ฟฟา้ (ไฟฟา้ ของรัฐ) ใช้ตลอดปี มีจ�ำนวนทงั้ หมด 10,572,977 ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 97.99 17
ของจำ� นวนครวั เรือนทงั้ หมดท่ีสำ� รวจ โดยภาคกลาง มคี รวั เรอื นทมี่ ีไฟฟ้าใชต้ ลอดปมี ากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 98.99 ของครวั เรือน
ทงั้ หมดในภาค รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

ครัวเรอื นในชนบทท่ีไม่มีไฟฟา้ (ไฟฟา้ ของรัฐ) ใชต้ ลอดปี มีจำ� นวนท้งั หมด 15,366 ครวั เรอื น คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.14 ของ
จำ� นวนครัวเรือนทั้งหมดท่ีส�ำรวจ โดยภาคเหนือ มคี รัวเรอื นท่ไี ม่มไี ฟฟ้าใช้มากทีส่ ดุ จำ� นวน 5,529 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.23
ของครวั เรือนทง้ั หมดในภาค

ท้งั นี้ มีครัวเรือนในชนบทท่ีใชไ้ ฟฟา้ จากพลังงานทดแทน จ�ำนวนทัง้ หมด 22,786 ครัวเรอื น คิดเป็นร้อยละ 0.21 ของ
จ�ำนวนครัวเรือนท้ังหมดท่ีส�ำรวจ โดยภาคเหนือ มีครัวเรือนท่ีใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนมากที่สุด จ�ำนวน 9,401 ครัวเรือน
คิดเป็นร้อยละ 0.39 ของครวั เรอื นทั้งหมดในภาค

การคมนาคม

ภาค หมู่บ้านทง้ั หมด ดตี ลอดทั้งปี การคมนาคมโดยถนนสายหลักในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ใช้การได้ดี ไมด่ ตี ลอดทั้งปี
หมูบ่ า้ น รอ้ ยละ พอใช้ได้ตลอดทั้งปี ดีเฉพาะในฤดแู ลง้ พอใชไ้ ด้เฉพาะในฤดแู ลง้ หมูบ่ ้าน รอ้ ยละ
กลาง 14,921 9,949 66.68 หมูบ่ า้ น ร้อยละ หมบู่ า้ น รอ้ ยละ หมู่บา้ น รอ้ ยละ
เหนือ 15,465 8,557 55.33 402 2.69
ใต้ 8,307 5,350 64.40 3,662 24.54 468 3.14 421 2.82 625 4.04
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 31,709 16,687 52.63 4,735 30.62 725 4.69 817 5.28 244 2.94
70,402 40,543 57.59 2,044 24.61 398 4.79 266 3.20 1,023 3.23
รวม 10,401 32.80 1,748 5.51 1,846 5.82 2,294 3.26
20,842 29.60 3,339 4.74 3,350 4.76

หมู่บา้ นในชนบทที่มีการคมนาคมโดยถนนสายหลกั ในหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้การไดด้ ีตลอดทง้ั ปี มีจ�ำนวนท้ังหมด 40,543
หมู่บ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 57.59 โดยภาคกลาง มหี มูบ่ ้านในชนบทท่มี ีการคมนาคมโดยถนนสายหลกั ในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ใช้การไดด้ ี
ตลอดทั้งปมี ากท่สี ุด คดิ เป็นร้อยละ 66.68 ของหมูบ่ ้านทงั้ หมดในภาค

ท้ังน้ี มีหมู่บ้านในชนบททกี่ ารคมนาคมโดยถนนสายหลกั ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน ใชก้ ารไม่ดตี ลอดทงั้ ปี มจี �ำนวนท้ังหมด 2,294
หมูบ่ ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 3.26 โดยภาคเหนือ มหี มู่บ้านในชนบทท่มี กี ารคมนาคมโดยถนนสายหลักในหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้การไม่ดี
ตลอดท้ังปมี ากทีส่ ดุ คดิ เป็น รอ้ ยละ 4.04 ของหม่บู ้านท้งั หมดในภาค

สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

การทาํ ไร การทํานา

ปลูกพืชไรอ ายสุ ้ัน - ครวั เรอื นท่ีทํานา จํานวน 4,506,523 ครัวเรอื น (41.77%)
- พื้นท่ีทาํ ไรอายสุ ้ัน ท้ังหมด 9,302,007 ไร - พน้ื ท่ีทาํ นา ท้งั หมด 63,870,824 ไร
- ครวั เรอื นทท่ี าํ ไรอ ายสุ นั้ มจี าํ นวน 938,891 - ครวั เรือนมรี ายไดโดยเฉลย่ี จากการทาํ นา จาํ นวน 69,328 บาทตอ ป

ครวั เรอื น (8.70%) ภาคกลาง มรี ายไดฯ จํานวน 121,585 บาทตอป
ปลกู พืชไรอ ายยุ าว ภาคเหนอื มรี ายไดฯ จํานวน 78,910 บาทตอ ป
- พนื้ ทท่ี าํ ไรอ ายยุ าว ทง้ั หมด 20,521,860 ไร ภาคใต มรี ายไดฯ จาํ นวน 54,926 บาทตอ ป
- ครวั เรอื นทท่ี าํ ไรอ ายยุ าว มจี าํ นวน 1,298,412 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีรายไดฯ จํานวน 59,660 บาทตอ ป
- ประเภทของการทํานา
ครวั เรอื น (12.03%) “นาหวา น” จาํ นวน 2,656,858 ครวั เรอื น
“นาดาํ ” จํานวน 1,383,386 ครัวเรอื น
18 “นาหวานน้ําตม” จํานวน 358,601 ครวั เรอื น
“มากกวา 1 รูปแบบ/วธิ ีการ” จํานวน 66,143 ครวั เรือน

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 การทาํ สวน

การทําสวนผลไม
- พน้ื ท่ีทําสวนผลไม ท้งั หมด 4,964,157 ไร
- ครวั เรือนท่ที าํ สวนผลไม มีจาํ นวน 590,679 ครัวเรอื น (5.47%)
การทําสวนยางพารา
- พนื้ ทท่ี าํ สวนยางพารา ท้ังหมด 18,325,936 ไร
- ครวั เรอื นทท่ี าํ สวนยางพารา มจี าํ นวน 1,355,076 ครวั เรอื น (12.56%)

การปลกู พชื เศรษฐกิจอื่นๆ และการเกษตรฤดแู ลง

การปลูกพชื เศรษฐกิจอ่นื ๆ
- พืน้ ที่ปลูกพืชเศรษฐกจิ อื่นๆ ทั้งหมด 7,948,276 ไร
- ครวั เรอื นทป่ี ลกู พชื เศรษฐกจิ อน่ื ๆ มจี าํ นวน 570,596 ครวั เรอื น (5.29%)
การเกษตรฤดูแลง
- พ้นื ที่ทาํ การเกษตรฤดูแลง ทง้ั หมด 1,067,759 ไร
- ครวั เรอื นทท่ี าํ การเกษตรฤดแู ลง มจี าํ นวน 245,448 ครวั เรอื น (2.27%)

การทำ� นา

การทำ� นา

ภาค ครวั เรือน ครวั เรือนมีพื้นทท่ี ำ� นา ครวั เรอื น
ครัวเรอื น พื้นทีท่ ำ� นา มีรายได้
ท้ังหมด ทท่ี ำ� นา รอ้ ยละ (ไร่) ไม่เกนิ 5 ไร่ 5-10 ไร่ 10-20 ไร่ 20 ไร่ ข้ึนไป โดยเฉลีย่

(ครวั เรอื น) (ครัวเรอื น) (ครวั เรือน) (ครัวเรือน) (บาท/ปี)

กลาง 2,669,814 403,204 15.10 8,524,835 59,487 106,860 117,349 118,652 121,585

เหนือ 2,389,205 999,081 41.82 14,447,622 364,201 258,729 196,521 273,857 78,910

ใต้ 1,565,212 133,596 8.54 1,330,750 76,285 33,692 14,909 16,907 54,926

ตะวันออกเฉยี งเหนอื 4,165,935 2,970,642 71.31 39,567,617 694,728 1,029,941 805,212 503,899 59,660

รวม 10,790,166 4,506,523 41.77 63,870,824 1,194,701 1,429,222 1,133,991 913,315 69,328

1) ครัวเรือนทท่ี �ำนา มีจำ� นวนท้ังหมด 4,506,523 ครวั เรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.77 ของครัวเรือนทงั้ หมดในชนบท 19
โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มีครวั เรอื นที่ท�ำนา มากทีส่ ดุ จำ� นวน 2,970,642 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 71.31 ของครัวเรอื น
ท้ังหมดในภาค ขณะที่ภาคใต้ มคี รัวเรอื นท่ีท�ำนา นอ้ ยที่สุด จ�ำนวน 133,596 ครัวเรอื น คดิ เป็นร้อยละ 8.54 ของครวั เรอื น รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ทัง้ หมดในภาค

2) พื้นท่ีท�ำนา มีจ�ำนวนท้ังหมด 63,870,824 ไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพ้ืนที่ท�ำนา มากท่ีสุด เป็นจ�ำนวน
39,567,617 ไร่ ภาคใต้ มพี ้นื ทีท่ �ำนา นอ้ ยทส่ี ดุ จำ� นวน 1,330,75 ไร่ ท้งั น้ี ครัวเรือนท่มี พี น้ื ทท่ี �ำนา 5-10 ไร่ จำ� นวน
1,429,222 ครวั เรอื น และมีครวั เรือนท่ีมีพืน้ ท่ี ทำ� นาเกนิ 20 ไร่ จ�ำนวน 913,315 ครวั เรือน

3) ครัวเรือนมีรายได้โดยเฉล่ียจากการท�ำนา จ�ำนวน 69,328 บาทต่อปี โดยภาคกลาง มีครัวเรือนมีรายได้โดยเฉลี่ย
จากการทำ� นามากท่ีสุด จำ� นวน 121,585 บาทตอ่ ปี ขณะที่ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ครวั เรือนมีรายไดโ้ ดย
เฉลย่ี จากการท�ำนา จำ� นวน 78,910 บาทตอ่ ปี 59,660 บาทตอ่ ปี และ จ�ำนวน 54,926 บาทต่อปี ตามล�ำดับ

การทำ� นา

ครวั เรือนทำ� นาปลี ะ ประเภทการทำ� นา

ภาค 1 ครั้ง มากกวา่ นาดำ� นาหว่าน นาหวา่ น นาโยน นาขนั้ บันใด มากกวา่ 1 รปู
(ครวั เรอื น) 1 คร้งั (ครวั เรอื น) (ครัวเรือน) น�้ำตม (ครัวเรือน) (ครัวเรือน) แบบ/วธิ กี าร
กลาง (ครวั เรือน) (ครวั เรือน) (ครวั เรือน)
เหนือ 26,308
ใต้ 196,270 204,863 397,800 267,923 104,530 991 187 3,818
ตะวันออกเฉียงเหนอื 66,647
734,990 300,047 892,631 391,670 171,738 5,116 9,211 19,531
รวม 1,383,386
97,855 35,015 43,049 21,220 365 87 433

2,763,599 242,002 1,954,216 61,113 2,750 712 42,361

3,792,714 781,927 2,656,858 358,601 9,222 10,197 66,143

4) ครวั เรอื นทำ� นา ปีละ 1 ครั้ง จำ� นวน 3,792,714 ครวั เรอื น โดยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีครวั เรอื นทที่ �ำนาปลี ะครง้ั
มากท่ีสุด จำ� นวน 2,763,599 ครัวเรอื น และครวั เรอื นท�ำนา ปีละมากกวา่ 1 ครัง้ จ�ำนวน 781,927 ครัวเรือน โดยภาคเหนือ
มีครวั เรือนทท่ี �ำนาปีละมากกว่า 1 คร้งั มากท่ีสดุ จำ� นวน 300,047 ครัวเรอื น

5) ประเภทของการทำ� นา ครัวเรอื นท�ำนาในรปู แบบ “นาหว่าน” มากท่สี ุด จ�ำนวน 2,656,858 ครัวเรอื น ตามมาด้วย
รูปแบบ “นาดำ� ” จ�ำนวน 1,383,386 ครัวเรือน รปู แบบ “นาหวา่ นน�้ำตม” จำ� นวน 358,601 ครวั เรอื น และมากกว่า 1 รปู แบบ/
วธิ ีการ จำ� นวน 66,143 ครวั เรือน

การทำ� ไร่ (ปลกู พืชไรอ่ ายสุ ั้น และปลูกพชื ไร่อายยุ าว)

หมบู่ า้ น ครวั เรือน การปลกู พชื ไร่อายสุ ้ัน การปลกู พชื ไร่อายุยาว
ท้ังหมด ท้งั หมด
ภาค พน้ื ที่ปลูก รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ พ้ืนที่ปลูก ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ
14,921 2,669,814 (ไร่) (ครัวเรอื น) (ไร่) (ครวั เรอื น)
กลาง
1,339,231 14.40 98,166 3.68 5,402,676 26.33 228,030 8.54

เหนือ 15,465 2,389,205 5,040,316 54.19 448,104 18.76 5,132,675 25.01 294,861 12.34

ใต้ 8,307 1,565,212 136,562 1.47 50,767 3.24 324,078 1.58 36,892 2.36

ตะวันออกเฉียงเหนือ 31,709 4,165,935 2,785,898 29.95 341,854 8.21 9,662,431 47.08 738,629 17.73

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 256020 รวม 70,402 10,790,166 9,302,007 100 938,891 8.70 20,521,860 100 1,298,412 12.03

การท�ำไรอ่ ายุสน้ั

1) ครัวเรอื นท่ีท�ำไร่อายุส้นั มีจ�ำนวนทัง้ หมด 938,891 ครวั เรอื น คดิ เป็นร้อยละ 8.70 ของครัวเรอื นทง้ั หมดในชนบท
โดยภาคเหนอื มคี รัวเรือนทีท่ �ำไร่อายุส้ัน มากที่สุด จ�ำนวน 448,104 ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.76 ของครัวเรือนทง้ั หมด
ในภาค ขณะทภ่ี าคใต้ มคี รัวเรอื นทท่ี �ำไร่อายสุ นั้ น้อยท่ีสดุ จ�ำนวน 50,767 ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 3.24 ของครัวเรอื นทง้ั หมด
ในภาค

2) พน้ื ทท่ี ำ� ไรอ่ ายสุ น้ั มจี ำ� นวนทง้ั หมด 9,302,007 ไร่ โดยภาคเหนอื มพี นื้ ทที่ ำ� ไรอ่ ายสุ นั้ มากทสี่ ดุ เปน็ จำ� นวน 5,040,316 ไร่
คดิ เปน็ ร้อยละ 54.19 ของพนื้ ท่ที �ำไรอ่ ายุสนั้ ทงั้ หมด ภาคใต้ มีพน้ื ทีท่ ำ� ไร่อายสุ ้ัน นอ้ ยทส่ี ุด จ�ำนวน 136,562 ไร่ คิดเปน็
ร้อยละ 1.47 ของพ้ืนท่ที ำ� ไร่อายสุ ้ันทงั้ หมด

การท�ำไรอ่ ายุยาว

1) ครวั เรอื นที่ท�ำไรอ่ ายุยาว มีจำ� นวนทั้งหมด 1,298,412 ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.03 ของครัวเรือนทง้ั หมดในชนบท
โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มคี รวั เรือนท่ีท�ำไรอ่ ายยุ าว มากทสี่ ดุ จ�ำนวน 738,629 ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.73 ของ
ครัวเรอื นทั้งหมดในภาค ขณะทีภ่ าคใต้ มคี รวั เรือนทีท่ ำ� ไรอ่ ายยุ าวน้อยทีส่ ดุ จ�ำนวน 36,892 ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.36 ของ
ครวั เรือนทง้ั หมดในภาค

2) พื้นที่ท�ำไร่อายยุ าว มจี ำ� นวนทัง้ หมด 20,521,860 ไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ท�ำไรอ่ ายยุ าวมากทสี่ ดุ
เปน็ จ�ำนวน 9,662,431 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.08 ของพืน้ ทีไ่ รอ่ ายุยาวทัง้ หมด ขณะทีภ่ าคใตม้ ีพื้นทีท่ �ำไรอ่ ายุยาว น้อยท่ีสุด จ�ำนวน
324,078 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.58

* พชื ไรอ่ ายสุ น้ั  คอื  พชื ไรท่ ม่ี อี ายนุ บั ตงั้ แตป่ ลกู ถงึ เกบ็ เกยี่ วนอ้ ยกวา่ 4 เดอื น เชน่ ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ ถวั่ เขยี ว ถว่ั เหลอื ง ถว่ั ลสิ ง ถว่ั นำ้� นางแดง ถว่ั มะแฮะ
ขา้ วฟา่ ง เปน็ ตน้ ท้ังน้ีไมร่ วมถงึ พืชผกั
** พืชไรอ่ ายุยาว คือ พืชไรท่ ่ีมอี ายนุ ับตัง้ แต่ปลกู จนถึงเกบ็ เกี่ยวมากกว่า 4 เดือน เช่น ข้าวไร่ ออ้ ย มนั ส�ำปะหลงั ปอ ฝ้าย สัปปะรด ยาสูบ
ป่านศรนารายณ์ กก แตงโมเมลด็ พรกิ ไทย และอนื่ ๆ

การทำ� สวน (สวนผลไม้ สวนยางพารา)

หมูบ่ ้าน ครัวเรอื น การทำ� สวนผลไม้ การท�ำสวนยางพารา
ทั้งหมด ท้งั หมด
ภาค พน้ื ทปี่ ลกู ร้อยละ จำ� นวน ร้อยละ พื้นทป่ี ลกู ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ
14,921 2,669,814 (ไร)่ (ครัวเรือน) (ไร)่ (ครัวเรอื น)
กลาง 15,465 2,389,205
เหนือ 8,307 1,565,212 1,956,444 39.41 148,580 5.57 1,944,900 10.61 71,421 2.68
ใต้ 31,709 4,165,935
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 70,402 10,790,166 1,265,915 25.50 177,329 7.42 758,266 4.14 55,593 2.33

รวม 1,369,666 27.59 210,730 13.46 11,790,596 64.34 788,497 50.38

372,132 7.50 54,040 1.30 3,832,174 20.91 439,565 10.55

4,964,157 100 590,679 5.47 18,325,936 100 1,355,076 12.56

การท�ำสวนผลไม้ 21

1) ครัวเรือนที่ท�ำสวนผลไม้ มจี ำ� นวนทงั้ หมด 590,679 ครัวเรือน รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.47 ของครวั เรอื นทง้ั หมดในชนบท โดยภาคใต้ มคี รวั เรอื น
ทีท่ ำ� สวนผลไม้ มากท่สี ดุ จำ� นวน 210,730 ครัวเรอื น
คิดเปน็ ร้อยละ 13.46 ของครัวเรอื นทั้งหมดในภาค
ขณะท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีครัวเรือนท่ีท�ำ
สวนผลไมน้ อ้ ยทส่ี ดุ จำ� นวน 54,040 ครวั เรอื น
คดิ เป็นร้อยละ 1.30 ของครัวเรอื นท้งั หมด
ในภาค

2) พน้ื ท่ีท�ำสวนผลไม้ มจี �ำนวน
ทง้ั หมด 4,964,157 ไร่ โดยภาคกลาง
มพี นื้ ทท่ี ำ� สวนผลไม้ มากทสี่ ดุ เปน็ จำ� นวน
1,956,444 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 39.41 ของพ้ืนท่ที �ำสวนผลไม้ท้ังหมดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มพี ื้นทที่ �ำสวนผลไม้ น้อยท่สี ุด
จำ� นวน 372,132 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 7.50 ของพ้ืนทีท่ �ำสวนผลไม้ท้งั หมด

การท�ำสวนยางพารา

1) ครวั เรอื นท่ีท�ำสวนยางพารา มีจำ� นวนทง้ั หมด 1,355,076 ครัวเรือน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.56 ของครัวเรอื นท้ังหมดใน
ชนบท โดยภาคใต้ มีครัวเรอื นทีท่ ำ� สวนยางพารามากที่สุด จ�ำนวน 788,497 ครวั เรือน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.38 ของครัวเรอื น
ท้งั หมดในภาค รองลงมา คือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มคี รวั เรอื นท่ที �ำสวนยางพารา จ�ำนวน 439,565 ครัวเรอื น คิดเป็นร้อยละ
10.55 ของครัวเรอื นท้งั หมดในภาค

2) พืน้ ที่ท�ำสวนยางพารา มีจำ� นวนท้งั หมด 18,325,936 ไร่ โดยภาคใต้ มพี ้ืนทีท่ ำ� สวนยางพารา มากที่สุด เปน็ จ�ำนวนถงึ
11,790,596 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 64.34 ของพน้ื ที่ท�ำสวนยางพาราท้งั หมด รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มีพน้ื ท่ที �ำ
สวนยางพารา จ�ำนวน 3,832,174 ไร่ คดิ เป็นร้อยละ 20.91 ของพ้ืนทท่ี �ำสวนยางพาราทงั้ หมด

การปลูกพชื เศรษฐกิจอืน่ ๆ และการเกษตรฤดูแลง้

ครัวเรือน การปลูกพชื เศรษฐกจิ อื่นๆ การเกษตรฤดูแล้ง
ทั้งหมด
ภาค จ�ำนวน ร้อยละ พนื้ ท่ีรวม จำ� นวน ร้อยละ พืน้ ท่ีรวม
2,669,814 (ครวั เรอื น) (ไร่) (ครวั เรอื น) (ไร่)
กลาง 2,389,205
เหนือ 1,565,212 79,390 2.97 1,480,504 20,886 0.78 126,678
ใต้ 4,165,935
ตะวันออกเฉียงเหนือ 10,790,166 99,004 4.14 1,083,779 104,512 4.37 559,840

รวม 237,120 15.15 3,759,721 18,209 1.16 57,161
324,080
155,082 3.72 1,624,272 101,841 2.44 1,067,759

570,596 5.29 7,948,276 245,448 2.27

การปลูกพชื เศรษฐกจิ อืน่ ๆ

1) ครวั เรือนท่ปี ลูกพชื เศรษฐกิจอน่ื ๆ มจี �ำนวนท้ังหมด 570,596 ครัวเรอื น คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.29 ของครัวเรือนทั้งหมดใน

ชนบท โดยภาคใต้ มคี รัวเรือนทป่ี ลกู พืชเศรษฐกิจอ่ืนๆ มากท่สี ดุ จ�ำนวน 237,120 ครวั เรอื น คดิ เป็นร้อยละ 15.15 ของครวั เรือน

ทัง้ หมดในภาค ขณะทภี่ าคกลาง มคี รวั เรือนที่ปลกู พชื เศรษฐกจิ อืน่ ๆ นอ้ ยท่ีสุด จ�ำนวน 79,390 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 2.97

22 ของครวั เรอื นท้ังหมดในภาค
2) พน้ื ท่ีปลกู พืชเศรษฐกิจอนื่ ๆ มจี �ำนวนท้ังหมด 7,948,276 ไร่ โดยภาคใต้ มพี นื้ ทป่ี ลูกพชื เศรษฐกิจอ่ืนๆ มากท่สี ดุ

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 เป็นจ�ำนวน 3,759,721 ไร่ และภาคเหนือ มีพืน้ ทป่ี ลูกพชื เศรษฐกจิ อนื่ ๆ น้อยทส่ี ดุ จ�ำนวน 1,083,779 ไร่

การเกษตรฤดแู ลง้

1) ครัวเรอื นทีท่ �ำการเกษตรฤดแู ลง้ มจี ำ� นวนท้ังหมด 245,448 ครัวเรอื น คดิ เป็นร้อยละ 2.27 ของครวั เรอื นท้ังหมด
ในชนบท โดยภาคเหนือ มคี รวั เรอื นที่ท�ำการเกษตรฤดูแล้งมากท่สี ดุ จ�ำนวน 104,512 ครวั เรอื น คดิ เป็นร้อยละ 4.37 ของ
ครัวเรอื นทัง้ หมดในภาค ขณะที่ภาคใต้ มคี รวั เรอื นทท่ี �ำการเกษตรฤดูแล้งน้อยทส่ี ุด จ�ำนวน 18,209 ครัวเรือน คดิ เป็นร้อยละ
1.16 ของครัวเรอื นทัง้ หมดในภาค

2) พ้ืนที่ท�ำการเกษตรฤดูแล้ง มีจำ� นวนทงั้ หมด 1,067,759 ไร่ โดยภาคเหนอื มพี นื้ ท่ีทำ� การเกษตรฤดูแลง้ มากทีส่ ุด เป็น
จ�ำนวน 559,840 ไร่ และภาคใต้ มีพืน้ ท่ีทำ� การเกษตรฤดแู ล้งน้อยที่สดุ จ�ำนวน 57,161 ไร่

* การทำ� การเกษตรฤดูแล้ง หมายถงึ การปลูกพชื ไรอ่ ายสุ ั้น หรอื พชื ผัก ในฤดแู ล้ง

การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน และสถานประกอบการและอุตสาหกรรมในท้องถ่นิ

ครวั เรือนประกอบอาชพี การทำ� งานในสถานประกอบการ/อุตสาหกรรม

ภาค ครัวเรอื นทั้งหมด อตุ สาหกรรมในครัวเรือน

กลาง 2,669,814 จ�ำนวนรวม รอ้ ยละ ภายในต�ำบล ภายนอกต�ำบล จ�ำนวนรวม
เหนอื 2,389,205 (ครวั เรอื น) (ครัวเรอื น) (ครัวเรือน) (ครวั เรอื น)
ใต้ 1,565,212
ตะวันออกเฉียงเหนือ 4,165,935 27,550 1.03 127,479 195,081 322,560
10,790,166 35,450 46,991 82,441
รวม 42,614 1.78 37,000 41,809 78,809
54,793 82,203 136,996
12,944 0.83
254,722 366,084 620,806
100,957 2.42

184,065 1.71

การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรอื น 23

ครัวเรอื นท่ีประกอบอาชพี อตุ สาหกรรมในครัวเรอื น มจี �ำนวนทัง้ หมด 184,065 ครวั เรือน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.71 ของ
ครัวเรือนทง้ั หมดในชนบท โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีครวั เรอื นทป่ี ระกอบอาชีพอุตสาหกรรมในครวั เรือน มากท่ีสดุ จ�ำนวน
100,957 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.42 ของครวั เรอื นท้ังหมดในภาค

การทำ� งานในสถานประกอบการและอตุ สาหกรรมในท้องถน่ิ รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

1) ครัวเรอื นที่ทำ� งานในสถานประกอบการภายในต�ำบล มีจำ� นวนท้ังหมด 254,722 ครัวเรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.36 ของ
ครัวเรอื นท้งั หมดในชนบท โดยภาคกลาง มีครัวเรือนทที่ �ำงานในสถานประกอบการภายในต�ำบล มากทสี่ ดุ จ�ำนวน 127,479
ครวั เรอื น ขณะท่ภี าคเหนือ มีครัวเรอื นทท่ี �ำงานในสถานประกอบการภายในต�ำบล นอ้ ยท่สี ุด จ�ำนวน 35,450 ครัวเรือน

2) ครัวเรือนท่ที ำ� งานในสถานประกอบการภายนอกต�ำบล มีจำ� นวนทง้ั หมด 366,084 ครวั เรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.39 ของ
ครัวเรอื นทงั้ หมดในชนบท โดยภาคกลาง มีครวั เรอื นทท่ี �ำงานในสถานประกอบการภายนอกต�ำบล มากทีส่ ุด จ�ำนวน 195,081
ครวั เรอื น ขณะทภี่ าคใต้ มคี รวั เรอื นท่ที �ำงานในสถานประกอบการภายนอกต�ำบล นอ้ ยท่สี ุด จำ� นวน 41,809 ครัวเรอื น

สขุ ภาวะและอนามัย

การไดร้ ับบริการและดูแลสุขภาพอนามัย (เจบ็ ปว่ ยรนุ แรง)

เม่ือเจ็บปว่ ยรุนแรง ใช้เวลาเดนิ ทางไปโรงพยาบาลของรัฐ

ภาค หมูบ่ ้าน ภายใน รอ้ ยละ ภายใน รอ้ ยละ มากกวา่ ร้อยละ
ทั้งหมด ครึ่งช่วั โมง 31-60 1 ชั่วโมง
นาที

กลาง 14,921 12,096 81.07 2,542 17.04 265 1.78
เหนอื 15,465 11,137 72.01 3,701 23.93 621 4.02
ใต้ 8,307 6,869 82.69 1,305 15.71 130 1.56
ตะวันออกเฉยี งเหนอื 31,709 24,499 77.26 6,713 21.17 494 1.56
70,402 54,601 77.56 14,261 20.26 1,510 2.14
รวม

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 256024 การไดร้ บั บริการและดูแลสุขภาพอนามยั (เจบ็ ป่วยรนุ แรง)

หม่บู ้านในชนบท เม่อื คนมีอาการเจ็บปว่ ยรุนแรง สว่ นมากไปรบั การรกั ษาพยาบาลจากโรงพยาบาลของรฐั ด้วยพาหนะที่นิยม

กันโดยใช้เวลาเดนิ ทาง ดังนี้

ภายในเวลาคร่ึงช่ัวโมง

หมบู่ า้ น/ชุมชน ทว่ั ประเทศ ทีค่ นในหมู่บ้าน/ชุมชนสามารถเดินทางไปรบั บรกิ ารจากโรงพยาบาลของรฐั ภายในระยะเวลาครง่ึ
ช่วั โมง จ�ำนวน 54,601 หมูบ่ า้ น คิดเปน็ ร้อยละ 77.56 โดยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื คนในหม่บู า้ น/ชุมชนสามารถเดนิ ทางไป
รกั ษาพยาบาลจากโรงพยาบาลของรฐั ภายในระยะเวลาครง่ึ ชั่วโมง มากทส่ี ดุ จำ� นวน 24,499 หมู่บ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 77.26

ภายในเวลา 31 - 60 นาที

หมู่บ้าน/ชุมชน ทั่วประเทศ ท่ีคนในหมู่บ้าน/ชุมชนสามารถเดินทางไปรับบริการจากโรงพยาบาลของรัฐภายในระยะเวลา
31- 60 นาที จำ� นวน 14,261 หม่บู า้ น คดิ เปน็ ร้อยละ 20.26 โดยภาตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีคนในหมูบ่ า้ น/ชุมชน เดนิ ทางไป
รับบริการ จากโรงพยาบาลของรัฐภายในระยะเวลา 31- 60 นาที มากทีส่ ุด จำ� นวน 6,713 หม่บู ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 21.17

ใช้เวลามากกว่า 1 ชว่ั โมง

หมู่บ้าน/ชุมชน ทั่วประเทศ ท่ีคนในหมู่บ้าน/ชุมชนสามารถเดินทางไปรับบริการจากโรงพยาบาลของรัฐภายในระยะเวลา
มากกวา่ 1 ช่วั โมง จำ� นวน 1,510 หม่บู ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.14 โดยภาคเหนือ มีคนในหม่บู ้าน/ชมุ ชน ที่สามารถเดินทางไป
รบั บรกิ าร จากโรงพยาบาลของรฐั ภายในระยะเวลามากกว่า 1 ชั่วโมง มากทสี่ ดุ จำ� นวน 621 หมบู่ ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.02

การกฬี า

25

ภาค หมู่บา้ น การแขง่ ขนั กฬี า การฝึกสอนกีฬา การแขง่ ขันกีฬา รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ทงั้ หมด ภายในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน ให้กับประชาชนในหมูบ่ ้าน/ชุมชน ระหวา่ งหม่บู า้ น/ชมุ ชน
กลาง หมบู่ า้ น รอ้ ยละ รวม (คร้งั ) หมู่บา้ น ร้อยละ รวม (ครงั้ ) หมู่บ้าน ร้อยละ
เหนือ 14,921
ใต้ 15,465 10,027 67.20 25,677 7,961 53.35 23,137 10,541 70.65
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 8,307 9,581 61.95 18,781 7,461 48.24 20,514 10,786 69.74
รวม 31,709 6,210 74.76 14,557 5,225 62.90 15,603 6,810 81.98
70,402 23,546 74.26 47,410 19,432 61.28 52,431 25,037 78.96
49,364 70.12 106,425 40,079 56.93 111,685 53,174 75.53

หมบู่ ้าน/ชมุ ชน ทว่ั ประเทศ มีการจัดแข่งขันกีฬาภายในหม่บู า้ น/ชมุ ชน จ�ำนวน 49,364 หม่บู ้าน คดิ เป็นร้อยละ 70.12
โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ หมู่บ้าน/ชุมชนมกี ารจดั แขง่ ขันกีฬาภายในหมู่บา้ น/ชุมชน มากทสี่ ุด จ�ำนวน 23,546 หม่บู า้ น คดิ เป็น
ร้อยละ 74.26

หมู่บ้าน/ชมุ ชน ทั่วประเทศ มกี ารฝกึ สอนกีฬาให้กับประชาชนในหม่บู า้ น/ชมุ ชน จ�ำนวน 40,079 หมบู่ า้ น คดิ เป็นร้อยละ
56.93 รวม 111,685 คร้ัง โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ หมูบ่ า้ น/ชุมชนมกี ารฝกึ สอนกฬี าให้กับประชาชนในหม่บู ้าน/ชมุ ชน
มากทส่ี ุด จำ� นวน 19,432 หมูบ่ า้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 61.28 รวม 52,431 คร้งั

หมู่บ้าน/ชุมชน ทวั่ ประเทศ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาระหว่างหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน จ�ำนวน 53,174 หมูบ่ า้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 75.53
โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มหี มู่บา้ น/ชมุ ชนเขา้ ร่วมการแขง่ ขันกีฬาระหวา่ งหมู่บ้าน/ชมุ ชน มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 25,037 หมู่บา้ น
คิดเป็นรอ้ ยละ 78.96

ความร้แู ละการศกึ ษา

การฝก อบรมของคนในหมูบา น

การฝกอบรมอาชีพดานเกษตรกรรม

ไดร บั การฝก อบรมฯ จาํ นวน 1,149,205 คน คิดเปน รอ ยละ 3.54

การฝกอบรมอาชีพดา นอุตสาหกรรม

ไดรบั การฝกอบรมฯ จาํ นวน 338,213 คน คิดเปน รอยละ 1.04

การฝกอบรมอาชพี ดานการคา การตลาด และการบริการ

ไดรบั การฝกอบรมฯ จํานวน 358,759 คน คิดเปน รอยละ 1.11

การฝก อบรมดานคุณธรรม จรยิ ธรรม หนา ทีแ่ ละสทิ ธิพลเมือง

26 ไดร บั การฝก อบรมฯ จํานวน 1,126,529 คน คดิ เปน รอยละ 3.47

การฝกอบรมดานการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 ไดรบั การฝก อบรมฯ จาํ นวน 1,094,773 คน คดิ เปน รอ ยละ 3.38

การเรียนรูการใชง านดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ไดร ับการฝกอบรมฯ จํานวน 469,617 คน คิดเปน รอยละ 1.45

การเรียนรตู ามแนวทางพระราชดําริ

ไดรับการเรยี นรูฯ จํานวน 1,698,516 คน คิดเปน รอ ยละ 5.24

การเรียนรดู า นกฎหมายในชีวติ ประจาํ วัน

ไดร บั การเรยี นรูฯ จาํ นวน 642,867 คน คดิ เปน รอ ยละ 1.98

การเรยี นรดู า นสวสั ดกิ ารสังคม

ไดร บั การฝก อบรมฯ จํานวน 798,719 คน คดิ เปน รอยละ 2.46

การฝึกอบรมด้านอาชพี ของคนในหมบู่ า้ น

ภาค ประชากร ดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นอตุ สาหกรรม ด้านการค้า การตลาด
ทัง้ หมด จ�ำนวน รอั ยละ จ�ำนวน รอั ยละ การบรกิ าร

จ�ำนวน รอั ยละ

(คน) ต่อประชากร (คน) ต่อประชากร (คน) ตอ่ ประชากร

กลาง 7,350,483 255,802 3.48 112,471 1.53 101,672 1.38

เหนอื 6,859,805 256,358 3.74 58,164 0.85 64,940 0.95

ใต้ 4,796,360 162,511 3.39 26,346 0.55 38,339 0.80

ตะวันออกเฉียงเหนือ 13,428,273 474,534 3.53 141,232 1.05 153,808 1.15

รวม 32,434,921 1,149,205 3.54 338,213 1.04 358,759 1.11

การฝึกอบรมด้านเกษตรกรรม

ในรอบปีทผ่ี ่านมา คนในหมบู่ ้านในชนบทไดร้ บั การฝกึ อบรมอาชีพดา้ นเกษตรกรรม จากหนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกจิ และ
ภาคเอกชนทง้ั ในและนอกหมู่บา้ น ทงั้ หมด จ�ำนวน 1,149,205 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.54 ของประชากรทง้ั หมดในชนบท

การฝึกอบรมด้านอตุ สาหกรรม 27

ในรอบปที ผี่ ่านมา คนในหมบู่ ้านในชนบทได้รับการฝึกอบรมอาชีพดา้ นอุตสาหกรรม จากหน่วยงานราชการ รฐั วสิ าหกจิ และ รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ภาคเอกชนทั้งในและนอกหมู่บา้ น ทัง้ หมด จ�ำนวน 338,213 คน คิดเป็นร้อยละ 1.04 ของประชากรทั้งหมดในชนบท

การฝึกอบรมด้านการค้า การตลาด และการบรกิ าร

ในรอบปที ่ผี า่ นมา คนในหมู่บ้านในชนบทได้รบั การฝกึ อบรมอาชพี ดา้ นการคา้ การตลาด และการบรกิ ารจากหน่วยงาน
ราชการ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชนทั้งในและนอกหมบู่ า้ น ทัง้ หมด จำ� นวน 358,759 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.11 ของประชากร
ทง้ั หมดในชนบท

การฝกึ อบรมด้านการศกึ ษาของคนในหมบู่ า้ น

ภาค ประชากร การฝกึ อบรมด้านคุณธรรม การอนุรกั ษ์ การเรยี นรกู้ ารใช้งาน
ทงั้ หมด จรยิ ธรรม หน้าทแี่ ละสทิ ธิ ทรัพยากรธรรมชาติ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลาง
เหนือ 7,350,483 พลเมือง และสงิ่ แวดล้อม
ใต้ 6,859,805
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4,796,360 จ�ำนวน รอั ยละ จำ� นวน รัอยละ จำ� นวน รัอยละ
13,428,273 (คน) ต่อประชากร (คน) ตอ่ ประชากร (คน) ตอ่ ประชากร
รวม 32,434,921
246,404 3.35 252,219 3.43 127,019 1.73
88,221 1.29
236,757 3.45 267,133 3.89 48,354 1.01
206,023 1.53
143,355 2.99 125,936 2.63 469,617 1.45

500,013 3.72 449,485 3.35

1,126,529 3.47 1,094,773 3.38

การฝึกอบรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม หน้าทแี่ ละสทิ ธิพลเมือง

ในรอบปีทีผ่ า่ นมา คนในหม่บู ้านในชนบทไดร้ บั การฝกึ อบรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม หน้าทแ่ี ละสทิ ธิพลเมอื ง จากหน่วยงาน
ราชการ รฐั วิสาหกจิ และภาคเอกชนทง้ั ในและนอกหม่บู า้ น ทงั้ หมดจำ� นวน 1,126,529 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.47 ของประชากร
ทงั้ หมดในชนบท

การฝกึ อบรมด้านการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

ในรอบปที ผี่ า่ นมา คนในหมบู่ า้ นในชนบทไดร้ บั การฝกึ อบรมดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จากหนว่ ยงาน
ราชการ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชนทง้ั ในและนอกหมบู่ า้ น ทั้งหมดจำ� นวน 1,094,773 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.38 ของประชากร
ท้งั หมดในชนบท

การเรียนรูก้ ารใชง้ านดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในรอบปีท่ีผ่านมา คนในหมู่บ้านในชนบทได้รับการเรียนรู้การใช้งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จากหน่วยงานราชการ
รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนทั้งในและนอกหมู่บ้าน ทง้ั หมดจำ� นวน 469,617 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.45 ของประชากรทงั้ หมดใน
ชนบท

การฝกึ อบรมด้านการศกึ ษาของคนในหม่บู า้ น

28 การเรยี นรู้ การเรียนรดู้ า้ นกฎหมาย การเรยี นรู้
ตามแนวทางพระราชดำ� ริ ในชีวติ ประจำ� วัน ด้านสวสั ดกิ ารสังคม
ภาค ประชากร จำ� นวน รัอยละ จำ� นวน รอั ยละ จ�ำนวน รัอยละ
ท้ังหมด
รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560
(คน) ตอ่ ประชากร (คน) ต่อประชากร (คน) ตอ่ ประชากร

กลาง 7,350,483 384,637 5.23 147,021 2.00 195,374 2.66

เหนอื 6,859,805 369,027 5.38 141,776 2.07 170,093 2.48

ใต้ 4,796,360 212,416 4.43 66,628 1.39 86,587 1.81

ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 13,428,273 732,436 5.45 287,442 2.14 346,665 2.58

รวม 32,434,921 1,698,516 5.24 642,867 1.98 798,719 2.46

การเรียนรตู้ ามแนวทางพระราชดำ� ริ

ในรอบปีทผี่ ่านมา คนในหมู่บ้านในชนบทได้รับการเรียนรู้ตามแนวทางพระราชด�ำริ จากหนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกิจ และ

ภาคเอกชนท้งั ในและนอกหม่บู า้ น ท้ังหมดจ�ำนวน 1,698,516 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.24 ของประชากรท้ังหมดในชนบท

การเรยี นรดู้ ้านกฎหมายในชวี ิตประจ�ำวัน

ในรอบปีที่ผา่ นมา คนในหม่บู ้านในชนบทไดร้ บั การเรยี นรดู้ ้านกฎหมายในชีวิตประจ�ำวัน จากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ

และภาคเอกชนท้งั ในและนอกหมบู่ ้าน ทั้งหมดจ�ำนวน 642,867 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.98 ของประชากรทง้ั หมดในชนบท

การเรยี นรู้ด้านสวสั ดิการสังคม

ในรอบปที ผี่ า่ นมา คนในหมู่บ้านในชนบทได้รับการเรียนรู้ด้านสวัสดกิ ารสังคม จากหน่วยงานราชการ รัฐวสิ าหกิจ และ

ภาคเอกชนท้งั ในและนอกหมบู่ ้าน ท้งั หมดจ�ำนวน 798,719 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.46 ของประชากรทัง้ หมดในชนบท

การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชมุ ชน 29

มีการจดั เวทปี ระชาคม เพอ่ื แกไขปญหาชุมชน รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

มกี ารจดั เวทปี ระชาคมในการคนหาปญหา แกไขปญ หาชุมชน (ปล ะ 1-6 ครง้ั

และมากกวา ปละ 6 คร้งั ตอ ป) จาํ นวน 68,339 หมบู า น คดิ เปนรอ ยละ 97.07

การจัดทําแผนชมุ ชนและการนําแผนชุมชนไปปฏบิ ตั ิ

- ไมม ีแผนชมุ ชน และไมม กี ารจดั ทาํ แผนชุมชน จาํ นวน 1,531 หมูบา น

คิดเปนรอ ยละ 2.17

- มแี ผนชมุ ชน แตไมปฏบิ ัตติ ามแผนชมุ ชน จาํ นวน 10,486 หมูบา น

คดิ เปน รอ ยละ 14.89

- มีแผนชมุ ชน และปฏบิ ัตติ ามแผนชมุ ชน จํานวน 58,152 หมบู าน

คดิ เปนรอยละ 82.60

การมสี วนรวมทาํ กิจกรรมสาธารณะ ของครวั เรอื น

ครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนของชมุ ชน จาํ นวน

7,357,035 ครวั เรอื น คิดเปน ถึงรอ ยละ 68.18

การเปนสมาชิกกลุม สหกรณ กองทุน ของครัวเรอื น คนในครวั เรอื นเขาเปน
สมาชิกกลุม สหกรณ กองทนุ จํานวน 7,946,652 ครวั เรือน

คิดเปน รอยละ 73.65

ภูมิปญ ญาทองถนิ่ ภมู ิปญญาชาวบาน และศุนยการเรยี นรูชมุ ชน

มีผรู ภู มู ิปญ ญาทองถนิ่ ภมู ปิ ญญาชาวบา น และปราชญช าวบาน จาํ นวน 3,254,343 คน

มศี นู ยเ รียนรชู ุมชน จาํ นวน 22,797 หมูบ า น คดิ เปน รอยละ 32.38 รวมทัง้ สิ้น 26,816 แหง

ภาคกลาง จาํ นวน 4,608 หมบู าน รวม 5,716 แหง
ภาคเหนือ จํานวน 5,093 หมบู า น รวม 5,819 แหง
ภาคใต จาํ นวน 2,853 หมบู าน รวม 3,401 แหง
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จํานวน 10,243 หมูบา น รวม 11,880 แหง

ครัวเรอื นไดเรยี นรูจากปราชญชาวบา น/ศูนยเรียนรชู มุ ชน จาํ นวน 2,565,659 ครวั เรือน คดิ เปนรอยละ 23.78

การจัดเวทีประชาคมในการคน้ หาปัญหา เพื่อแก้ไขปญั หาและจัดทำ� แผนชมุ ชน

หม่บู า้ น ไม่มีการจดั เวที ปลี ะ 1-6 คร้ัง มากกว่าปลี ะ 6 คร้ัง
ท้ังหมด
ภาค จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน ร้อยละ จำ� นวน ร้อยละ
14,921 (หม่บู ้าน) (หม่บู ้าน) (หมู่บา้ น)
กลาง 15,465
เหนือ 8,307 375 2.51 9,516 63.78 5,006 33.55
ใต้ 31,709
ตะวันออกเฉียงเหนือ 70,402 513 3.32 9,899 64.01 5,044 32.62

รวม 245 2.95 5,773 69.50 2,284 27.49

872 2.75 18,165 57.29 12,652 39.90

2,005 2.85 43,353 61.58 24,986 35.49

มีการจัดเวทีประชาคมในการค้นหาปัญหา เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน

ในรอบปีทีผ่ า่ นมา หมบู่ า้ นในชนบทท่ีมกี ารจดั เวทีประชาคมในการค้นหาปัญหา แกไ้ ขปัญหาชุมชน (ปีละ 1-6 คร้งั และ
มากกวา่ ปลี ะ 6 คร้งั ต่อป)ี จำ� นวน 68,339 หม่บู า้ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97.07 โดยมหี ม่บู ้านในชนบทที่ไมไ่ ด้มีการจดั เวทีประชาคม
ในการคน้ หาปญั หา แกไ้ ขปญั หาชมุ ชน จำ� นวน 2,005 หมู่บา้ น หรือคดิ เป็นร้อยละ 2.85

30 การจดั ท�ำแผนชุมชนและการนำ� แผนชมุ ชนไปปฏิบตั ิ

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 หมบู่ ้าน ไมม่ แี ผนชุมชน มีแตไ่ ม่ปฏบิ ัตติ ามแผนฯ มีและปฏบิ ัติตามแผนฯ
ทง้ั หมด
ภาค จำ� นวน ร้อยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ
14,921 (หมู่บา้ น) (หมบู่ ้าน) (หม่บู ้าน)
กลาง 15,465
เหนือ 8,307 276 1.85 2,049 13.73 12,574 84.27
ใต้ 31,709
ตะวันออกเฉยี งเหนอื 70,402 400 2.59 2,209 14.28 12,745 82.41

รวม 196 2.36 1,777 21.39 6,322 76.10

659 2.08 4,451 14.04 26,511 83.61

1,531 2.17 10,486 14.89 58,152 82.60

ไม่มีการจดั ท�ำแผนชุมชน

ในรอบปีท่ีผ่านมา หมู่บา้ นในชนบทท่ียงั ไม่มีแผนชุมชนและไมม่ ีการจดั ท�ำแผนชุมชน จ�ำนวน 1,531 หมบู่ ้าน คิดเปน็
ร้อยละ 2.17 โดยภาคเหนือ เป็นภาคที่ยังไมม่ ีแผนชมุ ชนและไมม่ ีการจัดท�ำแผนชมุ ชน มากท่สี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 2.59 ซ่ึงตอ้ งให้การ
สนับสนนุ

มีแผนชมุ ชนแตไ่ ม่ปฏบิ ตั ิตามแผนชุมชน

ในรอบปที ผี่ า่ นมา หมูบ่ ้านในชนบททมี่ แี ผนชมุ ชนแต่ไมป่ ฏบิ ัตติ ามแผนชมุ ชน จ�ำนวน 10,486 หม่บู ้าน คิดเป็นร้อยละ
14.89 โดยภาคใต้ เป็นภาคทม่ี แี ผนชุมชนแตไ่ มป่ ฏบิ ัติตามแผนชมุ ชน มากทีส่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 21.39 ซึง่ ตอ้ งให้การสนบั สนนุ

มีแผนชุมชนและปฏบิ ัติตามแผนชมุ ชน

ในรอบปีทผี่ ่านมา หมู่บา้ นในชนบทท่ีมีแผนชุมชนและปฏบิ ัติตามแผนชมุ ชน จ�ำนวน 58,152 หมู่บา้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.60
โดยภาคกลาง เปน็ ภาคท่ีมแี ผนชุมชนและปฏิบตั ติ ามแผนชุมชน มากท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.27 ซงึ่ ต้องใหก้ ารสนบั สนนุ รองลงมา
คอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคเหนอื และภาคใต้ คดิ เปน็ ร้อยละ 83.61 ร้อยละ 82.41 และร้อยละ 76.10 ตามลำ� ดับ

การมสี ว่ นร่วมทำ� กิจกรรมสาธารณะ และการเปน็ สมาชกิ กลมุ่ สหกรณ์ กองทนุ ของครัวเรอื น

ภาค หมู่บา้ น ครวั เรอื น รว่ มทำ� กจิ กรรม เป็นสมาชกิ กลุ่ม การเขา้ ถงึ แหล่งทนุ
ทั้งหมด ท้ังหมด สาธารณะ สหกรณ์ กองทนุ ชุมชน
ครวั เรอื น รัอยละ
ครวั เรอื น รัอยละ ครัวเรอื น รอั ยละ

กลาง 14,921 2,669,814 1,501,406 56.24 1,661,489 62.23 1,196,102 44.80

เหนอื 15,465 2,389,205 1,774,315 74.26 1,842,196 77.10 1,417,931 59.35

ใต้ 8,307 1,565,212 953,159 60.90 1,057,717 67.58 773,370 49.41

ตะวันออกเฉียงเหนอื 31,709 4,165,935 3,128,155 75.09 3,385,250 81.26 2,749,338 66.00

รวม 70,402 10,790,166 7,357,035 68.18 7,946,652 73.65 6,136,741 56.87

ในรอบปีทผ่ี ่านมา หมู่บ้านในชนบทมีคนในครวั เรอื นมสี ว่ นร่วมท�ำกิจกรรมสาธารณะเพอ่ื ประโยชน์ของชุมชน จ�ำนวนมากกว่า 31
7,357,035 ครวั เรอื น คิดเปน็ ถงึ ร้อยละ 68.18 ของครวั เรือนทั้งหมด โดยมคี นในครัวเรือนเข้าเป็นสมาชิกกลุม่ สหกรณ์ กองทนุ
จำ� นวนมากกว่า 7,946,652 ครวั เรอื น ซงึ่ คิดเปน็ ร้อยละ 73.65 ของครัวเรอื นทัง้ หมด รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น และศนุ ย์การเรียนรชู้ ุมชน

ภาค หมูบ่ า้ น ครัวเรอื น ปราชญช์ าวบา้ น ศูนยเ์ รยี นรู้ชุมชน ครัวเรอื นได้เรียนรจู้ าก
ทั้งหมด ทง้ั หมด ปราชญช์ าวบ้าน/
ศนู ยเ์ รียนรชู้ มุ ชน

(คน) หม่บู ้าน รอ้ ยละ แหง่ ครัวเรอื น ร้อยละ

กลาง 14,921 2,669,814 460,823 4,608 30.88 5,716 567,185 21.24

เหนือ 15,465 2,389,205 792,832 5,093 32.93 5,819 554,083 23.19

ใต้ 8,307 1,565,212 291,100 2,853 34.34 3,401 278,473 17.79

ตะวันออกเฉียงเหนือ 31,709 4,165,935 1,709,588 10,243 32.30 11,880 1,165,918 27.99

รวม 70,402 10,790,166 3,254,343 22,797 32.38 26,816 2,565,659 23.78

หม่บู า้ นในชนบท มีผู้รูภ้ มู ิปญั ญาท้องถิน่ ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน และปราชญช์ าวบ้าน จ�ำนวน 3,254,343 คน โดยภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื เปน็ ภาคทีม่ ีผ้รู ้ภู ูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปญั ญาชาวบ้าน และปราชญ์ชาวบา้ น มากท่สี ดุ จ�ำนวน 1,709,588 คน

หมู่บ้านในชนบท มศี ูนย์เรยี นรู้ชมุ ชน จ�ำนวน 22,797 หมบู่ า้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 32.38 รวมทงั้ สน้ิ 26,816 แห่ง โดยภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื เปน็ ภาคที่มศี ูนยเ์ รยี นรชู้ มุ ชน มากที่สุด จำ� นวน 11,880 แห่ง จาก 10,243 หมบู่ า้ น

ในรอบปีท่ีผ่านมา หมู่บ้านในชนบท ครัวเรือนได้เรียนรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน/ศูนย์เรียนรู้ชุมชน จ�ำนวน 2,565,659
ครวั เรอื น คิดเป็น รอ้ ยละ 23.78 ของครัวเรอื นทงั้ หมด โดยตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีครวั เรือนไดเ้ รียนรจู้ ากปราชญช์ าวบ้าน/
ศูนย์เรยี นร้ชู ุมชน มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 27.99 (1,165,918 ครัวเรือน)

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

คณุ ภาพดิน การปลกู ปา หรือไมย ืนตน

- หมูบ านท่ไี มม ปี ญหาคุณภาพดิน มีพน้ื ท่ที ไ่ี ดป ลูกปาหรือไมยืนตนแลว จาํ นวน 16,370 หมบู าน

จํานวน 52,970 หมูบ าน คิดเปนรอยละ 75.24 เน้ือทร่ี วม 3,656,778 ไร คิดเปนรอ ยละ 80.15

- หมูบา นทม่ี ีปญหาดนิ ตนื้ หนาดินถูกซะลา ง ของพน้ื ทปี่ ลูกปาหรอื ไมยนื ตน ทัง้ หมด
ภาคเหนือ เนื้อที่รวม 1,820,512 ไร
ดินจืด จาํ นวน 7,220 หมบู า น คิดเปนรอ ยละ 10.26 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เน้ือทีร่ วม 775,154 ไร
ภาคกลาง เนือ้ ท่รี วม 557,416 ไร
- หมบู านทีม่ ีปญ หาดนิ มีกรวดทราย ดนิ ดาน ภาคใต เน้อื ท่รี วม 503,696 ไร
ดนิ เคม็ ดินเปรี้ยว จํานวน 10,212 หมูบ า น

คดิ เปนรอ ยละ 14.51

ปาชุมชน

มพี นื้ ทปี่ าชมุ ชน ทง้ั หมด จาํ นวน 1,935,169 ไร
ภาคเหนอื มีพื้นท่ีปา ชมุ ชน มากทส่ี ดุ จาํ นวน 991,467 ไร
เฉลย่ี หมูบานละ 314 ไร
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จาํ นวน 649,865 ไร เฉลยี่ หมบู า นละ 101 ไร
ภาคกลาง จาํ นวน 152,194 ไร เฉลยี่ หมบู า นละ 135 ไร

32 ภาคใต จาํ นวน 141,643 ไร เฉลยี่ หมูบ านละ 162 ไร

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560

คุณภาพแหลง นาํ้ ผิวดนิ

- มีแหลง นา้ํ ผิวดินที่มคี ณุ ภาพเหมาะสมดี ทัง้ หมดจาํ นวน

62,836 แหง คดิ เปน รอยละ 59.54

- มแี หลง นาํ้ ผวิ ดินที่มคี ุณภาพเหมาะสมพอใช ท้ังหมด

จํานวน 36,875 แหง คิดเปน รอ ยละ 34.94

- มีแหลง นํ้าผิวดินท่ีมีคณุ ภาพไมเ หมาะสม ทง้ั หมดจํานวน

5,832 แหง คิดเปน รอ ยละ 5.53

คณุ ภาพดนิ

ภาค หมบู่ า้ นทัง้ หมด ไม่มีปัญหาคณุ ภาพดิน มีปัญหาดินตนื้ มปี ัญหาดนิ มกี รวดทราย
หน้าดนิ ถูกซะล้าง ดนิ จืด ดินดาน ดนิ เค็ม ดนิ เปรี้ยว
กลาง 14,921 (หม่บู ้าน) ร้อยละ (หมู่บ้าน) รอ้ ยละ (หมบู่ ้าน) รอ้ ยละ
เหนอื 15,465
ใต้ 8,307 12,294 82.39 776 5.20 1,851 12.41
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 31,709 11,499 74.35 1,748 11.30 2,218 14.34
70,402 7,076 85.18 4.66 10.16
รวม 22,101 69.70 387 13.59 844 16.71
52,970 75.24 4,309 10.26 5,299 14.51
7,220 10,212

หมู่บา้ นไม่มีปญั หาคุณภาพดิน 33

หม่บู า้ นในชนบท มีหมบู่ ้านทไี่ ม่มปี ญั หาคณุ ภาพดนิ ทั้งหมดจ�ำนวน 52,970 หมู่บา้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 75.24 ของจำ� นวน รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
หมบู่ ้านท้ังหมด โดยภาคใต้ เป็นภาคทม่ี หี มูบ่ ้านท่ีไมม่ ีปญั หาคณุ ภาพดนิ มากทส่ี ดุ คดิ เป็นร้อยละ 85.18 ของจ�ำนวนหมู่บา้ น
ท้งั หมดในภาค รองลงมา คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ คดิ เปน็ ร้อยละ 82.39 ร้อยละ 74.35 และ
รอ้ ยละ 69.70 ของจำ� นวนหม่บู ้านทงั้ หมดในภาค ตามลำ� ดบั

หม่บู า้ นมปี ัญหาดนิ ตืน้ หน้าดนิ ถกู ซะลา้ ง ดินจดื

หมู่บ้านในชนบท มีหมู่บา้ นทีม่ ปี ญั หาดินต้ืน หน้าดนิ ถูกซะลา้ ง ดินจดื ทัง้ หมดจ�ำนวน 7,220 หมู่บา้ น คิดเป็นรอ้ ยละ 10.26
ของจำ� นวนหมู่บา้ นทั้งหมด โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เป็นภาคที่มีหมบู่ า้ นท่มี ปี ญั หาดินตื้น หนา้ ดนิ ถูกซะลา้ ง ดินจดื มากทส่ี ุด
คิดเป็นร้อยละ 13.59 ของจำ� นวนหมบู่ า้ นท้งั หมดในภาค รองลงมา คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ คดิ เปน็ ร้อยละ 11.30
ร้อยละ 5.20 และรอ้ ยละ 4.66 ของจำ� นวนหมบู่ า้ นทัง้ หมดในภาค ตามล�ำดบั

หมบู่ า้ นมปี ญั หาดนิ มีกรวดทราย ดินดาน ดินเค็ม ดนิ เปรีย้ ว

หมู่บา้ นในชนบท มีหมบู่ ้านที่มปี ัญหาดนิ มกี รวดทราย ดนิ ดาน ดนิ เค็ม ดินเปร้ียว ทัง้ หมดจ�ำนวน 10,212 หมู่บ้าน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 14.51 ของจำ� นวนหมบู่ า้ นทง้ั หมด โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เปน็ ภาคทมี่ หี มบู่ า้ นทม่ี ปี ญั หาดนิ มกี รวดทราย ดนิ ดาน ดนิ เคม็
ดินเปร้ียว มากที่สุด คิดเปน็ ร้อยละ 16.71 ของจำ� นวนหมู่บ้านทัง้ หมดในภาค รองลงมา คือ ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคใต้ คดิ
เป็นร้อยละ 14.34 ร้อยละ 12.41 และร้อยละ 10.16 ของจ�ำนวนหมู่บ้านท้งั หมดในภาค ตามล�ำดับ

คณุ ภาพแหล่งนำ้� ผิวดิน

ภาค หมบู่ ้านทั้งหมด รวมจำ� นวน แหล่งน�้ำที่ดี แหลง่ นำ้� พอใช้ แหล่งน้�ำทไ่ี ม่เหมาะสม

กลาง 14,921 (แหง่ ) จำ� นวน (แห่ง) ร้อยละ จ�ำนวน (แหง่ ) รอ้ ยละ จำ� นวน (แหง่ ) ร้อยละ
เหนือ 15,465
ใต้ 8,307 22,280 13,304 59.71 7,839 35.18 1,138 5.11
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 31,709
70,402 24,827 15,168 61.09 8,430 33.95 1,229 4.95
รวม
12,812 7,769 60.64 4,315 33.68 728 5.68

45,623 26,595 58.29 16,291 35.71 2,737 6.00

105,542 62,836 59.54 36,875 34.94 5,832 5.53

แหล่งน�ำ้ ผิวดินของหมู่บ้านทมี่ ีคณุ ภาพเหมาะสมดี

หมู่บา้ นในชนบท มแี หลง่ นำ้� ผิวดินท่มี ีคุณภาพเหมาะสมดี ท้ังหมดจ�ำนวน 62,836 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 59.54 ของจ�ำนวน
แหล่งน้�ำผวิ ดินทง้ั หมด โดยภาคเหนอื เปน็ ภาคท่ีมีแหล่งน้ำ� ผิวดนิ ท่มี คี ุณภาพเหมาะสมดี มากทีส่ ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 61.09 ของจำ� นวน
แหล่งน�้ำผวิ ดนิ ทั้งหมดในภาค รองลงมา คือ ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ คิดเป็นรอ้ ยละ 60.64 ร้อยละ 59.71
และร้อยละ 58.29 ของจ�ำนวนแหล่งนำ�้ ผวิ ดนิ ทง้ั หมดในภาค ตามลำ� ดบั

แหลง่ น�ำ้ ผิวดินของหมบู่ ้านทม่ี คี ุณภาพพอใช้

หม่บู ้านในชนบท มแี หล่งน�้ำผิวดนิ ท่มี คี ุณภาพเหมาะสมพอใช้ ทั้งหมดจ�ำนวน 36,875 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 34.94 ของ
จ�ำนวนแหลง่ น้�ำผวิ ดินทั้งหมด โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เปน็ ภาคทมี่ แี หล่งน้�ำผวิ ดินทมี่ คี ุณภาพเหมาะสมพอใช้ มากทส่ี ดุ คิดเปน็
รอ้ ยละ 35.71 ของจำ� นวนแหล่งนำ�้ ผิวดินทั้งหมดในภาค รองลงมา คอื ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ คิดเปน็ ร้อยละ 35.18
ร้อยละ 33.95 และ ร้อยละ 33.68 ของจำ� นวนแหลง่ น้�ำผวิ ดนิ ทั้งหมดในภาค ตามล�ำดบั

แหลง่ น้ำ� ผวิ ดนิ ของหมบู่ ้านที่มคี ุณภาพไมเ่ หมาะสมรายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560

หมู่บา้ นในชนบท มแี หล่งน้ำ� ผวิ ดินท่มี ีคณุ ภาพไม่เหมาะสม ทั้งหมดจ�ำนวน 5,832 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 5.53 ของจำ� นวน
แหล่งน้�ำผวิ ดินทงั้ หมด โดยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เป็นภาคที่มีแหลง่ น�้ำผิวดินท่ีมคี ณุ ภาพไมเ่ หมาะสม มากทีส่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ
6.00 ของจ�ำนวนแหลง่ นำ�้ ผวิ ดินทัง้ หมดในภาค รองลงมา คือ ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคเหนอื คิดเปน็ ร้อยละ 5.68 ร้อยละ

34 5.11 และร้อยละ 4.95 ของจ�ำนวนแหลง่ นำ�้ ผวิ ดินท้งั หมดในภาค ตามล�ำดบั

* แหล่งน�ำ้ ผิวดนิ ได้แก่ แหล่งน้�ำธรรมชาติที่สามารถนำ� นำ้� ข้นึ มาใชไ้ ด้ และแหล่งน้ำ� ท่สี รา้ งขึน้
* คณุ ภาพน้�ำเหมาะสมดี หมายถึง ไมม่ กี ลิ่นและสผี ดิ ปกติจากธรรมชาติ มีสัตวน์ ำ้� อาศยั อยู่ได้ตามธรรมชาติ ไม่เปน็ แหล่งรองรับของเสีย
* คณุ ภาพน�้ำเหมาะสมพอใช้ หมายถงึ ไมม่ กี ลน่ิ และสีผดิ ปกติจากธรรมชาต ิ มสี ัตวน์ ำ�้ อาศัยอยไู่ ด้ตามธรรมชาติ เป็นแหล่งรองรับของเสยี
* คณุ ภาพน�้ำไมเ่ หมาะสม หมายถึง มกี ลน่ิ และสผี ดิ ปกตจิ ากธรรมชาติไมม่ ีสตั วน์ ำ�้ อาศัยอยู่ได้ตามธรรมชาตเิ ปน็ แหล่งรองรับของเสีย เช่น ขยะหรอื นำ�้ ทง้ิ
จากบา้ นเรอื น หรือสถานประกอบการ

การปลูกป่าหรือไมย้ ืนตน้ และปา่ ชมุ ชน

พื้นทปี่ ลูกปา่ หรอื ไม้ยนื ตน้ พนื้ ทป่ี า่ ชมุ ชน

ภาค หมู่บ้าน มีพนื้ ทีป่ ลกู ปา่ หรือไม้ มปี า่ หรอื ไมย้ นื ตน้ แล้ว จำ� นวน จำ� นวน เฉลีย่ /
ทั้งหมด ยนื ต้น หมบู่ า้ น
(หมู่บา้ น) (ไร)่
หมบู่ า้ น ไร่ หมบู่ า้ น ไร่ รอ้ ยละ (ไร)่
1,124 152,194
กลาง 14,921 2,213 679,222 1,954 557,416 82.07 3,162 991,467 135
เหนอื 15,465 314
ใต้ 8,307 4,757 2,220,021 4,365 1,820,512 82.00 872 141,643 162
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 31,709 6,448 649,865 101
70,402 1,957 692,985 1,726 503,696 72.68 11,606 1,935,169 167
รวม
9,142 970,204 8,325 775,154 79.90

18,069 4,562,432 16,370 3,656,778 80.15

การปลูกป่าหรือไม้ยนื ต้น 35

หมบู่ า้ นในชนบท มีพื้นท่ปี ลกู ป่าหรือไมย้ ืนต้น ทง้ั หมด จ�ำนวน 18,069 หม่บู ้าน เนื้อทร่ี วม 4,562,432 ไร่ โดยภาคเหนือ
มพี ื้นทปี่ ลูกปา่ หรอื ไมย้ นื ต้น เนอื้ ที่รวมมากทสี่ ุด จ�ำนวน 4,562,432 ไร่ ในจ�ำนวน 4,757 หมู่บา้ น รองลงมา คอื ภาคตะวันออก
เฉยี งเหนือ เน้ือท่ีรวม 970,204 ไร่ ภาคใต้ เนอ้ื ทรี่ วม 692,985 ไร่ และภาคกลาง เน้อื ที่รวม 679,222 ไร่ ตามล�ำดับ

ท้ังน้ี หม่บู า้ นในชนบท มีพ้ืนทท่ี ่ไี ด้ปลูกป่าหรอื ไมย้ นื ต้นแลว้ ทงั้ สน้ิ จ�ำนวน 16,370 หมบู่ ้าน เนือ้ ทร่ี วม 3,656,778 ไร่
คดิ เป็นร้อยละ 80.15 ของพื้นที่ปลกู ปา่ หรอื ไมย้ ืนตน้ ทง้ั หมด โดยภาคเหนือ มีพน้ื ท่ีทไ่ี ดป้ ลกู ปา่ หรือไม้ยนื ต้นแล้ว เน้อื ทีร่ วมมากทส่ี ดุ
จ�ำนวน 1,820,512 ไร่ ในจ�ำนวน 4,365 หมู่บ้าน รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เนอ้ื ทรี่ วม 775,154 ไร่ ภาคกลาง
เน้อื ที่รวม 557,416 ไร่ และภาคใต้ เนอ้ื ทรี่ วม 503,696 ไร่ ตามลำ� ดับ

พื้นทีป่ า่ ชุมชน

หมบู่ ้านในชนบททมี่ ีพน้ื ที่ปา่ ชมุ ชน มีทัง้ หมด จำ� นวน 11,606 หมบู่ ้าน โดยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีหมูบ่ า้ นที่มีพน้ื ท่ี
ปา่ ชมุ ชน มากทส่ี ุด จำ� นวน 6,448 หมบู่ า้ น รองลงมา คือ ภาคเหนือ จ�ำนวน 3,162 หมู่บา้ น ภาคกลาง จำ� นวน 1,124 หมูบ่ า้ น
และภาคใต้ จำ� นวน 872 หมู่บา้ น ตามล�ำดบั

หม่บู า้ นในชนบท มีพืน้ ทีป่ า่ ชมุ ชน ท้ังหมด จ�ำนวน 1,935,169 ไร่ โดยภาคเหนือ มพี ื้นทป่ี า่ ชมุ ชน มากท่ีสดุ จ�ำนวน
991,467 ไร่ เฉลย่ี หมู่บ้านละ 314 ไร่ รองลงมา คอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 649,865 ไร่ เฉล่ยี หมู่บา้ นละ 101 ไร่
ภาคกลาง จำ� นวน 152,194 ไร่ เฉล่ยี หมู่บ้านละ 135 ไร่ และภาคใต้ จำ� นวน 141,643 ไร่ เฉล่ียหมู่บา้ นละ 162 ไร่ ตามล�ำดับ

รายงานหมู่บ้านชนบทไทย ปี 2560

ความเสยี่ งของชุมชนและภัยพิบตั ิ

การใชย้ าเสพติด การด�ำเนนิ กิจกรรมปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด

การใช้ยาเสพติดในหมูบ่ า้ น การดำ� เนินกิจกรรมป้องกัน/แกไ้ ข

ภาค หมบู่ ้าน การใชย้ าเสพตดิ ในหมู่บา้ น สถานการณก์ ารใชย้ าเสพตดิ ในหมูบ่ า้ น ไมม่ กี ารด�ำเนนิ การ มกี ารด�ำเนินการ
ทงั้ หมด มีการใช้ ไม่มีการใช้ ลดลง คงที่ เพิ่มขึ้น
กลาง จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ยละ
เหนอื (หมบู่ า้ น) (หม่บู ้าน) (หมู่บา้ น) (หมู่บ้าน) (หมูบ่ า้ น) (หมบู่ ้าน) (หมูบ่ า้ น)
ใต้
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 14,921 11,063 3,840 8,838 5,631 435 1,969 13.20 12,935 86.69

รวม 15,465 12,635 2,826 9,420 5,617 413 1,888 12.21 13,564 87.71

8,307 4,610 3,694 4,641 3,043 613 959 11.54 7,344 88.41

31,709 26,422 5,269 19,352 11,014 1,319 4,593 14.48 27,091 85.44

70,402 54,730 15,629 42,251 25,305 2,780 9,409 13.36 60,934 86.55

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560การใชย้ าเสพติดในหม่บู ้าน

36 หมู่บา้ นในชนบทที่มกี ารใช้ยาเสพติดมที ง้ั หมด จำ� นวน 54,730 หมบู่ า้ น คดิ เป็นรอ้ ยละ 77.74 ของหมบู่ า้ นทงั้ หมด

โดยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เปน็ ภาคท่ีมีหมู่บ้านใชย้ าเสพติดมากท่สี ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 83.33 รองลงมา คอื ภาคเหนือ คดิ เป็น
รอ้ ยละ 81.70 ภาคกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ 74.14 และภาคใต้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.50 ตามลำ� ดบั

สถานการณ์การใช้ยาเสพตดิ ในหมบู่ ้าน

ทั้งนี้ หมู่บา้ นในชนบทมสี ถานการณ์การใชย้ าเสพตดิ ในหม่บู ้านลดลง จ�ำนวน 42,251 หมบู่ ้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.01 ของ
หมบู่ ้านท้ังหมด มีสถานการณ์การใชย้ าเสพติดในหม่บู า้ นคงท่ี จำ� นวน 25,305 หมู่บ้าน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.94 ของหมู่บ้านท้งั หมด
มสี ถานการณก์ ารใช้ ยาเสพตดิ ในหมบู่ า้ นเพิม่ ขึ้น จำ� นวน 2,780 หมู่บา้ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.95 ของหมูบ่ า้ นทั้งหมด

การดำ� เนินกิจกรรมป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด

หม่บู า้ นในชนบททไ่ี มม่ กี ารดำ� เนินกจิ กรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ มที ้ังหมด จ�ำนวน 9,409 หม่บู ้าน คิดเปน็
รอ้ ยละ 13.36 ของหมูบ่ า้ นท้งั หมด โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เป็นภาคทีม่ ีหม่บู า้ นไม่ด�ำเนนิ กิจกรรมป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา
ยาเสพตดิ มากทส่ี ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.48 รองลงมา คอื ภาคกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 13.20 ภาคเหนือ คิดเปน็ ร้อยละ 12.21 และ
ภาคใต้ คิดเป็นรอ้ ยละ 11.54 ตามล�ำดบั

หมบู่ า้ นในชนบททมี่ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ มที ง้ั หมด จำ� นวน 60,934 หมบู่ า้ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ
86.55 ของหมบู่ ้านท้งั หมด โดยภาคใต้ เปน็ ภาคที่มหี มบู่ า้ นดำ� เนินกิจกรรมป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด มากทส่ี ุด คดิ เปน็
รอ้ ยละ 88.41 รองลงมา คอื ภาคเหนอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.71 ภาคกลาง คิดเป็นร้อยละ 86.69 และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
คิดเป็นร้อยละ 85.44 ตามลำ� ดบั

การประสบภยั พบิ ัติ ในหมู่บ้าน

ความเสย่ี งจากภัยพิบัติ

หมูบ า นทีม่ ีความเส่ยี งจากภัยพิบตั ิ จํานวน 21,152 หมบู าน คดิ เปน รอยละ 30.04

ของจํานวนหมบู านทั้งหมดโดยแยกเปน
• มคี วามเสย่ี งจากภยั น้ําทวม/ดนิ ถลม/พายุ จํานวน 18,179 หมบู า น
• มคี วามเส่ียงจากภยั แลง จํานวน 15,510 หมบู า น
• มีความเส่ยี งจากภยั ไฟปา /หมอกควัน/ควันพษิ จํานวน 14,417 หมบู า น
• มีความเสย่ี งจากภัยอื่นๆ รวมจาํ นวน 14,225 หมูบ าน

มีหมูบานที่มีการเตรียมความพรอมรับมือ ภัยพิบัติ จํานวน 38,651 หมูบาน จดุ รวมพล 37
คิดเปน รอยละ 54.90 ของจํานวนหมูบานทั้งหมด
รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ครัวเรอื นที่ประสบภัยพิบัติ

(ในรอบปท ่ผี า นมา) มีครวั เรือนที่ประสบภยั พิบัติท่ีทําใหบานเรือนเสยี หาย
หรอื ทําใหค นในครวั เรอื นไดรับบาดเจ็บหรือเสยี ชวี ิต รวมจาํ นวน 278,882 ครวั เรอื น

คดิ เปน รอยละ 2.58 ของจํานวนครัวเรือนท้งั หมด

ภาคเหนอื มคี รัวเรอื นทปี่ ระสบภัยฯ จาํ นวน 126,968 ครัวเรอื น
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มคี รวั เรอื นท่ีประสบภยั ฯ จาํ นวน 65,065 ครวั เรือน
ภาคใต มคี รัวเรือนที่ประสบภัยฯ จาํ นวน 49,139 ครัวเรอื น
ภาคกลาง มีครวั เรือนทปี่ ระสบภัยฯ จาํ นวน 37,710 ครวั เรอื น

หมู่บา้ นมีความเสย่ี งจากภยั พิบัติ การเตรียมความพรอ้ ม
รับมือภยั พิบัติ

ภาค หมู่บ้าน น�้ำทว่ ม/ดนิ ไฟปา่ /หมอก ภัยแล้ง ภัยจากสาร ภัยทางถนน ภัยการก่อ มีการเตรยี ม ร้อยละ
ท้งั หมด ถลม่ /พายุ ควนั /ควัน เคม/ี อืน่ ๆ ความไม่สงบ ความพร้อม
กลาง
เหนอื พษิ
ใต้
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื หมู่บ้าน หมู่บา้ น หมู่บ้าน หมบู่ า้ น หม่บู า้ น หม่บู ้าน

รวม 14,921 2,999 2,129 2,532 654 1,217 214 7,480 50.13

15,465 5,438 4,962 4,731 1,658 2,262 459 9,542 61.70

8,307 3,437 1,675 1,839 428 1,093 361 4,721 56.83

31,709 6,305 5,651 6,408 2,173 3,112 594 16,908 53.32

70,402 18,179 14,417 15,510 4,913 7,684 1,628 38,651 54.90

ความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ

หมบู่ า้ นในชนบทมหี มบู่ ้านทีม่ คี วามเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ิ จ�ำนวน 21,152 หมูบ่ ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.04 ของจำ� นวนหม่บู ้าน

ท้งั หมด โดยแยกเปน็ มีความเสยี่ งจากภยั นำ้� ทว่ ม/ดนิ ถลม่ /พายุ จ�ำนวน 18,179 หม่บู า้ น มคี วามเสี่ยงจากภัยแลง้ จำ� นวน 15,510

38 หมู่บ้าน มีความเส่ยี งจาก ภัยไฟปา่ /หมอกควัน/ควนั พิษ จำ� นวน 14,417 หมบู่ ้าน และจากภัยอน่ื ๆ รวมจ�ำนวน 14,225 หมู่บ้าน
ทั้งนี้ มีหมูบ่ า้ นทม่ี กี ารเตรยี มความพร้อมรับมือ ภัยพิบตั ิ จำ� นวน 38,651 หมบู่ ้าน คิดเป็นรอ้ ยละ 54.90 ของจำ� นวนหมบู่ า้ น
รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560
ทง้ั หมด

การประสบภยั พิบัติ

ภาค ครวั เรือน น้�ำท่วม/ดิน ไฟปา่ /หมอก ภยั แล้ง ภยั จากสาร ภยั ทางถนน ภยั การก่อ
ทั้งหมด ถลม่ /พายุ ควนั /ควนั พิษ เคมี/อนื่ ๆ ความไมส่ งบ
กลาง ครวั เรอื น
เหนอื 2,669,814 ครวั เรือน ครวั เรือน ครวั เรอื น ครัวเรอื น 921 ครวั เรอื น
ใต้ 2,389,205 13,823 1,846 379
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1,565,212 34,425 35,642 18,945 1,796 2,809 102
4,165,935 35,448 543 842 357
รวม 10,790,166 18,397 2,038 47,621 6,369 244
2,118
102,093 40,069 10,451 1,498 6,690 1,082

39,945 2,323

116,962 11,986

ครัวเรอื นทป่ี ระสบภยั พิบัติ

ในรอบปีท่ีผ่านมา หมู่บ้านในชนบทมีครัวเรือนท่ีประสบภัยพิบัติที่ท�ำให้บ้านเรือนเสียหาย หรือท�ำให้คนในครัวเรือนได้รับ
บาดเจ็บหรอื เสยี ชวี ติ จากภัยนำ�้ ท่วม ดินถลม่ พายุ ไฟป่า ควนั พษิ /หมอกควัน ภัยแล้ง หรือภยั กอ่ ความไมส่ งบ ฯลฯ รวมจ�ำนวน
278,882 ครัวเรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.58 ของจ�ำนวนครัวเรือนทง้ั หมด โดยภาคเหนือ มีครัวเรอื นที่ประสบภยั ฯ มากที่สุด จ�ำนวน
126,968 ครัวเรือน รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำ� นวน 65,065 ครวั เรอื น ภาคใต้ จ�ำนวน 49,139 ครวั เรอื น และ
ภาคกลาง จำ� นวน 37,710 ครัวเรือน ตามล�ำดบั

สว่ 2นท่ี รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560

39

สภาพปญั หาและระดับการพัฒนา

ของหมู่บา้ นในแตล่ ะตัวชวี้ ัด

2.1 สภาพปัญหาตามตวั ช้ีวัด

1) ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน

1.1) ถนน
หมบู า นในชนบทมีปญ หาในเร�่อง “ถนน”

จำนวนหมบู า นท้งั ประเทศ 70,402

ปญหาท่พี บ (รอยละ)

มาก ปานกลาง นอ ย

40 3.26 39.11 57.59

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 จำนวน 2,294 หมบู าน จำนวน 27,531 หมูบ า น จำนวน 40,543 หมบู าน

ภาค หมู่บา้ น ปญั หามาก ปญั หาปานกลาง ปัญหานอ้ ย
ท้งั หมด
กลาง จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ จำ� นวน รอ้ ยละ
เหนือ 14,921
ใต้ 15,465 402 2.69 4,551 30.50 9,949 66.68
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 8,307
31,709 625 4.04 6,277 40.59 8,557 55.33
ภาพรวมประเทศ 70,402
244 2.94 2,708 32.60 5,350 64.40

1,023 3.23 13,995 44.14 16,687 52.63

2,294 3.26 27,531 39.11 40,543 57.59

หมายเหตุ : การวิเคราะห์ข้อมูลในบทน้ี ทุกตารางเมื่อรวมค่าร้อยละท้ัง 3 ระดับแล้ว อาจไม่เท่ากับร้อยละ 100 เน่ืองจากบางหมู่บ้านไม่มีข้อมูล
ในเรื่องนห้ี รือมแี ต่ไม่สามารถน�ำวเิ คราะห์ได้เน่อื งจากไม่เขา้ เกณฑท์ ่จี ะน�ำมาวเิ คราะห์

การมีถนนของหม่บู า้ นในชนบท

ปี 2560 หมู่บา้ นในชนบทมีปัญหาในเร่อื งถนนอยูใ่ นระดับมาก (เป็นหมบู่ ้านที่ถนนเส้นทางหลกั ภายในหมบู่ า้ นใชก้ ารไดไ้ ม่ดี
ตลอดทง้ั ปี) จ�ำนวน 2,294 หมบู่ า้ น คดิ เป็นร้อยละ 3.26 ของหมบู่ ้านท้งั หมด โดยภาคเหนอื เปน็ ภาคทหี่ มู่บ้านมีปัญหาในเรื่องน้ี
มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 4.04 รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ร้อยละ 3.23 ภาคใต้ รอ้ ยละ 2.94 และภาคกลาง
ร้อยละ 2.69 ตามลำ� ดบั

1.2) น�้ำดมื่

หมบู า นในชนบทมปี ญหาในเร่อ� ง “นำ้ ดื่ม”

จำนวนหมูบานท้งั ประเทศ 70,402

ปญ หาที่พบ (รอ ยละ)

มาก ปานกลาง นอย
1.63 2.81 95.52

จำนวน 1,151 หมูบา น จำนวน 1,976 หมูบ า น จำนวน 67,249 หมูบา น

41

ภาค หมู่บา้ น ปัญหามาก ปัญหาปานกลาง ปญั หานอ้ ย รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ท้ังหมด
กลาง จ�ำนวน ร้อยละ จำ� นวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ
เหนอื 14,921
ใต้ 15,465 182 1.22 314 2.10 14,409 96.57
ตะวันออกเฉยี งเหนือ 8,307
31,709 334 2.16 479 3.10 14,647 94.71
ภาพรวมประเทศ 70,402
197 2.37 317 3.82 7,789 93.76

438 1.38 866 2.73 30,404 95.88

1,151 1.63 1,976 2.81 67,249 95.52

หมายเหต ุ : การวิเคราะห์ข้อมูลในบทน้ี ทุกตารางเม่ือรวมค่าร้อยละทั้ง 3 ระดับแล้ว อาจไม่เท่ากับร้อยละ 100 เน่ืองจากบางหมู่บ้านไม่มีข้อมูล
ในเร่อื งน้ีหรือมีแต่ไมส่ ามารถน�ำวเิ คราะหไ์ ด้เนื่องจากไม่เข้าเกณฑ์ท่ีจะน�ำมาวเิ คราะห์

การมีน�ำ้ ดื่มของหม่บู ้านในชนบท

ปี 2560 หม่บู ้านในชนบทมีปญั หาในเรื่องน้�ำด่ืมอยใู่ นระดบั มาก (เปน็ หมู่บ้านทมี่ คี รัวเรอื นมนี ้�ำสะอาดส�ำหรบั ดืม่ และบริโภค
นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 63 ของครัวเรอื นท้ังหมด) จำ� นวน 1,151 หมู่บ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.63 ของหมู่บา้ นทง้ั หมด โดยภาคใตเ้ ป็นภาค
ท่ีหมู่บ้านมปี ญั หาในเรื่องนี้มากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.37 รองลงมาคือ ภาคเหนือ ร้อยละ 2.16 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ร้อยละ
1.38 และภาคกลาง รอ้ ยละ 1.22 ตามลำ� ดับ

1.3) นำ้� ใช้

หมูบานในชนบทมีปญหาในเร�อ่ ง “น้ำใช”

จำนวนหมูบานทัง้ ประเทศ 70,402

ปญ หาท่ีพบ (รอ ยละ)

มาก ปานกลาง นอย
2.81 3.17 93.98

จำนวน 1,978 หมบู าน จำนวน 2,234 หมบู า น จำนวน 66,164 หมบู า น

42

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 ภาค หมู่บ้าน ปญั หามาก ปัญหาปานกลาง ปญั หานอ้ ย
ท้งั หมด
กลาง จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ
เหนือ 14,921
ใต้ 15,465 351 2.35 364 2.44 14,190 95.10
ตะวันออกเฉียงเหนอื 8,307
31,709 551 3.56 536 3.47 14,373 92.94
ภาพรวมประเทศ 70,402
294 3.54 406 4.89 7,603 91.53

782 2.47 928 2.93 29,998 94.60

1,978 2.81 2,234 3.17 66,164 93.98

หมายเหต ุ : การวิเคราะห์ข้อมลู ในบทน้ี ทกุ ตารางเมือ่ รวมค่าร้อยละทัง้ 3 ระดบั แล้ว อาจไม่เท่ากับร้อยละ 100 เนอ่ื งจากบางหมู่บา้ นไม่มขี อ้ มูล
ในเร่อื งนห้ี รอื มแี ตไ่ มส่ ามารถน�ำวิเคราะห์ไดเ้ นื่องจากไม่เข้าเกณฑ์ทีจ่ ะน�ำมาวิเคราะห์

การมนี �้ำใชข้ องหมู่บ้านในชนบท

ปี 2560 หม่บู ้านในชนบทมีปัญหาในเรอ่ื งน้�ำใชอ้ ยู่ในระดับมาก (เป็นหมูบ่ า้ นท่ีครวั เรือนมนี ้�ำใชน้ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 63 ของ
ครัวเรอื นทง้ั หมด) จำ� นวน 1,978 หมบู่ ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 2.81 ของหมูบ่ ้านท้งั หมด โดยภาคเหนือ เปน็ ภาคทีห่ มู่บ้านมีปัญหา
ในเรอ่ื งน้มี ากทสี่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 3.56 รองลงมาคอื ภาคใต้ รอ้ ยละ 3.54 ภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนอื รอ้ ยละ 2.47 และ
ภาคกลาง ร้อยละ 2.35 ตามลำ� ดับ

1.4) น้�ำเพ่ือการเกษตร

หมูบา นในชนบทมปี ญ หาในเร่�อง
“นำ้ เพ�อ่ การเกษตร”

จำนวนหมบู านทง้ั ประเทศ 70,402

ปญหาท่พี บ (รอ ยละ)

มาก ปานกลาง นอย
6.78 39.55 48.40

จำนวน 4,772 หมบู า น จำนวน 27,845 หมบู า น จำนวน 34,072 หมูบ าน

43

ภาค หมบู่ ้าน ปญั หามาก ปญั หาปานกลาง ปัญหาน้อย รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ทง้ั หมด
กลาง จ�ำนวน รอ้ ยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ
เหนือ 14,921
ใต้ 15,465 767 5.14 4,142 27.76 9,363 62.75
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 8,307
31,709 1,515 9.80 7,156 46.27 6,283 40.63
ภาพรวมประเทศ 70,402
385 4.63 2,268 27.30 5,077 61.12

2,105 6.64 14,279 45.03 13,349 42.10

4,772 6.78 27,845 39.55 34,072 48.40

หมายเหต ุ : การวิเคราะห์ข้อมูลในบทน้ี ทกุ ตารางเม่อื รวมคา่ รอ้ ยละท้งั 3 ระดบั แล้ว อาจไมเ่ ทา่ กับร้อยละ 100 เนอ่ื งจากบางหมู่บา้ นไม่มีขอ้ มูล
ในเรอื่ งนี้หรือมแี ตไ่ ม่สามารถน�ำวเิ คราะหไ์ ดเ้ นื่องจากไม่เขา้ เกณฑท์ จ่ี ะน�ำมาวิเคราะห์

การมนี ้ำ� เพ่ือการเกษตรของหมบู่ ้านในชนบท

ปี 2560 หมู่บ้านในชนบทมีปัญหาในเรื่องน้�ำเพื่อการเกษตรอยู่ในระดับมาก (เป็นหมู่บ้านที่มีน้�ำไม่เพียงพอส�ำหรับ
การเพาะปลูก) จ�ำนวน 4,772 หมบู่ ้าน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.78 ของหม่บู ้านทัง้ หมด โดยภาคเหนือ เป็นภาคทหี่ มู่บา้ นมปี ญั หาในเรือ่ งน้ี
มากที่สดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 9.80 รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ร้อยละ 6.64 ภาคกลาง ร้อยละ 5.14 และภาคใต้ ร้อยละ
4.63 ตามล�ำดับ

1.5) ไฟฟา้

หมบู านในชนบทมปี ญหาในเร่�อง “ไฟฟา”

จำนวนหมบู านทง้ั ประเทศ 70,402

ปญ หาทพ่ี บ (รอยละ)

มาก ปานกลาง นอ ย
1.00 1.30 95.76

จำนวน 703 หมบู า น จำนวน 912 หมูบาน จำนวน 67,414 หมบู าน

44

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 ภาค หมบู่ า้ น ปญั หามาก ปัญหาปานกลาง ปญั หาน้อย
ทง้ั หมด จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ
กลาง จำ� นวน รอ้ ยละ
เหนอื 14,921 107 0.72 144 0.97
ใต้ 15,465 221 1.43 208 1.34 14,487 97.09
ตะวันออกเฉยี งเหนอื 8,307 121 1.46 183 2.20
31,709 254 0.80 377 1.19 14,637 94.65
ภาพรวมประเทศ 70,402 703 1.00 912 1.30
7,815 94.08

30,475 96.11

67,414 95.76

หมายเหต ุ : การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในบทน้ี ทกุ ตารางเม่อื รวมคา่ รอ้ ยละทั้ง 3 ระดับแล้ว อาจไม่เท่ากบั รอ้ ยละ 100 เน่ืองจากบางหมูบ่ า้ นไม่มขี อ้ มลู
ในเร่ืองน้หี รือมแี ต่ไม่สามารถน�ำวิเคราะห์ได้เน่อื งจากไม่เข้าเกณฑท์ ี่จะน�ำมาวิเคราะห์

การมีไฟฟ้าของรฐั ใช้ของหมบู่ ้านในชนบท

ปี 2560 หมู่บ้านในชนบทมีปญั หาในเรือ่ งไฟฟา้ อย่ใู นระดับมาก (เปน็ ครัวเรอื นทมี่ ไี ฟฟ้าใชน้ อ้ ยกว่าร้อยละ 85 ของครวั เรือน
ทัง้ หมดหรอื ไม่มีไฟฟ้าใช)้ จำ� นวน 703 หม่บู า้ น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.00 ของหมู่บ้านท้ังหมด โดยภาคใต้ เปน็ ภาคท่ีหมบู่ ้านมีปญั หา
ในเรื่องน้ีมากท่สี ุด คิดเป็นร้อยละ 1.46 รองลงมาคอื ภาคเหนอื ร้อยละ 1.43 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ร้อยละ 0.80 และ
ภาคกลาง รอ้ ยละ 0.72 ตามล�ำดับ

1.6) การมที ีด่ นิ ท�ำกนิ

หมบู า นในชนบทมปี ญหาในเร่อ� ง
“การมีที่ดนิ ทำกนิ ”

จำนวนหมบู า นท้ังประเทศ 70,402

ปญหาทพ่ี บ (รอยละ)

มาก ปานกลาง นอย
20.50 21.15 58.30

จำนวน 14,435 หมบู าน จำนวน 14,893 หมบู าน จำนวน 41,047 หมูบ า น

45

ภาค หมบู่ ้าน ปญั หามาก ปญั หาปานกลาง ปัญหาน้อย รายงานห ่มู ้บานชนบทไทย ีป 2560
ทงั้ หมด จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน ร้อยละ

กลาง 14,921 4,377 29.33 3,596 24.10 6,932 46.46

เหนือ 15,465 4,776 30.88 3,600 23.28 7,084 45.81

ใต้ 8,307 949 11.42 1,282 15.43 6,071 73.08

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 31,709 4,333 13.66 6,415 20.23 20,960 66.10
ภาพรวมประเทศ 70,402 14,435 20.50 14,893 21.15 41,047 58.30

หมายเหต ุ : การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในบทนี้ ทุกตารางเมอ่ื รวมค่าร้อยละท้ัง 3 ระดบั แล้ว อาจไมเ่ ท่ากับร้อยละ 100 เน่อื งจากบางหมู่บา้ นไมม่ ขี ้อมลู
ในเรื่องน้ีหรอื มีแตไ่ ม่สามารถน�ำวเิ คราะหไ์ ดเ้ นือ่ งจากไมเ่ ขา้ เกณฑ์ท่ีจะน�ำมาวิเคราะห์

การมที ่ดี นิ ท�ำกินของหมู่บ้านในชนบท

ปี 2560 หมู่บ้านในชนบทมีปัญหาในเร่ืองการมีท่ีดินท�ำกินอยู่ในระดับมาก (จ�ำนวนครัวเรือนท่ีมีท่ีดินท�ำกินของตนเอง
แต่ตอ้ งเชา่ เพมิ่ บางส่วน รวมกบั จำ� นวนครวั เรือนที่ไมม่ ที ่ีดนิ ของตนเองต้องเชา่ ที่ดินท�ำกินทงั้ หมด มากกว่าร้อยละ 25 ของครวั เรือน
ทง้ั หมด) จำ� นวน 14,435 หมู่บา้ น คดิ เป็นร้อยละ 20.50 ของหมู่บา้ นทั้งหมด โดยภาคเหนอื เปน็ ภาคทหี่ มู่บา้ นมปี ัญหาใน
เรื่องนม้ี ากที่สดุ คิดเปน็ ร้อยละ 30.88 รองลงมาคอื ภาคกลาง รอ้ ยละ 29.33 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รอ้ ยละ 13.66 และภาคใต้
ร้อยละ 11.42 ตามลำ� ดับ

1.7) การติดตอ่ ส่อื สาร

หมบู า นในชนบทมีปญหาในเรอ่� ง
“การติดตอ สอ่ื สาร”

จำนวนหมูบา นท้ังประเทศ 70,402

ปญหาทพี่ บ (รอยละ)

มาก ปานกลาง นอย
22.10 67.15 10.71

จำนวน 15,562 หมูบาน จำนวน 47,278 หมูบาน จำนวน 7,540 หมบู า น

46

รายงานหม่บู า้ นชนบทไทย ปี 2560 ภาค หม่บู า้ น ปัญหามาก ปัญหาปานกลาง ปัญหานอ้ ย
ทง้ั หมด จำ� นวน รอ้ ยละ จ�ำนวน ร้อยละ จำ� นวน ร้อยละ
กลาง
เหนอื 14,921 2,250 15.08 10,051 67.36 2,604 17.45
ใต้ 15,465
ตะวันออกเฉยี งเหนอื 8,307 3,683 23.82 10,067 65.10 1,710 11.06
31,709 1,300 15.65 6,096 73.38 911 10.97
ภาพรวมประเทศ 70,402 8,329 26.27 21,064 66.43 7.30
2,315

15,562 22.10 47,278 67.15 7,540 10.71

หมายเหตุ : การวิเคราะห์ข้อมลู ในบทนี้ ทุกตารางเม่อื รวมค่าร้อยละท้ัง 3 ระดับแล้ว อาจไมเ่ ทา่ กบั ร้อยละ 100 เนื่องจากบางหมู่บา้ นไมม่ ขี อ้ มูลใน
เรอ่ื งน้หี รือมแี ต่ไม่สามารถนำ� วเิ คราะห์ไดเ้ น่ืองจากไม่เข้าเกณฑท์ ี่จะนำ� มาวิเคราะห์

การตดิ ตอ่ สอ่ื สารของหมบู่ า้ นในชนบท

ปี 2560 หมบู่ า้ นในชนบทมปี ญั หาในเรอื่ งการตดิ ตอ่ สอ่ื สารอยใู่ นระดบั มาก (หมบู่ า้ นไมม่ บี รกิ ารโทรศพั ทส์ าธารณะทใ่ี ชก้ ารได้
และไม่มีครัวเรอื นทม่ี โี ทรศัพทป์ ระจ�ำบ้าน โทรศพั ท์มือถือ หรืออินเตอร์เน็ต) จ�ำนวน 15,562 หม่บู ้าน คิดเป็นร้อยละ 22.10 ของ
หมบู่ ้านทง้ั หมด โดยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เปน็ ภาคทห่ี มูบ่ ้านมปี ัญหาในเร่ืองนี้มากทสี่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 26.27 รองลงมาคอื
ภาคเหนอื ร้อยละ 23.82 ภาคใต้ ร้อยละ 15.65 และภาคกลาง รอ้ ยละ 15.08 ตามลำ� ดบั


Click to View FlipBook Version