The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warinchamrapchalermrajkumari, 2021-02-22 00:02:50

Alumni-54-8

Alumni-54-8

การประกนั คุณภาพงานเชอ่ื ม

มาตรฐานการรบั รองบุคลากรดา นงานการเช่ือม

การรบั รองคุณวฒุ ิของผูปฏิบตั ดิ า นการเชอื่ มและผูควบคุม
การเช่ือม การรบั รองคณุ วฒุ ขิ องบคุ ลากรดานการเชื่อม
มีดว ยกันหลายมาตรฐาน ซงึ่ จะแยกตวั อยางไวพอสงั เขปดงั นี้

1. มาตรฐานของประเทศสหพนั ธส าธารณรัฐเยอรมนั

แบงระดับฝม อื ชา งออกเปน 2 ประเภท คือ
ชา งเชื่อมโลหะแผน
ชา งเชื่อมทอ

2. มาตรฐานฝมือแรงงานแหง ชาติ

มาตรฐานชา งเชื่อมเหลก็ แผนดวยไฟฟา
มาตรฐานชา งเชื่องทอ ดว ยไฟฟา

หลักการท่ัวไป

1. การกาํ หนดแบง ระดับชั้นฝมือ 3 ระดบั โดยกาํ หนดใหชางเช่ือม
ไฟฟา 3 เปนช้ันต่ําสดุ ชางเชื่อมไฟฟา 2 เปน ชัน้ กลาง ชางชางเชื่อม
1 เปน ช้ันสูงสดุ และแบง เปน สาขาเหล็กแผนและสาขาทอ

2. ผูทเ่ี ขารบั การทดสอบเปน ชางฝมือมาตรฐานตองเขา การสอบปาก
เปลา ขอเขยี น และภาคปฏบิ ตั ิ เพ่อื แสดงวามีความรูและมีฝมือได
มาตรฐาน

3. ผทู ีเ่ ขาทดสอบเปนชางเช่ือมไฟฟา 2 ไมวา สาขาใดตอ งผานการ
ทดสอบเปนชา งเชื่อมไฟฟา ชั้น 3 กอน และผเู ขา รับการทดสอบเปน
ชางเช่ือมไฟฟาช้ัน 1 สาขาใด จะตองผานการทดสอบในสาขาน้ัน
สําหรับชนั้ ท่ีตา่ํ กวา กอ น

Industrial Engineering[Tech Ed.] RMUTP NBK.

4. ลักษณะของขอสอบแบงออกเปนภาคทฤษฏี 20 เปอรเซ็นต แบง
ภาคปฏิบัติ 80 เปอรเซ็นตของคะแนนเต็ม ยกเวนชางเช่ือมไฟฟาช้ัน
1 ภาคทฤษฏี 30 เปอรเซนตแ ละภาคปฏบิ ตั ิ 70 เปอรเซน็ ต

5. การทดสอบภาคทฤษฏีชางเช่ือมชั้น 3 ใชเวลา 1 ช่ัวโมง ชางเช่ือม
ไฟฟาชั้น 2 และชั้น 1 ใชเวลา 1 ช่ัวโมงคร่ึง ภาคปฏิบัติชางเช่ือม
ชั้น 3 ใชเวลา 3 ช่ัวโมง ชางเชื่อมไฟฟาช้ัน 2 ใชเวลา 4 ช่ัวโมง
ชา งเชื่อมไฟฟาช้ัน 1 ใชเ วลา 3 ช่ัวโมง

6. จุดพิจารณาในการสอบคือ ระยะเวลา วิธีการปฏิบัติงาน ผลงานสําเร็จ
การใชวัสดุอยางประหยัดและการระวังรักษาเคร่ืองมือ รวมทั้ง
ความสามารถในการทาํ งานอยา งปลอดภัย

Industrial Engineering[Tech Ed.] RMUTP NBK.

3. มาตรฐานของสมาคมการเชื่อมแหงประเทศสหรัฐอเมริกา

ตามหมายเลขรหสั AWS D 10.9 กาํ หนดแบงระดับความ
สมารถของทา เชือ่ มทอออกเปน 3 ระดบั ดงั น้ี

AR- 1 Aeceptance Requirement 1

AR- 2 Aeceptance Requirement 2

AR- 3 Aeceptance Requirement 3

การเช่ือมโลหะแผนรอยตอ ชนบากงาน การเชอื่ มโลหะแผน
โดยใชร อยตอชนบากงานแบงเปน 4 ปะเภท คือ

1. ตําแหนง 1G ( ทา ราบ ) 3. ตาํ แหนง 3G ( ทาตง้ั )

2. ตําแหนง 2G ( ทาขนาน ) 4. ตาํ แหนง 4G ( ทาเหนอื ศรี ษะ )

การเชื่อมทอรอบตอ ชนบากงาน การเช่ือมทอ
โดยใชร อยตอชนบากงานแบงออกเปน 5 ประเภทคอื

ตําแหนง 1G

ตาํ แหนง 2G ตาํ แหนง 5G

ตาํ แหนง 6G ตาํ แหนง 9GR

การเชื่อมตอ รอยฉาก การเชอ่ื มตอ โลหะแผนโดยการใชร อยตอฉาก
แบง ออกเปน 4 ประเภทคือ

ตาํ แหนง 1F ( ทาราบ ) ตาํ แหนง 2F ( ทาขนาน )

ตําแหนง 3F ( ทาต้ัง ) ตาํ แหนง 4F ( ทาเหนือศรี ษะ)

มาตรฐานการรบั รองชา งเชอื่ มตาม ISO 9606

1. ขอบเขตของมาตรฐาน (Scope)
คือ ขอบเขตของการรบั รอง เง่อื นไขการทดสอบ กฎเกณฑก ารยอมรบั

และการรบั รองการสอบงานของชางเชอ่ื ม
2. การอา งถงึ มาตรฐานทวั่ ไป (Nonmative Reference)

จะอา งองิ ถงึ มาตรฐานของยุโรปและมาตรฐานสากลรวมกัน
3. นิยาม (Definition)

1 โดยทว่ั ไป (General)
คาํ วา “ชางเชื่อม” ไดค รอบคลมุ ถงึ ชางเช่อื มอัตโนมัติ (Welding Operator)

ยกเวน ผูซ่ึงทําหนาที่ควบคุมระบบแมคคานิค และระบบอตั โนมัติชนิดสมบูรณแบบ

Industrial Engineering[Tech Ed.] RMUTP NBK.

2. ชา งเชอื่ ม (Welder)
ชางเชอ่ื มดว ยมอื (Manual Welder)
ชา งเชอ่ื มอตั โนมัติ (Welding Operator)

3. ผูตรวจสอบ หรอื หนว ยงานตรวจสอบ (Examiner of Test body)
4. กําหนดของวธิ กี ารเช่อื ม (Welding Procedure Specification) WPS
5.ขอบเขตการรับรอง (Range of Approval)
6. ชนิ้ งานสอบ (Test Piece)
7. ชน้ิ งานทดสอบ (Test Specimen)
8. การทดสอบ (Test)

สญั ลักษณแ ละคํายอ (Symbols and Abbreviation)

สญั ลักษณแ ละคํายอท่ีใชก บั ช้ินงานสอบ (Test Piece) มดี ังตอ ไปนี้

a คา โทรดปกติ (Norminal Throat thickness)

BW เชอ่ื มตอชน (Butt Weld)

D เสนผานศนู ยก ลางภายนอกของทอ (Cutside Diameter of Pipe)

FW เชอื่ มฟลเล็ท (Fillet Weld)

P แผน (Plate)

t ความหนาของแผนหรือผนังทอ (Plate or Pipe Wall Thickness)

T ทอ (pipe)

z ความยาวของรอยเชื่อม (Leg Length of Fillet Weld)

ความสนิ้ เปลอื ง (รวมท้ังเครือ่ งชวยทกุ อยา ง เชน แกสปกปอง ฟลกั๊ ซ)
(Consumable : Including Auxiliries e g Shielding Gas, Flux)

Mm ไมเ ตมิ โลหะ (No Filler Metal)
wm ใชโลหะเตมิ (With Filler Metal)
A สารพอกหมุ ประเภทกรด (Acid Covering)
B สารพอกหมุ ประเภทดา ง (Basic Covering)
C สารพอกหมุ ประเภทเซลลูโลส (Cellulosic Covering)
R สารพอกหมุ ประเภทรไู ทล (Rutile Covering)
RA สารพอกหมุ ประเภทรไู ทลก รด (Rutile Acid Covering)
RB สารพอกหมุ ประเภทรไู ทลด า ง (Rutile Basic Covering)
RC สารพอกหมุ ประเภทรไู ทลเซลลโู ลส (Rutile Cellulosic Covering)
RR สารพอกหมุ หนา ประเภทรไู ทล (Rutile Thick Covering)
S ชนิดอืน่ ๆ

สิ่งเบด็ เตล็ด (Miscellaneous)

bs เชื่อมท้ังสองดา น (Welding From Both Side)

gb เชือ่ มใชแกส ปกคลมุ ดา นหลงั (Back Gouging or Back

Grinding of Weld)

Mb เชื่อมโดยใชวัสดุรองหลัง (Welding With Baking Material)

mg ไมเซาะหรอื เจียรดา นหลงั (No Back Gouging or No Back

Grinding)

nb เชือ่ มโดยไมใชว ัสดุรองหลงั (Welding With Out Backing)

ss เชอื่ มดา นเดียว (Single Side Welding)

Industrial Engineering[Tech Ed.] RMUTP NBK.

กระบวนการเชือ่ ม (Welding Process)

ไดก ําหนดรายการหมายเลขอา งอิง ของกระบวนการเชื่อมไวใน ISO 857
มาตรฐานไดค รอบคลุมกระบวนการเชือ่ มไว ดงั นี้

111 การเชอื่ มไฟฟาดว ยมือ ใชลวดเชอ่ื มชนดิ มีสารพอกหุม (Manual arc
Welding With covered electrode)

114 การเชือ่ มไฟฟาดว ยลวดเชือ่ มใสฟลกั๊ ไมใ ชก า ซ ปกปอง (Flux Cored
wire metal arc welding with cut gas shred)

12 การเช่อื มซับเมิอรก (Submerge arc welding)
131 การเช่อื มโลหะดว ยลวดเช่ือมทใี่ ชกาซเฉื่อย (Inert gas) เปนกาซ

ปกปอง (MIG welding)

135 การเชอ่ื มโลหะดว ยลวดเช่ือมที่ใช แอคทีพกาซ (Co2) เปน กา ซ
ปกปอ ง

136 MAG welding
137 การเช่ือมไฟฟาดว ยลวดเช่ือมใสฟลก๊ั กบั ใชแ อคทีพกาซ (Co2) เปน

กา ซปกปอ ง
141 การเชือ่ มโลหะโดยใชท งั สเตน (Tungsten) เปน ตวั อารคและใชกา ซ

เฉือ่ ย (Argon) เปนกา ซปกปอง (Tig-Welding)
15 การเชือ่ มดวยวิธี พลาสมา (Plasma arc welding)
311 การเช่ือมดว ยกาซ ออกซ่ี/อะเซทิลนี (Oxy / Acetylene Welding)

ชนิดรอยตอ (Join type)

ขนาดชน้ิ งานทดสอบสําหรับงานเชื่อมตอชนแผน
ขนาดช้นิ งานทดสอบสําหรับงานเช่ือมฟลเลทแผน

ขนาดชน้ิ งานทดสอบสาํ หรบั เชื่อมตอ ชนงานทอ (หนว ย : มม.)

ขนาดชน้ิ งานทดสอบสาํ หรบั เชื่อมตอ ฟลเลทงานทอ (หนวย : มม.)

ตารางแสดง ขอบเขตการรบั รองสาํ หรบั โลหะชน้ิ งาน

กลุมวัสดุของ W 01 ขอบเขตการรับรอง W 11
ชิ้นงานสอบ * W 02 W 03 W 04 -

รบั รอง ---

W 01

W 02 X * - - -

W 03 X X * - -

W 04 X X - * -

W 11 X1) X1) X1) X1) *

1) เมื่อใชโ ลหะเตมิ จากกลุม W 11

คําอธบิ ายเคร่ืองหมาย (Key)
* แสดงถงึ กลุมวัสดุซง่ึ ชา งเชือ่ มไดผ า นการรบั รองการทดสอบแลว
X แสดงถงึ รายการกลุมวสั ดซุ งึ่ ชา งเชอ่ื มไดร ับการรับรองคลอบคลมุ ถงึ ดว ย
- แสดงถงึ รายการกลมุ วัสดซุ ง่ึ ชางเช่อื มไมไ ดรบั การรับรองคลอบคลุมถึง

หมายเหตุ ตารางนใ้ี ชไ ดเ ฉพาะเมือ่ ตวั * แสดงถงึ โลหะช้ินงานและ โลหะเตมิ
ทีอ่ ยูในกลมุ วสั ดุเดียวกัน

ตารางแสดง ขอบเขตการรับรองสําหรับการตอโลหะทไี่ มเ หมอื นกัน

กลมุ วสั ดุของชิ้นงานสอบรบั รอง ขอบเขตการรับรอง
W 02
W 03 W 02 เชอ่ื มตอ กับ W 01

W 03 W 02 เช่อื มตอ กบั W 01
W 03 เช่อื มตอ กับ W 01
W 03 เชอ่ื มตอ กับ W 03
W 02 เชอ่ื มตอ กับ W 01
W 04 เช่ือมตอ กับ W 02
W 04 เช่อื มตอ กบั W 02

W 04 W 11 เชอื่ มตอ กบั W 01
W 11 เชอื่ มตอ กับ W 02
W 11 เชอื่ มตอ กบั W 03
W 11 เช่อื มตอ กบั W 04

1) สําหรับการตอโลหะทไ่ี มเหมอื นกัน โลหะเติมควรมีลักษณะเชนเดียวกัน
กบั กลุมใดกลมุ หนงึ่ ของโลหะช้นิ งานทน่ี ํามาทดสอบ

2) เมอื่ ใชโ ลหะเติมจากโลหะกลุมวสั ดุ W 11

การเชือ่ มไฟฟา ดวยลวดเชอ่ื มมสี ารพอกหมุ
(Metal Arc Welding With Covered Electrodes)

กลมุ ลวดเชอื่ มทม่ี ีสารพอกหมุ จะถกู แบง ชนั้ คณุ ภาพตามคุณภาพ
ตามคณุ ลักษณะที่สําคัญที่สดุ ในมาตรฐาน Pr En 499 ไวเปนกลุมตา งๆ
ดงั ตอไปน้ี

A สารพอกหุม ประเภทกรด (Acid Covering)

B สารพอกหมุ ประเภทดา ง (Basic Covering)

C สารพอกหุม ประเภทเซลลูโลส (Cellulosic Covering)

R สารพอกหุม ประเภทรูไทล (Rutile Covering)

RA สารพอกหุม ประเภทรูไทลก ร (Rutile Acid Covering)

R สารพอกหุม ประเภทรไู ทลด าง (Rutile Basic Covering)
RC สารพอกหุม ประเภทรไู ทลเ ซลลโู ลส(Rutile Cellulosic Covering)
RR สารพอกหมุ หนา ประเภทรูไทล (Rutile Thick Covering)
S ชนิดอ่ืนๆ ทีร่ ะบไุ ว (Other)

ขอ สังเกต สําหรบั รายระเอียดในอนาคตของลวดเชื่อมชนิดสารพอกหุมที่
จะอางถงึ จะตอ งทําการบรรจุไวในมาตรฐาน Pr 499 , ISO 3581 ตาม
ปญหาที่เกดิ ขนึ้ ในเหล็กกลา

ตารางแสดง ชิ้นงานทดสอบ(แผน (p) หรือทอ(T)และขอบเขตของการรับรอง

ชิ้นงานทดสอบความหนาเปน มม. ขอบเขตการรับรอง

t≤3 t ถงึ 2t(1)
3 < t ≤ 12 3 มม. ถงึ 2t(2)

t > 12 ≥ 5 มม.

1) สาํ หรบั การเช่อื มกา ซ ออกซ-ิ อะเซทลิ นี (311) t ถงึ 1.5 t
2) สาํ หรับการเช่ือมกา ซ ออกซ-ิ อะเซทิลนี (311) 3 มม. ถงึ 1.5

ตาราง เสน ผา ศูนยก ลางชนิ้ ทดสอบและขอบเขตของการรับรอง

เสนผาศูนยกลาง ชน้ิ งานทดสอบ D มม. ขอบเขตของการรบั รอง

D ≤ 25 D ถงึ 2D
25 < D ≤ 150 0.5 D ถึง 2D (25 มม. อยา งตํา่ )
D ≥ 150 ≥ 0.5 D.

1) สําหรบั ชน้ิ สว นโครงสรา งที่เปนวงกลม D ใหใชขนาดเล็กท่ีสดุ

ตําแหนงทาเช่ือมสาํ หรับงานแผน

ตําแหนงทาเชอ่ื ม Welding Position)
เช่ือมตอชน (Butt Weld)

ทา เช่อื ม (PA Flat) ทาระดบั หรอื ทา ขนาน (PC Horizontal
Vertical

ทา ตง้ั ข้นึ (Pf Vertical Upwards)

ทา ตง้ั ลง (PG vertical Downwards)

ทา เหนือหวั (PE Overhead)

เช่อื มตอ ชนฟล เลท (Fillet Weld)

ทาราบ (PA Flat)
ทา ระดับหรอื ทา ขนาน (PB Horizontal Vertical)

ทา ต้งั ข้ึน (PF Vertical Upwards)

ทา ต้งั ลง (PG Vertical Downwards)

ทา เหนอื หัว (PD Horizontal Overhead)

เช่อื มทอ (Fillet Weld)







Industrial Engineering[Tech Ed.] RMUTP NBK.



ตาํ แหนงทา เชื่อมสาํ หรบั ทอ







ตารางเปรียบเทยี บระหวางมาตรฐาน ASNT และ ISO
(ก) ขอบขา ยและสาขาของการตรวจสอบดวยวธิ ไี มทาํ ลาย และอกั ษรยอ

มาตรฐาน ASNT – TC – IA มาตรฐาน ISO – TC - 135

การตรวจสอบดวยภาพถา ยรงั สี RT การตรวจสอบดวยภาพถายรงั สี RT

การตรวจสอบดวยอนภุ าคแมเหลก็ MT การตรวจสอบดวยอนุภาคแมเหลก็ MT

การตรวจสอบดวยคลน่ื เสียง การตรวจสอบดวยเคล่อื นเสียง

อัลตราโซนิค UT อลั ตราโซนคิ UT

การตรวจสอบดวยสารแทรกซมึ PT การตรวจสอบดวยสารแทรกซึม PT

การตรวจสอบดวยกระแสเหนีย่ วนาํ ET การตรวจสอบดวยกระแสเหน่ยี วนาํ ET

การตรวจสอบดวยรงั สีนวิ ตรอน NRT

การตรวจสอบการรัว่ ซึม LT

การตรวจสอบการแพรเ สียงสะทอ น AET

ข.หลกั การท่วั ไปของการรบั รองคุณวฒุ ิ

มาตรฐาน ASNT-TC-1A มาตรฐาน ISO – TC - 135
เจาของกิจการ
คณะกรรมการมาตรฐานแหง ชาติ

ฝกอบรม องคการรบั รองคุณวฒุ ิ คณะกรรมการรบั รองคณุ วุฒิแหงชาติ

ออกใบรับรอง ฝกอบรม ออกใบรับรอง

การสอบรับรองคณุ วุฒิ การสอบรับรองคุณวุฒิ
( ศนู ยการสอบ ) ( ศนู ยการสอบ )

ผลการสอบผาน ผลการสอบผาน

ใบรับรองคุณวุฒิผูตรวจสอบ ใบรบั รองคุณวฒุ ิผูตรวจสอบ
ดว ยวิธีไมท ําลาย ดวยวิธีไมท ําลาย

มาตรฐาน ASNT – TC - IA

การตรวจสอบดว ยวิธไี มท าํ ลาย

วุฒกิ ารศึกษา RT MT UT PT ET
I II
1. ปริญญาตรี 12 20 I II I II I II I II
อนปุ ริญญาทาง
วิศวกรรมศาสตร 8 4 24 40 4 4 8 8
วทิ ยาศาสตร ปวส.
20 40 12 8 40 40 4 8 12 8
2. ปวช. 80 80 24 16 40 80 12 16 48 24
3. มธั ยม

จาํ นวนชวั่ โมงในการฝกอบรม 9
39133 9 121

ประสบการณ (เดอื น)

มาตรฐาน ISO – TC – 135

วฒุ ิการศึกษา การตรวจสอบดว ยวิธีไมท าํ ลาย
RT MT UT PT ET
1.ปรญิ ญาตรีทางวศิ วกรรมศาสตร
วทิ ยาศาสตร( หลกั สตู ร 4 ป) I II I II I II I II I II

2.อนุปรญิ ญาทางวศิ วกรรมศาสตร 40 80 24 40 40 80 16 40 40 80
วิทยาศาสตร , ปวช,ปวส
40 80 24 40 40 80 16 40 40 80
3.มธั ยม
40 80 24 40 40 80 16 40 40 80

จาํ นวนชว่ั โมงในการฝกอบรม

3913391239
ประสบการณ (เดอื น)


Click to View FlipBook Version