0
หลกั สตู รโรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒
(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖4)
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ัติการหลกั สตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
0
คำนำ
เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารหลกั สตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
ข
สารบญั
คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………………… หน้า
สารบญั ............................................................................................................................................ ก
ข
วสิ ยั ทศั น์…………………………………………………………………………………………………………………………… 1
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น……………………………………………….………………………………………………… 1
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์………………………………………..………………………………………………………… 1
ความเป็นมาและความสำคัญในการปรบั ปรงุ หลกั สตู รสูก่ ารเตรียมความพรอ้ มในการพฒั นาสู่ 2
ประชาคมอาเซียน…………………………………………………………………………………………………………..…… 2
เป้าหมายคุณภาพผเู้ รียน……………………………………………………………………………………………………… 2
3
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี…………………………………………………………………… 3
เป้าหมายของวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………………………………………………………… 4
เรยี นรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………………………………………………………… 5
7
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้……………………………………………………………………………………….……… 10
คุณภาพผเู้ รยี น…………………………………………………………………………………...………………………….…… 14
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา……………………………………………………………………………………………… 15
16
มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้…………………………………………………………………… 20
การวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ ASEAN Curriculum Sourcebook………………………………………………. 23
คำอธบิ ายรายวชิ า............................................................................................................................... 27
30
โครงสรา้ งรายวิชาวิทยาศาสตร์ ..............................................................................……………………… 33
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง พชื และสตั ว์ในทอ้ งถน่ิ ....................................................................... 36
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง สิ่งมีชวี ิต…………………………………………………………........................... 39
42
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง หนิ ในทอ้ งถนิ่ …………………………………………………………..................... 45
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่อื ง เทคโนโลยเี บ้ืองต้น…………………………………………………………............. 48
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เร่อื ง การแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย…………………………………………………............... 51
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรอื่ ง วสั ดุน่ารู้ …………………………………………………………...........................
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 เร่อื ง เสียงรอบตวั ……………………………………………………….........................
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 เร่ือง ทอ้ งฟ้าแสนสวย…………………………………………………………................
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 เร่ือง การเขียนโปรแกรมเบื้องตน้ …………………………………………….............
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 10 เรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั …………..…………...........
การจัดการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์…………………………………………………………..........................................
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี
๑
วสิ ยั ทัศน์
โรงเรียนอนุบาลลพบุรี จัดการศึกษาระดับปฐมวัยและประถมศึกษา มุ่งพัฒนาสู่โรงเรียน
มาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานความเปน็ ไทย ใฝค่ ุณธรรม จริยธรรม ดำรงชวี ติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี ไดก้ ำหนดสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น สอดคล้องตามทีห่ ลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดไว้ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความรูส้ กึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นขอ้ มูลขา่ วสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไมร่ ับขอ้ มลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ิธีการส่อื สาร ที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิด
อยา่ งสร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่อื นำไปสู่การสร้างองค์ความร้หู รือ
สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเก่ยี วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ในการ
ป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจท่มี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้นึ ต่อตนเอง
สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยูร่ ่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และ
มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร
การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี ได้กำหนดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตามทห่ี ลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดไว้ ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
2. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
3. มีวนิ ัย 7. รักความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มจี ติ สาธารณะ
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลกั สูตร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๒
ความเป็นมาและความสำคญั ในการปรบั ปรงุ หลักสตู รสู่การเตรียมความพรอ้ มในการพัฒนาสปู่ ระชาคม
อาเซียน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดโครงการพัฒนาประชาคมสูอ่ าเซียน : Spirit of
ASEAN ตามโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค ( Education Hub) ใน
แผนปฏบิ ัติการไทยเข้มแข็ง 2555 เพื่อผลักดันการดำเนินการด้านการศกึ ษาของประเทศไทย ให้สอดรบั
ตอ่ การเป็นประชาคมอาเซยี นและพัฒนาเยาวชนไทยใหม้ สี มรรถนะทส่ี ำคัญสำหรบั การดำเนนิ ชีวิตในประชาคม
อาเซยี น โดยได้จดั ตั้งศนู ย์อาเซยี นศกึ ษาในสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
จำนวน 54 โรง เพ่ือใหม้ ีความพร้อมในการเป็นแหล่งเรยี นรู้เกีย่ วกบั ประชาคมอาเซยี นและมศี ักยภาพในการ
จัดกิจกรรมสร้างความตระหนกั และพัฒนาเยาวชนไทย ให้มีสมรรถนะที่สำคัญสำหรับการดำเนินชีวิตใน
ประชาคมอาเซียน รวมถึงชมุ ชนทีร่ ายรอบโรงเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับอาเซียนได้อย่างมคี ุณภาพ
โรงเรียนอนุบาลลพบุรี ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกและจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา ประเภท
Sister School คือเปน็ โรงเรยี นทจี่ ัดการเรยี นรู้เก่ียวกบั ประชาคมอาเซียนและมศี ูนย์อาเซยี นศกึ ษา เนน้ การ
เรียนการสอนภาษาองั กฤษ เทคโนโลยี และภาษาอาเซยี นอีก 1 ภาษา ได้พิจารณาบทบาทหน้าท่เี กย่ี วกบั
การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี นแล้ว เห็นว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ กี่ยวกับประชาคมอาเซียน
ภายในโรงเรียนมีความสำคญั และสง่ ผลต่อการพัฒนานักเรียนสปู่ ระชาคมอาเซยี น จงึ ได้การดำเนินการจัดทำ
เปน็ หน่วยการเรยี นร้ใู นกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งและสามารถบูรณาการได้ ในชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-
6 ทั้งสิ้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)และในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงาน อาชพี และเทคโนโลยี บูรณาการในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรทู้ ีเ่ ก่ียวกบั เทคโนโลยี
สารสนเทศช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6
เป้าหมายคณุ ภาพผู้เรยี น
มีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกับประชาคมอาเซียน เอือ้ อาทร แบง่ ปัน เขา้ ใจตนเองและผอู้ น่ื
ยอมรบั ในความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คา่ นิยม ความเชื่อและนำความรู้ไปใช้ในการ
ดำเนนิ ชวี ิต เพื่อใหอ้ ยรู่ ่วมกันในสงั คมที่มคี วามหลากหลายไดอ้ ย่างมีความสุข
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี ได้กำหนดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ของผูเ้ รยี นตามคุณลกั ษณะของ
ประชาคมอาเซียน ดังนี้
1. มคี วามร้พู ้นื ฐานเกย่ี วกบั อาเซยี น
2. สามารถอธิบายความรู้พืน้ ฐานเกยี่ วกบั อาเซยี น
3. มหี ารทกั ษะในการแสวงหาความรผู้ ่านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ประชาคม
อาเซียน
4. เข้าร่วมกจิ กรรมเกยี่ วกบั อาเซียน
5. มีความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน
เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี
๓
เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์มงุ่ เนน้ ให้ผเู้ รยี นได้คน้ พบความรู้ดว้ ยตนเองมากทส่ี ุด เพือ่ ให้ได้ทง้ั
กระบวนการและความรู้จากวธิ ีการสงั เกต การสำรวจ การทดลอง แลว้ นำผลทไ่ี ด้มาจัดระบบเป็นทางการ
แนวคิด และองคค์ วามรู้
การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีเป้าหมายท่สี ำคัญดงั น้ี
๑. เพื่อให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎที่เปน็ พนื้ ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
๒. เพอื่ ให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละขอ้ จำกดั ในการศึกษาวิชาวทิ ยาศาสตร์
๓. เพ่ือใหม้ ที กั ษะทสี่ ำคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคดิ ค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนกั ถึงความสมั พันธร์ ะหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์ และสภาพแวดลอ้ มในเชงิ
ทม่ี ีอิทธิพลและผลกระทบซ่งึ กนั และกนั
๕. เพ่ือนำความรคู้ วามเขา้ ใจวิชาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสงั คมและการดำรงชีวติ
๖. เพอ่ื พัฒนากระบวนการคดิ และจิตนาการ ความสามารถในการแก้ปญั หาและการจดั การ ทกั ษะในการ
สือ่ สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
๗. เพื่อใหเ้ ป็นผทู้ ี่มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมในการใชว้ ิทยาศาสตร์เทคโนโลยอี ยา่ ง
สร้างสรรค์
เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรม์ งุ่ หวงั ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ทเี่ นน้ การเชือ่ มโยงความรกู้ บั
กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ โดยใชก้ ระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้
และแกป้ ญั หาทห่ี ลากหลาย ใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรทู้ ุกข้นั ตอน มีการทำกจิ กรรมดว้ ยการลงมือปฏิบตั ิ
จรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชัน้ โดยกำหนดสาระสำคัญดังน้ี
วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ เรียนรเู้ ก่ียวกบั ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิง่ มชี ีวติ การดำรงชวี ติ ของ
มนษุ ยแ์ ละสัตว์ การดำรงชวี ิตของพืช พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสงิ่ มชี ีวติ
วิทยาศาสตรก์ ายภาพ เรียนรเู้ กยี่ วกบั ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคลอื่ นที่
พลังงานและคล่ืน
วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั โลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษยก์ บั การ
เปลี่ยนแปลงของโลก
ชีววิทยา เรียนรู้เกี่ยวกับ การศึกษาชีววิทยาสารเคมีในสิ่งมีชวี ิต เซลลข์ องสิง่ มชี ีวติ พันธุกรรมและ
การถ่ายทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชวี ภาพ โครงสร้างและการทำงานของส่วนตา่ งๆ ในพืชดอก
ระบบและการทำงานในอวยั วะตา่ งๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ และสิง่ มชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
เคมี เรียนรูเ้ ก่ยี วกับ ปรมิ าณสาร องคป์ ระกอบและสมบัตขิ องสาร การเปล่ยี นแปลงของสาร ทักษะ
และการแกป้ ัญหาทางเคมี
ฟสิ กิ ส์ เรียนร้เู กีย่ วกบั ธรรมชาติและการคน้ พบทางฟสิ ิกส์ แรงและการเคลอื่ นท่แี ละพลังงาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ข้อมลู ทางธรณีวิทยาและนำไปใชป้ ระโยชน์ การถ่ายโอนพลงั งานความรอ้ นของโลก การเปลีย่ นแปลงลักษณะ
ลมฟา้ อากาศกบั การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตรก์ บั มนษุ ย์
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏิบัติการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๔
เทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
เทคโนโลยเี พื่อดำรงชวี ิตในสังคมทีม่ ีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม
วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิง
คำนวณ การคดิ วิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขน้ั ตอนและเป็นระบบ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศสือ่ สารในการแกป้ ัญหาท่พี บในชวี ิตจรงิ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตและ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวติ กับสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ระบบนิเวศความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชแิ ละสงิ่ แวดล้อม แนวทางใน
การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดลอ้ มรวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐานที่ ว1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงผ่านเซลล์
ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องระบบต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ทท่ี ำงานสมั พันธ์กนั ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าทขี่ องอวัยวะต่างๆ ของพชื ท่ีทำงานสัมพันธ์กนั รวมทัง้ นำความร้ไู ปใชโ้ ยชน์
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐานท่ี 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ขิ องสสาร
กบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการ
เกดิ สารละลายและการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี
มาตรฐานที่ 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ยี นแปลงและถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั เสยี ง แสง
และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณพี ิบตั ิภยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลกรวมท้งั ผลตอ่
สิง่ มีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏิบตั ิการหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
๕
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวติ จริงอย่างเป็นข้นั ตอน
และเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทันและมีจรยิ ธรรม
คุณภาพผเู้ รยี น
จบชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓
❖ เข้าใจลกั ษณะทั่วไปของสง่ิ มชี ีวติ และการดำรงชวี ติ ของสง่ิ มชี ีวิตรอบตัว
❖ เขา้ ใจลักษณะที่ปรากฏ ชนดิ และสมบัติบางประการของวสั ดทุ ่ีใช้ทำวัตถุ และการเปลีย่ นแปลง
ของวัสดุรอบตวั
❖ เข้าใจการดงึ การผลัก แรงแมเ่ หลก็ และผลของแรงที่มีตอ่ การเปลย่ี นแปลง การเคลอื่ นที่ของ
วตั ถุพลงั งานไฟฟ้า และการผลติ ไฟฟ้า การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเห็น
❖ เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทติ ยด์ วงจนั ทร์และดาว ปรากฏการณข์ ึ้นและตก ของดวงอาทิตย์
การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดิน และการใช้ประโยชน์ลักษณะ
และความสำคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม
❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ สังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมอื อยา่ งง่าย รวบรวมข้อมูล บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสำรวจ ตรวจสอบด้วยการ
เขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรยี นรูด้ ้วยการเล่าเร่ือง หรอื ด้วยการแสดง ท่าทางเพือ่ ใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ
❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ
สื่อสารเบือ้ งตน้ รักษาข้อมลู ส่วนตวั
❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่อง ที่จะศึกษาตามท่ี
กำหนดให้หรอื ตามความสนใจ มีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นผู้อืน่
❖ แสดงความรบั ผดิ ชอบดว้ ยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมงุ่ ม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่อื สตั ยจ์ น
งานลุลว่ งเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผอู้ ่นื อยา่ งมีความสขุ
❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการ ดำรงชีวติ ศกึ ษา
หาความรเู้ พมิ่ เติม ทำโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามที่กำหนดให้หรอื ตามความสนใจ
จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
❖ เข้าใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะและการปรับตัวของสงิ่ มชี วี ติ รวมทง้ั ความสมั พันธ์ของ สิ่งมีชวี ติ ใน
แหล่งท่อี ยู่ การทำหนา้ ทีข่ องส่วนตา่ ง ๆ ของพืช และการทำงานของระบบยอ่ ยอาหาร ของมนษุ ย์
❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย
การเปลี่ยนแปลงทางเคมกี ารเปล่ียนแปลงทผี่ นั กลับได้และผันกลับไมไ่ ด้และการแยกสาร อย่างงา่ ย
❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลพั ธแ์ รงเสยี ดทาน แรงไฟฟ้าและ ผลของแรงตา่ งๆ ผล
ทเ่ี กิดจากแรงกระทำตอ่ วตั ถุ ความดนั หลักการท่ีมตี อ่ วตั ถุ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย ปรากฏการณเ์ บอ้ื งต้นของเสยี ง
และแสง
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
๖
❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏ ของดวงจันทร์
องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะหค์ วามแตกต่างของ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์การ
ข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษก์ ารใชแ้ ผนทด่ี าว การเกดิ อปุ ราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ
❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแขง็ หยาดนำ้
ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิด ซากดึกดำบรรพ์การเกิดลมบก ลม
ทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติธรณีพบิ ัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจก
❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธภิ าพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลอื กข้อมูล ใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกป้ ญั หา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการทำงานรว่ มกนั เขา้ ใจสิทธิและหน้าท่ขี อง
ตน เคารพสิทธขิ องผ้อู น่ื
❖ ตงั้ คำถามหรอื กำหนดปัญหาเกี่ยวกับส่ิงท่ีจะเรยี นรูต้ ามท่ีกำหนดใหห้ รอื ตาม ความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหา ที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ
สำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมอื อปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่เี หมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้ง
เชงิ ปริมาณและคุณภาพ
❖ วิเคราะหข์ ้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสมั พันธ์ของข้อมูลที่มาจากการ สำรวจตรวจสอบใน
รปู แบบท่ีเหมาะสม เพอื่ สอื่ สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อยา่ งมี เหตผุ ลและหลกั ฐานอ้างองิ
❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เรื่องที่จะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มี หลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คิดเหน็ ผู้อนื่
❖ แสดงความ รบั ผดิ ชอบดว้ ยการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายอย่างม่งุ มนั่ รอบคอบ ประหยดั ซอื่ สตั ย์
จนงานลลุ ่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์
❖ ตระหนักในคุณคา่ ของความรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใชค้ วามรูแ้ ละ กระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความช่นื ชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงาน ของผู้คดิ ค้นและศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเตมิ ทำโครงงานหรอื ชิน้ งานตามที่กำหนดใหห้ รือตามความสนใจ
❖ แสดงถงึ ความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤตกิ รรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดลอ้ มอย่างร้คู ุณค
เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี
๗
โครงสร้างเวลาเรยี นของหลกั สตู ร
หลักสูตรโรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี พ.ศ. 2552 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2565) กำหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั นี้
เวลาเรียน
กลุม่ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ระดบั ประถมศึกษา
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
รายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120 120 120 120 120 120
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 80 80 80 80 80
ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40
ภาษาต่างประเทศ 120 120 120 80 80 80
รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) 880 880 880 840 840 840
รายวิชาเพ่มิ เตมิ
ทักษะการอา่ นและการเขยี น 40 40 40 40 40 40
ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 40 40 40 40 40 40
ภาษาจนี เพ่อื การสือ่ สาร 40 40 40 40 40 40
การคน้ คว้าเพื่อเรยี นรู้ (Knowledge Inquiry) -- - 40 40 40
วทิ ยาศาสตร์พลงั สบิ - - - 40
รวมเวลาเรยี น (เพม่ิ เตมิ ) 120 120 120 200 160 160
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
กจิ กรรมนกั เรียน - ลูกเสอื /ยุวกาชาด 40 40 40 40 40 40
- ชุมนุม 30 30 30 30 30 30
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรยี น (กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน) 120 120 120 120 120 120
กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร 80 80 80 40 80 80
เสริมทักษะทางวิชาการ (40) (40) (40) - (40) (40)
1. เสริมสมรรถภาพทางกาย (พละ) ป.1-3
2. เสรมิ ทักษะทางวชิ าการ ป.5-6
ภาษาอังกฤษเสริมทักษะ (40) (40) (40) (40) (40) (40)
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด 1,200 ชว่ั โมง/ปี
หมายเหตุ 1. รายวชิ าหน้าที่พลเมือง บรู ณาการกบั พื้นฐาน วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2. การบรหิ ารจัดการเวลาเรยี นภาษาองั กฤษ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1-3 โดยจัดเปน็ รายวชิ า
พ้ืนฐาน 120 ชว่ั โมง/ปี (3 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์) ,จดั เปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 40 ชั่วโมง/ปี (1 ชัว่ โมงต่อสปั ดาห)์
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ยป์ ฏิบัติการหลักสตู ร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๘
และจัดเป็นกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร 40 ชวั่ โมง/ปี (1 ชว่ั โมงต่อสัปดาห)์ รวม 200 ชว่ั โมง/ปี (5 ชว่ั โมงต่อ
สปั ดาห)์
3. รายวิชาการค้นคว้าเพ่ือเรยี นรู้ (Knowledge Inquiry)
4. รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พลงั สบิ เรมิ่ ปกี ารศึกษา 2565 สอนในรายวิชาเพม่ิ เติม ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
5. รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ไปรวมกับวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพ่มิ เวลาเรียน 1
ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ รวมเป็น 120 ชั่วโมงตอ่ ปี
6. รายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.1-3 ปรบั ช่ัวโมงลง 1 ช่วั โมง เป็นวิชาสขุ ศกึ ษาและพล
ศึกษาไปเพม่ิ ในกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศูนย์ปฏบิ ตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๙
โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสตู ร
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1
รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน
( ช่ัวโมง/ปี)
รายวิชาพ้ืนฐาน (880)
ท11101 ภาษาไทย 200
ค11101 คณิตศาสตร์ 200
ว11101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120
ส11101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80
ส11102 ประวัตศิ าสตร์ 40
พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40
ศ11101 ศิลปะ 40
ง11101 การงานอาชีพ 40
อ11101 ภาษาอังกฤษ 120
รายวิชาเพิ่มเติม (160)
ท11201 การอา่ นการเขยี น 1 40
อ11201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร1 40
จ11201 ภาษาจีนเพ่อื การส่ือสาร1 40
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น (120)
• กิจกรรมแนะแนว/ประชมุ 40
• กิจกรรมนักเรียน 40
30
- ลกู เสอื /ยวุ กาชาด
- ชุมนุม
กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10
กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร (80)
1. เสรมิ สมรรถภาพทางกาย (พละ) 40
2. ภาษาองั กฤษเสรมิ ทกั ษะ 40
รวมเวลาเรียนทั้งส้ิน 1,200
หมายเหตุ 1. วชิ าหน้าท่พี ลเมือง บรู ณาการกับพื้นฐาน วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2. การบริหารจดั การเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 โดยจดั เปน็ รายวชิ าพ้ืนฐาน 120
ช่ัวโมง/ปี
(3 ชว่ั โมงต่อสัปดาห)์ ,จัดเปน็ รายวิชาเพิ่มเติม 40 ชัว่ โมง/ปี (1 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห)์ และจัดเปน็ กิจกรรมเสริมหลักสูตร 40
ชว่ั โมง/ปี (1 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห)์ รวม 200 ชั่วโมง/ปี (5 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์)
3. รายวิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.1-3 ปรบั ช่ัวโมงลง 1 ชั่วโมง เป็นวชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษาไปเพิ่มใน
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
4. รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ไปรวมกบั วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพม่ิ เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์
รวมเป็น 120 ช่วั โมงต่อปี
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ัติการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
ว11101 วทิ ยาศาสตร์ ๑๐
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลาเรยี น 120 ชว่ั โมง
ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ ไมม่ ีชวี ติ และความสมั พันธ์
ระหวา่ งส่งิ มีชีวิตกบั สง่ิ มีชวี ิตต่างๆในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงแทนทรี่ ะบบนิเวศ
ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ีต่อทรพั ยากรธรรมชิและส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อมรวมทง้ั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
ว 1.1 ป.1/1 ระบชุ ื่อพชื และ - บริเวณต่างๆในท้องถนิ่ เช่น สนามหญ้า ใต้ตน้ ไม้ สวนหยอ่ ม แหลง่ น้ำ อาจ
สตั วท์ อ่ี าศยั อยู่บรเิ วณต่างๆจาก พบพืชและสตั วห์ ลายชนดิ อาศยั อยู่
ข้อมูลทรี่ วบรวมได้ - บริเวณทแี่ ตกตา่ งกันอาจพบพืชและสตั ว์แตกต่างกันเพราะสภาพแวดล้อม
ของแตล่ ะบรเิ วณจะมีความเหมาะสมต่อการดำรงชวี ิตของพชื และสตั วท์ อี่ าศยั
ว 1.1 ป.1/2 บอก อยใู่ นแต่ละบริเวณ เชน่ สระน้ำ มีนำ้ เป็นทอี่ ยู่อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย
สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมใน เปน็ ทห่ี ลบภัยและมีต้นมะม่วงเป็นแหลง่ ทีอ่ ยู่ และมอี าหารสำหรับกระรอก
บริเวณที่พืชและสตั วอ์ าศยั อยู่ และมด
ในบริเวณทส่ี ำรวจ - ถา้ สภาพแวดลอ้ มในบรเิ วณท่ีพชื และสัตว์อาศัยอยู่มีการเปลี่ยนแปลง จะมี
ผลต่อการดำรงชวี ิตของพชื และสัตว์
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐานท่ี ว1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี วี ติ หนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มีชวี ิต การลำเลียงผา่ นเซลล์ ความสมั พนั ธ์
ของโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องระบบตา่ งๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ที่ทำงานสัมพนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
และหนา้ ท่ขี องอวยั วะต่างๆ ของพชื ทีท่ ำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมท้งั นำความรู้ไปใช้โยชน์
ว 1.2 ป.1/1 ระบุชอ่ื - มนุษย์มีส่วนต่างๆ ท่มี ีลักษณะและหนา้ ทแี่ ตกต่างกันเพือ่ ใหเ้ หมาะสมใน
บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าท่ี การดำรงชวี ิต เช่น ตามหี น้าทไ่ี ว้มองดู โดยมหี นงั ตาและขนตาเพ่ือปอ้ งกนั
ของส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย อันตรายให้กบั ตา หมู หี น้าที่รบั ฟงั เสียง โดยมีใบหูและรหู ูเพอ่ื เปน็ ทางผ่านของ
มนุษย์ สตั วแ์ ละพชื รวมทง้ั เสียง ปากมหี นา้ ทพ่ี ูด กินอาหารมีชอ่ งปากและมรี ิมฝปี ากบนล่าง แขนและมือ
บรรยายการทำหน้าทร่ี ่วมกัน มีหน้าทย่ี ก หยบิ จบั มีทอ่ นแขนและนิว้ มอื ทีข่ ยบั ได้ สมองมหี นา้ ท่คี วบคมุ
ของสว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย การทำงานของสว่ นตา่ งๆ ของร่างกายเปน็ กอ้ นที่อยูใ่ นกะโหลกศีรษะ โดย
มนษุ ยใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ งๆ สว่ นตา่ งๆของร่างกายทำหนา้ ท่รี ่วมกนั ในการทำกจิ กรรมในชีวติ ประจำวัน
จากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ - พชื มสี ว่ นต่างๆท่มี ลี กั ษณะและหน้าทีแ่ ตกต่างกนั เพอ่ื ให้เหมาะสมในการ
ดำรงชีวิตโดยทว่ั ไป รากมลี ักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเปน็ รากเลก็ ๆ ทำ
หน้าทด่ี ูดนำ้ ลำต้นมลี กั ษณะเปน็ ทรงกระบอกตัง้ ตรงและมีกงิ่ กา้ น ทำหนา้ ที่
ชกู ิง่
กา้ นใบ และดอก ใบมีลกั ษณะเปน็ แผน่ แบน ทำหนา้ ทีส่ รา้ งอาหาร นอกจากนี้
พชื หลายชนิดมีดอกทม่ี สี ี รูปรา่ งต่างๆ ทำหนา้ ทส่ี บื พนั ธ์ุ รวมท้ังมผี ลทม่ี ี
เปลือก มเี นอื้ ห่อหมุ้ เมล็ด และมเี มล็ดซ่ึงสามารถงอกเป็นต้นใหม่ได้
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๑๑
ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้
- สัตว์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมสี ว่ นตา่ งๆ ทมี่ ลี ักษณะและหนา้ ที่แตกต่างกนั
เพ่อื ใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวิต เช่น ปลามคี รบี เปน็ แผน่ สว่ นกบ เตา่ แมว
มีขา 4 ขาและมีเท้า สำหรบั ใช้ในการเคลือ่ นที่
ว 1.2 ป.1/2 ตระหนกั ถึง - มนุษยใ์ ช้ส่วนตา่ งๆ ของร่างกายในการทำกจิ กรรมต่างๆ เพื่อดำรงชวี ิต
ความสำคัญของส่วนต่างๆของ มนษุ ยจ์ งึ ควรใช้ส่วนตา่ งๆของรา่ งกายอย่างถกู ต้อง ปลอดภยั และรักษาความ
ร่างกายตนเองโดยการดแู ลส่วน สะอาดอยเู่ สมอ เชน่ ใชต้ ามองตัวหนังสอื ในที่ ทม่ี ีแสงสว่างเพยี งพอ ดแู ลตา
ต่างๆ อย่างถูกต้อง ใหป้ ลอดภัย ใหป้ ลอดภยั จากอันตรายและรักษาความสะอาดของตาอยเู่ สมอ
และรักษาความสะอาดอยเู่ สมอ
สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐานที่ 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบัตขิ องสสารกบั
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสารการเกดิ
สารละลายและการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
ว2.1ป1/1 อธิบายสมบัติที่ - วัสดทุ ่ีใช้ทำวตั ถุทเ่ี ปน็ ของเลน่ ของใช้ มหี ลายชนดิ เช่น ผา้ แก้ว พลาสตกิ
สงั เกตได้ของวัสดทุ ่ใี ช้ทำวัตถซุ ึง่ ยางไม้ อฐิ หนิ กระดาษ โลหะ วสั ดแุ ตล่ ะชนิดมสี มบตั ทิ สี่ ังเกตไดต้ า่ งๆ เชน่ สี
ทำจากวัสดุชนดิ เดยี วหรือหลาย น่มุ แขง็ ขรุขระ เรียบ ใส ขนุ่ ยืดหดได้ บดิ งอได้
ชนดิ ประกอบกนั โดยใช้ - สมบตั ิทสี่ ังเกตไดข้ องวัสดแุ ต่ละชนิดอาจเหมอื นกนั ซ่ึงสามารถนำมาใช้เป็น
หลักฐานเชิงประจักษ์ เกณฑ์ในการจัดกลุม่ วัสดุได้
ว2.1ป1/2 ระบชุ นดิ ของวสั ดุ - วสั ดุบางอยา่ งสามารถนำมาประกอบกันเพ่ือทำเปน็ วตั ถตุ า่ งๆ เชน่ ผา้ และ
และจัดกล่มุ วสั ดตุ ามสมบัติท่ี กระดุม ใชท้ ำเสือ้ ไมแ้ ละโลหะใช้ทำกระทะ
สังเกตได้
สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐานที่ 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่าง
สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคล่ืน ปรากฏการณท์ ่เี กีย่ วข้องกบั เสยี ง แสงและคลื่น
แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ว2.3ป1/1 บรรยายการเกิด - เสยี งเกิดจากการส่นั ของวตั ถุ วตั ถทุ ี่ทำให้เกดิ เสียงเป็นแหลง่ กำเนิดเสียงซ่ึง
เสยี งและทศิ ทางการเคลอื่ นท่ี มที ัง้ แหลง่ กำเนิดเสยี งตามธรรมชาตแิ ละแหลง่ กำเนิดเสยี งทมี่ นษุ ยส์ ร้างข้ึน
ของเสียงจากหลกั ฐานเชิง เสียงเคลอ่ื นทอ่ี อกจากแหลง่ กำเนดิ เสียงทุกทศิ ทาง
ประจักษ์
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว
ฤกษ์และระบบสรุ ิยะ รวมทั้งปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสรุ ิยะทสี่ ่งผลต่อสิง่ มชี ีวติ และการประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
ว3.1ป1/1 ระบุดาวทปี่ รากฏ - บนทอ้ งฟา้ มดี วงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ซงึ่ ในเวลากลางวนั จะมองเหน็
บนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวนั และ ดวงอาทิตยแ์ ละอาจมองเหน็ ดวงจนั ทรบ์ างวนั แตไ่ มส่ ามารถมองเหน็ ดวงดาว
เวลากลางคนื จากขอ้ มูลท่ี กลางคนื จะมองเหน็ ดาวและมองเห็นดวงจนั ทรเ์ กอื บทกุ คนื
รวบรวมได้
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนย์ปฏบิ ตั ิการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๑๒
ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้
ว3.1ป1/2 อธบิ ายสาเหตุท่ี - ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดวงดาวสว่ นใหญเ่ น่ืองจาก
มองไม่เห็นดาวสว่ นใหญ่ใน แสงอาทิตยส์ วา่ งกวา่ จงึ กลบแสงของดาว สว่ นในเวลา
เวลากลางวันจากหลกั ฐานเชิง กลางคืนจะมองเหน็ ดาวและมองเหน็ ดวงจนั ทรเ์ กอื บทกุ คืน
ประจกั ษ์
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลกรวมท้งั ผลต่อสง่ิ มชี ีวติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม
ว3.2ป1/1 อธิบายลกั ษณะ - หินทีอ่ ยู่ในธรรมชาติมลี กั ษณะภายนอกเฉพาะตวั ทส่ี ังเกตได้ เช่น สี
ภายนอกของหินจากลกั ษณะ ลวดลาย นำ้ หนัก ความแข็งและเนอื้ หนิ
เฉพาะตัวท่ีสงั เกตได้
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขัน้ ตอนและเป็น
ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม
ว4.2 ป1/1 แก้ปญั หาอย่าง - การแกป้ ญั หาให้ประสบความสำเร็จทำได้โดยใชข้ ั้นตอนการแก้ปญั หา
ง่าย โดยใช้การลองผิดลองถกู - ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกต่างของภาพ การจัด
การเปรียบเทียบ หนังสือใสก่ ระเปา๋
ว 4.2 ป1/2 แสดงลำดบั - การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาทำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ
ขั้นตอนการทำงานหรอื การ หรอื ใชส้ ญั ลักษณ์
แกป้ ัญหาอย่างงา่ ย โดยใชภ้ าพ - ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกตา่ งของภาพ การจดั
สัญลกั ษณ์หรอื ขอ้ ความ หนังสือใสก่ ระเปา๋
ว4.2 ป1/3 เขยี นโปรแกรม - การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดบั ของคำสง่ั ใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน
อย่างงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ - ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ตัวละครย้ายตำแหน่ง ย่อ
หรอื สอ่ื ขยายขนาด เปลีย่ นรปู ร่าง
- ซอฟต์แวร์ หรอื สื่อทีใ่ ช้ในการเขยี นโปรแกรม เช่น ใชบ้ ตั รคำสงั่ แสดงการ
เขียนโปรแกรม,Code.org
ว4.2 ป1/4 ใช้เทคโนโลยีใน - การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น เช่น กรใช้ เมาส์ คีย์บอร์ด จอ
การสร้าง จดั เกบ็ เรยี กใช้ข้อมลู สัมผัส การเปิด-ปิด อุปกรณเ์ ทคโนโลยี
ตามวัตถปุ ระสงค์ - การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและออกจากโปรแกรม การ
สร้างไฟล์ การจัดเก็บ การเรียกใช้ไฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรม
ประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนำเสนอ
- การสรา้ งและจัดเกบ็ ไฟล์อยา่ งเป็นระบบจะทำใหเ้ รียกใช้ คน้ หาข้อมูลได้
ง่ายและรวดเรว็
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
ตวั ชว้ี ัด ๑๓
ว4.2 ป1/5 ใช้เทคโนโลยี สาระการเรยี นรู้
สารสนเทศอย่างปลอดภัย
ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงในการใช้ - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น รู้จักข้อมูลส่วนตัว
คอมพวิ เตอรร์ ว่ มกันดูแลรกั ษา อนั ตรายจากการเผยแพร่ข้อมลู ส่วนตัว และไม่บอกข้อมลู ส่วนตัวกับบุคคล
อปุ กรณเ์ บ้อื งต้นใช้งานอย่าง อื่นยกเว้นผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความช่วยเหลอื
เหมาะสม เก่ยี วกบั การใชง้ าน
- ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบน
อปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใช้อปุ กรณ์อย่างถกู วธิ ี
- การใชง้ านอย่างเหมาะสม เชน่ จัดท่านง่ั ให้ถกู ต้อง การพกั สายตาเม่ือใช้
อปุ กรณเ์ ป็นเวลานาน ระมัดระวงั อบุ ตั ิเหตจุ ากการใช้งาน
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
๑๔
การวเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด
ผลการเรียนรูข้ อง ASEAN Curriculum Sourcebook เพอื่ กำหนด “สาระสำคัญเกย่ี วกับอาเซยี น”
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ผลการเรยี นรขู้ อง สาระสำคัญเกีย่ วกับ
ASEAN Curriculum อาเซียน
Sourcebook
1.มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ป.1/1 ระบชุ ่ือ 1. นักเรียนสามารถบอก สตั วแ์ ละดอกไมใ้ น
ตัวชีว้ ัด /ผลการเรยี นรู้ พชื และสตั ว์ทอ่ี าศยั อยู่ ชนดิ ของสัตว์และดอกไม้ ประเทศอาเซยี น
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ บรเิ วณต่างๆจากข้อมูล ในประเทศอาเซยี น ประเทศต่างๆ มี
ชวี ภาพ ทีร่ วบรวมได้ ประเทศตา่ งๆได้ เป็น ความแตกต่างกนั ตาม
มาตรฐาน ว1.1 เขา้ ใจความ การแลกเปลย่ี นข้อมลู เอกลักษณแ์ ละ
หลากหลายของระบบนิเวศ เพอ่ื สามารถนำไปส่กู าร วฒั นธรรมของแตล่ ะ
ความสมั พันธ์ระหว่าง คน้ พบท่ีสำคญั ประเทศ
ส่ิงไมม่ ีชีวติ และความสมั พันธ์ 2. นกั เรียนสามารถบอก
ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ กับสงิ่ มีชีวติ ลักษณะโครงสร้าง
ต่างๆในระบบนเิ วศ การ ภายนอกของสตั ว์และ
ถ่ายทอดพลงั งาน การ ดอกไมไ้ ด้ เปน็ การ
เปล่ยี นแปลงแทนทร่ี ะบบ แลกเปล่ยี นข้อมูล เพอื่
นเิ วศความหมายของ สามารถนำไปสูก่ าร
ประชากร ปัญหาและ คน้ พบทีส่ ำคญั
ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ทรพั ยากร 3. นกั เรียนสามารถบอก
ธรรมชแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม หนา้ ที่ของสตั วแ์ ละ
แนวทางในการอนรุ ักษ์ ดอกไม้ได้ เป็นการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและการ แลกเปลี่ยนขอ้ มลู เพ่ือ
แกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม สามารถนำไปสู่การ
รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ ค้นพบท่ีสำคญั
ประโยชน์
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศูนย์ปฏิบตั กิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๑๕
คำอธบิ ายรายวชิ า
ว11101 วทิ ยาศาสตร์
รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรยี น 120 ชวั่ โมง
ศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สังเกต สำรวจ ทดลอง ระบุ อธิบาย เชิงประจักษ์ บริเวณทีอ่ ยูอ่ าศยั
ของสตั วแ์ ละพืช สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมกบั การดำรงชีวติ ของพืชและสัตว์ ดอกไม้และสตั วป์ ระจำประเทศ
อาเซียน ลักษณะ หน้าที่ของส่วนต่างๆและการทำงานร่วมกันของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช ดูแลรักษา
อวยั วะของร่างกายอยา่ งถกู ตอ้ งปลอดภัย สมบัตขิ องวสั ดุท่ีใช้ทำวตั ถุ ระบุ จัดกลมุ่ ชนดิ ของวสั ดุ การเกิดเสียง
และทิศทางการเคลื่อนทีข่ องเสียง ลักษณะภายนอกและลักษณะเฉพาะตัวของหิน สิ่งทีป่ รากฏบนท้องฟ้าใน
เวลากลางวันและกลางคืน
โดยใช้กระบวนทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นขอ้ มลู บนั ทกึ
จัดกลมุ่ ขอ้ มลู เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอสื่อสารสิง่ ท่ีเรียนรู้ มคี วามสามารถใน
การตัดสินใจ เหน็ คณุ ค่าของการนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมทีเ่ หมาะสม
ใช้แนวคิดเชิงคำนวณ แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นระบบ เปรียบเทียบแสดงลำดับขั้นตอน
ใชเ้ ทคโนโลยีในการสร้าง เขียนโปรแกรม โดยใช้ซอฟต์แวร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ดูแลรักษา
อุปกรณ์เบื้องต้น และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตนเอง
เคารพในสิทธขิ องผู้อน่ื แจ้งผูเ้ กยี่ วข้องเมอื่ พบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม ทำงานดว้ ยความกระตือรือร้น
และตรงเวลา มี เจตคติที่ดีต่อการทำงาน มีลักษณะนิสัยการทำงานที่เหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านยิ มที่เหมาะสม
ตวั ชวี้ ดั
ว1.1 ป1/1 , ว1.1 ป1/2
ว1.2 ป1/1 , ว1.2 ป1/2
ว2.1 ป1/1 , ว2.1 ป1/2
ว2.3 ป1/1
ว3.1 ป1/1 , ว3.1 ป1/2
ว3.2 ป.1/1
ว4.2 ป1/1 , ว4.2 ป1/2 , ว4.2 ป1/3 , ว4.2 ป1/4 , ว4.2 ป1/5
รวม 15 ตัวชีว้ ัด
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี
รหสั ว11101 วชิ าวิทยาศาสตร์ ๑๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1
โครงสรา้ งรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง
ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ/ หลกั สตู รแกนกลาง เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรียนรู้ / ตัวชวี้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน
1 พืชและสตั วใ์ น
ท้องถนิ่ ว1.1 ป1/1 - บริเวณต่างๆในท้องถิ่นอาจพบพืชและ 12 6
ว1.1 ป1/2
2 ส่งิ มีชีวติ สตั วห์ ลายชนิดอาศยั อยู่
ว1.2 ป1/1
3 หนิ ในท้องถนิ่ ว1.2 ป1/2 - บริเวณที่แตกต่างกันอาจพบพืชและ
4 เทคโนโลยี
ว3.2ป1/1 สัตวแ์ ตกต่างกนั
เบอื้ งตน้ ว4.2ป1/4
- สภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์
อาศัยอยู่มีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อ
การดำรงชวี ิตของพืชและสตั ว์
-ดอกไม้ประจำชาติต่างๆในอาเซียนสัตว์
ประจำชาตติ า่ งๆ ในอาเซียน
- มนุษย์มสี ว่ นตา่ งๆที่มลี กั ษณะและ 16 9
หน้าที่แตกตา่ งกันเพื่อให้เหมาะสมในการ
ดำรงชวี ิต
- สตั ว์มหี ลายชนดิ แต่ละชนดิ มีส่วนต่างๆ
ทีม่ ีลกั ษณะและหน้าทีแ่ ตกต่างกัน เพือ่ ให้
เหมาะสมในการดำรงชีวิต
- พืชมสี ว่ นตา่ งๆทีม่ ลี กั ษณะและหนา้ ท่ี
แตกตา่ งกนั เพอ่ื ให้เหมาะสมในการ
ดำรงชีวติ
- มนุษย์ใช้สว่ นตา่ งๆของร่างกายในการ
ทำกิจกรรมต่างๆเพื่อการดำรงชวี ติ จึง
ควรใชส้ ่วนตา่ งๆอย่างถูกตอ้ ง ปลอดภัย
และรกั ษาความสะอาดอยเู่ สมอ
- หนิ ที่อยู่ในธรรมชาตมิ ีลกั ษณะ 11 5
ภายนอกเฉพาะตัวทีส่ งั เกตได้
- การใชง้ านอุปกรณ์เทคโนโลยีเบอื้ งตน้ 9 4
เช่น กรใช้ เมาส์ คีย์บอร์ด จอสัมผัส
การเปิด-ปิด อปุ กรณเ์ ทคโนโลยี
- การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็น
ระบบจะทำให้เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้
งา่ ยและรวดเรว็
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี
๑๗
ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั / หลักสตู รแกนกลาง เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรียนรู้ / ตัวช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
5 การแกป้ ญั หา - การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น
อย่างง่าย
การเข้าและออกจากโปรแกรม การ
สร้างไฟล์ การจัดเก็บ การเรียกใช้ไฟล์
ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรม
ประมวลคำ โปรแกรมกราฟกิ โปรแกรม
นำเสนอ
ว4.2ป1/1 - การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเรจ็ 11 6
ว4.2ป1/2 ทำได้โดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา
ว4.2ป1/3 - ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต
เกมหาจุดแตกต่างของภาพ การจัด
หนังสือใสก่ ระเปา๋
- การแสดงขัน้ ตอนการแกป้ ญั หาทำได้
โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้
สัญลกั ษณ์
- ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต
เกมหาจุดแตกต่างของภาพ การจัด
หนงั สือใสก่ ระเปา๋
- การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้าง
ลำดบั ของคำส่งั ให้คอมพวิ เตอร์ทำงาน
- ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียน
โปรแกรมสั่งให้ตัวละครย้ายตำแหน่ง
ยอ่ ขยายขนาด เปล่ียนรปู รา่ ง
- ซอฟต์แวร์ หรือสื่อที่ใช้ในการเขียน
โปรแกรม เช่น ใช้บัตรคำส่ังแสดงการ
เขียนโปรแกรม,Code.org
รวมภาคเรยี นที่ 1 59 30
สรปุ ทบทวน / สอบกลางปี 1 15
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏบิ ตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
รหัส ว11101 วชิ าวิทยาศาสตร์ ๑๘
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2
โครงสรา้ งรายวิชา
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง
ลำดบั ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ/ หลกั สูตรแกนกลาง เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน
6 วสั ดนุ า่ รู้
ว2.1ป1/1 - วสั ดทุ ใ่ี ช้วัสดุทีเ่ ป็นของเล่น ของใช้ 13 7
7 เสียงรอบตวั ว2.1ป1/2
- สมบัติท่ีสงั เกตไดข้ องวสั ดุแต่ละชนิดอาจ
8 ท้องฟา้ ว2.3ป1/1
แสนสวย เหมอื นกันซง่ึ สามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑ์ใน
ว3.1ป1/1
9 การเขียน ว3.1ป1/2 การจัดกลมุ่ วสั ดไุ ด้
โปรแกรม
เบอ้ื งต้น ว4.2ป1/3 - วัสดุบางอย่างสามารถนำมาประกอบกนั
เพื่อทำเปน็ วัตถุต่างๆ
- เสยี งเกิดจากการสนั่ ของวัตถุ วตั ถทุ ่ีทำ 13 6
ให้เกดิ เสยี งเปน็ แหล่งกำเนิดเสียงซง่ึ มที ้ัง
แหล่งกำเนิดเสียงตามธรรมชาติและ
แหล่งกำเนดิ เสยี งทีม่ นุษยส์ ร้างขนึ้ เสยี ง
เคล่อื นทอ่ี อกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี งทกุ
ทิศทาง
- บนทอ้ งฟา้ มดี วงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และ 15 7
ดาว ซงึ่ ในเวลากลางวันจะมองเหน็ ดวง
อาทติ ยแ์ ละอาจมองเหน็ ดวงจนั ทรบ์ างวนั
แต่ไมส่ ามารถมองเหน็ ดวงดาว
- ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดวงดาวสว่ น
ใหญเ่ นื่องจากแสงอาทิตยส์ ว่างกว่าจงึ กลบ
แสงของดาว ส่วนในเวลากลางคืนจะ
มองเห็นดาวและมองเห็นดวงจนั ทรเ์ กอื บ
ทกุ คืน
- การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับ 9 3
ของคำสั่งใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน
- ตวั อย่างโปรแกรม เชน่ เขยี นโปรแกรม
สั่งให้ตัวละครย้ายตำแหน่ง ย่อขยาย
ขนาด เปล่ียนรปู ร่าง
- ซอฟต์แวร์ หรือสื่อที่ใช้ในการเขียน
โปรแกรม เช่น ใช้บัตรคำสั่งแสดงการ
เขียนโปรแกรม,Code.org
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
๑๙
ลำดบั ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั / หลกั สตู รแกนกลาง เวลา น้ำหนัก
(ช่วั โมง) คะแนน
ที่ การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
10 การใช้ ว4.2ป1/5 - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง 11 2
เทคโนโลยี ปลอดภัย เช่น รู้จักข้อมูลส่วนตัว
สารสนเทศ อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว
อยา่ งปลอดภัย และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่น
ยกเว้นผูป้ กครอง หรอื ครู แจ้งผูเ้ ก่ียวข้อง
เมื่อต้องการความช่วยเหลือเก่ียวกับการ
ใช้งาน
- ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแล
รักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบน
อุปกรณ์ ทำความสะอาด ใชอ้ ุปกรณ์อย่าง
ถูกวิธี
- การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดทา่
นั่งให้ถูกต้อง การพักสายตาเมื่อใช้
อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวัง
อบุ ตั เิ หตุจากการใช้งาน
รวมคะแนนระหวา่ งปี - 70
แฟม้ สะสมงาน/ความเรียงขั้นสงู /โครงงานสรา้ งสรรค์ - 10
สอบปลายปี 1 20
รวมตลอดปี 120 100
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ๒๐
ว11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เรอื่ ง พืชและสตั ว์ในท้องถิ่น
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลาเรยี น 12 ชว่ั โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่งิ ไมม่ ีชีวิตและ
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวติ กับส่ิงมชี วี ิตต่างๆในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ระบบนเิ วศความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบท่ีมตี ่อทรพั ยากรธรรมชแิ ละส่งิ แวดล้อม แนวทางใน
การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดลอ้ มรวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ตวั ช้วี ัด
ว 1.1 ป.1/1 ระบุชอ่ื พชื และสัตวท์ ่ีอาศัยอยบู่ ริเวณตา่ งๆจากขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้
ว 1.1 ป.1/2 บอกสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมในบรเิ วณท่ีพชื และสัตว์อาศัยอย่ใู นบริเวณท่ีสำรวจ
สาระสำคญั
- บรเิ วณทส่ี ำรวจพบพืชและสตั ว์
- สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมกบั การดำรงชวี ติ ของพืชและสตั ว์
- การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมทมี่ ผี ลต่อการดำรงชวี ติ ของพชื และสตั ว์
- ดอกไม้และสตั วป์ ระจำประเทศสมาชกิ อาเซยี น
สาระการเรยี นรู้
1. บรเิ วณตา่ งๆในท้องถิน่ เชน่ สนามหญ้า ใตต้ น้ ไม้ สวนหยอ่ ม แหลง่ นำ้ อาจพบพืชและสตั ว์หลาย
ชนิดอาศัยอยู่
2.บรเิ วณที่แตกต่างกันอาจพบพชื และสัตว์แตกต่างกนั เพราะสภาพแวดล้อมของแตล่ ะบรเิ วณจะมี
ความเหมาะสมตอ่ การดำรงชีวติ ของพืชและสัตวท์ ่ีอาศัยอยใู่ นแต่ละบริเวณ เช่น สระน้ำ มนี ้ำเปน็ ทอี่ ย่อู าศัย
ของหอย ปลา สาหร่าย เปน็ ที่หลบภยั และมีตน้ มะม่วงเปน็ แหลง่ ทอ่ี ยู่ และมีอาหารสำหรบั กระรอกและมด
3. ถา้ สภาพแวดล้อมในบริเวณท่ีพชื และสัตวอ์ าศยั อยู่มกี ารเปลีย่ นแปลง จะมผี ลตอ่ การดำรงชวี ติ ของ
พืชและสัตว์
4. เรียนรดู้ อกไม้และสัตวป์ ระจำประเทศสมาชกิ อาเซียน
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
-สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า ระบุชื่อพชื และสัตวท์ อ่ี าศัยอยู่บริเวณตา่ งๆ
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแล้วสรปุ ข้อมลู สำคัญของสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมในบรเิ วณท่ีพชื และสัตว์อาศยั อยู่
3.ความสามารถในการใชท้ ักษะในชวี ติ ประจำวนั
-นำข้อมูลจากการศกึ ษาเรอื่ งพชื และสตั ว์มาใชใ้ นด้านการปลกู พชื และเล้ียงสัตว์
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏิบตั ิการหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๒๑
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝ่รู้
2.มีความรับผิดชอบ มีความซอ่ื สัตย์ มเี หตผุ ล
3.ใจกวา้ งร่วมแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟังความคดิ เห็นของผอู้ นื่
4. มีความมงุ่ มั่น อดทน รอบคอบ
ชนิ้ งานหรือภาระงาน
1.บนั ทึกชอ่ื พชื และสัตวท์ อ่ี าศัยอยบู่ ริเวณต่างๆ
2.อภปิ รายสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในบริเวณที่พืชและสัตวอ์ าศัยอย่ใู นบริเวณทส่ี ำรวจ
3.สรปุ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในบรเิ วณท่ีพชื และสตั วอ์ าศัยอยู่
4.ใบงานโยงภาพดอกไม้และสตั วป์ ระจำประเทศสมาชิกอาเซียน
การวดั และประเมินผล
1.บันทกึ ชือ่ พชื และสัตว์ทอี่ าศัยอยบู่ ริเวณตา่ งๆ
2.อภิปรายสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมในบริเวณท่ีพืชและสตั ว์อาศยั อยใู่ นบริเวณทส่ี ำรวจ
3.สรปุ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในบริเวณท่ีพืชและสัตว์อาศัยอยู่
4.ตรวจใบงานโยงภาพดอกไมแ้ ละสตั วป์ ระจำประเทศสมาชกิ อาเซียน
กิจกรรมการเรียนรู้
ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
กิจกรรมที่ 1 ชอื่ พชื และช่ือสัตว์
1. ครูสนทนาซกั ถามนกั เรยี นว่า นักเรียนรจู้ กั ชื่อพชื และชอ่ื สัตว์อะไรบ้าง ให้นกั เรียนรว่ มกันตอบ
จากน้ันบนั ทึกในใบกจิ กรรมที่1
2. ใหน้ ักเรยี นรวมกลมุ่ กันกลุม่ ละ 3-4 คน ตามความสมคั รใจ หรือคละความสามารถ แล้วแตค่ วาม
เหมาะสม ให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กบรเิ วณทจ่ี ะสำรวจตามความสนใจ
3. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ สำรวจบรเิ วณทีเ่ ลอื ก และบันทึกผลชอ่ื พืชและช่อื สัตวท์ สี่ ำรวจพบ
4. สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภิปราย เพ่ือสรปุ เปน็ ขอ้ มูลของกลมุ่
5. ตวั แทนกล่มุ นำเสนอผลงานและขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการสรปุ ของกลมุ่
6. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ สภาพแวดลอ้ มท่นี ักเรยี นใช้ในการสำรวจ
7. ครูให้นกั เรยี นดภู าพดอกไมป้ ระจำประเทศสมาชกิ อาเซยี น และถามชื่อว่าดอกไม้อะไร (นักเรียน
ตอบดอกไม้ )
8. ครูให้นกั เรยี นดภู าพสัตว์ประจำประเทศสมาชิกอาเซยี น และถามชือ่ วา่ สตั วอ์ ะไร (นกั เรียนตอบชอ่ื
สตั ว์ ) นกั เรียนทำใบงานบรู ณาการอาเซียนเร่ืองดอกไม้และสัตวป์ ระจำประเทศสมาชิกอาเซียน
กจิ กรรมที่ 2 สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมตอ่ การดำรงชวี ิต
1. นกั เรยี นดูคลปิ วีดโี อ เร่ือง การดำรงชวี ติ ของกบ
2. นักเรยี นช่วยกันบอกสภาพแวดล้อมทก่ี บอาศัยอยู่
3. นักเรยี นทำกิจกรรมดคู ลปิ วดี โี อ เรอ่ื ง การดำรงชีวติ ของกบทีก่ ำหนดและบนั ทกึ ข้อมลู
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี
๒๒
ใบกิจกรรมที่ 2 แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนนำเสนอผลงาน
4. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมตอ่ การดำรงชีวิตของพืชและสัตว์
ซึ่งควรไดข้ ้อสรปุ ว่า “พชื และสตั ว์แตล่ ะชนดิ มสี ภาพแวดล้อมทจ่ี ะดำรงชีวิตอยไู่ ดแ้ ตกตา่ งกัน”
5. ครูต้งั ประเดน็ คำถามวา่ “จากสภาพปจั จบุ นั ทเี่ ปล่ียนแปลงไปนน้ั ส่งผลตอ่ การดำรงชวี ติ ของพืช
หรอื สตั วอ์ ยา่ งไร” ให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเปรียบเทียบสภาพแวดลอ้ มที่เปลีย่ นไปซึง่ ส่งผลกระทบตอ่ การ
ดำรงชวี ิตของพืชและสัตว์
6. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปการปรับตวั ของพชื และสัตวเ์ พอื่ ให้เหมาะสมกบั การดำรงชีวิตใน
สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปล่ยี นแปลงไป
7. ครูให้นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มลู จากใบความรู้ เพอื่ ใหเ้ ข้าใจยง่ิ ขึ้น
8. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรียน
เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
ประเดน็ การประเมนิ
1. ผลงานตรงกบั ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
จุดประสงค์ทีก่ ำหนด
ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
2. ผลงานมคี วาม
ถูกต้องสมบรู ณ์ กับจดุ ประสงค์ กับจดุ ประสงค์ กับจดุ ประสงค์ สอดคล้องกบั
3. ผลงานมคี วามคดิ ทุกประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเดน็ จุดประสงค์
สร้างสรรค์
เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ
4. ผลงานมีความเปน็
ระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ กู ตอ้ ง
ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมแี นวคิด ผลงานมคี วาม ผลงานไมแ่ สดง
ถงึ ความคิด แปลกใหมแ่ ต่ยงั นา่ สนใจแตย่ งั ไมม่ ี แนวคิดใหม่
สร้างสรรค์ แปลก ไม่เป็นระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ใหมแ่ ละเป็น
ระบบ
ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมคี วามเป็น ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบยี บแสดงออก ความเปน็ ระเบียบ ระเบียบแตม่ คี วาม ไมเ่ ป็นระเบียบ
ถึงความประณีต แต่ยังมคี วาม บกพรอ่ งบางส่วน และมขี อ้ บกพร่อง
บกพรอ่ งเลก็ นอ้ ย มาก
เกณฑ์การตัดสิน/ระดบั คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ดีมาก
14 - 16 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี
9 - 13 คะแนน
ระดบั คุณภาพ พอใช้
6 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง
1 - 5 คะแนน ผา่ น
เกณฑ์การผ่าน ระดับคุณภาพ พอใช้
เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๒๓
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง ส่งิ มชี ีวิต
ว11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลาเรียน 16 ชัว่ โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี ว1.2 เข้าใจสมบัติของสงิ่ มีชวี ิต หนว่ ยพนื้ ฐานของส่งิ มีชวี ิต การลำเลียงผา่ นเซลล์
ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทขี่ องระบบตา่ งๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ทที่ ำงานสมั พนั ธ์กนั ความสมั พันธ์
ของโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องอวยั วะตา่ งๆ ของพืชทที่ ำงานสมั พนั ธก์ ัน รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้โยชน์
ตวั ชว้ี ดั
ว 1.2 ป.1/1 ระบชุ ื่อ บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทีข่ องสว่ นต่างๆของรา่ งกายมนษุ ย์ สัตว์และพชื
รวมท้ังบรรยายการทำหน้าทีร่ ว่ มกนั ของส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษย์ในการทำกจิ กรรมต่างๆจากข้อมลู ท่ี
รวบรวมได้
ว 1.2 ป.1/2 ตระหนักถึงความสำคญั ของส่วนตา่ งๆของร่างกายตนเองโดยการดูแลสว่ นตา่ งๆ อย่าง
ถูกตอ้ ง ใหป้ ลอดภัยและรกั ษาความสะอาดอย่เู สมอ
สาระสำคัญ
- หน้าท่ีของโครงสรา้ งรา่ งกายมนษุ ย์
- หน้าท่ขี องโครงสร้างสัตว์
- หนา้ ทขี่ องโครงสรา้ งพชื
- การดแู ลรกั ษาความสะอาดรา่ งกายมนษุ ย์
สาระการเรยี นรู้
1. มนษุ ยม์ สี ว่ นตา่ งๆ ทีม่ ลี กั ษณะและหนา้ ท่แี ตกตา่ งกันเพอื่ ใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวติ โดยสว่ น
ต่างๆของรา่ งกายทำหนา้ ทรี่ ่วมกนั ในการทำกจิ กรรมในชีวิตประจำวนั
2. สัตว์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมสี ่วนตา่ งๆ ทีม่ ลี กั ษณะและหนา้ ท่แี ตกต่างกนั เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมใน
การดำรงชีวติ
3. พืชมสี ่วนต่างๆทม่ี ลี กั ษณะและหนา้ ท่ีแตกต่างกันเพ่อื ใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวิต
4. มนุษยใ์ ช้สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายในการทำกจิ กรรมต่างๆ เพื่อดำรงชวี ิต มนษุ ย์จึงควรใช้สว่ นตา่ งๆ
ของร่างกายอย่างถูกต้อง ปลอดภยั และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอื่ สาร
-สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ ควา้ โครงสร้างและหน้าท่ีของมนษุ ย์ พชื และสตั ว์
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแล้วสรปุ ขอ้ มลู สำคญั ของโครงสร้างและหน้าทข่ี องมนุษย์ พืชและสตั ว์
เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี
๒๔
3.ความสามารถในการใชท้ กั ษะในชีวิตประจำวัน
-นำข้อมลู จากการศกึ ษาเร่อื งโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของมนษุ ย์ พืชและสัตว์ ใช้ในด้านการดูแล
รักษาโครงสรา้ งต่างๆให้ถกู ตอ้ ง
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1.มีความสนใจใฝ่รู้
2.มีความรับผิดชอบ มคี วามซอ่ื สัตย์ มเี หตผุ ล
3.ใจกว้างร่วมแสดงความคดิ เหน็ และรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่น
4. มีความมงุ่ มัน่ อดทน รอบคอบ
ช้ินงานหรือภาระงาน
1.บันทึกหน้าทข่ี องอวัยวะของมนษุ ยแ์ ละสตั วร์ ่วมท้ังโครงสร้างภายนอกของพชื
2.อภิปรายหน้าที่ของอวยั วะของมนุษย์และสตั วร์ ่วมทงั้ โครงสร้างภายนอกของพืชจากสภาพทเี่ หน็ จรงิ
3.สรปุ หนา้ ทขี่ องอวัยวะของมนษุ ย์และสตั วร์ ่วมท้ังโครงสร้างภายนอกของพชื และสรปุ การดแู ลรกั ษา
ความสะอาดความรกั ษาความปลอดภัยของอวัยวะต่างๆของมนุษย์
การวัดและประเมนิ ผล
1.บันทกึ หนา้ ทข่ี องอวัยวะของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์รว่ มทั้งโครงสรา้ งภายนอกของพืช
2.อภปิ รายหน้าท่ีของอวัยวะของมนษุ ยแ์ ละสัตว์ร่วมทงั้ โครงสร้างภายนอกของพืชจากสภาพทเี่ ห็น
3.สรปุ หน้าทขี่ องอวัยวะของมนษุ ย์และสตั วร์ ่วมทง้ั โครงสรา้ งภายนอกของพืชและสรุปการดแู ลรักษา
ความสะอาดความรกั ษาความปลอดภยั ของอวยั วะตา่ งๆของมนษุ ย์
กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
กจิ กรรมที่ 1 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของรา่ งกายเรา
1. นักเรยี นศึกษาสถานการณจ์ ำลอง(บทความเรอื่ งการเลน่ กฬี าชกั เยอ)
2. ใหน้ กั เรยี นวิเคราะหว์ า่ กจิ กรรมทท่ี ำการศึกษานนั้ ใชอ้ วยั วะใดในการทำกจิ กรรม บันทกึ ผลการ
วเิ คราะห์ (ใบงานที่ 1)
3. นักเรียนนำเสนอผลการวิเคราะห์และนกั เรียนในชน้ั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเร่ืองการทำงานของ
อวัยวะท่ีใช้ในการเล่นชักเยอ บนั ทกึ ผลการอภิปรายลงในสมดุ
4. ครูซักถามประเด็นตอ่ ไป “นกั เรียนมีวธิ กี ารดแู ลรักษาความปลอดภัยร่วมถงึ ความสะอาดของ
อวัยวะต่างๆในการทำกจิ กรรมดงั กล่าวได้อยา่ งไร”
5. นกั เรียนแบง่ กล่มุ รว่ มกันอภปิ ราย พรอ้ มทงั้ นำเสนอผลงานของกลุ่ม บนั ทกึ ผลลงในใบงานท่ี 2
6. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ การทำงานของอวัยวะและการดแู ลรกั ษาความสะอาดและความ
ปลอดภัยของอวัยวะของเรา
กจิ กรรมท่ี 2 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของสตั ว์
1. นกั เรียนดูคลิปวีดโี อ เร่ือง ชีวิตสตั ว์
2. นกั เรียนบนั ทกึ ชอ่ื สัตว์ท่นี กั เรยี นพบในคลิปวีดโี อว่ามีกช่ี นดิ
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
๒๕
3. นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 4-5 คน ใหแ้ ต่ละกลุม่ เลอื กสตั วก์ ลุ่มละชนดิ โดยห้ามซำ้ กัน จากนั้นให้
แตล่ ะกลมุ่ อภิปรายรว่ มกันว่าสตั วท์ ี่เลอื กมาน้ันมีโครงสรา้ งภายนอกอะไรบ้าง บนั ทกึ ผล
4. ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานของกลุม่ ตนเอง
5. ครตู ้ังประเดน็ คำถามวา่ “โครงสรา้ งภายนอกทน่ี ักเรยี นรว่ มกันอภิปรายนนั้ มกี ารทำงานอยา่ งไร”
ใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเปรยี บเทียบหน้าที่ของอวยั วะแตล่ ะสว่ นของสตั ว์แตล่ ะชนิด และทำใบงานท่ี 3
6. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องอวยั วะภายนอกของสตั ว์
7. ครูใหน้ ักเรียนสบื คน้ ข้อมลู จากใบความรู้ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจยงิ่ ขน้ึ
กจิ กรรมท่ี 3 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของพชื
1. นกั เรยี นดูตน้ พืชทค่ี รนู ำมาเป็นตัวอย่าง
2. นกั เรยี นอภิปรายระดมความคิดเกย่ี วกบั สว่ นประกอบของต้นไม้
3. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ4-5 คน แตล่ ะลมุ่ เลอื กสว่ นประกอบของต้นไม้กลุม่ ละ 1 สว่ น โดยไม่
ซ้ำกัน แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายหนา้ ทีข่ องส่วนประกอบทก่ี ลุ่มตนเองเลอื ก บันทกึ ผล
4. นักเรยี นสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอผลงานการอภิปรายหน้าท่ขี องสว่ นประกอบของพชื
5. ครูตั้งประเด็นคำถามวา่ “ส่วนต่างๆของพชื ตา่ งชนดิ กันมลี ักษณะและหน้าที่เหมอื นหรอื ตา่ งกัน
อยา่ งไร” ให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเปรียบเทียบลกั ษณะและหน้าที่ของพืชแต่ละชนิด
6. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปโครงสร้างและหนา้ ที่ของพชื
7. ครใู ห้นักเรียนสืบคน้ ข้อมลู จากใบความรู้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจยงิ่ ขึ้น
8. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรยี น
เกณฑก์ ารประเมนิ ดมี าก (4) ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (1)
ประเด็นการประเมิน
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (3) พอใช้ (2) ผลงานไม่
จดุ ประสงคท์ ีก่ ำหนด กับจุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
ทุกประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง จุดประสงค์
2. ผลงานมคี วาม กับจุดประสงค์ กับจุดประสงค์
ถกู ต้องสมบรู ณ์ เน้อื หาสาระของ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น เน้อื หาสาระของ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ถกู ตอ้ ง
3. ผลงานมีความคิด ครบถว้ น เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เป็นส่วนใหญ่
สร้างสรรค์ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถกู ตอ้ ง
ผลงานแสดงออก เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางประเด็น ผลงานไมแ่ สดง
ถึงความคิด แนวคดิ ใหม่
สร้างสรรค์ แปลก ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมีความ
ใหมแ่ ละเปน็ แปลกใหม่แตย่ ัง นา่ สนใจแต่ยังไมม่ ี
ระบบ ไม่เป็นระบบ แนวคิดแปลกใหม่
เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ย์ปฏิบัติการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๒๖
ประเด็นการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
4. ผลงานมคี วามเปน็ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
ระเบยี บ
ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบยี บแสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บแตม่ คี วาม ไม่เปน็ ระเบยี บ
ถงึ ความประณีต แต่ยังมคี วาม บกพรอ่ งบางสว่ น และมีขอ้ บกพร่อง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เกณฑ์การตดั สนิ /ระดบั คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
14 - 16 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี
9 - 13 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ
6 - 8 คะแนน ผา่ น
1 - 5 คะแนน
เกณฑ์การผา่ น ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏิบัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๒๗
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง หนิ ในท้องถ่นิ
ว11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 11 ชว่ั โมง
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบ และความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลกรวมทง้ั ผลต่อ
ส่งิ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
ตัวชีว้ ัด
ว3.2ป1/1 อธิบายลกั ษณะภายนอกของหนิ จากลักษณะเฉพาะตวั ทส่ี งั เกตได้
สาระสำคญั
- สมบตั ิของหิน
สาระการเรยี นรู้
1. หินทอ่ี ยู่ในธรรมชาติมลี กั ษณะภายนอกเฉพาะตัวทส่ี ังเกตได้ เชน่ สี ลวดลาย นำ้ หนัก ความแขง็
และเน้อื หนิ
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
-สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศกึ ษาคน้ ควา้ ลักษณะภายนอกของหนิ
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแลว้ สรปุ ข้อมลู สำคญั ของลกั ษณะภายนอกของหนิ
3.ความสามารถในการใช้ทกั ษะในชีวิตประจำวัน
-นำขอ้ มูลจากการศกึ ษาเรื่องลกั ษณะภายนอกของหนิ มาใชป้ ระโยชนใ์ ห้เหมาะสม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1.มีความสนใจใฝร่ ู้
2.มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีความซ่อื สตั ย์ มเี หตุผล
3.ใจกว้างรว่ มแสดงความคดิ เหน็ และรบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ น่ื
4. มีความมงุ่ มนั่ อดทน รอบคอบ
ชิ้นงานหรือภาระงาน
1.บนั ทึกลักษณะภายนอกของหนิ
2.อภิปรายลักษณะภายนอกของหินทสี่ งั เกตเห็นในธรรมชาติ
3.สรปุ หินท่ีอยู่ในธรรมชาติมลี กั ษณะภายนอกเฉพาะตัวทสี่ งั เกตได้ เช่น สี ลวดลาย น้ำหนกั ความ
แข็งและเนือ้ หิน
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๒๘
การวดั และประเมินผล
1.บันทกึ ลักษณะภายนอกของหนิ
2.อภิปรายลักษณะภายนอกของหินทสี่ งั เกตเห็นในธรรมชาติ
3.สรปุ หินทอ่ี ยู่ในธรรมชาตมิ ีลกั ษณะภายนอกเฉพาะตวั ทสี่ ังเกตได้ เช่น สี ลวดลาย นำ้ หนัก ความ
แข็งและเนอ้ื หนิ
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
กิจกรรมท่ี 1 สี ลวดลาย และเน้ือหิน
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ศกึ ษาสถานการณ์จำลองเกี่ยวกับหิน(ใบงานสถานการณ์
จำลองเร่ืองหินในท้องถน่ิ )
2. ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์วา่ ในสถานการณจ์ ำลองท่ศี กึ ษานั้นมหี ินทง้ั หมดกป่ี ระเภท บนั ทกึ ข้อมลู (ใบ
งานท่ี 1)
3. นกั เรยี นศึกษาตัวอย่างหนิ ของจรงิ บนั ทกึ ขอ้ มลู สี ลวดลายและลกั ษณะความละเอยี ดของเน้อื หิน
แตล่ ะชนิด บนั ทกึ ผล (ใบงานที่ 1)
4. นกั เรียนสง่ ตวั แทนกลมุ่ มานำเสนอผลการศกึ ษาของกลมุ่ ตนเองหนา้ ช้นั เรียน
5. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ลกั ษณะภายนอกของหินทีแ่ ตล่ ะกล่มุ ศึกษามาได้
6. นักเรียนสรุปของมลู เปน็ ผงั ความคดิ ลงในสมดุ เพื่อสรุปความรูท้ ่ีได้
กิจกรรมท่ี 2 น้ำหนักและความแข็งของหิน
1. นกั เรียนดูคลปิ วดี โี อ เรอ่ื ง การกอ่ สร้างอาคาร
2. นกั เรยี นสงั เกตลกั ษณะของหนิ ทใี่ ช้ในการก่อสรา้ ง
3. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน ให้แต่ละกลุ่มอภปิ รายวา่ หนิ ท่นี ำมาทำงานกอ่ สรา้ งน้ันควรมี
ลกั ษณะอยา่ งไร บนั ทึกผล (ใบงานท่ี 2)
4. นักเรยี นศึกษาเปรยี บเทยี บตัวอยา่ งหนิ เก่ยี วกบั นำ้ หนักและความแข็งของหินแตล่ ะชนดิ บนั ทึก
ผล (ใบงานที่ 2)
5. นกั เรียนร่วมกันสรปุ เปรยี บเทยี บลกั ษณะภายนอกด้านนำ้ หนักและความแขง็ ของหินแตล่ ะ
ประเภท
6. ครูให้นกั เรยี นสบื ค้นข้อมลู จากใบความรู้ เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจยง่ิ ข้ึน
7. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรียน
เกณฑก์ ารประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (1)
ประเดน็ การประเมิน ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (3) พอใช้ (2) ผลงานไม่
กบั จดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
1. ผลงานตรงกับ ทุกประเดน็ ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง จดุ ประสงค์
จุดประสงค์ทีก่ ำหนด กับจุดประสงค์ กับจุดประสงค์
เป็นสว่ นใหญ่ บางประเด็น
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๒๙
ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
2. ผลงานมีความ
ถกู ต้องสมบรู ณ์ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
3. ผลงานมีความคิด เนอ้ื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
สรา้ งสรรค์
ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานไม่ถูกต้อง
4. ผลงานมคี วามเปน็
ระเบียบ ครบถว้ น เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม ผลงานไม่แสดง
ถึงความคดิ แปลกใหม่แต่ยัง นา่ สนใจแตย่ ังไมม่ ี แนวคดิ ใหม่
สรา้ งสรรค์ แปลก ไมเ่ ปน็ ระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ใหมแ่ ละเป็น
ระบบ
ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบยี บแสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบียบแต่มีความ ไม่เป็นระเบียบ
ถึงความประณตี แต่ยงั มีความ บกพรอ่ งบางสว่ น และมีขอ้ บกพรอ่ ง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เกณฑก์ ารตดั สนิ /ระดบั คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก
14 - 16 คะแนน ระดบั คุณภาพ ดี
9 - 13 คะแนน ระดบั คุณภาพ พอใช้
ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ
6 - 8 คะแนน ผ่าน
1 - 5 คะแนน
เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการหลักสตู ร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๓๐
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง เทคโนโลยเี บือ้ งตน้
ว11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 9 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาท่พี บในชวี ติ จริงอยา่ งเป็นข้นั ตและเป็น
ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
รูเ้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม
ตวั ชี้วดั
ว 4.2 ป. 1/4 ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเกบ็ เรยี กใชข้ ้อมลู ตามวตั ถุประสงค์
สาระสำคัญ
การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น เช่น การใช้เมาส์ คีย์บอร์ด จอสัมผัส การเปิด-ปิดอุปกรณ์
เทคโนโลยี อยา่ งถูกต้อง ทำใหส้ ามารถใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยเี หล่านี้ เพอื่ อำนวยความสะดวก สรา้ งประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน และการเรียนได้ การใช้งานโปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก และโปรแกรมนำเสนอเบื้องตน้
เช่น การเข้าและออกโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การเรียกใช้ไฟล์ อย่างถูกต้อง ทำให้สามารถใช้งาน
โปรแกรมเหลา่ นีเ้ พ่ืออำนวยความสะดวก สรา้ งประโยชน์ในชีวติ ประจำวันและการเรียนได้ การสรา้ งและจัดเก็บไฟล์
อยา่ งเปน็ ระบบ ทำให้สามารถเรยี กใชแ้ ละคน้ หาขอ้ มลู ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว การใชง้ านและการดูแลรักษาอุปกรณ์
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมกอ่ ใหเ้ กิดความปลอดภยั ทัง้ รา่ งกายและทรัพย์สนิ
สาระการเรยี นรู้
1) การใชง้ านอปุ กรณ์เทคโนโลยเี บ้ืองต้น เชน่ การใช้เมาส์ คยี บ์ อร์ด จอสมั ผสั การเปดิ -ปิด อุปกรณ์
เทคโนโลยี
2) การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ
การเรยี กใชไ้ ฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนำเสนอ
3) การสร้างและจดั เก็บไฟล์อย่างเป็นระบบจะทำให้เรียกใช้ คน้ หาข้อมูลได้งา่ ยและรวดเรว็
4) ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใช้งานและการดูแลรักษาอปุ กรณ์ เชน่ ไมข่ ดี เขียนบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใช้
อปุ กรณ์อย่างถูกวิธี
5) การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง การพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน
ระมดั ระวงั อบุ ัตเิ หตจุ ากการใชง้ าน
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
ทักษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
-สังเกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า อุปกรณ์เทคโนโลยเี บ้อื งต้น
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแล้วสรปุ ขอ้ มลู สำคญั ของอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีเบอื้ งต้น
3.ความสามารถในการใช้ทักษะในชวี ติ ประจำวัน
-นำข้อมลู จากการศึกษาเรือ่ งอปุ กรณเ์ ทคโนโลยเี บ้อื งตน้ มาใช้ประโยชนใ์ หเ้ หมาะสม
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนย์ปฏิบัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๓๑
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝ่รู้
2.มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสตั ย์ มเี หตผุ ล
3.ใจกวา้ งรว่ มแสดงความคิดเหน็ และรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผ้อู น่ื
4. มีความมงุ่ มัน่ อดทน รอบคอบ
ชน้ิ งานหรือภาระงาน
- ใบงาน เรอื่ ง การใชแ้ ละการดูแลอปุ กรณเ์ ทคโนโลยี
- การเปิด-ปิดอุปกรณเ์ ทคโนโลยี
- พมิ พ์ข้อความโดยใช้โปรแกรม Microsoft word
- วาดภาพโดยใชโ้ ปรแกรม Paint
- นำเสนองานโดยใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint
การวัดและประเมินผล
1.ตรวจแบบทดสอบ กอ่ นเรียน
2.ประเมินผลงาน
3.ตรวจใบงาน เร่อื งการใช้และดูแลรกั ษาอุปกรณเ์ ทคโนโลยี
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน
กจิ กรรมที่ 1 : การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยเี บ้อื งต้น
- ครูนำนักเรียนเข้าห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ โดยคุณครเู ปดิ โปรแกรม Microsoft Word ไว้ และ
พมิ พต์ วั หนงั สือ ตวั เลข หรือสัญลกั ษณไ์ ว้ แลว้ ใหน้ กั เรียนจับคู่กับเพ่อื น เพอ่ื รว่ มกันปฏบิ ตั ิกิจกรรม
- นักเรียนสำรวจอปุ กรณต์ า่ งๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
- ครูให้นกั เรยี นลองทำตามขน้ั ตอน โดยครคู อยบอกเปน็ ขน้ั เป็นขนั้ ไปดังน้ี
-ครูให้นักเรียนลองเปิด-ปิดเครื่องเอง ตามขั้นตอนที่นักเรียนเคยทำในชั่วโมงที่แล้ว โดยครูคอย
สังเกตการณ์ และให้คำแนะนำสำหรับนกั เรยี นทีย่ งั ทำไมไ่ ด้
-ครูให้นักเรียนลองเปิด-ปดิ อีกคร้ัง จนทกุ คนเกดิ ความชำนาญและสามารถเปิด-ปดิ ได้เอง โดยท่ีครูไม่
ตอ้ งแนะนำ
-ครถู ามนักเรยี นว่า นกั เรยี นสามารถเปดิ ปิดเครอื่ งเองได้แลว้ หรือยัง นกั เรยี นเปดิ -ปดิ อยา่ งไร
กจิ กรรมที่ 2 : การใชง้ านซอฟต์แวรเ์ บือ้ งต้น
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : แบบกระบวนการปฏิบตั ิ
- ครใู ห้นักเรยี นหาสญั ลกั ษณ์บนหน้า Desktop แลว้ ดับเบลิ้ คลกิ เพอ่ื เข้าใชง้ านโปรแกรม
- ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ่ เกีย่ วกบั โปรแกรมประมวลคำหรอื Microsoft Word ว่าเปน็ โปรแกรมท่ีใชใ้ นการ
พมิ พง์ านเอกสาร
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี
๓๒
ครูให้นกั เรยี นเปิดโปรแกรมพมิ พเ์ อกสารข้ึนมา จากน้นั ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอนทคี่ รพู าทำ โดย
ครอู าจแนะนำนักเรยี นคนทย่ี งั ไมส่ ามารถทำเองได้
- ใหน้ ักเรยี นมองหาสญั ลักษณ์ ทห่ี น้าจอมอนิเตอร์ ใหเ้ ปิดโปรแกรม Paint ข้ึนมาครู
ถามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี นรจู้ ักโปรแกรม Paint หรอื ไม่ แล้วโปรแกรมนใ้ี ช้งานเกี่ยวกับเรอ่ื งอะไร
- ใหน้ ักเรยี นวางรปู สม้ ตามขั้นตอนทีค่ รูสาธติ ไป โดยครเู ริม่ ทำทีละขนั้ ตอนพรอ้ มนกั เรียน จนนกั เรยี น
สามารถวาดรปู สม้ ได้สำเรจ็
- ครใู ห้นกั เรยี นลองใช้ Paint วาดรปู ส้มเอง โดยท่คี รูไม่ไดอ้ ธบิ ายทลี ะขัน้ ตอน แตอ่ าจให้คำแนะนำ
บางครงั้ ตอนทนี่ กั เรยี นยงั ทำไม่ได้
-ครูสนทนากบั นกั เรยี นได้สรา้ งโฟลเดอร์ข้อมลู สว่ นตวั ถ้านกั เรียนพมิ พ์ข้อมลู ส่วนตวั บางอยา่ งลงไป
เชน่ ท่อี ยู่ แล้วบงั เอิญโชครา้ ยมิจฉาชีพมาเหน็ เขาเลยเอาขอ้ มูลไปแอบอา้ ง สง่ ผลทำให้นกั เรยี นคนนัน้
เดอื ดร้อนถ้านักเรยี นเจอเหตุการณ์อยา่ งน้จี ะทำอยา่ งไรดี
- ครถู ามนกั เรยี นวา่ เทคโนโลยมี ที ง้ั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย นกั เรียนคิดวา่ เราจะใช้เทคโนโลยอี ย่างไรให้ปลอดภยั
เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ประเดน็ การประเมิน
1. ผลงานตรงกบั ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)
จดุ ประสงค์ที่กำหนด
ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
2. ผลงานมีความ กับจุดประสงค์
ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ ทุกประเด็น กับจดุ ประสงค์ กับจดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
3. ผลงานมีความคดิ เนอื้ หาสาระของ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น จุดประสงค์
สรา้ งสรรค์ ผลงานถูกตอ้ ง
ครบถว้ น เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ
4. ผลงานมีความเป็น
ระเบยี บ ผลงานแสดงออกถึง ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานไม่ถูกตอ้ ง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหมแ่ ละเปน็ เปน็ ส่วนใหญ่ เป็นบางประเด็น เปน็ ส่วนใหญ่
ระบบ
ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความ ผลงานไม่แสดง
ผลงานมีความเป็น
ระเบียบแสดงออก แปลกใหม่แต่ยัง นา่ สนใจแตย่ งั ไมม่ ี แนวคดิ ใหม่
ถึงความประณตี
ไมเ่ ป็นระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่
ความเป็นระเบียบ ระเบยี บแต่มีความ ไม่เปน็ ระเบียบ
แต่ยงั มีความ บกพรอ่ งบางส่วน และมีข้อบกพรอ่ ง
บกพรอ่ งเลก็ นอ้ ย มาก
เกณฑก์ ารตัดสนิ /ระดบั คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก
ระดบั คุณภาพ ดี
14 - 16 คะแนน ระดับคุณภาพ พอใช้
9 - 13 คะแนน
6 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ
ผา่ น
1 - 5 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน ระดับคณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ัติการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๓๓
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรื่อง การแก้ปญั หาอยา่ งง่าย
ว11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 11 ชวั่ โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวิตจรงิ อยา่ งเป็นขัน้ ตอนและ
เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม
ตัวชว้ี ัด
ว 4.2 ป. 1/1 แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้การลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทยี บ
ว 4.2 ป. 1/2 แสดงลำดับข้ันตอนการทำงาน หรือการแก้ปญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์
หรือขอ้ ความ
สาระสำคัญ
การแก้ปญั หาอยา่ งเป็นขั้นตอนและเปน็ ระบบช่วยให้สามารถแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ฝึกทักษะ
การคดิ เชงิ คำนวณ การคดิ วิเคราะห์ และการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
การแสดงข้นั ตอนการแก้ปัญหา สามารถทำไดโ้ ดยการเขียนบอกเล่า วาดภาพ หรอื ใช้สัญลักษณ์
การแกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขนั้ ตอนการแก้ปญั หาสามารถฝกึ ฝนผ่านเกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกตา่ งของภาพ และ
การจดั กระเปา๋ นักเรยี นได้ ทำใหส้ ามารถแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริงได้อยา่ งเป็นขน้ั ตอนและเป็นระบบ
สาระการเรยี นรู้
1) การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเรจ็ ทำไดโ้ ดยใชข้ ั้นตอนการแก้ปญั หา
2) การแสดงข้นั ตอนการแกป้ ัญหาทำไดโ้ ดยการเขยี น บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใช้สญั ลักษณ์
3) ปัญหาอยา่ งงา่ ย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกตา่ งของภาพ การจัดหนังสอื ใส่กระเปา๋
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
-สังเกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า วธิ กี ารแก้ปญั หาอย่างง่ายแบบเปน็ ขน้ั ตอน
2.ความสามารถในการคิด
-สำรวจตรวจสอบแลว้ สรปุ ขอ้ มลู สำคัญของวธิ ีการแกป้ ญั หาอยา่ งง่ายแบบเป็นขัน้ ตอน
3.ความสามารถในการใชท้ กั ษะในชวี ติ ประจำวนั
-นำขอ้ มลู จากการศึกษาเร่อื งวิธีการแกป้ ญั หาอย่างงา่ ยแบบเป็นขนั้ ตอน มาใชป้ ระโยชนใ์ ห้เหมาะสม
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1.มีความสนใจใฝร่ ู้
2.มคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามซื่อสัตย์ มเี หตผุ ล
3.ใจกว้างร่วมแสดงความคิดเห็นและรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน
4. มคี วามมงุ่ มนั่ อดทน รอบคอบ
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
๓๔
ช้ินงานหรือภาระงาน
- ใบงานเร่อื ง การเปรยี บเทียบ
- ใบงานเรอ่ื ง ไขต่ กไม่แตก
- กิจกรรมหาจุดแตกต่างของภาพหน้า 39 หนังสือเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.1
- กจิ กรรมหนา้ 41 หนงั สือเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.1
- กจิ กรรมในแบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.1 หน้า 29
การวดั และประเมนิ ผล
1.ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรยี น
2.ประเมินผลงาน
3.ตรวจใบงาน เรอ่ื งการเปรยี บเทียบ
4. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
• แผนที่ 1 : การแกป้ ญั หา
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การลองผิดลองถกู
• แผนที่ 2 : การแสดงขั้นตอนการแก้ปญั หา
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : การแกป้ ัญหา (Problem Solving Method)
• แผนที่ 3 : การแกป้ ญั หาอย่างง่าย
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : กระบวนการคิดคำนวณ Computational Thinking
Process
เกณฑ์การประเมิน ดมี าก (4) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1)
ประเด็นการประเมิน
ผลงานสอดคล้อง ดี (3) พอใช้ (2) ผลงานไม่
1. ผลงานตรงกับ กับจุดประสงค์ สอดคล้องกบั
จุดประสงคท์ ีก่ ำหนด ทกุ ประเดน็ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง จุดประสงค์
กบั จดุ ประสงค์ กับจุดประสงค์
2. ผลงานมคี วาม เนื้อหาสาระของ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เนอื้ หาสาระของ
ถูกต้องสมบรู ณ์ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานไมถ่ กู ต้อง
ครบถ้วน เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เป็นส่วนใหญ่
3. ผลงานมีความคิด ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถกู ตอ้ ง
สรา้ งสรรค์ ผลงานแสดงออก เป็นส่วนใหญ่ เปน็ บางประเดน็ ผลงานไมแ่ สดง
ถงึ ความคดิ แนวคดิ ใหม่
สรา้ งสรรค์ แปลก ผลงานมแี นวคิด ผลงานมคี วาม
ใหม่และเปน็ แปลกใหมแ่ ตย่ ัง นา่ สนใจแตย่ งั ไมม่ ี
ระบบ ไม่เป็นระบบ แนวคิดแปลกใหม่
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ย์ปฏิบัติการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๓๕
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
4. ผลงานมีความเปน็ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
ระเบยี บ
ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบียบแสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บแตม่ คี วาม ไม่เปน็ ระเบยี บ
ถงึ ความประณีต แต่ยังมคี วาม บกพรอ่ งบางสว่ น และมีขอ้ บกพร่อง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เกณฑ์การตดั สนิ /ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
14 - 16 คะแนน
ระดับคุณภาพ ดี
9 - 13 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
6 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ
1 - 5 คะแนน
ผา่ น
เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏิบัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๓๖
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 6 เร่อื ง วัสดุนา่ รู้
ว11101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 13 ชว่ั โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสาร
กบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสารการ
เกิดสารละลายและการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
ตวั ชี้วัด
ว2.1ป1/1 อธบิ ายสมบัตทิ ส่ี ังเกตได้ของวัสดทุ ใ่ี ช้ทำวัตถซุ ง่ึ ทำจากวสั ดชุ นิดเดยี วหรือหลายชนดิ
ประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์
ว2.1ป1/2 ระบุชนิดของวสั ดแุ ละจัดกลุ่มวัสดตุ ามสมบตั ิทส่ี งั เกตได้
สาระสำคัญ
- ชนดิ และสมบตั ิของวัสดุ
สาระการเรยี นรู้
1. วสั ดทุ ี่ใชท้ ำวตั ถทุ เ่ี ปน็ ของเล่น ของใช้ มีหลายชนดิ เช่น ผา้ แก้ว พลาสตกิ ยางไม้ อฐิ หิน กระดาษ
โลหะ วสั ดแุ ตล่ ะชนิดมสี มบัตทิ ีส่ งั เกตไดต้ า่ งๆ เชน่ สี นมุ่ แข็ง ขรุขระ เรียบ ใส ขุน่ ยดื หดได้ บดิ งอได้
2. สมบัตทิ ีส่ งั เกตไดข้ องวสั ดุแต่ละชนิดอาจเหมือนกนั ซึ่งสามารถนำมาใชเ้ ป็นเกณฑใ์ นการจัดกลมุ่ วสั ดไุ ด้
3. วัสดบุ างอย่างสามารถนำมาประกอบกนั เพ่ือทำเป็นวตั ถุตา่ งๆ เชน่ ผา้ และกระดมุ ใช้ทำเสื้อ ไม้
และโลหะใช้ทำกระทะ
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
ทักษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
-สังเกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า สมบัติของวัสดทุ ่นี ำมาทำของเล่น ของใชแ้ ละจัดกลุ่มวสั ดไุ ด้
2.ความสามารถในการคิด
-สำรวจตรวจสอบแลว้ สรปุ ข้อมลู สมบตั ิของวสั ดทุ นี่ ำมาทำของเลน่ ของใชแ้ ละจัดกลมุ่ วสั ดุได้
3.ความสามารถในการใชท้ ักษะในชีวติ ประจำวัน
-นำขอ้ มูลจากการศกึ ษาเรื่องสมบัติของวสั ดทุ น่ี ำมาทำของเล่น ของใชแ้ ละจัดกลมุ่ วสั ดุไดม้ า
เป็นเกณฑ์ในการเลอื กใช้วสั ดใุ นชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝ่รู้
2.มีความรบั ผิดชอบ มคี วามซอื่ สตั ย์ มเี หตผุ ล
3.ใจกว้างรว่ มแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ น่ื
4. มคี วามมงุ่ มน่ั อดทน รอบคอบ
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏบิ ัติการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๓๗
ชนิ้ งานหรือภาระงาน
1.บันทกึ สมบัติของวสั ดทุ ่ีนำมาทำของเลน่ ของใช้และจดั กลมุ่ วสั ดุ
2.อภปิ รายสมบตั ขิ องวัสดทุ นี่ ำมาทำของเลน่ ของใช้และจัดกลุ่มวัสดุ
3.สรปุ สมบตั ขิ องวสั ดทุ ่นี ำมาทำของเลน่ ของใช้และจดั กล่มุ วัสดโุ ดยใช้เกณฑท์ เ่ี หมาะสม
การวัดและประเมนิ ผล
1.บนั ทกึ สมบัติของวสั ดทุ นี่ ำมาทำของเล่น ของใชแ้ ละจัดกลมุ่ วัสดุ
2.อภปิ รายสมบัตขิ องวสั ดทุ นี่ ำมาทำของเล่น ของใชแ้ ละจดั กลุ่มวสั ดุ
3.สรปุ สมบตั ิของวสั ดทุ นี่ ำมาทำของเล่น ของใชแ้ ละจดั กลมุ่ วสั ดโุ ดยใช้เกณฑท์ เี่ หมาะสม
กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน
กิจกรรมที่ 1 สมบตั ขิ องวสั ดทุ นี่ ำมาทำของเล่นของใช้
1. นกั เรียนศกึ ษาตัวอย่างของ ของเล่นและของใชท้ ี่กำหนดให้
2. ให้นกั เรยี นวิเคราะห์ของเล่นและของใชม้ สี มบตั ดิ า้ นใดบ้าง บันทกึ ผล (ใบงานท่ี 1)
3. นักเรียนนำเสนอผลการวิเคราะหแ์ ละนกั เรียนในชั้นเรยี นรว่ มกันอภปิ รายเรือ่ งสมบตั ิของของเลน่
ของใช้ บันทึกผลการอภิปรายแบบแผนผงั ความคดิ ลงในสมดุ
4. ครูซกั ถามประเด็นต่อไป “นอกจากสมบตั ทิ ี่นกั เรยี นสังเกตและรวมรวมขอ้ มลู ได้น้นั มีสมบตั ดิ า้ น
ใดเพ่มิ เตมิ อกี บ้าง” แนวคำตอบ (วสั ดทุ ีใ่ ชท้ ำวตั ถุทีเ่ ป็นของเล่น ของใช้ มหี ลายชนดิ เชน่ ผา้ แกว้ พลาสติก
ยางไม้ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วัสดุแตล่ ะชนิดมสี มบัติทส่ี ังเกตไดต้ ่างๆ เชน่ สี นุม่ แขง็ ขรขุ ระ เรยี บ ใส ขุ่น
ยืดหดได้ บิดงอได้)
5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ สมบัตขิ องวสั ดทุ ่ใี ชท้ ำเป็นของเลน่ ของใช้
กจิ กรรมท่ี 2 การจำแนกวสั ดุ
1. นักเรียนศึกษาตวั อยา่ งของ ของเลน่ และของใช้ท่ีกำหนดให้ จากกจิ กรรมท่ี 1
2. ให้นักเรยี นนำผลการวิเคราะหข์ องเลน่ และของใช้มสี มบตั ิด้านใดบ้าง บันทึกผล (ใบงานที่ 2)
3. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน ให้แต่ละกลุ่มเลอื กสมบัตขิ องวัสดกุ ลมุ่ ละ 1 หัวข้อ โดยไม่ซำ้
กนั กับกลุ่มอ่นื
4. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ จำแนกวัสดเุ ป็นกลุ่มโดยใชเ้ กณฑต์ ามสมบัตขิ องวสั ดทุ ี่กลุ่มตนเองเลอื ก บันทึก
ผล (ใบงานที่ 2)
5. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลงานของกลุม่ ตนเอง
6. ครตู ั้งประเด็นคำถามวา่ “ของใชส้ ่วนตัวของนักเรยี นทม่ี ีอยขู่ ณะน้ีสามารถแบง่ เป็นสองกลุ่มโดยใช้
เกณฑ์ใดได้บา้ ง” ให้นกั เรียนสำรวจของใชข้ องตนเองแลว้ ทำใบงานท่ี 3
7. ครใู ห้นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู จากใบความรู้ เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจยง่ิ ขึ้น
กจิ กรรมท่ี 3 การใช้วัสดใุ หเ้ หมาะสม
1. นกั เรียนศกึ ษาของเลน่ ของใช้ทค่ี รมู านำเป็นตวั อยา่ ง
2. นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ4-5 คน แตล่ ะกลมุ่ อภปิ รายระดมความคดิ เกีย่ วกบั วสั ดทุ ่ีนำมาใช้ทำ
ของเล่น ของใช้ ทีส่ งั เกตไดบ้ นั ทกึ ผล (ใบงานท่ี 4)
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
๓๘
3. นักเรียนส่งตวั แทนกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานการอภปิ รายเกี่ยวกบั ความเหมาะสมทเี่ ลอื กใช้วสั ดุ
ชนดิ นมี้ าประกอบเปน็ ของเล่น ของใช้
4. ครตู ้งั ประเดน็ คำถามวา่ “ดินสอที่นกั เรยี นใชอ้ ยขู่ ณะนมี้ ีวัสดุใดเปน็ องคป์ ระกอบบ้างและ
เหมาะสมหรอื ไม่” ให้นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายและบนั ทกึ ผล (ใบงานท่ี 4)
5. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ วัสดบุ างอยา่ งสามารถนำมาประกอบกันเพอื่ ทำเป็นวตั ถุตา่ งๆ ได้
6. ครใู หน้ ักเรียนสืบค้นขอ้ มลู จากใบความรู้ เพือ่ ใหเ้ ข้าใจยง่ิ ขึ้น
7. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรยี น
เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
ประเดน็ การประเมนิ
1. ผลงานตรงกับ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)
จุดประสงค์ทก่ี ำหนด
ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
2. ผลงานมีความ
ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ กับจดุ ประสงค์ กับจดุ ประสงค์ กบั จุดประสงค์ สอดคล้องกบั
3. ผลงานมีความคดิ ทุกประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น จดุ ประสงค์
สร้างสรรค์
เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
4. ผลงานมคี วามเป็น
ระเบียบ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง
ครบถ้วน เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมแี นวคิด ผลงานมีความ ผลงานไมแ่ สดง
ถงึ ความคิด แปลกใหมแ่ ตย่ งั น่าสนใจแตย่ ังไมม่ ี แนวคดิ ใหม่
สร้างสรรค์ แปลก ไม่เปน็ ระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ใหม่และเป็น
ระบบ
ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบยี บแสดงออก ความเปน็ ระเบยี บ ระเบยี บแต่มคี วาม ไมเ่ ป็นระเบยี บ
ถงึ ความประณตี แตย่ งั มีความ บกพรอ่ งบางส่วน และมขี อ้ บกพรอ่ ง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เกณฑก์ ารตดั สิน/ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก
ระดับคณุ ภาพ ดี
14 - 16 คะแนน ระดับคณุ ภาพ พอใช้
9 - 13 คะแนน
6 - 8 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ
ผ่าน
1 - 5 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๓๙
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 เร่ือง เสยี งรอบตวั
ว11101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรยี น 13 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสง
และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชี้วดั
ว2.3ป1/1 บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทางการเคล่อื นท่ีของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์
สาระสำคัญ
- การเกดิ เสยี งและสมบัติของเสียง
สาระการเรยี นรู้
- เสียงเกิดจากการสน่ั ของวัตถุ วตั ถทุ ่ีทำใหเ้ กดิ เสียงเปน็ แหลง่ กำเนดิ เสียงซงึ่ มที งั้ แหลง่ กำเนดิ เสียง
ตามธรรมชาติและแหล่งกำเนดิ เสยี งทม่ี นุษยส์ ร้างขึน้ เสยี งเคลื่อนท่ีออกจากแหลง่ กำเนิดเสยี งทกุ ทิศทาง
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอื่ สาร
- -สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศกึ ษาค้นคว้า การเกดิ เสียงและสมบัติของเสยี ง
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแลว้ สรปุ ข้อมลู สำคัญของ การเกดิ เสียงและสมบตั ขิ องเสียง
3.ความสามารถในการใชท้ ักษะในชวี ิตประจำวนั
-นำข้อมลู จากการศึกษาเร่ือง การเกิดเสยี งและสมบัตขิ องเสยี ง มาใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝร่ ู้
2.มีความรับผดิ ชอบ มคี วามซ่อื สัตย์ มีเหตุผล
3.ใจกวา้ งรว่ มแสดงความคิดเห็นและรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื
4. มีความมงุ่ มัน่ อดทน รอบคอบ
ชน้ิ งานหรือภาระงาน
1.บันทกึ หลักการเกิดเสยี งและสมบตั ขิ องเสียง
2.อภปิ รายหลกั การเกดิ เสยี งและสมบตั ขิ องเสยี ง
เอกสารหลกั สูตร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบรุ ี
๔๐
3.สรปุ หลักการเกิดเสียงและสมบัตขิ องเสยี ง วตั ถทุ ่ีทำใหเ้ กดิ เสียงเป็นแหลง่ กำเนดิ เสียงซง่ึ มที งั้
แหลง่ กำเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหลง่ กำเนดิ เสียงทม่ี นุษย์สรา้ งขึ้น เสยี งเคล่อื นท่อี อกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี ง
ทกุ ทิศทาง
การวดั และประเมนิ ผล
1.บนั ทึกหลกั การเกิดเสยี งและสมบัติของเสยี ง
2.อภิปรายหลกั การเกิดเสยี งและสมบัตขิ องเสยี ง
3.สรปุ หลักการเกดิ เสียงและสมบตั ิของเสียง วัตถุที่ทำใหเ้ กดิ เสียงเปน็ แหลง่ กำเนดิ เสยี งซงึ่ มีทงั้
แหลง่ กำเนดิ เสยี งตามธรรมชาติและแหล่งกำเนดิ เสยี งท่มี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เสียงเคลอ่ื นท่อี อกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี ง
ทุกทิศทาง
กิจกรรมการเรียนรู้
ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
กิจกรรมที่ 1 การเกิดเสยี ง
1. นกั เรียนศกึ ษาสถานการณจ์ ำลองเรื่องเสียงรอบตวั เรา บนั ทึกเสยี งทีน่ กั เรยี นศึกษาได้ว่ามีเสียง
ใดบา้ ง บันทึกผล (ใบงานที่ 1)
2. นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเสยี งต่างๆทศี่ กึ ษาได้
3.นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาใบงานการประดิษฐโ์ ทรศพั ท์แกว้ กระดาษ (การทดลองท1่ี )
4. นักเรยี นแต่ละกลุม่ ลงมือปฏิบัตกิ ารทดลองเรอื่ งโทรศพั ท์แก้วกระดาษพร้อมทง้ั ทดสอบช้ินงาน
ของกลมุ่ ตนเอง
5. นักเรียนนำเสนอผลงานโทรศพั ทแ์ ก้วกระดาษหนา้ ชัน้ เรียน
6. ครซู ักถามประเดน็ ตอ่ ไป “เพราะเหตุใดการใชโ้ ทรศัพทแ์ กว้ กระดาษจึงสามารถได้ยนิ เสียงฝง่ั ตรง
ขา้ มได้” แนวคำตอบ เมอื่ เราพูดผ่านแกว้ กระดาษนน้ั เสยี งจะเดินทางตามเส้นเชอื กไปยงั แกว้ กระดาษฝง่ั ตรง
ข้าม จงึ ทำให้ได้ยินเสียง
7. นักเรยี นสรปุ ความรเู้ รือ่ งหลักการเกดิ เสียง เน่อื งจากการส่ันของวัตถุ
8. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ การเกิดเสียงโดยใหน้ กั เรียนพดู แลว้ ใชม้ อื จบั เบาๆทล่ี ำคอ จะสังเกตได้
ว่าเกิดการส่นั จงึ ทำใหเ้ กิดเสยี งเปลง่ ออกมา
กจิ กรรมที่ 2 สมบัตขิ องเสียง
1. นักเรยี นศกึ ษาวีดีโอ เร่อื งเสยี งรอบตัวเรา
2. นกั เรยี นบันทึกเสียงทเี่ กดิ ตามธรรมชาตแิ ละเสยี งทม่ี นษุ ย์สร้างข้นึ (ใบงานที่ 2)
3. นักเรยี นหาตัวแทนของช้นั 1 คนออกมาปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยให้นักเรยี นตวั แทนยนื จุดกลางของ
หอ้ งเรียน อ่านบทความที่ครูกำหนดให้ นกั เรียนทเ่ี หลือในชนั้ เรียนต้องใจฟงั เพอื่ นอา่ น เมอื่ อา่ นจบรอบที่ 1 ให้
นกั เรยี นตวั แทนกลบั หลงั หนั แล้วอ่านอกี หนง่ึ รอบ นกั เรียนทเี่ หลอื ในชั้นเรียนตงั้ ใจฟงั เสียงเพือ่ นอา่ น
4. นกั เรียนทเี่ หลอื แสดงความคดิ เหน็ วา่ ได้ยนิ เสียงเพอ่ื นตวั แทนอ่านบทความชดั เจนหรือไม่
5. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายวา่ ตำแหน่งที่ตนเองน่ังอย่ใู นหอ้ งเรยี นได้ยนิ เสียงเพอ่ื นตวั แทนชดั เจน
หรือไมโ่ ดยนกั เรียนทีน่ งั่ ดา้ นหนา้ เพื่อนจะได้ยินเสยี งชัดเจนสว่ นนักเรียนทีน่ งั่ หลังเพอ่ื นทอ่ี า่ นจะไดย้ นิ เสยี งแต่
เสยี งไมช่ ัดเจน
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี
๔๑
6. นกั เรียนร่วมกันสรปุ เสียงเคลอ่ื นทอ่ี อกจากแหลง่ กำเนดิ เสยี งทกุ ทิศทาง
7. ครใู ห้นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มลู จากใบความรู้ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจยงิ่ ขึน้
8. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรยี น
เกณฑก์ ารประเมิน
ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)
1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้อง ผลงาน ผลงานไม่
จดุ ประสงคท์ ่ี จดุ ประสงค์ กบั จุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั สอดคลอ้ งกบั
กำหนด ทุกประเดน็ เป็นส่วนใหญ่ จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์
บางประเดน็
2. ผลงานมีความ เนือ้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ
ถกู ต้องสมบรู ณ์ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถว้ น เป็นส่วนใหญ่ เปน็ บางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่
3. ผลงานมี ผลงานแสดงออกถงึ ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมีความ ผลงานไม่แสดง
ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสรา้ งสรรค์ แปลกใหมแ่ ตย่ ัง น่าสนใจแต่ยงั ไม่ แนวคดิ ใหม่
แปลกใหม่และเป็น ไม่เปน็ ระบบ มีแนวคดิ แปลก
ระบบ ใหม่
4. ผลงานมีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญ่
เป็นระเบยี บ ระเบียบแสดงออกถงึ ความเปน็ ระเบียบ เป็นระเบยี บแต่มี ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
ความประณตี แต่ยงั มีความ ความบกพร่อง และมขี อ้ บกพรอ่ ง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย บางสว่ น มาก
เกณฑก์ ารตัดสนิ /ระดับคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
ระดับคณุ ภาพ ดี
14 - 16 คะแนน ระดับคุณภาพ พอใช้
9 - 13 คะแนน
6 - 8 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง
ผา่ น
1 - 5 คะแนน
เกณฑ์การผา่ น ระดบั คุณภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 8 ๔๒
ว11101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เร่ือง ท้องฟา้ แสนสวย
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลาเรยี น 15 ชว่ั โมง
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์และระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งปฏสิ มั พนั ธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะท่สี ง่ ผลตอ่ สิ่งมชี ีวติ และการประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
ตวั ช้ีวัด
ว3.1ป1/1 ระบุดาวทปี่ รากฏบนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวันและเวลากลางคนื จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้
ว3.1ป1/2 อธิบายสาเหตุทม่ี องไมเ่ ห็นดาวสว่ นใหญใ่ นเวลากลางวนั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
สาระสำคัญ
- ดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาว
สาระการเรยี นรู้
1. บนทอ้ งฟ้ามดี วงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ซง่ึ ในเวลากลางวนั จะมองเหน็ ดวงอาทติ ยแ์ ละอาจ
มองเห็นดวงจนั ทรบ์ างวัน แตไ่ มส่ ามารถมองเหน็ ดวงดาว
2. ในเวลากลางวันมองไมเ่ หน็ ดวงดาวสว่ นใหญเ่ น่ืองจากแสงอาทิตยส์ วา่ งกวา่ จงึ กลบแสงของดาว ส่วนใน
เวลากลางคืนจะมองเหน็ ดาวและมองเห็นดวงจันทรเ์ กอื บทกุ คืน
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร
- -สังเกต สำรวจตรวจสอบ ศกึ ษาค้นคว้า ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวและการมองเหน็ ดวง
จันทรแ์ ละดวงดาว
2.ความสามารถในการคดิ
-สำรวจตรวจสอบแล้วสรปุ ข้อมลู สำคญั ของ ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวและการมองเหน็
ดวงจันทร์และดวงดาว
3.ความสามารถในการใช้ทกั ษะในชวี ติ ประจำวนั
-นำข้อมูลจากการศึกษาเรอ่ื ง ดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวและการมองเหน็ ดวงจนั ทร์และ
ดวงดาวมาใช้ในชวี ิตประจำวนั ใหเ้ หมาะสม
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝ่รู้
2.มีความรบั ผดิ ชอบ มีความซื่อสัตย์ มเี หตุผล
3.ใจกวา้ งร่วมแสดงความคิดเหน็ และรบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
4. มคี วามมงุ่ มนั่ อดทน รอบคอบ
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๔๓
ชิ้นงานหรอื ภาระงาน
1.บนั ทกึ ลกั ษณะของดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวและการมองเห็นดวงจันทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวนั และกลางคนื
2.อภิปรายลกั ษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวและการมองเห็นดวงจนั ทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวนั และกลางคืน
3.สรปุ ลกั ษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวและการมองเห็นดวงจนั ทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวนั และกลางคนื
การวัดและประเมนิ ผล
1.บันทกึ ลักษณะของดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวและการมองเหน็ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวันและกลางคนื
2.อภปิ รายลักษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ดวงดาวและการมองเห็นดวงจันทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวันและกลางคนื
3.สรปุ ลกั ษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาวและการมองเห็นดวงจนั ทร์ ดวงดาวในเวลา
กลางวันและกลางคืน
กิจกรรมการเรยี นรู้
ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น
กจิ กรรมที่ 1 ลักษณะของดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์และดวงดาว
1. นักเรยี นศึกษาวีดีโอเรอ่ื งดวงดาวในระบบสรุ ิยะ
2. ใหน้ กั เรยี นสงั เกตและรวบรวมข้อมลู ดวงดาวต่างๆทพี่ บในวดี ีโอ บนั ทึกขอ้ มลู (ใบงานท่ี 1)
3. นักเรยี นวเิ คราะหว์ า่ ดวงอาทิตย์แตกตา่ งจากดวงดาวต่างๆอย่างไร บันทึกผล (ใบงานท่ี 1)
4. ครซู กั ถามประเดน็ ต่อไป “ลกั ษณะของดวงแตล่ ะดวงมรี ปู รา่ งเหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร”
ดวงแตล่ ะดวงมลี ักษณะรปู รา่ งกลม มบี างดวงที่มวี งแหวนลอ้ มรอบ
5. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ ลกั ษณะของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์และดวงดาว นักเรียนบันทกึ ข้อมลู
ท่ีศึกษาไดโ้ ดยทำแผนผงั ความคิดลงในสมุด
กิจกรรมที่ 2 การมองเห็นดวงอาทิตย์ ดวงจันทรแ์ ละดวงดาวในเวลากลางวนั และกลางคนื
1. นักเรียนดคู ลิปวีดีโอ เร่อื ง ทอ้ งฟ้าเวลากลางวันและท้องฟา้ เวลากลางคนื
2. นกั เรยี นศกึ ษาเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างทอ้ งฟา้ เวลากลางวันและทอ้ งฟา้ เวลากลางคนื
บนั ทกึ ผล (ใบงานที่2)
3. นกั เรียนวิเคราะหส์ ่งิ ท่พี บเหน็ ระหว่างท้องฟ้าเวลากลางวันและทอ้ งฟา้ เวลากลางคนื บนั ทกึ ผล (ใบ
งานท2่ี )
4. ครูตั้งประเดน็ คำถามว่า “เพราะเหตใุ ดเรามองไมเ่ หน็ ดวงดาวในเวลากลางวนั และเราไมส่ ามารถ
มองเหน็ ดวงอาทติ ยไ์ ดใ้ นเวลากลางคนื ” แนวคำตอบ เนือ่ งจากเวลากลางวันมีแสงของดวงอาทิตย์สว่างจ้าจน
กลบแสงของดวงดาวในเวลากลางวัน และโลกหมนุ รอบตัวเองทำให้อกี ด้านเป็นกลางคนื จงึ ไม่มีแสงของดวง
อาทิตย์
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๔๔
5. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปการมองเหน็ ดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทรแ์ ละดวงดวงในเวลากลางวันและเวลา
กลางคนื
6. ครใู ห้นักเรยี นสืบค้นข้อมลู จากใบความรู้ เพอื่ ใหเ้ ข้าใจยง่ิ ขึ้น
7. ครูให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบทดสอบหลงั เรียน
เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ประเดน็ การประเมิน
1. ผลงานตรงกับ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
จุดประสงค์ท่ีกำหนด
ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานไม่
2. ผลงานมีความ
ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ กับจุดประสงค์ กับจดุ ประสงค์ กบั จุดประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
3. ผลงานมีความคดิ ทุกประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเดน็ จุดประสงค์
สร้างสรรค์
เน้อื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
4. ผลงานมคี วามเป็น
ระเบยี บ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานไมถ่ กู ตอ้ ง
ครบถ้วน เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมีความ ผลงานไมแ่ สดง
ถงึ ความคิด แปลกใหม่แต่ยัง น่าสนใจแต่ยงั ไมม่ ี แนวคิดใหม่
สรา้ งสรรค์ แปลก ไมเ่ ปน็ ระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ใหมแ่ ละเปน็
ระบบ
ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานส่วนใหญ่
ระเบียบแสดงออก ความเปน็ ระเบยี บ ระเบียบแตม่ คี วาม ไม่เปน็ ระเบยี บ
ถงึ ความประณตี แต่ยังมีความ บกพรอ่ งบางสว่ น และมีขอ้ บกพรอ่ ง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เกณฑก์ ารตัดสนิ /ระดับคุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก
14 - 16 คะแนน
ระดับคณุ ภาพ ดี
9 - 13 คะแนน ระดบั คุณภาพ พอใช้
6 - 8 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง
1 - 5 คะแนน
ผ่าน
เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๔๕
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 9 เร่อื ง การเขยี นโปรแกรมเบ้ืองต้น
ว11101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 9 ช่ัวโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาทพ่ี บในชวี ติ จริงอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด
ว 4.2 ป. 1/3 เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รอื สื่อ
สาระสำคญั
การเขยี นโปรแกรมเป็นการสรา้ งลำดับคำสงั่ ใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงาน
การเขียนโปรแกรมเพอื่ สง่ั ใหต้ วั ละครยา้ ยตำแหน่ง ยอ่ ขยายขนาด หรือเปล่ียนรปู รา่ งทำใหเ้ ข้าใจระบบการ
ทำงานของคอมพวิ เตอร์และการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมโดยใชบ้ ัตรคำสงั่ และใชส้ อ่ื ในเวบ็ ไซต์ ทำให้
เขา้ ใจระบบการทำงานของคอมพวิ เตอร์ การเขียนโปรแกรม การวเิ คราะหป์ ญั หา และการวางแผนแก้ปญั หา
สามารถแกป้ ญั หาทพี่ บในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ และสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
สื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระการเรยี นรู้
1) การเขียนโปรแกรมเป็นการสรา้ งลำดบั ของคำส่งั ใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงาน
2) ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ เขียนโปรแกรมสั่งให้ ตวั ละครยา้ ยตำแหน่ง ย่อขยายขนาด เปลย่ี นรปู ร่าง
3) ซอฟต์แวร์ หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตรคำสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม,
Code.org
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอื่ สาร
-สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาค้นควา้ วธิ กี ารเขยี นโปรแกรมเบ้อื งต้น
2.ความสามารถในการคิด
-สำรวจตรวจสอบแลว้ สรปุ ข้อมลู สำคญั ของวิธกี ารเขยี นโปรแกรมเบอื้ งตน้
3.ความสามารถในการใชท้ ักษะในชีวิตประจำวัน
-นำข้อมลู จากการศกึ ษาเรอื่ งวิธกี ารเขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้น มาใช้ประโยชนใ์ หเ้ หมาะสม
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1.มคี วามสนใจใฝ่รู้
2.มคี วามรบั ผิดชอบ มคี วามซอื่ สัตย์ มีเหตผุ ล
3.ใจกว้างรว่ มแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อืน่
4. มคี วามมงุ่ มน่ั อดทน รอบคอบ
เอกสารหลักสตู ร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
๔๖
ชิ้นงานหรือภาระงาน
- ใบงานเรอื่ ง เรื่อง เขียนโปรแกรมโดยใช้บัตรคำสง่ั
การวดั และประเมนิ ผล
1.ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรยี น
2.ประเมินผลงาน
3.ตรวจใบงาน เร่ืองเขยี นโปรแกรมโดยใช้บตั รคำส่ัง
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
กิจกรรมการเรียนรู้
ครูให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
• แผนท่ี 1 : หลกั การเขียนโปรแกรมเบื้องตน้
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : การแก้ปญั หา (Problem Solving Method)
• แผนที่ 2 : ซอฟต์แวร์หรือสือ่ ทใี่ ช้ในการเขยี นโปรแกรม
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : กระบวนการปฏบิ ตั ิ
• แผนที่ 3 : ตวั อย่างโปรแกรม
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : กระบวนการปฏิบัติ
เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมนิ
1. ผลงานตรงกบั ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
จุดประสงคท์ ี่กำหนด
ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานไม่
2. ผลงานมคี วาม
ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ กบั จดุ ประสงค์ กับจุดประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั
3. ผลงานมคี วามคดิ ทกุ ประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น จดุ ประสงค์
สรา้ งสรรค์
เน้อื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ
4. ผลงานมคี วามเปน็
ระเบียบ ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานไมถ่ ูกต้อง
ครบถว้ น เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่
ผลงานแสดงออก ผลงานมแี นวคิด ผลงานมคี วาม ผลงานไม่แสดง
ถึงความคิด แปลกใหม่แตย่ ัง นา่ สนใจแต่ยงั ไมม่ ี แนวคดิ ใหม่
สร้างสรรค์ แปลก ไม่เปน็ ระบบ แนวคิดแปลกใหม่
ใหม่และเปน็
ระบบ
ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมีความเป็น ผลงานสว่ นใหญ่
ระเบียบแสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บแตม่ ีความ ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
ถึงความประณตี แตย่ งั มีความ บกพรอ่ งบางส่วน และมีขอ้ บกพร่อง
บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก
เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี
๔๗
เกณฑก์ ารตดั สิน/ระดบั คณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดีมาก
14 - 16 คะแนน
ระดับคณุ ภาพ ดี
9 - 13 คะแนน ระดบั คุณภาพ พอใช้
6 - 8 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ
1 - 5 คะแนน
ผ่าน
เกณฑก์ ารผ่าน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบรุ ี