The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน 2566 อัปเดตภาคผนวกรวมปกแล้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phenratsamee36, 2023-05-24 10:18:03

คู่มือนักเรียน 2566 อัปเดตภาคผนวกรวมปกแล้ว

คู่มือนักเรียน 2566 อัปเดตภาคผนวกรวมปกแล้ว

นักเรียน และ ผูปกครอง ปการศึกษา ๒๕๖๖ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง


คูมือนักเรียนและผูปกครองนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนสตรีพังงา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


หนา | ก คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ คำนำ คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา จัดทำขึ้นเพื่อใหนักเรียนและผูปกครองนักเรียนโรงเรีย นสตรี พังงาทุกคนไดศึกษาขอมูล กฎระเบียบตางๆ ของโรงเรียนที่นักเรียนตองปฏิบัติ เชน ระเบียบเกี่ยวกับการแตงกาย ทรงผม การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาสาย รวมทั้งโครงสรางของหลักสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย ระเบียบการวัดและประเมินผล อันจะนำไปสูความเขาใจ และการปฏิบัติที่ถูกตองระหวางที่ศึกษาอยูในโรงเรียน สตรีพังงา ทางโรงเรียนหวังวาคูมือนักเรียนและผูปกครองเลมนี้ จะเปนคูมือที่ผูปกครองใชใหเปนประโยชน ทำใหเกิด ความเขาใจที่ตรงกันในการรวมมือกันดูแลนักเรียนของโรงเรียนสตรีพังงา ทุกคนใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมได อยางมีความสุขในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก โรงเรียนสตรีพังงา


หนา | ข คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ สารบัญ สวนที่ ๑ ขอมูลสถานศึกษา ๑ ๑. ขอมูลทั่วไป ๑ ๒. ประวัติโรงเรียน ๒ ๓. แผนที่ตั้งของโรงเรียน ๔ ๔. สัญลักษณประจำโรงเรียน ๖ ๕. ทำเนียบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสตรีพังงา ๘ ๖. ทำเนียบสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนสตรีพังงา ๙ ๗. ทำเนียบผูบริหารโรงเรียนสตรีพังงา ๑๐ ๘. โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนสตรีพังงา ๑๑ ๙. ผูบริหาร ครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีพังงา ๑๒ สวนที่ ๒ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ๑๙ สวนที่ ๓ ระเบียบโรงเรียนสตรีพังงา ๒๑ ๑. ระเบียบวาดวยการแตงกาย ความประพฤติ แนวปฏิบัติและการลงโทษนักเรียน ๒๑ ๒. ระเบียบ วาดวยการปฏิบัติงานฝายวิชาการ ๓๖


หนา | 1 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ สวนที่ ๑ ขอมูลสถานศึกษา 1. ขอมูลทั่วไป โรงเรียนสตรีพังงา : Satree Phangnga School ที่ตั้ง 204 ถนนเพชรเกษม ตำบลทายชาง อำเภอเมือง จังหวัดพังงา รหัสไปรษณีย 82000 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พังงา ภูเก็ต ระนอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อที่ 20 ไร 3 งาน 10 ตารางวา โทรศัพท 076-412050 โทรสาร 076-412052 E-Mail : [email protected] Website : www.satreephangnga.ac.th Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/satreepng เปดสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปที 6 เขตพื้นที่บริการ ทุกตำบลในอำเภอเมืองพังงา รหัสโรงเรียน 10 หลัก : 1082330175 รหัสโรงเรียน 8 หลัก : 82012008 รหัสโรงเรียน 6 หลัก : 330175


หนา | 2 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ประเภทและลักษณะโครงการของโรงเรียนที่เขารวม: 1. โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) รุนที่ 1 สพฐ. 2. โครงการศูนยครอบครัวพอเพียง ลำดับที่ 60 เพื่อการสืบสานศาสตรพระราชาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิครอบครัวพอเพียง 3. โครงการโรงเรียนสุจริต สพฐ. 4. โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. 5. โครงการโรงเรียนสุขภาวะ สพฐ. 6. โครงการโรงเรียนที่จัดการเรียนรูโดยใชสมาธิเปนฐาน สพฐ. 7. โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข สพฐ. 8. ศูนยเพื่อนใจทูบีนัมเบอรวัน สสจ.พังงา 9. โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สพฐ. 10. โครงการโรงเรียนนำรองการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับจังหวัด กศจ.พังงา 2. ประวัติโรงเรียน โรงเรียนสตรีพังงา จัดตั้งโดยรัฐบาลเมื่อพ.ศ.2494 เนื่องจากรัฐบาลเห็นวานักเรียนหญิงตองเรียนรวมกับ นักเรียนชายในโรงเรียนพังงา “ดีบุกพังงาวิทยายน”ซึ่งเปนโรงเรียนประจำจังหวัดชาย พ.ศ. 2496 ไดแยกนักเรียนหญิงออกมา เพื่อตั้งเปนโรงเรียนประจำจังหวัดหญิงขึ้น ซึ่งการแยกนักเรียนหญิง ออกมาจากโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน ไดซื้อที่ดินจาก นายนาคินทรณ ถลาง มีเนื้อที่ 20 ไร 3 งาน 10 ตารางวา เพื่อสรางโรงเรียน ไดเปดสอนในชั้นมัธยมปที่ 1-3 ทั้งนี้การบริหารโรงเรียนในตอนนั้น ยังอยูในความดูแลของโรงเรียน ดีบุกพังงาวิทยายน พ.ศ. 2499 กรมสามัญศึกษาไดแตงตั้งใหนางสาวสุปราณีเอี่ยมจิตร ดำรงตำแหนงครูใหญ โรงเรียนสตรี พังงาคนแรก และไดแยกขาดจากโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน มาบริหารจัดการเปนเอกเทศ โดยไดทำการเปดสอนครบ ทุกชั้น ตั้งแตชั้นมัธยมปที่ 1-6 จนถึงปจจุบัน พ.ศ. 2504 กระทรวงศึกษาธิการประกาศใชหลักสูตรใหมตามแผนการศึกษาแหงชาติ ซึ่งเปลี่ยนเปนระดับ ประถมศึกษาตอนตน 4 ป ประถมศึกษาตอนปลาย 3 ป มัธยมศึกษาตอนตน 3 ป มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 ป โรงเรียนสตรีพังงาไดยุบเลิกชั้นมัธยมปที่ 1 และเปลี่ยนแปลงชั้นมัธยมปที่ 1 เปนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พ.ศ. 2505 ไดยุบเลิกชั้นมัธยมปที่ 2 และเปลี่ยนแปลงชั้นมัธยมปที่ 2 เปนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 พ.ศ. 2506 ไดยุบเลิกชั้นมัธยมปที่ 3 และเปลี่ยนแปลงชั้นมัธยมปที่ 3 เปนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 พ.ศ. 2524 ไดรับงบประมาณสรางอาคารเรียนแบบ 418 ล จำนวน 1 หลัง พ.ศ. 2525 ไดงบประมาณสรางโรงอาหาร หอประชุมขนาดใหญ จำนวน 1 หลัง บานพักครู จำนวน 1 หลัง พ.ศ. 2527 ไดงบประมาณสรางเขื่อนหนาหอประชุมและสะพานเชื่อมระหวางอาคาร


หนา | 3 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ พ.ศ 2533 ไดรับรางวัลพระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ. 2539 ไดรับรางวัลพระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง พ.ศ. 2545 เปนโรงเรียนแกนนำการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พ.ศ. 2552 เปดสอนหองเรียนพิเศษ โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเปน ภาษาอังกฤษ (Mini English Program : MEP) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พ.ศ. 2553 เปนโรงเรียนพัฒนาสูสถานศึกษามาตรฐานสากล (Worldclass Standard School) และใช หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และ 4 พ.ศ. 2554 โรงเรียนสตรีพังงาไดการรับรอ งคุณภาพจาก สำนัก งานประเมินมาตรฐานก ารศึกษ า (สมศ.) พ.ศ. 2555 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 25 หอง พ.ศ. 2556 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 24 หอง พ.ศ. 2557 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 25 หอง เปนสถานศึกษาใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พ.ศ. 2558 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 25 หอง พ.ศ. 2559 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 24 หอง พ.ศ. 2560 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 23 หอง พ.ศ. 2561 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 25 หอง พ.ศ 2562 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 30 หอง ไดรับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษา ขนาดกลาง ประจำปการศึกษา 2562 พ.ศ. 2563 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 31 หอง พ.ศ. 2564 โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 32 หอง ปจจุบัน โรงเรียนขนาดกลาง มีจำนวน 35 หอง เปดสอนระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 - 6 มีการจัดแผนชั้นเรียน 7–6–7 , 5–6–4 ไดรับรางวัลโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 3 ดาว และไดรับรางวัลระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนยอดเยี่ยม อันดับ 2 ระดับภาคใต ประจำปการศึกษา 2565


หนา | 4 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ 3. แผนผังที่ตั้งของโรงเรียน ถนนมนตรี ไปภูเก็ต ถนนเพชรเกษม ไปตลาด ห้าง สถานีตำรวจ แขวงการทาง โรงเรียนสตรีพังงา หมู่บ้านกลางเมือง กลางเมือง


หนา | 5 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ภาพถายทางดาวเทียมโรงเรียนสตรีพังงา ลักษณะที่ตั้งของโรงเรียนสตรีพังงา ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองพังงาอำเภอเมือง จังหวัดพังงา เปนชุมชนเมือง มีอาณาเขตติดตอดังนี้ - ทิศเหนือ หมูบานกลางเมือง - ทิศใต สำนักงานแขวงการทาง - ทิศตะวันออก ถนนเพชรเกษม ตรงขามหางบิ๊กซีพังงา - ทิศตะวันตก เขาลางบาศ แผนผังอาคารสถานที่โรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 6 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๔. สัญลักษณประจำโรงเรียน • ตราประจำโรงเรียน จักร คือ เครื่องมือฟนฝาอุปสรรคทั้งมวล บันได คือ กาวไปสูชีวิตที่ดีกวา • สีประจำโรงเรียน สีเขียวออน-สีเขียวแก สีเขียวออน หมายถึง ความเจริญ สีเขียวแก หมายถึง ความหนักแนน • อักษรยอ ส.พ.ง. • ปรัชญาของโรงเรียน “ฉันโทจ วิริยํ จิตตํ วิมํสา จาตถ สาธิกา” หมายถึงความพอใจ ความเพียร ความเอาใจฝกใฝความพินิจพิจารณา เปนบอเกิดแหงความสำเร็จ • คำขวัญของโรงเรียน “เรียนเดน เลนดี มีวินัย ใฝคุณธรรม นำสังคม” • ตนไมประจำโรงเรียน “ตนพิกุล” หมายถึง ไมยืนตน ใหรมเงา และมีดอกสวยงาม กลิ่นหอมเย็นชื่นใจ


หนา | 7 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ • เพลงประจำโรงเรียน เพลงมารชโรงเรียน ใตรมรั้วพิกุลสตรีพังงา แหลงปลูกปญญาสูงคาพาสดใส เรียนเดนเลนดีมีวินัย หลอมดวงใจใฝคุณธรรมนำสังคม ประพฤติเหมาะรูจรรยามารยาท รักในชาติศาสนกษัตริยคิดเหมาะสม การดนตรีกีฬานาชื่นชม สรางเพาะบมความรูเลื่องลือนาม เขียวออนเขียวแกแนประจักษ นอมนำหลักคำพอของสยาม เศรษฐกิจพอพียงเลี้ยงงดงาม ลูกทำตามคำพอสอนอยางตั้งใจ สตรีงามสมนามงามสงา มุงพัฒนาความรูคูกมล สถาบันสรางสรรคเยาวชน มานะอดทนสรางชื่อระบือไกล คำรอง คุณครูเพชรรัตน หุนเจริญ ทำนอง คุณครูซามูเอล นุนทอง เพลงปลูกรักสรางฝน แดนดินถิ่นนี้ คือสตรีพังงา สวยเดนเห็นสงา งามล้ำคายิ่งกวานางหงส เชิงเขาลางบาศ ผุดผาดยอดยิ่งอนงค สรางฝนอันสูงสง ธำรงชื่อเสียงสตรี กี่ฝนกี่หนาว กี่คราวคืนวันผันผาน ความรักเรายังมั่น ผูกพันไวที่สตรี คำมั่นสัญญา วาจะสรางความดี สรางชีวิตนี้ ใหดีไดดั่งใจฝน ถึงแมลำบาก ยากเย็นเพียงไหน จะฝาฟนไว ดวยกำลังใจมุงมั่น อิทธิบาทสี่ ทางที่ไปดวยกัน ปลูกรักสรางฝน ผูกพันไวที่สตรี คำรอง นายเลิศธิไกร ภิรมย ทำนอง-เรียบเรียงเสียงประสาน นายอนันต สุดประเสริฐ


หนา | 8 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๕. ทำเนียบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสตรีพังงา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน


หนา | 9 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๖. ทำเนียบสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนสตรีพังงา สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 10 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๗. ทำเนียบผูบริหารโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 11 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๘. โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 12 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๙. ผูบริหาร ครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 13 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 14 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 15 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 16 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 17 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 18 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖


หนา | 19 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ สวนที่ ๒ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จากผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายในของโรงเรียนสตรีพังงา เพื่อสงเสริม พัฒนาจุดแข็ง และโอกาส แกไขปรับปรุงจุดออนและอุปสรรค ซึ่งจะสงผลใหการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โรงเรียนจึงไดกำหนดทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษาดังนี้ วิสัยทัศน มุงมั่นพัฒนาสูองคการที่มีสมรรถนะสูง ผูเรียนเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ สรางโอกาสทางการศึกษาอยางเทา เทียมและปลอดภัย ในวิถีแหงศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตการบริหารแบบมีสวนรวม พันธกิจ ๑. พัฒนาและสงเสริมผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม และนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. พัฒนาและสงเสริมผูเรียนใหมีความรูความสามารถตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล และ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ๔. พัฒนาและสงเสริมการใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น ๕. ปรับปรุงและพัฒนาอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนอยางมีคุณภาพและ ปลอดภัย ๖. พัฒนาและสงเสริมครูบุคลากร สูครูมืออาชีพ ๗. พัฒนาบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ดวยระบบคุณภาพและหลักการมีสวนรวม ๘. สงเสริมและสรางเครือขายโอกาสทางการศึกษา เปาประสงค ๑. ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความเปนอัตลักษณ เอกลักษณ นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ผูเรียนมีความรูความสามารถ มีสมรรถนะตามหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ สูความเปนเลิศดานวิชาการ ๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรทองถิ่น ๔. พัฒนาและสงเสริมการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญโดยใชสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น


หนา | 20 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๕. พัฒนาแหลงเรียนรู อาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคใหเพียงพอ และสิ่งแวดลอมในโรงเรียนใหสวยงาม ปลอดภัย เอื้อตอการเรียนรู ๖. สงเสริมครูและบุคลากรใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๗. สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ดวยระบบคุณภาพและหลักการมีสวนรวม โดยให โอกาสทางการศึกษาอยางเทาเทียม ๘. สถานศึกษามีเครือขายความรวมมือของสถาบันการศึกษา องคกร ชุมชนและสถานประกอบการอื่นๆ กลยุทธ ๑. พัฒนาการศึกษาตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูศตวรรษ ที่ ๒๑ ๒. พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและระบบเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๓. พัฒนาครูและบุคลากร ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๔. พัฒนาอาคารสถานที่ ระบบสาธารณูปโภคและสิ่งแวดลอม ๕. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ดวยระบบคุณภาพและหลักการมีสวนรวม ๖. สงเสริมการสรางเครือขายและประสานความรวมมือ การจัดการศึกษา อัตลักษณ : มารยาทงาม คุณธรรมเยี่ยม เปยมทักษะ เอกลักษณ: โรงเรียนคุณธรรมแสนสวยในหุบเขา คานิยมองคการ : S T P : SATREE PHANG-NGA S : Service Mind หมายถึง มุงบริการที่ดี มีจิตสาธารณะ T : Teamwork and Technology หมายถึง ทำงานเปนทีมและกาวทันเทคโนโลยี P : Professional หมายถึง มีความเปนมืออาชีพ


หนา | 21 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ สวนที่ ๓ ระเบียบโรงเรียนสตรีพังงา ๑. ระเบียบวาดวยการแตงกาย ความประพฤติ แนวปฏิบัติและการลงโทษนักเรียน เพื่อใหนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา มีความรับผิดชอบ มีความเปนระเบียบวินัยเรียบรอย และเพื่อสรางเสริมให นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เจริญเติบโตเปนบุตรที่ดีของบิดา มารดา เปนศิษยที่ดีของครูอาจารยเปนพลเมืองทีดีของ ประเทศชาติ พรอมทั้งสนับสนุนใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยระเบียบของราชการวาดวยการควบคุม ความประพฤตินักเรียน การสงเสริมและคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนการลงโทษนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา จึงวาง ระเบียบเพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักเรียน ดังตอไปนี้ หมวดที่ ๑ หมวดทั่วไป ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบวาดวยการแตงกาย ความประพฤติ แนวปฏิบัติและบทลงโทษ” ขอ ๒ ระเบียบนี้ใชบังคับ ตั้งแต๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิกระเบียบนักเรียนปพ.ศ. ๒๕๖๒ หรือคําสั่งอื่นใดที่กําหนดนอกเหนือในระเบียบนี้หรือ ซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ ๔ ในระเบียบนี้ โรงเรียน หมายความวา โรงเรียนสตรีพังงา นักเรียน หมายความวา นักเรียนโรงเรียนสตรี พังงา ครูหมายความวา ครูโรงเรียนสตรีพังงา ผูอํานวยการสถานศึกษา หมายความวาผูอำนวยการโรงเรียนสตรีพังงา ผูปกครอง หมายความวา บิดา มารดา หรือผูปกครองที่รับนักเรียนไวในปกครอง อุปการะเลี้ยงดูเปนผูที่นักเรียน อาศัยอยูเปนผูบรรลุนิติภาวะและไมอยูในสภาพที่เปนนักเรียนหรือนักศึกษา มีหนาที่ควบคุมดูแลความประพฤติของ นักเรียน การกระทําผิด หมายความวา การที่นักเรียนประพฤติปฏิบัติผิด ฝาฝนระเบียบนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา คําสั่งครูหรือระเบียบกระทรวงศึกษาธิการหรือกฎกระทรวงออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕


หนา | 22 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ หมวดที่ ๒ ผูปกครองนักเรียน ขอ ๕ ลักษณะผูปกครองของนักเรียน ๕.๑ ผูปกครองที่ ๑ หมายถึง บิดา มารดา ผูปกครองที่รับนักเรียนไวในปกครอง อุปการะเลี้ยงดู เปนผูบรรลุนิติ ภาวะและไมอยูในสภาพเปนนักเรียนหรือนักศึกษา มีหนาที่ควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียน ๕.๒ ผูปกครองที่ ๒ หมายถึง บุคคลที่นักเรียนอาศัยอยู เปนผูที่บรรลุนิติภาวะและไมเปนนักเรียนหรือนักศึกษา และรับผิดชอบควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียน ๕.๓ นักเรียนทุกคนตองมีผูปกครองที่ ๑ และในกรณีที่ผูปกครองที่ ๑ ไมสามารถควบคุมดูแลนักเรียนจะตอง มีผูปกครองที่ ๒ ๕.๔ ในวันมอบตัวของนักเรียน ใหผูปกครองที่ ๑ เปนผูมอบตัวตอตัวแทนผูอํานวยการโรงเรียน ถาผูปกครองที่ ๑ ไมสามารถดําเนินการดวยตนเอง ใหตกลงกับผูอํานวยการเปนเฉพาะกรณี ๕.๕ ผูปกครองตองใหความรวมมือกับทางโรงเรียนตามความเหมาะสมดวยการควบคุมดูแลความประพฤติและ การศึกษาของนักเรียน ขอ ๖ การติดตอสัมพันธระหวางผูปกครองกับโรงเรียน ๖.๑ ผูปกครองมีภารกิจขอพบนักเรียนหรือเยี่ยมนักเรียน ใหแจงความจํานงที่ครูหรือเจาหนาที่ ที่หองธุรการ อาคาร ๑ ครูหรือเจาหนาที่จะติดตอใหนักเรียนมาพบตามตองการ ๖.๒ ผูปกครองที่มีความจําเปนจะติดตอนักเรียนในความปกครอง ใหไปพบหรือปรึกษากับครูกลุมงานกิจการ นักเรียนของโรงเรียนสตรีพังงาที่หองกิจการนักเรียน ณ อาคาร ๑ หรือโทร ๐-๗๖๔๑-๒๐๕๐ ๖.๓ โรงเรียนจะเชิญผูปกครองมาโรงเรียน เมื่อนักเรียนมีปญหาเกี่ยวกับความประพฤติหรือเกี่ยวกับผลการ เรียนซึ่งผูปกครองตองสนใจและใหความรวมมือกับโรงเรียนเปนกรณีพิเศษ ๖.๔ ผูที่ไมไดเปนผูปกครองนักเรียน ไมมีสิทธิ์ขออนุญาตรับนักเรียนออกนอกโรงเรียน ยกเวนไดรับมอบหมาย จากผูปกครองนักเรียนเปนลายลักษณอักษร


หนา | 23 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ หมวดที่ ๓ การแตงกายของนักเรียน ขอ ๗ วาดวยเรื่องการแตงกายเครื่องแบบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (มัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๓) ๗.๑ เครื่องแบบนักเรียนชาย ๗.๑.๑ เสื้อเปนเสื้อเชิ้ตคอตั้งปกสีขาวเนื้อเรียบไมบางจนเกินไปผาอกตลอดและมีสาบที่อกเสื้อใชกระดุม แบบกลม เสนผาศูนยกลาง ๑เซนติเมตร แขนเสื้ออยูเหนือขอศอกเล็กนอย มีกระเปาติดที่หนาอกดานซายราวนม ๑ กระเปา หนาอกดานขวาปกอักษรยอ ส.พ.ง. ใตอักษร ส.พ.ง.ปกรหัสประจำตัวนักเรียน ดานซายปกชื่อ – สกุล ภาษาไทย ขนาดความสูง ๑ เซนติเมตรและใตชื่อภาษาไทยปกชื่อสกุล เปนภาษาอังกฤษเหนือชื่อ–สกุลปกจุดขนาด เสนผาศูนยกลาง ๐.๕ เซนติเมตรดวยดายสีน้ำเงิน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ปกจำนวน ๑ จุด ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ ๒ ปกจำนวน ๒ จุดและระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ปกจำนวน ๓ จุด ๗.๑.๒ กางเกงใชกางเกงขาสั้นสีกรมทามีความยาวเหนือเขาพนกึ่งกลางลูกสะบาไมเกิน๕เซนติเมตร เมื่อ ยืนตรงขากางเกงกวางหางจากขาประมาณ ๘-๑๒เซนติเมตร ปลายพับ เขาขางในประมาณ ๓เซนติเมตรผาหนาใช กระดุมหรือซิบมี กระเปาตรงตะเข็บขางขางละ๑กระเปาไมมีกระเปาหลังขอบมีหู ๗หูจีบดานหนาสวมทับชายเสื้อให เรียบรอย ๗.๑.๓ เข็มขัดใชเข็มขัด สีดำหัวสี่เหลี่ยม กวาง ๒-๓เซนติเมตรขึ้นไปตามสัดสวนของขนาดนักเรียนหัวเปน รูปสี่เหลี่ยมผืนผาชนิดกลัด มีปลอกหนังขนาดกวาง ๑.๕เซนติเมตรสำหรับสอดปลายเข็มกลัดใหคาดโดยสอดไวหูกางเกง ใหเรียบรอยหามมีลวดลาย ๗.๑.๔ รองเทาใชรองเทาหุมสนชนิดผูกผาสีดำ ไมมีลวดลาย ๗.๑.๕ ถุงเทา ใชถึงเทาสีขาวสั้นเหนือตาตุม พื้นสีขาว สีเทา หรือสีดำ เทานั้น ๗.๒ เครื่องแบบนักเรียนหญิง ๗..๒.๑ เสื้อใชผาขาวเกลี้ยงไมบางจนเกินไป เปนแบบคอพับในตัวสวมศีรษะไดสะดวกสบายเขาขางในมี ปกดานหลัง(แบบทหารเรือ) ใชผาสองชิ้นเย็บแบบเขาถ้ำแขนยาวเพียงเหนือ ศอกปลายแขนจีบเล็กนอย ประกอบดวย ผา๒ ชิ้น ความยาวของตัวเสื้อและความกวางของตัวเสื้อใหพอเหมาะตัวไมรัดเอวขอบดานลางดานหนาติดกระเปา ๑ ใบ ขนาดพองามเวลาสวมตองผูกหูกระตายสีกรมทา ชายเปนสามเหลี่ยมกวางประมาณ ๕-๘ เซนติเมตร หนาอกดานขวา ปกอักษรยอส.พ.ง. ใตอักษร ส.พ.ง. ปกรหัสประจำตัวนักเรียน ดานซายปกชื่อ–สกุลภาษาไทย ขนาดความสูง ๑ เซนติเมตร และใตชื่อภาษาไทยปกชื่อสกุลเปนภาษาอังกฤษเหนือชื่อ–สกุลปกจุดขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๕เซนติเมตร ดวยดายสีน้ำเงิน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ปกจำนวน ๑ จุด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ ปกจำนวน ๒ จุด และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ปกจำนวน ๓ จุด ๗.๒.๒ กระโปรงใชผาสีกรมทา เนื้อผาเรียบไมเปนมัน ไมมีลวดลายดานหนาดานหลังพับ เปนกลีบออก ดานนอกทั้งขางหนาขางหลังดานละ๓กลีบ ที่กลีบตีเกล็ดเปดลงมาจากขอบประมาณ ๖-๑๒ เซนติเมตร เวนความกวาง ระหวางกลีบพองาม ความยาวของกระโปรงเพียงคลุมเขา ต่ำจากหัวเขาไมเกิน ๕ เซนติเมตรไมเจาะกระเปาที่กลีบ ๗.๒.๓ รองเทาใชรองเทาหุมสนชนิดหัวมนสีดำไมมีลวดลาย มีสายรัดที่หลังเทาสนสูงไมเกิน ๓ เซนติเมตร ๗.๒.๔ ถุงเทาใชถุงเทาสีขาวไมมีลวดลาย พื้นถุงเทาสีขาว สีเทา หรือ สีดำ พับลงแตพองาม (เหนือตาตุม)


หนา | 24 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ขอ ๘ วาดวยเรื่องการแตงกายเครื่องแบบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ( มัธยมศึกษาปที่ ๔ – ๖ ) ๘.๑. เครื่องแบบนักเรียนชาย ๘.๑.๑ เสื้อเปนเสื้อเชิ้ตคอตั้งปกสีขาวเนื้อเรียบไมบางจนเกินไปผาอกตลอดและมีสาบที่อกเสื้อใชกระดุม แบบกลม เสนผาศูนยกลาง ๑ เซนติเมตร แขนเสื้ออยูเหนือขอศอกเล็กนอย มีกระเปาติดที่หนาอกดานซายราวนม ๑ กระเปา หนาอกดานขวาปกอักษรยอ ส.พ.ง. ใตอักษร ส.พ.ง. ปกรหัสประจำตัวนักเรียน ดานซายปกชื่อ –สกุล ภาษาไทย ขนาดความสูง 1 เซนติเมตร และใตชื่อภาษาไทย ปกชื่อสกุล เปนภาษาอังกฤษเหนือชื่อ –สกุลปกจุดขนาด เสนผาศูนยกลาง ๐.๕ เซนติเมตรดวยดายสีน้ำเงิน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ปกจำนวน ๑ จุด ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ ๕ ปกจำนวน ๒ จุด และระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ปกจำนวน ๓ จุด ๘.๑.๒ กางเกงใชกางเกงขาสั้นสีดำมีความยาวเหนือเขาพนกึ่งกลางลูกสะบาไมเกิน ๕ เซนติเมตร เมื่อยืน ตรงขากางเกงกวางหางจากขาประมาณ ๘-๑๒ เซนติเมตร ปลายพับ เขาขางในประมาณ ๓ เซนติเมตรผาหนาใชกระดุม หรือซิบมี กระเปาตรงตะเข็บขางขางละ ๑ กระเปาไมมีกระเปาหลังขอบมีหู๗หูจีบดานหนาสวมทับชายเสื้อใหเรียบรอย ๘.๑.๓ เข็ดขัดใชแบบเดียวกันกับ เข็มขัดของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ๘.๑.๔ รองเทา ใชรองเทาหุมสนชนิดผูกผาสีดำ ไมมีลวดลาย ๘.๑.๕ ถุงเทา ใชถึงเทาสีขาวสั้นเหนือตาตุม พื้นสีขาว สีเทา หรือสีดำ เทานั้น ๘.๒ เครื่องแบบนักเรียนหญิง ๘.๒.๑เสื้อใชผาธรรมดา หนาพอควรเนื้อเกลี้ยง สีขาวคอเชิ้ต ที่อกเสื้อทำ เปนสายตลบเขาขางในกวาง ๓ เซนติเมตร พับชายเสื้อไวบนขอบกระโปรงและมีเสื้อชั้นในชนิดคอกระเชาสวมทับ เสื้อชั้นในปกติ อีกชั้นหนึ่ง หนาอก ดานขวาปกอักษรยอ ส.พ.ง. ใตอักษร ส.พ.ง. ปกรหัสประจำตัวนักเรียน ดานซายปกชื่อ –สกุลภาษาไทย ขนาดความ สูง ๑ เซนติเมตร และใตชื่อภาษาไทย ปกชื่อสกุล เปนภาษาอังกฤษเหนือชื่อ –สกุลปกจุดขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๕ เซนติเมตรดวยดายสีน้ำเงิน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ปกจำนวน ๑ จุด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ ปก จำนวน ๒ จุด และระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ปกจำนวน ๓ จุด ๘.๒.๒ กระโปรง ใชผาสีกรมทา เนื้อหนา เรียบไมเปนมัน ไมมีลวดลายดานหนาดานหลังพับเปนกลีบออก ดานนอกทั้งดานหลังดานละ๓กลีบ ที่กลีบตีเกล็ดเปดลงมาจากขอบประมาณ ๖ เซนติเมตรเวนความกวางระหวางกลีบ พองาม ความยาวของกระโปรงเพียงคลุมเขา หางจากหัวเขาไมเกิน ๕ เซนติเมตรไมเจาะกระเปา ๘.๒.๓ เข็มขัด ใชเข็มขัด สีดำกวางตั้งแต๓เซนติเมตร ขึ้นไป ตามสวนของขนาดนักเรียน หัวแบบรูป สี่เหลี่ยมผืนผา ชนิดหัวรมดำ ใชหนังสีดำหุม ปลอกหนังกวาง ๑.๕ เซนติเมตร สำหรับสอดปลายเข็มขัดใชคาดทับ กระโปรงระดับขอบบนพอดี ๘.๒.๔ รองเทาใชรองเทาหุมสนชนิดหัวมนสีดำไมมีลวดลาย มีสายรัดที่หลังเทาสนสูงไมเกิน ๓เซนติเมตร ๘.๒.๕ ถุงเทาใชถุงเทาสีขาวไมมีลวดลาย พื้นถุงเทาสีขาวหรือ สีดำ พับลงแตพองาม (เหนือตาตุม) ขอ ๙ เครื่องแตงกายนักเรียนชุดพลานามัย (ชุดพลศึกษา) ทุกระดับชั้น ๙.๑ เสื้อใชเสื้อตามที่โรงเรียนจัดทำขึ้น หนาอกขวาปกชื่อ-สกุลขนาดความสูง ๑ เซนติเมตร ๙.๒ กางเกงใชกางเกงวอรมสีดำ มีตะเข็บขางสีเขียวปลายกางเกงปลอยตามแบบโรงเรียน ไมทำปลายขาใหเล็ก เมื่อสวมกางเกงและยืนกางเกงยาวปดตาตุม


หนา | 25 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๙.๓ รองเทาและถุงเทานักเรียนหญิงใหใชรองเทาผาใบสีขาวไมมีลวดลาย (ไมใชรองเทาแฟชั่น) ใชประกอบกับ ถุงเทาสีขาวไมมีลวดลาย ถุงเทาพับลงแตพองามและรองเทานักเรียนชายใชรองเทาผาใบสีดำ ใชประกอบกับถุงเทาสี ขาวไมมีลวดลาย ขอ ๑๐ เครื่องแตงกายในโอกาสอื่นๆ ๑๐.๑ เครื่องแตงกายลูกเสือ-บำเพ็ญประโยชน ใหเปนไปตามระเบียบวา ดวยการแตงกายของลูกเสือบำเพ็ญ ประโยชน อยางเครงครัด ๑๐.๒ เครื่องแตงกายนักศึกษาวิชาทหารใหเปนไปตามระเบียบการแตงกายนักศึกษาวิชาทหารอยางเครงครัด ๑๐.๓ เครื่องแตงกายกิจกรรมสาธารณประโยชน เสื้อใชเสื้อตามที่โรงเรียนจัดทำขึ้น นักเรียนชายสวมกับ กางเกงนักเรียน และนักเรียนหญิงสวมกับกระโปรงนักเรียนรองเทาถุงเทานักเรียนหญิงใหใชรองเทาหุมสนชนิดหัวมนสี ดำไมมีลวดลาย มีสายรัดที่หลังเทาสนสูงไมเกิน ๓ เซนติเมตร ใชประกอบกับถุงเทาสีขาวไมมีลวดลาย ถุงเทาพับลงแต พองามและรองเทานักเรียนชายใชรองเทาผาใบสีดำ ใชประกอบกับถุงเทาสีขาวไมมีลวดลาย ๑๐.๔ เครื่องแตงกายนักเรียนที่มาติดตอกับโรงเรียน ทุกกรณีไมวา จะปดภาคเรียนหรือเปดภาคเรียนให นักเรียนแตงเครื่องแบบนักเรียนเทานั้น ขอ ๑๑ การใชกระเปาและของใชจําเปนอื่นๆเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยในการใชกระเปาและของใช จําเปนอื่น ๆ จึงมีหลักเกณฑดังนี้ ๑๑.๑ กระเปาใหใชกระเปาเปสีดำ มีตราโรงเรียน เทานั้น ๑๑.๒ นาิกาขอมือ อนุญาตใหใชเพื่อประโยชนในการดูเวลา รูปแบบสุภาพ สายโลหะหรือสายหนังสีดําหรือ สีน้ำตาล ขนาดและราคาพอเหมาะกับวัยเรียน ๑๑.๓ แวนตา อนุญาตใหใชเฉพาะแวนสายตา สําหรับนักเรียนที่มีปญหาเรื่องสายตาเทานั้น ไมอนุญาตใหใช แวนกันแดดสีชาหรือสีดําหรือคอนแท็คเลนสยกเวนที่มีปญหาเรืองแสงกับสายตา ตองขออนุญาตกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนโดยมีใบรับรองแพทยประกอบ ๑๑.๔ กิ๊บผม อนุญาตใหใชเฉพาะนักเรียนหญิง ตองเปนกิ๊บสีดํา ไมมีลวดลาย ๑๑.๕ ไมอนุญาตใหใชเครื่องสําอางทุกชนิด เวนแตเปนกิจกรรมที่โรงเรียนอนุญาต ๑๑.๖ หามทําศัลยกรรมตกแตงรางกายทุกชนิด เวนแตไดรับอุบัติเหตุหรือมีความจําเปนดานสุขภาพ หมวดที่ ๔ ทรงผมนักเรียน ขอ ๑๒ ทรงผมนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา ดวยกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการไวทรงผมของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการดำเนินการของสถานศึกษาใหมี ความเหมาะสมกับสภาวะการณปจจุบันและการปฏิบัติตนของนักเรียนเปนไปดวยความถูกตอง รวมทั้งเปนการคุมครอง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ทางโรงเรียนสตรีพังงาจึงประกาศแนวทางในการปฏิบัติของนักเรียนดังนี้


หนา | 26 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ขอที่ ๑ นักเรียนตองปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไวทรงผม โดยสามารถไวทรงผมตามเพศวิถี ดังนี้ (๑) นักเรียนชายและเพศวิถีชาย ใหไวผมรองทรงสูง เปนไปตามความเหมาะสมและมีความเรียบรอย (๒) นักเรียนหญิงและเพศวิถีหญิง จะไวผมสั้นหรือผมยาวก็ได กรณีผมสั้นยาวไมเกินคอปกเสื้อ กรณีไวผมยาว ยาวไมเกินกลางหลังและรวบผมหรือถักเปย ติดโบโรงเรียนสตรีพังงาใหเรียบรอย ขอ ๒ นักเรียนตองหามปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไวทรงผมดังนี้ (๑) ยอมสีผมใหผิดไปจากเดิม (๒) ไวหนวดหรือไวเครา (๓) การกระทำอื่นใดซึ่งไมเหมาะกับการเปนสภาพนักเรียน เชน การตัดแตงทรงผมเปนรูปทรงสัญลักษณหรือ เปนลวดลาย ขอ ๓ ความในขอ ๑ และขอ ๒ มิใหนำมาใชบังคับแกนักเรียนที่มีเหตุผลความจำเปนในการปฏิบัติตามหลัก ศาสนาของตนหรือการดำเนินกิจกรรมของสถานศึกษา การดำเนินการตามแนวปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหยึดถือหลักความเหมาะสมในการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีของ นักเรียน และเปนไปดวยความสมัครใจของนักเรียน โดยครูจะตองเปนผูสนับสนุน สงเสริม กำกับ ดูแล ใหนักเรียน สามารถเลือกทรงผมใหเขากับบุคลิกภาพ และความมั่นใจของตนเองรวมทั้งการรักษาสุขอนามัยที่ดีใหเหมาะสมกับ ความเปนนักเรียนและจะตองไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ขอ ๔ ใหคณะกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งกำกับ ดูแล ใหเปนไปตามระเบียบนี้ และใหมีอำนาจพิจารณา อนุญาต ตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ หมวดที่ ๕ ขอปฏิบัติของการเปนนักเรียน ขอ ๑๓ การแตงกายมาโรงเรียน ๑๓.๑ เมื่ออยูในเครื่องแบบนักเรียน นักเรียนตองแตงกายใหเรียบรอยใหถูกตองตามระเบียบไมวาภายในหรือ ภายนอกโรงเรียน ๑๓.๒ เมื่อนักเรียนมาติดตอกับโรงเรียนทุกครั้ง ตองแตงกายเครื่องแบบนักเรียนใหเรียบรอย ๑๓.๓ ไมอนุญาตใหนักเรียนนําเครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนอื่นแตงกายมาโรงเรียน ขอ ๑๔ การมาโรงเรียน ขอตกลง - นักเรียนที่มาสาย หมายถึง นักเรียนที่ไมไดเขาแถวในตอนเชา - การมาโรงเรียนสาย หมายถึง การมาโรงเรียนสายตั้งแตหลังเคารพธงชาติ - การมาสายบอยครั้ง หมายถึง การมาสายในแตละสัปดาหเกิน ๒ วัน


หนา | 27 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ แนวปฏิบัติ ๑๔.๑ นักเรียนที่มาโรงเรียนสายจะถูกบันทึกชื่อ –สกุลลงในสมุดบันทึกการมาสายเปนรายวันโดยครูเวรหนา ประตู ๑๔.๒ นักเรียนที่มาสายจะตองทํากิจกรรมในตอนเชาเชนเดียวกับนักเรียนที่มาทันเวลาโดยการรองเพลงชาติ สวดมนตและกลาวอัตลักษณ/เอกลักษณของโรงเรียน ๑๔.๓ นักเรียนที่มาสายบอยครั้ง กลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนจะทําหนังสือเชิญผูปกครองมาพบ เพื่อหาแนวทางแกไขปญหารวมกัน ๑๔.๔ การกํากับดูแลนักเรียนที่มาโรงเรียนสายบริเวณประตูหนาจะมีครูเวรยืน ๐๗.๐๐ น. จนถึงเวลา ๐๘.๐๐ น. ทุกวัน ๑๔.๕ นักเรียนที่มาสายตั้งแตหลังเคารพธงชาติขึ้นไปครูเวรประจําวันจะเปนผูควบคุมดูแลการทํากิจกรรม บําเพ็ญประโยชน ๑๔.๖ ครูที่ปรึกษาจะตรวจสอบรายชื่อการเขารวมกิจกรรมหนาเสาธงและรวบรวมสงกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนทุกเดือน ๑๔.๗ นักเรียนที่มาโรงเรียนแตไมลงเขาแถว โดยไมมีเหตุผลสมควรถือวาเจตนากระทําผิด วินัยของโรงเรียน และถือวาเปนการมาโรงเรียนสาย ๑๔.๘ ในกรณีการมาสายตั้งแต ๑๐ ครั้งขึ้นไป/ภาคเรียน โรงเรียนจะกําหนดใหมีการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง ประสงคตามที่โรงเรียนกําหนด ๑๔.๙ นักเรียนที่มาโรงเรียนสาย ดวยเหตุสุดวิสัยหรือความจําเปนใหผูปกครองแจงเปนหนังสือขออนุญาตหรือ โทรศัพทถึงครูที่ปรึกษาเปนรายกรณีไป ขอกําหนดในการมาสาย - มาสาย ๑ - ๕ ครั้ง ครูที่ปรึกษาวากลาวตักเตือน - มาสาย ๖ ครั้ง กลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนวากลาวตักเตือน เชิญผูปกครองมาพบ เพื่อหา แนวทางแกไขปญหารวมกัน พรอมทำทัณฑบนครั้งที่ ๑ - มาสาย ๗ – ๙ ครั้ง ทํากิจกรรมบําเพ็ญประโยชนพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค - มาสายตั้งแต ๑๒ ครั้งขึ้นไป กลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนเชิญผูปกครองมาพบ เพื่อรวม แกปญหา พรอมทำทัณฑบนครั้งที่ ๒ และเขาคายคุณลักษณะอันพึงประสงค ขอ ๑๕ การปฏิบัติตนในโรงเรียน ๑๕.๑ เมื่ออยูในโรงเรียน นักเรียนตองรักษาความสงบ ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น และถาเปนคาบวางตองใช เวลาวางใหเปนประโยชนอยางเต็มที่ ๑๕.๒ นักเรียนที่นํารถจักรยานยนตมาโรงเรียน ใหจอดรถในบริเวณที่กําหนดใหเทานั้น ๑๕.๓ ไมอนุญาตใหนักเรียนออกนอกโรงเรียนกับผูปกครองโดยไมไดรับอนุญาตจากโรงเรียน ๑๕.๔ นักเรียนมีหนาที่ดูแลสาธารณะสมบัติ ดวยการใชภาชนะหรือของใชทุกอยางภายในโรงเรียนอยาง ระมัดระวัง อาทิ หลอดไฟ ปลั๊ก สวิตชไฟ กอกน้ำ เปนตน ถาเกิดการเสียหายหรือสูญหาย นักเรียนตองชดใชคาเสียหาย


หนา | 28 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๑๕.๕ นักเรียนตองชวยกันรักษาความสะอาดบริเวณที่รับผิดชอบภายในโรงเรียนโดยชวยทำความสะอาด หองเรียนที่รับผิดชอบและเก็บขยะในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบทุกวัน ๑๕.๖ เมื่อเลิกเรียน ใหนักเรียนแตงกายใหเปนระเบียบเรียบรอยและนักเรียนทุกคนตองกลับบาน กอนเวลา ๑๗.๐๐ น. ยกเวนผูที่ไดรับอนุญาตจากโรงเรียน ขอ ๑๖ พิธีการปฏิบัติกิจกรรมหนาเสาธง นักเรียนทุกคนตองตระหนักวา พิธีการหนาเสาธงเปนพิธีการอันศักดิ์สิทธิ์ แสดงถึงความภูมิใจในความเปนไทย และแสดงถึงเอกลักษณการเปนนักเรียนโรงเรียนสตรีพังงา ดังนั้นกอนการเรียนการสอนทุกวันใหนักเรียนเขาแถวตาม สถานที่ที่โรงเรียนกําหนด เพื่อรวมพิธีการหนาเสาธงเวลา ๐๗.๕๐ น. โดยใชสัญญาณเพลงที่ ๑ สดุดีจอมราชา ๑ เที่ยว เพลงที่ ๒ พังงาผาสุกและเพลงที่ ๓ มารชโรงเรียนสตรีพังงา ๑ เที่ยวจบใหนักเรียนทุกคน เขาแถวพรอมกันหนาเสาธง ๑๖.๑ พิธีเชิญธงสูยอดเสา ใหนักเรียนยืนตรง รวมรองเพลงชาติดวยความภาคภูมิใจสวดมนตและกิจกรรมอื่น ๆ พบครูที่ปรึกษาในกิจกรรมโฮมรูม เวลา ๐๘.๑๐ น. เดินแถวเขาหองเรียน เริ่มเรียนคาบแรก ๑๖.๒ ตัวแทนนักเรียนจำนวน ๕ คน ออกมายืนประจำที่หนาเสาธง ตัวแทนขึ้นรองนำ เพลงชาติและสวดมนต จำนวน ๑ คน เตรียมชักธงชาติไทยขึ้นสูยอดเสา ๑๖.๓ สภานักเรียนที่ไดรับมอบหมายหนาเสาธงสั่งจัดแถวใหเปนระเบียบ นักเรียนปฏิบัติตามโดยการจัดแถวให ตรง พรอมทั้งจัดระยะหางระหวางแถวและระยะหางระหวางนักเรียนประมาณหนึ่งชวงแขน และยืนนิ่งดวยอาการ สำรวม สภานักเรียนสั่ง“ธงขึ้น ตรง” ตัวแทนนักเรียนรองเพลงชาติผูที่ทำหนาที่เชิญธงชาติ ชักธงชาติขึ้น ชะลอให ระยะหางจากยอดเสาประมาณ ๑๕ เซนติเมตรและกระตุกเชือกใหธงขึ้นสูยอดเสา พรอมกับการรองเพลงชาติไทยจน จบแลวผูกเชือกตรึงไวที่โคนเสาธงชาติ ผูกธงชาติทำความเคารพแลวเดินออกมาพรอมกัน มาหยุดยืนคูกัน ณ จุดที่ กำหนดใหยืน บนลานหนาเสาธง ๑๖.๔ ตัวแทนนักเรียนนำสวดมนตไหวพระโดยใชบทสวดมนตแปลเมื่อสวดมนตไหวพระเสร็จตัวแทนนักเรียน นำกลาวแผเมตตาและกลาวคำปฏิญาณตน ขอ ๑๗ เมื่อมีความจำเปนตองออกนอกหองเรียนขณะมีการเรียนการสอน นักเรียนตองขออนุญาตจาก ครูผูสอน และแจงเหตุจำเปนที่ตองขออนุญาตออกนอกหองเรียน เมื่อเสร็จธุระตองรีบกลับเขาหองเรียนอยางรวดเร็ว ขอ ๑๘ ขณะอยูในหองเรียนตองไมสงเสียงดังหยอกลอกันหรือแสดงพฤติกรรมอื่นใดที่กอใหเกิดความ เดือดรอน รําคาญและขาดความเปนระเบียบเรียบรอยในหองเรียน ขอ ๑๙ ชั่วโมงใดที่ครูประจำวิชาติดภารกิจไมสามารถทำการสอนไดใหหัวหนานักเรียนทำหนาที่ควบคุมกำกับ ดูแลเพื่อนนักเรียนในชั้นเรียนใหอยูในความเปนระเบียบเรียบรอย หรือใหนำหนังสือเรียนมาอานทบทวนหรือทำงานที่ คางอยูใหแลวเสร็จ ขอ ๒๐ ในกรณีที่ตองใชเครื่องมืออุปกรณการเรียนสวนตัวตองจัดเตรียมมาใหพรอมลวงหนาหามนักเรียนใช เปนขออางขอกลับไปเอาอุปกรณการเรียนเมื่อมาถึงโรงเรียนแลว ขอ ๒๑ ในชวงเปลี่ยนชั่วโมงเรียนแตละรายวิชากรณีตองเปลี่ยนหองเรียน นักเรียนตองปฏิบัติอยางไมชักชา เพื่อใหทันเวลาชั่วโมงเรียนตอไป


หนา | 29 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ขอ ๒๒ การใชและบำรุงรักษาทรัพยสินของโรงเรียน ๒๒.๑ นักเรียนทุกคนตองชวยกันดูแลรักษาอาคารสถานที่หากพบเห็นความชำรุดบกพรองอันอาจจะเกิดความ เสียหาย ตองรีบแจงผูบริหารโรงเรียน และครูนักการภารโรง ตลอดจนยามรักษาการเพื่อปองกันแกไขโดยดวน ๒๒.๒ หาม ขีด เขียน หรือกระทำการใดๆ อันจะเกิดความเสียหายความสกปรกตออาคารสถานที่ ๒๒.๓ นักเรียนตองใชเครี่องมือ อุปกรณ สื่อการเรียนทุกชนิดอยางระมัดระวัง เพื่อไมใหเกิดความชำรุดและ เสียหายการกระทำใดๆ ของนักเรียนไมวา จะเพราะเหตุจงใจหรือประมาทเลินเลอ ตอทรัพยสมบัติของโรงเรียนอันเปน ทรัพยสินของทางราชการใหไดรับความเสียหาย ตองรับผิดชอบ ชดใชหรือซอมแซมใหอยูในสภาพเดิมเวนแตเปนความ เสียหายที่เกิดจากการเสื่อมสภาพอันเปนธรรมดาของตัวทรัพยนั้นเพราะเกิดจากการใชงานมาเปนเวลานาน ๒๒.๔ การใชหองน้ำ หองสวม นักเรียนตองชวยกันรักษาความสะอาดและไมทิ้งเศษสิ่งของลงในโถสวม ซึ่งอาจ เกิดการอุดตัน ทางเดินน้ำ ๒๒.๕ นักเรียนตองชวยกันรักษาความสะอาดของหองเรียน ระเบียบหนาหองเรียน หรือบริเวณอาคารสถานที่ อื่นๆ โดยไมทิ้งเศษขยะ สิ่งของ หรือวัตถุอื่นใดอันกอใหเกิดความสกปรกโดยการนำขยะเศษวัตถุสิ่งของทิ้งในภาชนะ รองรับขยะที่จัดไวหรือเก็บรวบรวมสิ่งของประเภทที่สามารถเขาสูกระบวนการใหเกิดความสูญเปลาของการใช ทรัพยากร ขอ ๒๓ การใชบริการอาคารสถานที่ ๒๓.๑ การใชหองประชุม หองเรียนรวมและหองเรียนรวมและหองปฏิบัติการตางๆ ตลอดจนการใชวัสดุ อุปกรณตองขออนุญาตเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ โดยมีบันทึกเปนลายลักษณอักษรเวนแตการใชงานปกติเปนการประจำ หรือหามนักเรียนใชเครื่องมืออุปกรณโดยพลการหรือไมไดรบอนุญาตโดยเด็ดขาด ๒๓.๒ การใชบริการหองสมุด ตองปฏิบัติตาม ระเบียบการใชหองสมุดโดยเครงครัด ๒๓.๓ การใชหองสหกรณในการซื้อสิ่งของตองซื้อตามเวลาที่เปดทำการเทานั้น ๒๓.๔ การใชโรงอาหาร ตองปฏิบัติตามระเบียบการใชอยางเครงครัด ๒๓.๕ นักเรียนตองชวยกันประหยัดน้ำ ไฟฟา และอุปกรณไฟฟาทุกชนิดโดยใหคํานึงถึงความปลอดภัย ๒๓.๖ นักเรียนใชอาคารสถานที่ใหเหมาะสมและถูกตอง การเลนกีฬาทุกประเภทใหใชบริเวณสนามหรือ บริเวณที่โรงเรียนกําหนด ขอ ๒๔ การรับประทานอาหาร ๒๔.๑ หามนักเรียนซื้ออาหาร น้ำดื่มในเวลาเรียน ใหซื้อตามกำหนดเวลา ซึ่งกำหนดไวชวงเชา ตั้งแตเวลา ๐๗.๐๐ - ๐๗.๕๐ น. ชวงเที่ยงตามตารางกำหนดใหแตละระดับพักรับประทานอาหาร และชวงบายตั้งแตเวลา ๑๔.๐๐ น. เปนตนไป และเขาแถวซื้ออาหาร น้ำดื่ม จากรานจำหนายตามลำดับกอนหลัง ๒๔.๒ กรณีนักเรียนนำอาหารมารับประทานเอง ตองนำไปรับประทานที่โรงอาหาร หรือสถานที่โรงเรียน กำหนด หามนำขึ้นไปรับประทานบนหองเรียน หรืออาคารเรียน ๒๔.๓ เมื่อรับประทานเสร็จตองเก็บจาน แกว เศษอาหาร หรือภาชนะหออาหาร ใหนำไปทิ้งลงในถังขยะ หรือ ภาชนะรองรับขยะที่จัดไว ๒๔.๔ ไมอนุญาตใหนักเรียนนำอาหาร ขนม น้ำ เครื่องดื่มตาง ๆ ออกมารับประทานนอกบริเวณโรงอาหาร โดยเด็ดขาด


หนา | 30 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ขอ ๒๕ การขออนุญาตออกนอกโรงเรียน ๒๕.๑ นักเรียนกรอกแบบฟอรมขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน โดยรับแบบฟอรมที่หองกิจการนักเรียน ๒๕.๒ เมื่อกรอกแบบฟอรมแลวใหนําไปขออนุญาตครูที่ปรึกษา/ครูประจําวิชา (นักเรียนโทรศัพทติดตอ ผูปกครองเรียบรอยแลว) ครูเวรประจําวันและรองผูอำนวยการฝายบริหารทั่วไปงานกิจการนักเรียน ๒๕.๓ ใหผูปกครองนักเรียนมารับนักเรียนที่หองกิจการนักเรียน ๒๕.๔ เมื่อนักเรียนกลับถึงโรงเรียนแลวใหนักเรียนเปลี่ยนคืนบัตรนักเรียนที่หองกิจการนักเรียน ๒๕.๕ ไมอนุญาตใหผูปกครองนักเรียนรับนักเรียนอกนอกโรงเรียนโดยไมไดรับอนุาต ขอ ๒๖ การลาหยุดการเรียน ๒๖.๑ นักเรียนตองสงใบลาทุกครั้ง ในกรณีที่นักเรียนไมมาโรงเรียนหรือไมเขาหองเรียนโดยมีผูปกครองเซ็น รับทราบ ๒๖.๒ การลากิจ ผูปกครองควรใหนักเรียนสงใบลาลวงหนา ๑วันหรือสงวันที่ลา ถาไมไดจริงๆใหสงในวันที่มา เรียน ใบลาตองมีลายเซ็นผูปกครองคนเดียวกับที่ใหในวันมอบตัว ๒๖.๓ การลาปวย ใหสงใบลาในวันที่ลา ถาสงไมไดอนุญาตใหสงในวันแรกที่กลับมาเรียน แตขอใหแจงครู ที่ปรึกษาทราบกอน เพื่อโรงเรียนจะไดไมเปนกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียน ถาลาปวยเกิน ๓ วัน ใหนําใบรับรอง แพทยมาแจงใหครูที่ปรึกษาทราบดวย ขอ ๒๗ การขาดเรียน ๒๗.๑ หากนักเรียนมีความจําเปนตองขาดเรียน ใหแจงเหตุผลกับทางโรงเรียนทราบโดยดวน ๒๗.๒ โรงเรียนจะทําหนังสือแจงใหผูปกครองทราบ ในกรณีขาดเรียนบอยครั้ง ๒๗.๓ นักเรียนทีขาดเรียนติดตอกัน ๓ วัน ครูที่ปรึกษาจะติดตอหรือทําหนังสือแจงผูปกครองทราบหากขาด เรียนเปนเวลา ๕ วันทําการ โดยไมทราบสาเหตุโรงเรียนจะเชิญผูปกครองมาพบ ๒๗.๔ นักเรียนทีขาดเรียนติดตอกันเปนเวลานาน โดยไมทราบสาเหตุ โรงเรียนจะเชิญผูปกครองมาเขียนใบลา ออกเพื่อหาที่เรียนใหม ขอ ๒๘ การหนีเรียน ๒๘.๑ นักเรียนที่หนีเรียน หมายถึง นักเรียนที่มาโรงเรียนแตไมเขาเรียน ๒๘.๒ นักเรียนที่หนีเรียน ครูประจําวิชาบันทึกลงในแบบบันทึกการเขาสอนและสํารวจการเขาเรียนของ นักเรียนหากพบวาหนีเรียน ใหสงชื่อนักเรียนใหครูที่ปรึกษาทราบและใหครูที่ปรึกษาแจงผูปกครอง ขอ ๒๙ การมาโรงเรียนในวันหยุดหรือนอกเวลาเรียนปกตินักเรียนที่ไดรับการนัดหมายใหมาโรงเรียนใน วันหยุดหรือนอกเวลาเรียนปกติ เชน การเรียนการซอมกีฬาหรือการทํากิจกรรมอื่นใดที่เกี่ยวของกับโรงเรียน ใหปฏิบัติ ดังนี้ ๒๙.๑ ครูผูรับผิดชอบตองเสนอขออนุญาตจากผูอํานวยการโรงเรียนและดูแลควบคุมนักเรียนตลอดเวลา ๒๙.๒ นักเรียนตองนําหนังสือขออนุญาตจากโรงเรียนใหผูปกครองลงชื่อเพื่ออนุญาตและนําหนังสือขออนุญาต มาใหครูผูรับผิดชอบ ๒๙.๓ นักเรียนตองแตงกายเครื่องแบบนักเรียนหรือเครื่องแบบกิจกรรมหรือชุดสุภาพเรียบรอย


หนา | 31 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๒๙.๔ นักเรียนตองประพฤติปฏิบัติตนใหอยูในระเบียบวินัยของโรงเรียนเหมือนเชน วันเรียนปกติ ๒๙.๕ นักเรียนตองกลับถึงบานตามเวลาที่ครูผูรับผิดชอบกําหนด ขอ ๓๐ การแสดงความเคารพและมารยาท ๓๐.๑ นักเรียนตองเดินแถวเขามาโรงเรียนในตอนเชาตองไหวครูที่ปฏิบัติหนาที่เวรหนาประตูโรงเรียน ๓๐.๒ ขณะอยูในโรงเรียน หากสวนทางกับครูตองยืนทําความเคารพหรือไหว ๓๐.๓ เมื่อครูเขาหองสอนหรือสอนเสร็จแลวใหนักเรียนทําความเคารพ ๓๐.๔ การเดินในโรงเรียน หากนักเรียนตองเดินไปพรอมกับครูไมควรเดินนําหนาครู ๓๐.๕ ขณะนักเรียนยืนพูดกับครู นักเรียนตองยืนตรง ๓๐.๖ ลูกเสือ บำเพ็ญประโยชน ที่อยูในเครื่องแบบ ใหทําความเคารพตามเครื่องแบบ ๓๐.๗ เมื่อนักเรียนเดินสวนทางกับครูที่บันได ควรหยุดใหครูเดินผานขึ้นหรือลงกอน ๓๐.๘ เมื่อนักเรียนมาหาครูที่โตะทํางานหรือนั่งอยูบนพื้นใหคุกเขา ไมควรยืน ขอ ๓๑ การมาพบนักเรียน ๓๑.๑ ผูปกครองหรือญาติหรือเพื่อนหรือบุคคลอื่นที่ขอพบนักเรียน ใหขออนุญาตขอพบนักเรียนที่กลุม บริหารกิจการนักเรียน โรงเรียนไมอนุญาตใหผูปกครอง หรือญาติหรือเพื่อนหรือบุคคลอื่นใดพบนักเรียนโดยลําพังหรือ พบตามหองเรียน เวนแตไดรับ พิจารณาอนุญาต ๓๑.๒ โรงเรียนไมอนุญาตใหนําเพื่อนตางโรงเรียนหรือบุคคลภายนอกเขามาในโรงเรียนหรือเขารวมกิจกรรม ของโรงเรียน ยกเวนไดขออนุญาตและไดรับพิจารณาอนุาต ขอ ๓๒ การทําทะเบียนประวัตินักเรียน ๓๒.๑ นักเรียนทุกคนตองกรอกขอมูลที่เปนจริงและเปนปจจุบันในทะเบียนประวัติตามที่กําหนด ๓๒.๒ หากมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลใด ๆ ในระหวางปการศึกษา นักเรียนตองแจงเปลี่ยนแปลงขอมูลดัง กลาวใหถูกตองตามความจริงตอครูที่ปรึกษาภายใน ๗ วัน ๓๒.๓ ทะเบียนประวัติของนักเรียนทุกคนจะใชตอกันไปตลอด ๓ปการศึกษา ขอ ๓๓ การทําบัตรประจําตัวนักเรียนดวยกระทรวงศึกษาธิการไดใหโรงเรียนในสังกัดถือปฏิบัติเรื่อง มาตรการปองกันและแกไขพฤติกรรมอันไมพึงประสงคของนักเรียน โดยใหโรงเรียนกําหนดใหนักเรียนทุกคนมีบัตร ประจําตัวนักเรียนและใหพกติดตัวตลอดเวลา เพื่อประโยชนตอนักเรียนเองและสะดวกในการตรวจความประพฤติของ นักเรียน โรงเรียนจึงกําหนดแนวปฏิบัติ ดังนี้ ๓๓.๑ นักเรียนทุกคนตองทําบัตรประจําตัวตามที่โรงเรียนกําหนด เมื่อไดรับบัตรประจําตัวนักเรียนตองพกบัตร ตลอดเวลา เพื่อความพรอมในการเขาเรียน การสอบและการทํากิจกรรมตางๆภายในโรงเรียน หากชํารุดหรือ สูญหาย ใหรีบแจงกลุมบริหารกิจการนักเรียน เพื่อขอทําบัตรใหม ขอ ๓๔ การขอใบรับรองความประพฤติการขอใบรับรองความประพฤติตองกรอกแบบฟอรม ขอใบรับรอง ความประพฤติที่กลุมบริหารกิจการนักเรียนโดยกรอกขอความตามแบบฟอรมตามที่กําหนดและยื่นลวงหนากอนวัน ขอรับประมาณ ๓วันทําการ


หนา | 32 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ขอ ๓๕ การใชเครื่องมือสื่อสารภายในโรงเรียน อนุญาตใหนักเรียนนำอุปกรณสื่อสาร (โทรศัพทสมารทโฟนมา โรงเรียนได) แตไมอนุญาตใหนักเรียนใชขณะเขาหองเรียนตามปกติ ยกเวนครูผูสอนใชในกิจกรรมการเรียนการสอน หมวดที่ ๖ การลงโทษนักเรียน การลงโทษ หมายถึง การลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิดหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับของโรงเรียนหรือระเบียบ ของกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘หรือฝาฝนกฎกระทรวงศึกษาธิการออก ตามความในประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยมีความมุงหมายเพื่อสั่งสอนให นักเรียนมีความประพฤติดีหรือเพื่อใหเข็ดหลาบการลงโทษนักเรียน ใหอยูในดุลพินิจของผูอํานวยการหรือหัวหนาฝาย บริหารบริหารงานกิจการนักเรียนหรือครูที่ไดรับมอบหมาย โดยดําเนินการตามความเหมาะสม ดังนี้ ๑. การวากลาวตักเตือนและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐาน ๒. การทําทัณฑบนและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐานและเชิญผูปกครองมารับทราบความผิดและ รับรองการทําทัณฑบน ๓. การตัดคะแนนความประพฤติและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐานและเชิญผูปกครองมารับทราบ ความผิดเพื่อรวมปรึกษาหารือและแกไขปญหา ๔. การทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐานและเชิญ ผูปกครองมารับทราบความผิด ๕. การยายสถานที่เรียน หรือการศึกษาดวยตนเองและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐานและเชิญ ผูปกครองมาบันทึกรับทราบเหตุผลเปนลายลักษณอักษร ขอ ๓๕ ระเบียบวา ดวยการลงโทษการวากลาวตักเตือน และบันทึกไวในทะเบียนประวัติ สําหรับนักเรียนที่กระทําความผิดขั้นเบา ใหเปนอํานาจของครูที่ปรึกษาเปนผูพิจารณาลงโทษ ตัดคะแนนความ ประพฤติ ครูที่ไมใชครูที่ปรึกษาพบเห็นการกระทําผิดของนักเรียนใหนําตัวนักเรียนสงหรือบันทึกหรือแจงครูที่ปรึกษา ของนักเรียน และครูที่ปรึกษาหรือครูเวรหองกิจการใหนักเรียนบันทึกเหตุการณ พรอมรับรองเอกสารใหถูกตองสมบูรณ แลวเก็บไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐาน สําหรับนักเรียนที่กระทําความผิดขั้นปานกลางจนถึงขั้นรายแรง ใหเปนอํานาจของคณะกรรมการพิจารณาโทษ นักเรียนและหัวหนากลุมบริหารงานทั่วไป เปนผูพิจารณาลงโทษ ตัดคะแนนความประพฤติ โดยครูที่ปรึกษาหรือครู ทั่วไปที่พบเห็นการกระทําของนักเรียน ใหนําตัวนักเรียนมาสงหรือบันทึกหรือแจงกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการ นักเรียนและเชิญผูปกครองมาพบ รับทราบ หรือทำสัญญาวาจะอบรมสั่งสอนและควบคุมนักเรียน พรอมทำทัณฑบน ให นักเรียนบันทึกเหตุการณ พรอมรับรองเอกสารใหถูกตองสมบูรณ แลวเก็บไวในทะเบียนประวัติเปนหลักฐาน สําหรับนักเรียนที่กระทําความผิดขั้นรายแรงมาก ใหเปนอํานาจของคณะกรรมการพิจารณาโทษนักเรียนและ รองผูอำนวยการกลุมบริหารงานทั่วไป เปนผูพิจารณาลงโทษ ตัดคะแนนความประพฤติ พรอมทำทัณฑบน โดยครูที่ ปรึกษาหรือครูทั่วไปที่พบเห็นการกระทําผิดของนักเรียน ใหนําตัวนักเรียนมาสงหรือบันทึกหรือแจงกลุม บริหารงาน ทั่วไป งานกิจการนักเรียน เชิญผูปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด เพื่อรวมปรึกษาหารือและแกไข ปญหา หรือทำ สัญญาวาจะอบรมสั่งสอนและควบคุมนักเรียน เพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและบันทึกไวในทะเบียนประวัติเป นหลักฐาน


หนา | 33 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ การทำทัณฑบน ครั้งที่ ๑ หมายถึง นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติขั้นเบาหรือขั้นปานกลางหรือขั้นรา ยแรง รวม ๓๐ คะแนนหรือมากกวา ใหนักเรียนและผูปกครองทำสัญญาจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การทำทัณฑบน ครั้งที่ ๒ หมายถึง นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติขั้นเบาหรือขั้นปานกลางหรือขั้นรา ยแรงหรือขั้นรายแรงมาก รวม ๖๐ คะแนนหรือมากกวา หรือผานการทำทัณฑบน ครั้งที่ ๑ มาแลว และยังกระทำผิดซ้ำ ขั้นรายแรงหรือสูงกวา ใหนักเรียนและผูปกครองทำสัญญาจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และถามีการกระทำผิดขั้นรายแรง หรือขั้นรายแรงมาก อีกยินดีขอยายสถานศึกษา พรอมทำหนังสือขอยายสถานศึกษาไวเปนหลักฐาน การทำทัณฑบนทุกครั้งใหรายงานผูบังคับบัญชาทราบตามลำดับขั้น การใหยายสถานศึกษา หมายถึง การที่นักเรียนทำทัณฑบนครั้งที่ ๒ แลว และมีการกระทําความผิดซ้ำถูก พิจารณาโทษขั้นรายแรงจนถึงขั้นรายแรงมากหรือนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติรวม ๙๐ คะแนนขึ้นไปในภาค เรียนนั้น ขอ ๓๖ ระดับการกระทําความผิดและการตัดคะแนนความประพฤติ ๓๖.๑ ระดับการกระทําความผิด นักเรียนทุกคนจะมีคะแนนความประพฤติคนละ ๑๐๐ คะแนน และ จะถูกตัด คะแนนความประพฤติเมื่อกระทําความผิด ดังนี้ ๓๖.๑.๑ ความผิดขั้นเบา หมายถึง ความผิดเล็กนอยที่นักเรียนกระทําโดยอาจจะรูเทาไมถึงการณหรือ ความพลั้งเผลอ ไมตั้งใจ เปนผลใหกระทบไมมากนักตอภาพพจนทรัพยสินของตนเอง บุคคลอื่นหรือทางราชการซึ่งการ กระทํานั้นสอหรือแสดงอุปนิสัยที่ไมดีของนักเรียน ถาไมไดรับการแกไขอาจจะมีนิสัยที่ไมพึงประสงคติดตัวหรืออาจส งผลทําใหเกิดความผิดที่มากขึ้นอีก ความผิดในระดับนี้หัก ๕ คะแนนตอความผิด ๑ ครั้ง (๑) มาโรงเรียนสาย เขาชั้นเรียนชาหรือเชารวมกิจกรรมประชุมอื่นๆ ชา โดยไมมีเหตุอันควร (๒) หลบหนี หลีกเลี่ยงการรวมกิจกรรมหนาเสาธง การประชุม ไมเขาชั้นเรียนหรือ กิจกรรมอื่นๆโดยไมมี เหตุอันควร (๓) แตงกายผิดระเบียบของโรงเรียน (๔) ขัดคำสั่งครูไมใหความรวมมือในกิจกรรมการเรียนการสอนหรือกิจกรรมอื่น ๆ ของทางโรงเรียน (๕) สรางความสกปรก ความเสียหายแกทรัพยสินของโรงเรียนหรือสวนรวมอื่นๆ (๖) แสดงกิริยาวาจาที่ไมเหมาะสมหรือรบกวนการเรียนการสอนของครูหรือชั้นเรียนอื่น (๗) ไมรับผิดชอบหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย (๘) ไมปฏิบัติตามขอกําหนดของโรงเรียน (๙) อื่นๆ ตามคณะกรรมการพิจารณาความผิด ๓๖.๑.๒ ความผิดขั้นปานกลาง หมายถึง ความผิดที่กระทําแลวกระทบถึงบุคคลอื่นอาจกอใหเกิดความ เสียหายโรงเรียนและสวนรวมแตไมรายแรง ซึ่งความผิดอาจเปนสาเหตุใหเกิดการกระทําความผิดในระดับที่รายแรงหัก ๑๐ คะแนนตอความผิด ๑ ครั้ง (๑) เที่ยวเตรในเวลากลางคืน (๒) ประพฤติตนสอทางชูสาว (๓) พกพาอุปกรณสําหรับการมั่วสุม เสพสารเสพติด เชน บุหรี่หรืออื่น ๆ ในบริเวณโรงเรียน (๔) เอาโทรศัพทมือถือมาเลนขณะเรียน


หนา | 34 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ (๕) ประพฤติตนที่ไมสุภาพ ไมเหมาะสมตอสภาพการเปนนักเรียนตอสาธารณชนที่ไมรายแรง (๖) มีพฤติกรรมกาวราวหรือไมเคารพตอครู– อาจารยและบุคคลอื่น (๗) หลบหนีโรงเรียนหรือออกนอกบริเวณโรงเรียนหรือนํารถออกจากโรงรถโดยไมไดรับอนุญาต (๘) แสดงกิริยา วาจา ขมขู รังแกผูอื่น (๙) ยุยง สงเสริม ชักชวนใหผูอื่นทําผิด (๑๐) เลนการพนันหรือเกมที่มีการได– เสียเงินหรือทรัพยสินอื่นๆ (๑๑) ตักเตือนจากการกระทําผิดขั้นเบาแลวกระทําซ้ำอีก (๑๒) อื่นๆตามคณะกรรมการพิจารณาความผิด ๓๖.๑.๓ ความผิดขั้นรายแรง หมายถึง ความผิดที่นําความเสื่อมเสียมาสูตัวนักเรียน ผูปกครอง โรงเรียน สังคม ซึ่งความผิดอาจเปนเหตุของการกระทําผิดกฎหมายบานเมือง หัก ๓๐ คะแนนตอการกระทําผิด ๑ ครั้ง (๑) ทํารายรางกายผูอื่นโดยเจตนา (๒) ประพฤติลามกอนาจาร (๓) เสพสุรา ของมึนเมา และยาเสพติดใหโทษอื่นๆ( บุหรี่ไฟฟา ยาบา กัญชา ) (๔) พกอาวุธหรือสิ่งที่ใชแทนอาวุธมาโรงเรียน (๕) เปนผูนําใหผูอื่นกระทําผิด (๖) ทําลายทรัพยสินหรือสาธารณประโยชนโดยเจตนา (๗) เปนเจามือเลนการพนัน (๘) แสดงกิริยากาวราว ลบหลูครู หรือผูที่ควรใหการเคารพอยางรุนแรง (๙) รวมนําหรือเปนเหตุใหเกิดการทะเลาะวิวาท (๑๐) มีพฤติกรรมลักขโมยทรพัยสินที่ไมรายแรงมาก (๑๑) เที่ยวเตรในสถานที่ที่ไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรียน เวนแตมีเหตุอันควร (๑๒) เขารวมการประกวด การแขงขัน ที่ไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรียน (๑๓) ประพฤติตนที่สงผลใหเกิดความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของโรงเรียน (๑๔) อื่น ๆตามคณะกรรมการพิจาณาความผิด ๓๖.๑.๔ ความผิดขั้นรายแรงมาก หมายถึง ความผิดที่เปนความผิดกฎหมายอาญาหัก ๕๐ คะแนนขึ้นไปต อความผิด ๑ ครั้ง ขึ้นกับการพิจารณาของผูอํานวยการโรงเรียน (๑) มีพฤติกรรมชูสาวอยางชัดเจน (๒) ปลน จี้ ชิงและลักทรัพยที่รายแรงมาก (๓) ทํารายรางกายผูอื่นโดยใชอาวุธและมีการวางแผนเตรียมการลวงหนา (๔) คาประเวณี (๕) คายาเสพติด (๖) กระทําความผิดทางอาญา/ กฎหมายบานเมือง ๓๖.๑.๕ ความผิดอื่นที่ไมไดระบุ ใหคณะกรรมการพิจารณาโทษนักเรียนและรองผูอำนวยการกลุม บริหารงานทั่วไปวินิจฉัยเปรียบเทียบความผิดและระดับความผิดตาม ๓๖.๒ การดําเนินการเพื่อการปรับปรุงแกไขความประพฤติใหดําเนินการ ดังนี้


หนา | 35 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๓๖.๒.๑ นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนในแตละครั้ง ๕ คะแนนใหครูที่ปรึกษาและกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียน (หัวหนาระดับชั้นนั้นๆ) ตักเตือนพรอมทำกิจกรรมฯ จํานวน ๑ ชั่วโมง (การทำกิจกรรมหนักเบา ขึ้นอยูกับครูที่ปรึกษา) บันทึกเปนหลักฐานในแบบบันทึกแกไขพฤติกรรม เก็บเขาแฟมของหอง เก็บไวหองกิจการ นักเรียน ๓๖.๒.๒ นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนในแตละครั้ง ๑๐ คะแนนใหครูที่ปรึกษาและกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียน (หัวหนาระดับชั้นนั้นๆ) ตักเตือนพรอมทำกิจกรรมฯ จํานวน ๒ ชั่วโมง (การทำกิจกรรมหนักเบา ขึ้นอยูกับครูที่ปรึกษา) บันทึกเปนหลักฐานในแบบบันทึกแกไขพฤติกรรม เก็บเขาแฟมของหอง เก็บไวหองกิจการ นักเรียน ๓๖.๒.๓ นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสมขั้นเบาหรือขั้นปานกลางรวมคะแนน 30 คะแนน หรือขั้นรายแรง ๓๐ คะแนน กลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียน (หัวหนาระดับชั้นนั้นๆ) มีหนังสือเชิญผูปกครอง มาทําทัณฑบนครั้งที่ ๑ ไวกับโรงเรียน รายงานใหฝายบริหารทราบตามลำดับ พรอมทํากิจกรรมฯ จํานวน ๖ ชั่วโมง (การทำกิจกรรมหนักเบาขึ้นอยูกับครูที่ปรึกษา) บันทึกเปนหลักฐานในแบบบันทึกแกไขพฤติกรรม เก็บเขาแฟมของหอง เก็บไวหองกิจการนักเรียน และดําเนินการลงโทษโดยใหเขาคายปรับพฤติกรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคของ นักเรียน ในภาคเรียนนั้นๆ/ปการศึกษานั้นตามที่โรงเรียนกำหนด (ยกเวนทัณฑบนครั้งที่ ๑ แบบถูกตัดคะแนนความ ประพฤติสะสมขั้นเบาหรือขั้นปานกลางรวมคะแนน 30 คะแนน) ๓๖.๒.๔ นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสมขั้นเบาหรือขั้นปานกลางหรือความผิดขั้นรายแรง รวม ๖๐ คะแนนหรือมากกวาใหกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนมีหนังสือเชิญผูปกครองมาทําทัณฑบนครั้งที่ ๒ ไวกับโรงเรียน พรอมทั้งเขียนหนังสือขอยายสถานศึกษา รายงานใหฝายบริหารทราบตามลำดับ พรอมทํากิจกรรมฯ จํานวน ๑๒ ชั่วโมง (การทำกิจกรรมหนักเบาขึ้นอยูกับครูที่ปรึกษา) บันทึกเปนหลักฐานในแบบบันทึกแกไขพฤติกรรม เก็บเขาแฟมของหอง เก็บไวหองกิจการนักเรียน และดําเนินการลงโทษโดยใหเขาคายปรับพฤติกรรมและคุณลักษณะอัน พึงประสงคของนักเรียน ในภาคเรียนนั้นๆ/ปการศึกษานั้นตามที่โรงเรียนกำหนด ๓๖.๒.๕ นักเรียนคนใดถูกตัดคะแนนขั้นเบาหรือขั้นปานกลางหรือขั้นรายแรงหรือรายแรงมากรวม แลว ๙๐ คะแนน หรือถูกทำทัณฑบนมาแลว ๒ ครั้งในฐานความผิดขั้นรายแรงหรือรายแรงมากแลวมากระทำความผิดซ้ำขั้น รายแรงหรือขั้นรายแรงมากเปนครั้งที่ ๓ ใหกลุมบริหารงานทั่วไป งานกิจการนักเรียนรายงานผูบริหารตามลำดับ และมี มติใหนักเรียนยายสถานศึกษา เสนอใหผูอำนวยการอนุมัติการขอยายสถานศึกษาตอไป ๓๖.๒.๖ นักเรียนคนใดถูกทำทัณฑบนครั้งที่ ๑ ความผิดขั้นรายแรงเปนตนไปหรือถูกตัดคะแนนรวมตั้งแต ๕๐ คะแนน ใหดําเนินการลงโทษโดยใหเขาคายปรับพฤติกรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน ในภาคเรียน นั้นๆ/ปการศึกษานั้นตามที่โรงเรียนกำหนด ขอ ๓๗ ใหรองผูอำนวยการโรงเรียน กลุมบริหารงานทั่วไปเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้และใหอํานาจตีความ และวินิจฉัยชี้ขาดปญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ดร.ณัฐญาพร เสวตานนท ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 36 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๒. ระเบียบ วาดวยการปฏิบัติงานฝายวิชาการ แนวคิดหลักในการบริหารวิชาการงานวิชาการเปนภารกิจหลักของสถานศึกษาที่ พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มุงใหกระจายอํานาจในการบริหารจัดการไปใหสถานศึกษาใหมาก ที่สุดดวยเจตนารมณที่จะใหสถานศึกษาดําเนินการไดโดยรวดเร็ว สอดคลองกับความตองการของผูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถิ่น และ การมีสวนรวมจากผูที่มีสวนไดเสียทุกฝาย ซึ่งจะเปนปจจัยสําคัญทําใหสถานศึกษามีความเขมแข็ง ในการบริหารจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรูตลอดจนการวัดผล ประเมินผลรวมทั้งปจจัย เกื้อหนุน การพัฒนาคุณภาพนักเรียน ชุมชน ทองถิ่นไดอยางมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค ๑. เพื่อใหการบริหารงานดานวิชาการมีความรวดเร็ว และ สอดคลองกับความตองการของนักเรียนสถานศึกษา ชุมชน ทองถิ่น ๒. เพื่อใหการบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนไดมาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคลองกับระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมินหนวยงานภายนอก ๓. เพื่อใหโรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรูตลอดจนปจจัยเกื้อหนุนการเรียนรูที่สนองตอ ความตองการของผูเรียน ชุมชน และ ทองถิ่น โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญไดอยางมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ๔. เพื่อใหโรงเรียนไดประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และของบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน และ สถาบันอื่นๆอยางกวางขวาง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรูของโรงเรียนสตรีพังงา ตั้งอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมิน เพื่อพัฒนาผูเรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนนั้นผูเรียนจะตองไดรับการ พัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูการอานคิดวิเคราะหและคุณลักษณะอันพึงประ สงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่สอดคลองกับทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้น เรีย นระดับ สถ านศึกษ า ระดับ เขต พื้นที่การศึกษ า แล ะระดับช าติก ารวัด แล ะป ระเมินผล การเรีย นรูเป น กระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลที่เปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาและ เรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพ


หนา | 37 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ การวัดและประเมินผลการเรียนรูที่โรงเรียนดําเนินการ แบงออกเปน ๔ ระดับ ดังนี้ ๑. การประเมินระดับชั้นเรียนเปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรูที่ครูผูสอน ดําเนินการเปนปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน การซักถาม การสังเกตการตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูปกครองรวมประเมิน ในกรณีที่ไมผานตัวชี้วัดใหมีการสอนซอมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนนี้เปนการตรวจสอบวาผูเรียนมีพัฒนาการ ความกาวหนาในการเรียนรูอันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไมและมากนอยเพียงใด มีสิ่งที่จะต องไดรับการพัฒนาปรับปรุงและสงเสริมในดานใดสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ๒.การประเมินระดับสถานศึกษาเปนการประเมินที่โรงเรียนดําเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของผูเรียนเป นรายภาค รวมทั้งการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนวาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไมผูเรียนมีจุด พัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนไปเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาเปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตาม มาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา และการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนดวยขอสอบมาตรฐานที่จัดทําและดําเนินการโดยเขต พื้นที่การศึกษา โดยความรวมมือของโรงเรียนในการดําเนินการจัดสอบ ๔.การประเมินระดับชาติเปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่โรงเรียนจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาใน ระดับตาง ๆ ขอมูลการประเมินในระดับตาง ๆ จะเปนประโยชนตอโรงเรียนในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู เรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของโรงเรียนที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขสงเสริม สนับสนุน เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลที่จําแนกตามสภาพปญหาและความต องการเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนา และประสบความสําเร็จในการเรียน


หนา | 38 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน ๑. การตัดสินและการใหระดับผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรียนในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรูการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนั้น จะคํานึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตละคนเปนหลักและเก็บขอมูล ของผูเรียนทุกดานอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรียน รวมทั้งสอนซอมเสริมใหพัฒนาเต็มศักยภาพดังนี้ ๑.๑.๑ ตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชาผูเรียนตองมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของ เวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ ๑.๑.๒ ผูเรียนตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด ๑.๑.๓ ผูเรียนตองไดรับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา ๑.๑.๔ ผูเรียนตองไดรับการประเมินและมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดในการอานคิด วิเคราะหและเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๒ การใหระดับผลการเรียนรายวิชาไดกําหนดใหผูเรียนไดรับการตัดสินผลการประเมินจากครูผูสอน เปน ๘ ระดับจากผลการเรียนรายภาคของผูเรียน ดังนี้ ระดับผลการเรียน ความหมาย ชวงคะแนนเปนรอยละ ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี คอนขางดี ปานกลาง พอใช ผานเกณฑขั้นต่ำ ต่ำกวาเกณฑ ๘๐ – ๑๐๐ ๗๕ – ๗๙ ๗๐ – ๗๔ ๖๕ – ๖๙ ๖๐ –๖๔ ๕๕ – ๕๙ ๕๐ – ๕๔ ๐ – ๔๙ ในกรณีที่ไมสามารถใหระดับผลการเรียนเปน๘ระดับไดใหใชตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียนดังนี้ “มส” หมายถึง ผูเรียนไมมีสิทธิเขารับการวัดผลปลายภาคเรียนเนื่องจากผูเรียนมีเวลาเรียนไมถึงรอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแตละรายวิชาและไมไดรับการผอนผันใหเขารับการวัดผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไมได เนื่องจากผูเรียนไมมีขอมูลผลการเรียนรายวิชานั้น ครบถวน ไดแก ไมไดวัดผลระหวางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไมไดสงงานที่มอบหมายใหทําซึ่งงานนั้นเปนสวนหนึ่งของ การตัดสินผลการเรียนหรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทําใหประเมินผลการเรียนไมได


หนา | 39 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ การประเมินดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียนไดกําหนดใหมีการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในทุกรายวิชา โดยใชเกณฑการประเมินของแตละกลุมสาระการเรียนรูที่ไดกําหนดขึ้น การตัดสินผลกาอานคิดวิเคราะห และเขียน ของผูเรียน จะมี ๔ ระดับ ดังนี้ ระดับ ความหมาย เกณฑการพิจารณา ๓ ๒ ๑ ๐ ดีเยี่ยม ดี ผาน ไมผาน มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถ ในการอานคิดวิเคราะหและเขียนที่ มีคุณภาพดีเลิศอยูเสมอ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถ ในการอานคิดวิเคราะหและเขียนที่ มีคุณภาพเปนที่ยอมรับ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถ ในการอานคิดวิเคราะหและเขียนที่ มีคุณภาพเปนที่ยอมรับแตยังมีขอ บกพรองบางประการ ไมมีผลงานที่แสดงถึงความ สามารถในการอานคิดวิเคราะห และเขียนหรือถามีผลงานผลงาน นั้นยังมีขอบกพรองที่ตองไดรับการ ปรับปรุงแกไขหลายประการ ๑.๓ การประเมินดานคุณลักษณะอันพึงประสงคไดกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และใชเปนรายการสําหรับการประเมินของครูผูสอนในแตละรายวิชาโดยใช เกณฑการประเมินของแตละกลุมสาระการเรียนรูที่ไดกําหนดขึ้น การตัดสินผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคของ ผูเรียนประกอบดวย ๑๐ ดาน ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสนกษัตริย ๒. ชื่อสัตยสุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝเรียนรู ๕. อยูอยางพอเพียง ๖. มุงมั่นในการทํางาน ๗. รักความเปนไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๙. มารยาทดี ๑๐. มีทักษะชีวิต


หนา | 40 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ เกณฑการตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงคมี ๔ ระดับดังนี้ ระดับ ความหมาย เกณฑการพิจารณา ๓ ๒ ๑ ๐ ดีเยี่ยม ดี ผาน ไมผาน ผูเรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะ จนเปนนิสัยและนําไปใชใน ชีวิตประจําวันเพื่อประโยชนสุขของ ตนเองและสังคม ผลการประเมิน ระดับดีเยี่ยม ผูเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตาม เกณฑเพื่อใหเปนการยอมรับของ สังคมไดผลการประเมินระดับ ระดับดี ผูเรียนรับรูและปฏิบัติตามกฎเกณฑ และเงื่อนไขที่โรงเรียนกําหนดไดผล การประเมินระดับผาน ผูเรียนรับรูและปฏิบัติไดไมครบตาม กฎเกณฑและเงื่อนไขที่โรงเรียน กําหนดโดยพิจารณาจากผลการ ประเมินระดับ ไมผาน ๑.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดแก กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมเครื่องแบบ กิจกรรมชุมชุน และ กิจกรรมอื่น ๆ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใชเกณฑการประเมินของแตละ กิจกรรมที่ไดกําหนดขึ้น การตัดสินผลการพัฒนาของผูเรียนดังนี้ ผลการประเมิน ความหมาย ผ มผ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติ กิจกรรมและมีผลงานตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนด ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติ กิจกรรมและมีผลงานไมเปนไปตามเกณฑที่โรงเรียน กําหนด


หนา | 41 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๒. การเปลี่ยนผลการเรียน ๒.๑ การเปลี่ยนระดับผลการเรียน “๐” เนื่องจากการวัดผลใหน้ำหนักของคะแนนการวัดผลระหวางเรียนมากกวาคะแนนการวัดผลปลายภาค และผู เรียนไมผานเกณฑตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูจะไดรับการพัฒนาการเรียนรูและวัดซ้ำจากครูผูสอนกอนการตัดสินผลการ เรียน เมื่อมีการตัดสินผลการเรียน ผูเรียนไดระดับผลการเรียน “๐” โรงเรียนตองจัดสอนซอมเสริมตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรูที่ผูเรียนไมผานเกณฑกอนแลว จึงสอบแกตัวหรือใหปฏิบัติงานหรือกิจกรรม โดยโรงเรียนใหโอกาสผูเรียนแกตัวได ไมเกิน ๒ ครั้ง ทั้งนี้ผูเรียนตองดําเนินการแกไขใหเสร็จสิ้นตามปฏิทินงานวัดผลที่กําหนดภายในปการศึกษานั้น ถาผู เรียนไมมาดําเนินการตามระยะเวลาที่กําหนดไวนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลา แก“๐” ออกไปไดอีก ๑ ภาคเรียน การเปลี่ยนระดับผลการเรียนจาก “๐” ใหไดระดับผลการเรียนไมเกิน “๑” กรณีที่ ผูเรียนไดสอบแกตัวตามปฏิทินงานวัดผลที่กําหนดไว๒ ครั้งแลว และยังไดระดับผลการเรียน “๐” ใหปฏิบัติดังนี้ ๒.๑.๑ ถาเปนรายวิชาพื้นฐาน ใหเรียนซ้ำรายวิชานั้น ในภาคฤดูรอนหรือตามเวลาที่โรงเรียนกําหนด ๒.๑.๒ ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติม ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียนที่จะใหเรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชา ใหม หรือตองสอบแกตัวอีกแลวแตกรณี ๒.๒ การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ใหดำเนินการดังนี้ ใหผูเรียนดำเนินการแกไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผูเรียนแกไขปญหาเสร็จแลว ใหไดระดับผลการเรียนตามปกติ (ตั้งแต ๐ - ๔) ถาผูเรียนไมดำเนินการแกไข “ร” กรณีที่สงงานไมครบ แตมีผลการประเมินระหวางภาคเรียนและปลายภาค ใหผูสอนนำขอมูลที่มีอยูตัดสินผลการเรียน ยกเวนมีเหตุสุดวิสัย ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก “ร” ออกไปอีกไมเกิน ๑ ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนที่ ๒ ตองดำเนินการใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น เมื่อพน กำหนดนี้แลวใหเรียนซ้ำ หากผลการเรียนเปน “๐” ใหดำเนินการแกไขตามหลักเกณฑ ๒.๓ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณีดังนี้ ๒.๓.๑ กรณีผูเรียนไดผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถึงรอยละ ๘๐ แตมีเวลาเรียนไมนอยกวารอยละ ๖๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น โรงเรียนตองจัดใหเรียนเพิ่มเติมโดยใชคาบซอมเสริม หรือเวลาวาง หรือใชวันหยุด หรือมอบหมายงาน ใหทําจนมีเวลาเรียนครบตามที่กําหนดไวสําหรับสําหรับรายวิชานั้น แลวจึงใหสอบปลายภาคเปนก รณีพิเศษ ผลการแก“มส” ใหไดระดับผลการเรียนไมเกิน “๑” การแก“มส” กรณีนี้ใหกระทําใหเสร็จสิ้นภายในป การศึกษานั้น ถาผูเรียนไมมาดําเนินการแก“มส” ตามระยะเวลาที่กําหนดไวนี้ ใหเรียนซ้ำ ยกเวนมีเหตุสุดวิสัยใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียน ที่จะขยายเวลาการแก“มส” ออกไปอีกไมเกิน ๑ ภาคเรียนแตเมื่อพนกําหนดนี้แล วใหปฏิบัติดังนี้ (๑) ถาเปนรายวิชาพื้นฐาน ใหเรียนซ้ำรายวิชานั้นในภาคฤดูรอนหรือตามเวลาที่โรงเรียนกําหนด (๒) ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติม ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียนใหเรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ๒.๓.๒ กรณีผูเรียนไดผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนนอยกวารอยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด โรงเรียนใหดําเนินการดังนี้ (๑) ถาเปนรายวิชาพื้นฐาน ใหเรียนซ้ำรายวิชานั้น (๒) ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติม ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียนใหเรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม


หนา | 42 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ การเรียนซ้ำรายวิชา ผูเรียนที่ไดรับการสอนซอมเสริมและสอบแกตัว ๒ ครั้งแลวไมผานเกณฑการประเมิน ให เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดใหเรียนซ้ำในชวงใดชวงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นวา เหมาะสม เชน พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงวางหลังเลิกเรียน ภาคฤดูรอน เปนตน ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผูเรียนยังมีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ใหดำเนินการใหเสร็จสิ้นกอนเปดเรียน ปการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอน เพื่อแกไขผลการเรียนของผูเรียนได ๒.๔ การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” กรณีที่ผูเรียนไดผล “มผ” โรงเรียนตองจัดซอมเสริมใหผูเรียนทํากิจกรรมในสวนที่ผูเรียนไมไดเขารวมหรือไมได ทําจนครบถวน แลวจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เปน “ผ” ไดทั้งนี้ ดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้น ๆ ยกเวน มีเหตุสุดวิสัยใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียน ที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเกิน ๑ ภาคเรียน ๒.๕ การเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปการศึกษา ผูเรียนจะไดรับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑดังนี้ ๑. รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ไดรับการตัดสินผลการเรียนผานตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนด ๒. ผูเรียนตองไดรับการประเมินและมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนด ในการอานคิดวิเคราะห และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๓. ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปการศึกษานั้น ควรไดไมต่ำกวา ๑.๐๐ ทั้งนี้ รายวิชาใดที่ไมผานเกณฑการ ประเมิน โรงเรียนสามารถซอมเสริมผูเรียนใหไดรับการแกไขใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น ๒.๖ การสอนซอมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดใหโรงเรียนจัดสอนซอมเสริมเพื่อ พัฒนาการเรียนรูของผูเรียนเต็มตามศักยภาพ การสอนซอมเสริม เปนการสอนเพื่อแกไขขอบกพรอง กรณีที่ผูเรียนมีความรูทักษะกระบวนการ หรือเจตคติ / คุณลักษณะ ไมเปนไปตามเกณฑที่โรงเรียนกําหนด โรงเรียน ตองจัดสอนซอมเสริมเปนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการ สอนตามปกติ เพื่อพัฒนาใหผูเรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดที่กําหนดไวเปนการใหโอกาสแก ผูเรียนไดเรียนรูและพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายและตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลการ สอนซอมเสริมสามารถดําเนินการไดในกรณี ดังนี้ ๑. ผูเรียนมีความรู/ทักษะพื้นฐานไมเพียงพอที่จะศึกษาในแตละรายวิชานั้น ควรจัดสอนซอมเสริมปรับความรู/ ทักษะพื้นฐาน ๒. ผูเรียนไมสามารถแสดงความรูทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ /คุณลักษณะ ที่กําหนดไวตามมาตรฐาน การเรียนรู/ ตัวชี้วัดในการประเมินผลระหวางเรียน ๓. ผูเรียนที่ไดระดับผลการเรียน “๐” ใหจัดสอนซอมเสริมกอนสอบแกตัว ๔. กรณีผูเรียนมีผลการเรียนไมผาน สามารถจัดสอนซอมเสริมในภาคฤดูรอน เพื่อแกไขผลการเรียนทั้งนี้ใหอยู ในดุลยพินิจของผูอํานวยการโรงเรียน


หนา | 43 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๒.๗ การเรียนซ้ำชั้น ผูเรียนที่ไมผานรายวิชาจํานวนมากและมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้นโรงเรียนตั้ง คณะกรรมการพิจารณาใหเรียนซ้ำชั้นไดทั้งนี้ใหคํานึงถึงวุฒิภาวะและความรูความสามารถของผูเรียนเปนสําคัญ การ เรียนซ้ำชั้นมี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ผูเรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปการศึกษานั้นต่ำกวา ๑.๐๐ และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอ การเรียน ในระดับชั้นที่สูงขึ้น ๒. ผูเรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส ตั้งแต ๘ รายวิชาของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปการศึกษานั้น ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง ๒ ลักษณะ โรงเรียนแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาหากเห็นวา ไมมีเหตุผลอันสมควรก็ใหซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและใหใชผลการเรียนใหมแทน หากพิจารณาแลวไมตอง เรียนซ้ำชั้น ใหอยูในดุลยพินิจของผูอำนวยการโรงเรียนในการแกไขผลการเรียน ๒.๘ การทุจริตในการสอบ ผูเรียนที่ทุจริตในการสอบในรายวิชาใด ครั้งใด ใหตัดสินผลการเรียนเปน "๐" ในครั้งนั้น ๒.๙ เกณฑการจบการศึกษา สําหรับการจบตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดดังนี้ ๑. เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน ผูเรียนจะไดรับการอนุมัติใหจบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับหรือระดับมัธยมศึกษาตอนตนไดจะตองมี คุณสมบัติครบทั้ง ๕ ขอ ดังนี้ ๑.๑ ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไมเกิน ๘๑ หนวยกิต โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หนวยกิตและ รายวิชาเพิ่มเติมตามที่โรงเรียนกําหนด ๑.๒ ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา ๑๔ หนวยกิต ๑.๓ ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียน กําหนด ๑.๔ ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียนกําหนด ๑.๕ ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียนกําหนด ๒. เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเรียนจะไดรับการอนุมัติใหจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไดจะตองมี คุณสมบัติครบทั้ง ๕ ขอ ดังนี้ ๒.๑ ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไมนอยกวา ๘๑ หนวยกิต โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่โรงเรียนกําหนด ๒.๒ ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา ๓๘ หนวยกิต ๒.๓ ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียน กําหนด


หนา | 44 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ ๒.๔ ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียนกําหนด ๒.๕ ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่โรงเรียนกําหนด หมายเหตุ : ๑ หนวยกิต หมายถึง ใชเวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมงตอภาคเรียน ๒.๑๐ การเทียบโอนผลการเรียน โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตาง ๆ ไดแกการยายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบ การศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเขาการศึกษาตอ การศึกษาจากตางประเทศ และขอเขา ศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรูทักษะ ประสบการณจากแหลง การเรียนรูอื่น ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว เปนตน การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียน หรือตนภาคเรียนที่โรงเรียนรับ ผูขอ เทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยโรงเรียนที่รับการเทียบโอนควรกําหนดรายวิชา จํานวนหนวยกิตที่จะรับเทียบโอน ตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดําเนินการไดดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่น ๆ ที่ใหขอมูลแสดงความรูความสามารถของผูเรียน ๒. พิจารณาจากความรูความสามารถของผูเรียน โดยการทดสอบดวยวิธีการตาง ๆ ทั้งภาคความรูและ ภาคปฏิบัติ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนดําเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนจํานวนไมนอยกวา ๓ คน แตไมควร เกิน ๕ คน โดยมีแนวทางในการเทียบโอน ดังนี้ ๑) กรณีผูขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ใหนํารายวิชาหรือหนวยกิตที่มีมาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู/ จุดประสงค/ เนื้อหาที่สอดคลองกันไมนอยกวารอยละ ๖๐ มาเทียบโอน ผลการเรียน และ พิจารณาใหระดับผลการเรียนใหสอดคลองกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน ๒) กรณีการเทียบโอนความรูทักษะ และประสบการณใหพิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถามี) โดยใหมีการ ประเมินดวยเครื่องมือที่หลากหลาย และใหระดับผลการเรียนใหสอดคลองกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน ๓) ก รณีการเทียบ โอนผูเรีย นที่เขาโครงการแลกเปลี่ยนตางป ระเทศ ให ดําเนินการต ามป ระกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสําหรับนักเรียนที่เขารวมโครงการ แลกเปลี่ยน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนใหเปนไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียน ตามประกาศ ของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเทียบโอนผลการเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำ กวาปริญญา ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนเขาสู การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศใชณ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ดร.ณัฐญาพร เสวตานนท ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีพังงา


หนา | 45 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ โครงสรางเวลาเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โครงสรางที่ ๑ โครงสรางหองเรียนพิเศษ (Mini English Program) หอง ๑ สาระการเรียนรู/ กิจกรรม ม.1 (ชม./สัปดาห.-นก.) 2566 ม.2 (ชม./สัปดาห.-นก.) 2567 ม.3 (ชม./สัปดาห.-นก.) 2568 รวม (ชม.-นก) พื้นฐาน 21-10.5 23-11.5 23-11.5 21-10.5 21-10.5 23-11.5 2,640-66.0 ภาษาไทย 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 คณิตศาสตร 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 วิทยาศาสตร 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 วิทยาการคำนวณ - 1-0.5 - 1-0.5 - 1-0.5 60-1.5 ออกแบบและเทคโนโลยี 1-0.5 - 1-0.5 - 1-0.5 - 60-1.5 สังคม สังคมศึกษา 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 ประวัติศาสตร 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 120-3.0 สุขศึกษาและพลศึกษา 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 ศิลปะ 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 การงานอาชีพ - 2-1.0 2-1.0 - - 2-1.0 120-3.0 ภาษาตางประเทศ 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 เติมเพิ่ม 7-4.0 7-4.0 9-5.0 9-5.0 7-4.0 7-4.0 920-26.0 สาระสากล(IS1-IS3) - - 2-1.0 2-1.0 - - 80-2.0 ภาษาอังกฤษ 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 ภาษาจีน 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 120-3.0 คณิตศาสตร 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 วิทยาศาสตร 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 หนาที่พลเมือง (บูรณาการ) 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 120-3.0 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3-0 3-0 3-0 3-0 3-0 3-0 405-0 แนะแนว 1 1 1 1 1 1 120-0 กิจกรรมเครื่องแบบ 1 1 1 1 1 1 120-0 ชุมนุม 1 1 1 1 1 1 120-0 กิจกรรมเพื่อสังคม (IS3) (บูรณาการ) - - - 1* - - 45-0 รวมเวลาเรียน (ชม./นก./ภาค) 31-14.5 620 33-15.5 660 35-16.5 700 33-15.5 660 31-14.5 620 33-15.5 660 3965-92.0 โฮมรูม 1 1 1 1 1 1 120-0 ประชุมระดับ/อัตลักษณ/จิต อาสา 1 1 1 1 1 1 120-0 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 33 35 37 35 33 35 4,205 กิจกรรมตามจุดเนน 1. คายคุณธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปละครั้ง 1. สาระมาตรฐานสากล IS1-3


หนา | 46 คูมือนักเรียนและผูปกครองโรงเรียนสตรีพังงา ปการศึกษา ๒๕๖๖ โครงสรางที่ ๒ โครงสรางหองเรียนพิเศษความเปนเลิศดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร (Science Math Program) หอง ๒ สาระการเรียนรู/ กิจกรรม ม.1(ชม./สัปดาห.- นก.) 2566 ม.2(ชม./สัปดาห.- นก.) 2567 ม.3(ชม./สัปดาห.- นก.) 2568 รวม (ชม.-นก) พื้นฐาน 21-10.5 23-11.5 23-11.5 21-10.5 21-10.5 23-11.5 2,640-66.0 ภาษาไทย 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 คณิตศาสตร 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 วิทยาศาสตร 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 วิทยาการคำนวณ - 1-0.5 - 1-0.5 - 1-0.5 60-1.5 ออกแบบเทคโนโลยี 1-0.5 - 1-0.5 - 1-0.5 - 60-1.5 สังคม สังคมศึกษา 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 ประวัติศาสตร 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 120-3.0 สุขศึกษาและพลศึกษา 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 ศิลปะ 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 การงานอาชีพ - 2-1.0 2-1.0 - - 2-1.0 120-3.0 ภาษาตางประเทศ 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 3-1.5 360-9.0 เพิ่มเติม 9-5.0 9-5.0 9-5.0 9-5.0 8-4.5 8-4.5 1,040-29.0 สาระสากล(IS1-IS3) - - 2-1.0 2-1.0 - - 80-2.0 ภาษาอังกฤษ 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 ภาษาจีน 1-0.5 1-0.5 1-0.5 1-0.5 - - 80-2.0 คณิตศาสตร 4-2.0 4-2.0 2-1.0 2-1.0 4-2.0 4-2.0 400-10.0 วิทยาศาสตร 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 2-1.0 240-6.0 หนาที่พลเมือง (บูรณาการ) 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 1-0.5* 120-3.0 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3-0 3-0 3-0 3-0 3-0 3-0 405-0 แนะแนว 1 1 1 1 1 1 120-0 กิจกรรมเครื่องแบบ 1 1 1 1 1 1 120-0 ชุมนุม 1 1 1 1 1 1 120-0 กิจกรรมเพื่อสังคม (บูรณาการ) - - - 1* - - 45-0 รวมเวลาเรียน (ชม./นก./ภาค) 33-15.5 680 35-16.5 700 35-16.5 700 33-15.5 660 32-15.0 640 34-16.0 680 4,085-95.0 โฮมรูม 1 1 1 1 1 1 120-0 ประชุมระดับ/อัตลักษณ/จิต อาสา 1 1 1 1 1 1 120-0 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 35 37 37 35 34 36 4325 กิจกรรมตามจุดเนน 1. คายคุณธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปละครั้ง 1. สาระมาตรฐานสากล IS1-3


Click to View FlipBook Version