The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebola_alobe, 2022-09-04 12:18:07

หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลลพบุรี ป.1 ฉบับแก้ไข 2564

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป.1

๔๘

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 10 เร่อื ง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย

ว11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลาเรยี น 11 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอน

และเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทัน และมีจริยธรรม
ตวั ช้วี ัด
ว 4.2 ป. 1/5 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์

ร่วมกนั ดแู ลรกั ษาอุปกรณเ์ บื้องต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม

สาระสำคัญ

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น การไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่น ยกเว้น
ผู้ปกครองหรือครู การแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความช่วยเหลือในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก่อให้เกดิ ความปลอดภัยท้ังชวี ติ และทรัพย์สิน

การใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยท้ัง
ร่างกายและทรัพย์สนิ ของผ้ใู ช้งาน และชว่ ยลดความเส่ียงของการเกดิ อุบตั เิ หตใุ นการใชง้ านอปุ กรณเ์ ทคโนโลยี

สาระการเรยี นรู้
1) การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น รจู้ ักข้อมูลสว่ นตัว อันตรายจากการเผยแพรข่ อ้ มลู

ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่น ยกเว้นผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความ

ชว่ ยเหลอื เก่ยี วกับการใช้งาน
2) ข้อปฏบิ ัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขยี นบนอุปกรณ์ ทำความสะอาด

ใช้อุปกรณอ์ ยา่ งถูกวธิ ี

3) การใชง้ านอย่างเหมาะสม เช่น จดั ทา่ นงั่ ใหถ้ กู ต้อง การพกั สายตาเมือ่ ใช้อปุ กรณ์เป็นเวลานาน
ระมดั ระวงั อบุ ตั เิ หตจุ ากการใช้งาน

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1.ความสามารถในการสอ่ื สาร

-สงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า วิธกี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย
2.ความสามารถในการคดิ

-สำรวจตรวจสอบแล้วสรปุ ขอ้ มลู สำคญั ของวธิ ีการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั

3.ความสามารถในการใช้ทกั ษะในชีวิตประจำวนั
-นำขอ้ มูลจากการศึกษาเรอื่ งวธิ กี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มาใช้ประโยชนใ์ ห้

เหมาะสม

เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ย์ปฏิบัติการหลักสูตร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี

๔๙

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีความสนใจใฝร่ ู้

2.มีความรับผิดชอบ มีความซ่ือสตั ย์ มีเหตผุ ล
3.ใจกวา้ งรว่ มแสดงความคิดเห็นและรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื
4. มีความมงุ่ ม่นั อดทน รอบคอบ

ช้นิ งานหรือภาระงาน
ใบงาน เร่อื ง การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั

การวดั และประเมนิ ผล
1.ตรวจแบบทดสอบ กอ่ นเรียน
2.ประเมนิ ผลงาน
3.ตรวจใบงาน เรื่องเขยี นโปรแกรมโดยใช้บตั รคำส่งั
4. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

กจิ กรรมการเรียนรู้
ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น

• แผนที่ 1 : การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : วิธีการสอนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es Instuctional Model)

• แผนท่ี 2 : การใชง้ านและการดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : วิธีการสอนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es Instuctional Model)

เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (1)
ประเดน็ การประเมนิ
1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคลอ้ ง ดี (3) พอใช้ (2) ผลงานไม่
จดุ ประสงคท์ ่กี ำหนด กบั จุดประสงค์ สอดคล้องกบั
ทุกประเด็น ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง จดุ ประสงค์
2. ผลงานมีความ กับจุดประสงค์ กบั จดุ ประสงค์
ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ เนือ้ หาสาระของ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น เนือ้ หาสาระของ
ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง
3. ผลงานมีความคดิ ครบถ้วน เนือ้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เปน็ ส่วนใหญ่
สรา้ งสรรค์ ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกตอ้ ง
ผลงานแสดงออก เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางประเด็น ผลงานไมแ่ สดง
ถงึ ความคดิ แนวคดิ ใหม่
สรา้ งสรรค์ แปลก ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม
ใหมแ่ ละเป็น แปลกใหมแ่ ต่ยัง นา่ สนใจแต่ยังไมม่ ี
ระบบ ไม่เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่

เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนย์ปฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี

๕๐

ประเดน็ การประเมิน ระดบั คณุ ภาพ

4. ผลงานมีความเปน็ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
ระเบยี บ
ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญ่

ระเบียบแสดงออก ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บแตม่ คี วาม ไม่เปน็ ระเบยี บ

ถงึ ความประณีต แต่ยังมคี วาม บกพรอ่ งบางสว่ น และมีขอ้ บกพร่อง

บกพรอ่ งเล็กนอ้ ย มาก

เกณฑ์การตดั สนิ /ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก
14 - 16 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี
9 - 13 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพ พอใช้
6 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ
1 - 5 คะแนน ผา่ น
เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพ พอใช้

เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏิบัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบุรี

๕๑

การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

การเรยี นรูเ้ ปน็ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม การพฒั นาความคิดความสามารถ โดยอาศัยประสบการณ์
และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผูเ้ รยี นและสิ่งแวดล้อม ทำให้บุคคลดำเนินชีวิตได้อย่างมคี วามสุขในสงั คม ดังนั้น
ก่อนที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนการสอน จะต้องตระหนักว่าการเรียนรู้เกิดข้ึนด้วยตนเอง ผู้เรียนเอง การ
เรียนรู้เรื่องใหม่จะมีพ้ืนฐานมาจากความรูเ้ ดิม จากนั้นประสบการณ์ของนักเรียนจึงเป็นปัจจัยสำคัญตอ่ การ
เรียนรู้เป็นอย่างยิ่ง กระบวนการเรียนรู้ที่แท้จริงของนักเรียน ไม่ได้เกิดจากการบอกเล่าของนักเรียนหรือ
นักเรียนเพียงแต่จดจำแนวคิดต่างๆ จะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและเกิดการรับรู้ความรู้นั้นอย่างมี
ความหมาย จึงจะสามารถสรา้ งองค์ความรู้ของนักเรียนเอง และเก็บเป็นข้อมูลไว้ในสมองได้อย่างยาวนาน
สามารถนำใชไ้ ด้เมื่อมสี ถานการณ์ใดๆ มาเผชญิ หน้า ดังนั้นการทีน่ กั เรียนจะสร้างองค์ความรู้ได้จึงตอ้ งผ่าน
กระบวนการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างย่งิ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry process)

กระบวนการเรียนการสอนเน้นการสืบเสาะหาความรู้จะเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ปลูกฝงั ใหผ้ ้เู รียนรจู้ กั ใชค้ วามคดิ ของตนเอง สามารถเสาะหาความรหู้ รือ
วเิ คราะห์ขอ้ มูลได้

การจดั การเรยี นใหน้ ักเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ อาจทำเปน็ ขน้ั ตอนดังนี้
1.) ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement) เป็นการนำเขา้ สูบ่ ทเรยี นหรอื เร่อื งที่สนใจ ซ่งึ อาจเกดิ ข้ึน
เองจากความสงสัย หรืออาจเร่ิมจากความสนใจของตัวนกั เรยี นเองหรอื เกิดจากการอภิปรายภายในกลุ่ม เรอ่ื ง
ท่ีน่าสนใจอาจมาจากเหตกุ ารณ์ที่กำลังเกิดข้ึนอยู่ในชว่ งเวลานน้ั หรือเปน็ เร่ืองท่ีเชือ่ มโยงกับความรู้เดิมท่ีเพิ่ง
เรียนรู้มาแลว้ เป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสรา้ งคำถามกำหนดประเด็นที่จะศึกษา ในกรณีทีย่ ังไม่มีประเดน็ ใด
น่าสนใจ ครอู าจให้ศึกษาจากสอื่ ต่างๆ หรอื เป็นผกู้ ระตนุ้ ดว้ ยการเสนอประเด็นขน้ึ มากอ่ น แตไ่ ม่ควรบังคบั ให้
นักเรียนยอมรบั ประเด็นหรือคำถามทีค่ รูกำลังสนใจเป็นเร่อื งท่ีจะใช้ศกึ ษา

เมื่อมคี ำถามท่ีน่าสนใจ และนักเรียนส่วนใหญ่ยอมรบั ใหป้ ระเดน็ ท่ีตอ้ งการศึกษาจึงร่วมกนั
กำหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเรื่องที่จะศึกษาให้มีความชัดเจนขึ้น อาจรวมทั้งการรวบรวม
ความรู้ประสบการณ์เดิม หรือความรู้จากแหล่งตา่ งๆ ที่จะช่วยให้นำไปสู่ความเข้าใจเรื่องหรอื ประเดน็ ที่จะ
ศกึ ษามากข้นึ และมแี นวทางท่ใี ช้ในการสำรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย

2.) ขนั้ สำรวจและคน้ หา (exploration) เม่ือทำความเข้าใจในประเดน็ หรอื คำถามที่สนใจจะศึกษา
อย่างถ่องแท้แล้ว ก็มีการวางแผนกำหนดแนวทางการสำรวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กำหนดทางเลือกที่
เปน็ ไปได้ ลงมือปฏิบัติ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ สนเทศหรอื ปรากฏการณ์ต่างๆ วธิ กี ารตรวจสอบอาจทำ
ได้หลายวิธี เชน่ ทำการทดลอง ทำกจิ กรรมภาคสนาม การใชค้ อมพวิ เตอร์เพอื่ ช่วยสรา้ งสถานการณ์จำลอง
(simulation) การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงหรือจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่าง
เพยี งพอทจี่ ะใชใ้ นขัน้ ตอ่ ไป

3.) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation) เมื่อไดข้ อ้ มูลอยา่ งเพียงพอจากการสำรวจตรวจสอบ
แล้ว จึงนำข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนำเสนอผลที่ได้ในรูปต่างๆ เช่น
บรรยายสรุป สร้างแบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ หรือรูปวาด สร้างตาราง การค้นพบในขั้นนี้อาจเปน็ ไปได้
หลายทาง เช่น สนับสนนุ สมมติฐานที่ตั้งไว้ โต้แย้งกับสมมตฐิ านทีต่ ั้งไว้ หรือไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ได้
กำหนดไว้ แต่ผลทีไ่ ด้จะอย่ใู นรปู ใดกส็ ามารถสรา้ งความรู้และชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ด้

4. ) ขั้นขยายความรู้ (elaboration) เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือ
แนวคิดที่ไดค้ ้นควา้ เพิ่มเตมิ หรือนำแบบจำลองหรือข้อสรุปท่ีได้ไปใช้อธิบายสถานการณห์ รือเหตุการณ์อื่นๆ

เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนย์ปฏิบตั ิการหลักสูตร โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี

๕๒
ถ้าใชอ้ ธบิ ายเร่ืองตา่ งๆ ไดม้ าก กแ็ สดงวา่ ข้อจำกดั น้อย ซงึ่ ก็จะชว่ ยให้เชื่อมโยงกับเรอื่ งตา่ งๆ และทำให้เกิด
ความรกู้ ว้างขวางขนึ้

5. ) ขั้นประเมิน (evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมี
ความรอู้ ะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพยี งใด จากขน้ั น้จี ะนำไปส่กู ารนำความรู้ไปประยุกต์ในเรื่องอน่ื ๆ

แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงวัฎจักรการสบื เสาะหาความรู้
การนำความร้หู รอื แบบจำลองไปใชอ้ ธบิ ายหรือประยุกต์ใช้กบั เหตุการณ์หรอื เรอ่ื งอ่นื ๆ จะนำไปสู่ข้อ
โต้แย้งหรือข้อจำกัดซึง่ จะก่อใหเ้ ป็นประเด็นหรือคำถาม หรือปัญหาทีจ่ ะตอ้ งสำรวจสอบต่อไปทำให้เกดิ เป็น
กระบวนการที่ต่อเน่ืองกันไปเรื่อยๆ จึงเรียกว่า inquiry cycle กระบวนการสืบเสาะหาความรู้จึงช่วยให้
นักเรียนเกดิ การเรียนรูท้ ้ังเนื้อหาหลกั และหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติเพือ่ ให้ได้ความรู้ซึง่ จะ
เป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้ต่อไป
การสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ นอกจากจะใช้กระบวนการดงั กล่าวแล้ว อาจใช้วิธใี นการสืบ
เสาะหาความรูด้ ว้ ยรปู แบบอื่นๆ อกี ดงั น้ี
การค้นหารูปแบบ (pattern seeking) โดยที่นักเรียนเริ่มด้วยการสังเกตและบันทึกปรากฏการณ์
ตามธรรมชาติหรือทำการสำรวจตรวจสอบโดยที่ไม่สามารถควบคุมตัวแปรได้ แล้วคิดหารูปแบบจากข้อมลู
เชน่ จากการสงั เกตผลฝรงั่ ในสวนจากหลายแหลง่ พบว่าฝรั่งท่ีไดร้ บั แสงจะมีขนาดโตกวา่ ผลฝรง่ั ทไี่ ม่ได้รบั แสง
นกั เรยี นกส็ รา้ งรปู แบบและสรา้ งความร้ไู ด้
การจำแนกประเภทและการระบชุ ่ือ เปน็ การจัดประเภทของวสั ดุหรือเหตุการณ์เป็นกลุ่ม หรือการ
ระบุช่ือวัตถหุ รือเหตุการณ์ที่เป็นสมาชิกของกลุม่ เช่น เราจะแบง่ กลุ่มสตั วไ์ ม่มีกระดูกหลังเหล่านีไ้ ด้อยา่ งไร
วัสดุใดนำไฟฟ้าได้ดีหรือไม่ดี สารตา่ งๆ เหล่านี้ไดอ้ ย่างไร วัสดุใดนำไฟฟ้าไดด้ ีหรือไม่ดี สารต่างๆ เหลา่ น้ี
จำแนกอย่ใู นกลุ่มใด

เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี

๕๓
การสำรวจและค้นหา เป็นการสังเกตวัตถุหรือเหตุการณ์เป็นกลุ่ม หรือการระบุชื่อวัตถุหรือ
เหตุการณ์ทีเ่ ป็นสมาชิก ของกลุ่ม เช่น เราจะแบง่ กลุม่ สัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั เหล่าน้ีได้อย่างไร วัสดุใดนำ
ไฟฟ้าได้ดีหรือไมด่ ี สารต่าง ๆ เหล่าน้ีจำแนกอยใู่ นกลุ่มใด
การาสำรวจและคน้ หา เป็นการสังเกตวตั ถุหรือเหตกุ ารณใ์ นรายละเอียด หรือทำการสังเกตตอ่ เน่อื ง
เป็นเวลานาน เชน่ ไขก่ บมพี ฒั นาการอยา่ งไร เมอ่ื ผสมของเหลวตา่ งชนิดกนั เขา้ ดว้ ยกันจะเกิดอะไรข้นึ
การพฒั นาระบบ เป็นการออกแบบ ทดสอบ และปรบั ปรุงสง่ิ ประดิษฐห์ รือระบบ
- ทา่ นสามารถออกแบบสวิตซค์ วามดันสำหรบั วงจรเตอื นภยั ได้อยา่ งไร
- ทา่ นสามารถสร้างเทคนคิ หรือหามวลแห้งของแอบเปลิ้ ไดอ้ ยา่ งไร
การสร้างแบบจำลองเพ่อื การสำรวจตรวจสอบ เป็นการสรา้ งแบบจำลองเพ่ืออธบิ าย เพ่อื ใหเ้ ห็นถึง
หารทำงานเชน่ สร้างแบบจำลองระบบนเิ วศ
การบวนการแกป้ ัญหา (Problem solving process)
การเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตรม์ จี ดุ มุ่งหมายประการหนึ่งคือเนน้ ใหน้ ักเรยี น ได้ฝกึ แกป้ ัญหาตา่ งๆ โดยผ่าน
กระบวนการคิดและปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีระบบ ผลท่ไี ดจ้ ากการฝกึ จะชว่ ยให้นกั เรยี นสามารถตดั สนิ ใจแก้ปญั หาต่างๆ
ด้วยวิธีการคิดอย่างสมเหตุสมผล โดยใช้กระบวนการหรือวิธีการความรู้ ทักษะต่างๆ และความเข้าใจใน
ปัญหานั้น มาประกอบกนั เพื่อเปน็ ข้อมูลในการแก้ปญั หา
เพ่อื ใหเ้ ข้าใจไดต้ รงกนั ถึงความหมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของปัญหา ได้มผี ้ใู ห้ความหมายไวด้ งั น้ี
“ปัญหา” หมายถึง สถานการณ์ เหตกุ ารณ์ หรอื สง่ิ ทพ่ี บแล้วไม่สามารถจะใช้วธิ กี ารใดวิธีการหนึ่ง
แกป้ ญั หาได้ทันทีหรือเมอื่ มีปัญหาเกิดขึ้นแล้วไม่สามารถมองเหน็ แนวทางแก้ไขทันที
การแก้ไขปญั หาอาจทำได้หลายวธิ ี ทง้ั น้ีขึน้ อยูก่ บั ลกั ษณะของปัญหา ความรูแ้ ละประสบการณ์ของผู้
แกป้ ัญหานนั้ กระบวนการแก้ปญั หาแต่ละข้ันตอนมคี วามสมั พันธ์ดงั แผนภาพ

แผนภมู ิท่ี 2 แสดงกระบวนการแกป้ ญั หา

เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศูนย์ปฏบิ ตั ิการหลักสตู ร โรงเรยี นอนบุ าลลพบรุ ี

๕๔
1. ทำความเข้าใจปัญหา ผู้แก้ปัญหาจะต้องทำความเข้าใจกับปัญหาที่พบให้ถ่องแท้ในประเด็น
ต่างๆ คือ (1) ปัญหาถามว่าอย่างไร (2) มีข้อมูลใดแล้วบ้าง และ (3) มีเงื่อนไขหรือตอ้ งการข้อมูลใด
เพิ่มเติมอีกหรือไม่การวิเคราะห์ปัญหาอย่างดีจะช่วยให้ขั้นตอนต่อไปอย่างราบรื่น การประเมนิ ว่านักเรียน
เขา้ ใจปัญหามากน้อยเพียงใด ทำได้โดยกำหนดใหน้ ักเรียนเขยี นแสดงถึงประเดน็ ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องกบั ปญั หา
2. วางแผนแกป้ ัญหา ขน้ั ตอนน้จี ะเป็นการคดิ หาวิธวี างแผนเพือ่ แก้ปัญหา โดยใชข้ ้อมลู จากปญั หา
ที่ได้วิเคราะห์ ได้แล้วในขั้นที่ 1 ประกอบกับข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น และนำมาใช้
ประกอบในการวางแผนการทดลอง ซึ่งประกอบไปด้วยการตั้งสมมติฐาน กำหนดวิธีการทดลองหรือ
ตรวจสอบ และอาจรวมท้งั แนวทางในการประเมินผลการแกป้ ัญหา
3. การดำเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล ขั้นตอนนี้เปน็ การลงมือปฏิบัตแิ ละประเมินต่อไปว่า
วิธนี น้ั นา่ จะยอมรับไปใชใ้ นการแก้ปญั หาอื่นๆ หรอื ไม่ ถ้าพบวา่ การแก้ปัญหานน้ั ไมป่ ระสบความสำเรจ็ กต็ อ้ ง
ย้อนกลบั ไปเลือกวธิ ีการแกป้ ญั หาอน่ื ๆ ท่ีกำหนดไว้แล้วขั้นท่ี 2 และยงั ไม่ประสบความสำเรจ็ นักเรยี นจะตอ้ ง
ย้อนกลับไปทำความเข้าใจปญั หาใหม่ว่ามีขอ้ บกพร่องประการใด เชน่ ขอ้ มลู กำหนดให้เพยี งพอจะได้เริ่มต้น
แกป้ ญั หาใหม่
4. ตรวจสอบการแก้ปัญหา เป็นการประเมินภาพรวมของการแก้ปญั หา ทั้งด้านวิธกี ารแก้ปญั หา
ผลการแก้ปญั หา และการตัดสินใจ รวมทั้งการนำไปประยุกตใ์ ช้ ท้ังนใ้ี นการแก้ปญั หาใดๆ ต้องตรวจสอบถงึ
ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดว้ ย
แม้ว่าจะดำเนนิ ตามขั้นตอนท่กี ลา่ วก็ตาม ผูแ้ กป้ ญั หายงั ตอ้ งมคี วามมน่ั ใจว่าจะสามารถแก้ปัญหาน้ัน
ได้ รวมทง้ั ตอ้ ง มุ่งมนั่ และทุ่มเทให้กบั การแก้ปัญหา เนื่องจากบางปญั หาต้องใชเ้ วลานานและความพยายาม
เปน็ อย่างสงู นอกจากนี้ ถ้านกั เรยี นเกดิ ความเหน่อื ยลา้ จากการแก้ปญั หา กค็ วรใหน้ กั เรยี นไดม้ โี อกาสพกั ผ่อน

สอ่ื การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

บทบาทสำคัญของส่อื ตอ่ การเรียนรู้
การจดั การเรยี นการสอนตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 เน้นให้เกิดการเรยี นรู้

ได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี และต้องจดั การศกึ ษาเพื่อสง่ เสรมิ การเรียนตลอดชีวิต ส่ือการเรยี นจึงมีบทบาทสำคัญ
ยิ่งประการหนึ่งต่อการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยเน้นให้ใช้จากสื่อใกล้ตัวที่มีอยู่ใน
ท้องถิ่นเป็นสำคัญ และสังคมโลกในปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ที่โลกไร้พรมแดนการใช้สื่อประเภท
เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงมบี ทบาทขึ้นดว้ ย

ประเภทของสอ่ื การเรยี นการสอน
ส่ือการเรียนการสอนมหี ลากหลายประเภท ทัง้ ทีเ่ ปน็ สอื่ ของจรงิ สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์และ

สื่อมัลติมีเดียสอ่ื การเรียนการสอนที่มคี ุณภาพจะชว่ ยส่งเสรมิ กระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจ ตดิ ตามบทเรียน
และสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ ได้อยากมปี ระสิทธิภาพ สื่อการเรียนการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี
สำคญั ประกอบดว้ ย

1. อุปกรณ์การทดลอง ซึ่งมีอุปกรณ์วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน เช่น กล้องจุลทรรศน์ เครื่องชัง่ มัลติ
มเิ ตอร์ เครอ่ื งแกว้ และอุปกรณเ์ ฉพาะทใ่ี ช้ประกอบการทดลองบางการทดลอง

เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ยป์ ฏิบัติการหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี

๕๕
2. สิ่งสือ่ พิมพ์ ได้แก่ หนังสอื เรยี น หนงั สอื อา่ นประกอบ แผ่นภาพ แผ่นภาพโปสเตอร์ วารสาร
จุลสาร นิตยสาร หนังสื่อพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ สิ่งเหล่านี้จะมีเรื่องราวน่าสนใจทั้งเกี่ยวข้องกับ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยตรงและโดยอ้อม
3. ส่อื โสตทศั นปู กรณ์ ได้แก่ แผน่ ภาพโปรง่ ใส่ วดี ีทศั น์ สไลดเ์ ทป
4. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สื่อประเภท CAI CD-ROM โครงข่ายอินเตอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์
ทดลองทใ่ี ช้ร่วมกบั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์
5. สารเคมีและวสั ดสุ ิน้ เปลือง
6. อุปกรณข์ องจริง ไดแ้ ก่ ตัวอยา่ งสิ่งที่มีชวี ติ ตวั อย่างหนิ แร่ และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
เนื่องจากมีสื่ออยู่หลายดังได้กล่าวแล้ว ครูผู้สอนจำเป็นต้องมีความรู้และความสามารถในการ
วิเคราะหว์ นิ จิ ฉัยและตัดสินใจเลอื กใชส้ ่อื ได้อยา่ งเหมาะสม คมุ้ ค่า และประหยัด ทั้งนีค้ รูผสู้ อนอาจจัดทำหรอื
จดั หาวสั ดุทดแทนในท้องถ่ิน เพอ่ื ใช้แทนสื่อราคาแพง หรือใชส้ ่อื เพอื่ ช่วยประหยัดเวลาในการศึกษา หรือใช้
แทนกจิ กรรมการเรยี นการสอนทอี่ าจเกดิ อนั ตราย เช่น การทดลองท่มี กี ารระเบดิ อย่างรนุ แรง

การพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้
หน้าที่หลักประการหนึ่งของครูผู้สอน คือ การพัฒนาและการใช้สื่อการเรียนการสอนซึ่งจะต้อง

วางแผนจดั ทำและจดั หาสือ่ พรอ้ มๆ กบั การเตรียมแผนการจัดการเรยี นรู้ แนวทางในการพัฒนาส่อื ควรคำนึ่ง
ถึงสงิ่ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. วิเคราะห์เนื้อหาและกิจกรรมภายใตก้ รอบมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละสาระการเรยี นรู้
2. วิเคราะห์กจิ กรรมการเรียนรวู้ ่าแต่ละกจิ กรรมควรใชส้ อื่ ประกอบหรือไม่ และควรเปน็ สื่อประเภท
ใด ถ้าเปน็ ไปได้ ตอ้ งใหใ้ ช้สื่อท่เี ปน็ ของจรงิ หรอื มอี ยตู่ ามธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ุด
3. เมื่อเลือกชนิดของสือ่ ท่ีจะใช้แล้ว ก็พิจารณาคณุ ภาพของสือ่ ท่ีจะนำใช้เพ่ือให้ส่ือน้ันทำหนา้ ที่ได้
อย่าคุ้มค่า กล่าวคือ เป็นสื่อที่ดึงดดู ความสนใจของนักเรียน สอนให้เข้าใจเนื้อหาที่จะเรยี นได้ถูกต้องและ
รวดเรว็ ถ้าอุปกรณก์ ารทดลองกต็ อ้ งตรวจสอบวา่ อุปกรณ์ดังกลา่ วทำงานได้ตามวัตถุประสงค์
4. ในกรณขี องสิ่งสอ่ื พิมพ์ อาจพัฒนาในรูปของชุดกิจกรรม โดย
กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการเจตคติ ค่านิยม
และคุณธรรม ท้ังน้ภี ายในกรอบมาตรฐานทีก่ ำหนดไว้
 ออกแบบกิจกรรม โดยศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ ทั้งเอกสารภายในประเทศและต่างประเทศ
(ถ้าม)ี เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นากิจกรรม โดยตอ้ งคำนงึ่ ถงึ สงิ่ สำคัญคอื นักเรียนตอ้ งเปน็ ผลู้ งมอื ปฏบิ ัติเอง
หรอื เป็นกจิ กรรมทีส่ ะท้อนใหเ้ หน็ ว่าผู้เรียนสำคัญท่สี ุด
 การสอนท่เี ป็นเน้ือหาสาระ ครูจะต้องศกึ ษาคน้ ควา้ จากส่ืออื่นๆ โดยยึดตำราหรือหนังสือเล่มใด
เลม่ หนึง่ เพยี งเลม่ เดียว แลว้ แนะนำใหน้ กั เรยี นไดศ้ ึกษา ค้นคว้า บันทกึ สรุป หรือในกรณีที่นักเรียนมีพร้อมก็
อาจแนะนำให้คน้ หาทางอินเตอรเ์ น็ต
*กิจกรรมต่างๆ ที่นักเรียนปฏิบัติ ควรออกแบบเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนมีอิสระในการคิด
แกป้ ญั หา หรอื คดิ พัฒนาชน้ิ งานหรอื ผลติ ภัณฑต์ ่างๆ ดว้ ยความคิดของนกั เรยี นเอง
 การออกแบบกิจกรรม ต้องคำนึงถึงการให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มแบบ Coopcratve
อย่างแท้จริง กลา่ ว ทกุ คนมบี ทบาทสำคัญเทา่ เทยี บกับในกลมุ่ และต้องเป็นกจิ กรรมทนี่ ักเรยี นทกุ คนในกลมุ่ ได้
แสดงออกถงึ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มท่ี ไม่ใหค้ นหนงึ่ มอี ิทธพิ ลต่อกลุม่ หรือไมร่ ่วมมือกบั กลุ่ม
 กจิ กรรมการเรยี น ควรบรู ณการวิชาอน่ื ๆ ดว้ ยเช่น ภาษา ศิลปะ สังคมและอืน่ ๆ

เอกสารหลักสูตร 2564 ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารหลักสูตร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี

๕๖
5. ในกรณีของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ประกอบการทำกิจกรรมซึ่งไม่ใช่เป็นอุปกรณ์สำเร็จรูปแต่
จำเป็นต้องพัฒนาขึ้นเอง ก็ควรขอความรวมมือกับครูฝ่ายอื่นๆ โดยเฉพาะครูช่างเพื่อช่วยให้การพั ฒนา
อปุ กรณไ์ ดส้ ำเร็จตามความต้องการ หรืออาจให้นกั เรียนไดม้ สี ่วนช่วยกันสร้างอปุ กรณ์ดว้ ยก็จะเป็นการดีมาก
ทั้งน้คี วรเลอื กใชว้ ัสดุท่ีหาได้งา่ ยในท้องถน่ิ ราคาไมแ่ พง แต่ควรคำนงึ อยเู่ สมอว่าการใชส้ อ่ื ดังกล่าวจะช่วยให้
เกดิ คุณคา่ ต่อการเรียนรู้ได้อย่างแทจ้ ริง
6. ควรมีการร่วมมอื เปน็ เครือขา่ ยระหวา่ งครูในทอ้ งถิ่น เพอื่ แลกเปลย่ี นสื่อการเรยี นการสอนกันก็จะ
เปน็ การประหยัดเวลาและใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ ค่า
7. ควรสำรวจแหล่งสื่อท้องถิ่นอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องเป็นแหล่งอุปกรณ์วิทยาศาสตร์
อาจเป็นร้านขายของเล่นในตลาดหรือในห้างสรรพสนิ คา้ ก็ได้ ถ้าครูสามารถพิจารณา วิเคราะห์และเลอื กใช้
อย่างเหมาะสม ก็จะเกดิ คุณค่าต่อการเรยี นร้ไู ด้
8. การพัฒนาหรือการใช้สือ่ การเรียนรู้ จะต้องวิเคราะห์ไปกับการประเมินผลการใช้งานเพือ่ นำมา
เป็นข้อมลู ในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ หรอื เปลี่ยนไปใช้สื่อประเภทอนื่ แทน

แหลง่ การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ตอ้ งสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ผูเ้ รียนให้สามารถเรยี นรู้ได้ทุกเวลา

ทกุ สถานท่ี และเรียนร้ตู ่อเน่อื งตลอดชวี ติ จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย แหล่งเรยี นรู้สำหรบั วิชาวิทยาศาสตร์
ไม่ได้จำกดั อยูเ่ ฉพาะในห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียน หรอื จากหนงั สือเรยี นเทา่ นน้ั แต่จะ
รวมถึงแหล่งเรียนรู้หลากหลายทั้งในโรงเรียน หรือจากหนังสือเรียนเท่านั้น แต่จะรวมถึงแหล่งเรียนรู้
หลากหลายทัง้ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ดงั น้ี

- สอ่ื สงิ่ พิมพ์ เช่น หนังสือเรียน หนงั สอื อา้ งอิง หนังสืออ่านประกอบ หนังสือพมิ พ์ วารสาร
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ มัลติมีเดีย CAI วีดีทัศน์ และรายการวิทยาศาสตร์ที่ผ่านสื่อวิทยุ
โทรทศั น์ CD-ROM อนิ เทอรเ์ นต็
- แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรยี น เช่น ห้องกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ สว่ นพฤกษศาสตร์ สวนธรณีในโรงเรียน
หอ้ งสมดุ
- แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เช่น อุทยานแห่งชาติ สวนพฤกษศาสตร์ สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์
วทิ ยาศาสตร์ โรงงานอุตสาหกรรม หนว่ ยงานวจิ ยั ในทอ้ งถิ่น
- แหล่งเรียนรู้ที่เป็นบุคลคล เช่น ปราชญ์ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ครู อาจารย์ นักวิทยาศาสตร์
นกั วิจยั
ทั้งนี้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ครูผุ้สอนควรพิจารณาใช้แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ให้
สอดคล้องกับสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ และคำนึ่งถงึ ประโยชน์สูงสุดท่ผี เู้ รียนจะไดร้ ับการพัฒนาทัง้ ด้วย
ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ เจตคติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมจากแหล่งเรียนรเู้ หลา่ นั้นอัน
จะสง่ ผลให้ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาเต็มตามศักยภาพ

การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

เพื่อที่จะทราบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่พอเพียงใด
จำเปน็ ต้องมีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ในอดีตท่ีผา่ นมาการวดั และประเมินผลส่วนใหญ่ให้
ความสำคญั กบั การใช้ขอ้ สอบซึง่ ไม่สามารถสนองเจตนารมณ์การเรยี นการสอนท่เี นน้ ใหผ้ ู้เรียนคดิ ลงมือปฏิบัติ

เอกสารหลักสูตร 2564 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบุรี

๕๗
กระบวนการหลากหลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ ดังนั้นต้องตระหนักว่าการเรียนการสอนและการวัดผลการ
ประเมนิ ผลเป็นกระบวนการเดียวกนั และจะตอ้ งวางแผนไปพร้อมๆ กนั

แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้จะบรรลุผลตามเป้าหมายของการเรยี นการสอนที่วางไว้ได้

ควรมแี นวทางดังต่อไปนี้
1. ต้องวดั และประเมินผลทัง้ ความรคู้ วามคิด ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ
เจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมในวทิ ยาศาสตร์ รวมท้งั โอกาสในการเรียนร้ขู องผเู้ รียน
2. วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ทก่ี ำหนดไว้
3. ตอ้ งเก็บข้อมลู ทไ่ี ด้จากการประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และต้องประเมนิ ผลภายใต้
ขอ้ มลู ทีม่ อี ยู่
4. ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนำไปสู่การแปลผลแล ะลงข้อสรุปท่ี
สมเหตสุ มผล
5. การวดั และประเมนิ ผลตอ้ งมคี วามเทย่ี วตรงและเป็นธรรม ทงั้ ดา้ นของวิธีการวดั โ อ ก าสของ

การประเมิน

จุดมงุ่ หมายของการวดั ผลและประเมนิ ผล
1. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทักษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และ

ค่านยิ มของผเู้ รียน และเพือ่ ซ่อมเสรมิ ผู้เรียนใหพ้ ัฒนาความรคู้ วามสามารถและทกั ษะได้เตม็ ตามศกั ยภาพ
2. เพอ่ื ให้เปน็ ข้อมลู ปอ้ นกลบั ใหแ้ ก่ตัวผู้เรยี นเองวา่ บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้เพยี งใด
3. เพอื่ ใช้ขอ้ มลู ในการสรปุ ผลการเรยี นรู้ และเปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัดและ

ประเมินผลที่สามารถสะท้อนผลการเรียนรู้อยา่ งแท้จริงของผู้เรียนและครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้และผล
การเรยี นรทู้ ้ัง 3 ดา้ น ตามที่กลา่ วมาแลว้ จงึ ต้องวัดและประเมินผลจากสภาพจรงิ

การวัดและประเมนิ ผลสภาพจรงิ
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ

ตรวจสอบการทดลอง กิจกรรมศกึ ษาคน้ คว้า กิจกรรมศกึ ษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
อย่างไรกต็ าม ในการทำกิจกรรมเหลา่ น้ีตอ้ งคำนึงวา่ ผ้เู รยี น แต่ละคนมศี ักยภาพแตกตา่ งกนั ผูเ้ รยี นแต่ละคน
จงึ อาจทำงานเชน่ เดยี วกันได้ เสรจ็ ในเวลาทแี่ ตกต่างกัน และผลงานทไ่ี ด้กอ็ าจแตกต่างกันด้วยเมื่อผู้เรียนทำ
กิจกรรมเหล่านี้แล้วก็จะต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทกั ษะปฏิบตั ิ
ต่างๆ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรักความซาบซึ้ง กิจกรรมที่ผูเ้ รียนได้ทำและ
ผลงานเหล่านี้ต้องใช้วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้
ความสามารถและความรู้สึกนึกคิดที่แท้จริงของผู้เรียนได้ การวัดและประเมินผล จากสภาพจริงจะมี
ประสิทธภิ าพกต็ ่อเมอื่ มกี ารประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวธิ ี ในสถานการณ์ต่างๆ ท่ีสอดคล้องกับชีวิต
จริง และตอ้ งประเมินอยา่ งต่อเนือ่ ง เพือ่ จะไดข้ ้อมลู ทมี่ ากพอท่ีจะสะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียน
ได้

เอกสารหลกั สตู ร 2564 ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารหลักสตู ร โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

๕๘
ลกั ษณะสำคัญของการวัดและประเมินผลจากสภาพจริง

1. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงมีลักษณะที่สำคัญคือใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดท่ี
ซบั ซอ้ นความสามารถ ในการปฏบิ ตั ิงาน ศักยภาพของผูเ้ รียนในดา้ นของผผู้ ลติ และกระบวนการท่ีได้ผลผลิต
มากกวา่ ทีจ่ ะประเมนิ วา่ ผูเ้ รยี นสามารถจดจำความรู้อะไรบ้าง

2. เปน็ การประเมินความสามารถของผเู้ รียน เพ่อื วนิ ิจฉยั ผ้เู รียนในสว่ นทีค่ วรส่งเสริมและส่วนที่ควร
แกไ้ ขปรบั ปรงุ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาอยา่ งเต็มศกั ยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความตอ้ งการของ
แต่ละบุคคล

3. เป็นการประเมนิ ผลทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้มีส่วนรว่ มประเมนิ ผลงานของท้ังตนเองและของเพ่ือ
รว่ มหอ้ งเพื่อส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นรู้จักตนเอง เชอ่ื ม่นั ในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้

4. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินจะสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรยี นการสอนและการวางแผนการ
สอนของผูส้ อนว่า สามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจ และความตอ้ งการของผเู้ รียนแต่ละบคุ คลได้
หรอื ไม่

5. ประเมินความสามารถของผู้เรียนในการถ่ายโอนการเรียนรไู้ ปสชู่ ีวิตจริงได้
6. ประเมนิ ด้านต่างๆ ดว้ ยวิธีที่หลากหลายในสถานการณ์ต่างๆ อยา่ งตอ่ เนื่อง
วธิ กี ารและแหล่งขอ้ มูลที่ใช้
เพอ่ื ให้การวดั และประเมินผลได้สะท้อนความสามารถทีแ่ ท้จรงิ ของผูเ้ รียน ผลการประเมินอาจได้มาก
แหล่งข้อมลู และวธิ กี ารตา่ งๆ ดังต่อไปนี้
1. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบคุ คลหรอื กล่มุ
2. ช้ินงาน ผลงาน รายงาน

เอกสารหลกั สูตร 2564 ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารหลักสตู ร โรงเรยี นอนุบาลลพบรุ ี


Click to View FlipBook Version