The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poyppn, 2021-03-04 20:44:05

ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้ำหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ

นางสาวแพรวา นิวัฒยานนท์ 590210281

40

จากตาราง 4.4 จะเหน็ ได้วา่ นกั เรยี นแตล่ ะคนมีจดุ บกพร่องในการสร้างสรรคผ์ ลงานทแี่ ตกต่างกนั กล่าวคือ
4.2.1 แบบฝึกหัดชดุ ที่ 1 คือ การไล่ระดบั น้าหนกั แรเงา 9 ระดับและการไล่ระดบั แรเงาในทศิ ทางต่าง ๆ
1. ก มีผลคะแนนเต็มในทกุ เกณฑ์ ทั้ง 3 ด้าน คอื ความสะอาดเรียบร้อย

การไล่ระดับน้าหนัก และความตรงต่อเวลา ซ่ึงการสร้างสรรค์
ผลงานนั้นมีความสะอาดเรียบร้อย ส่งงานตรงตามเวลาท่ีกาหนด
นอกจากนั้นแล้วยังสามารถไล่ระดับน้าหนักตั้งแต่ขาวสุดไปจนถึง
ดาสดุ ได้ โดยเหน็ ความแตกต่างได้อย่างชัดเจน
2. ข มีผลคะแนนมีเพียงเกณฑ์เดียว คือ ส่งงานตรงตามเวลาที่กาหนด
ในอกี 2 เกณฑ์ที่เหลอื ความสะอาดเรียบร้อยและการไล่ระดับน้ัน
การทางานมีการเปื้อนรอยดินสอดาบ้างและการไล่ระดับน้าหนัก
ในขว่ งสีเทานั้นยงั ทาได้ไมด่ มี าก
3. ค มีผลคะแนนมีเพียงเกณฑ์เดียว คือ ความสะอาดเรียบร้อยทางาน
ได้สะอาดเรียบร้อยไม่มีรอยเปื้อน ในอีก 2 เกณฑ์ท่ีเหลือ การไล่
ระดับน้าหนักและส่งงานตรงตามเวลาน้ัน เนื่องจากมีการแก้งาน
หลายครั้งจงึ ทาใหส้ ่งงานลา่ ช้า และการไลร่ ะดบั นา้ หนกั นั้นยังแยก
ไม่ออกเท่าทค่ี วรในชว่ งระดบั นา้ หนักสีเทา
4. ง มีผลคะแนนมีเพียงเกณฑ์เดียว คือ การไล่ระดับน้าหนัก สามารถ
ไล่ระดับน้าหนกั ไดด้ ีมาก สามารถไล่ระดับน้าหนกั แรเงาตั้งแตข่ าว
สุดจนไปถึงดาสุดได้อย่างดี ในอีก 2 เกณฑ์น้ัน เน่ืองจากทางาน
อย่างค่อยเป็นค่อยไปจึงทาให้งานส่งล่าช้าเกินเวลาท่ีกาหนดและ
ความสะอาดของงานนนั้ มีความเปื้อนรอยดินสอดาเพยี งเล็กนอ้ ย
4.2.2 แบบฝกึ หัดท่ี 2 และ 3 คือ การวาดโครงสรา้ งเรขาคณิตและแบบฝึกหัดการแรเงาเรขาคณติ ซ่ึงใช้เกณฑ์
การประเมนิ ร่วมกนั
1. ก มีผลคะแนนเต็มในทุกเกณฑ์ ทั้ง 5 ด้าน คือ ความสะอาด การไล่
ระดับน้าหนักแรเงา การร่างโครงสร้างเรขาคณิต การจัด
องค์ประกอบและความตรงต่อเวลา โดยภาพรวมทั้งหมดถือว่าอยู่
ในเกณฑ์ทดี่ ีมาก
2. ข มผี ลคะแนนเต็มใน 3 เกณฑ์ คือ การร่างโครงสร้างเรขาคณิต การ
จัดองค์ประกอบและความตรงต่อเวลา ซึ่ง 2 เกณฑ์ที่เหลือน้ัน
ความสะอาดของงานและการไล่ระดับน้าหนักแรเงา ยังอยู่ใน
เกณฑท์ ี่ดี
3. ค มีผลคะแนนเตม็ ใน 2 เกณฑ์คือ การรา่ งโครงสรา้ งเรขาคณิตและ
สง่ งานตรงตามเวลาทก่ี าหนด อีก 3 เกณฑ์ท่ีเหลือ คอื ความ

41

สะอาดของ การไล่ระดับน้าหนักและการจัดองคป์ ระกอบถือว่าอยู่
ในเกณฑท์ ่ดี ี
4. ง มผี ลคะแนนเตม็ ใน 4 เกณฑ์ คอื ความสะอาดของงาน การไล่
ระดบั นา้ หนกั แรเงา การร่างโครงสร้างเรขาคณติ และส่งงานตรง
ตามเวลาที่กาหนด มีเพียง 1 เกณฑเ์ ท่าน้ันทีอ่ ยใู่ นระดบั ดี คือ การ
จดั องคป์ ระกอบ นักเรยี นน้ันวาดรปู เพียงมุมใดมมุ หนง่ึ เทา่ น้นั ไม่
อยู่จดุ กง่ึ กลางของกระดาษ
4.2.3 แบบฝึกหดั ท่ี 4 คือ การแรเงาตามวัตถุท่ีกาหนดให้
1. ก มีผลคะแนนเต็มใน 4 เกณฑ์ คือ การร่างภาพโครงสร้าง การไล่
ระดับนา้ หนักแรเงา การจัดองค์ประกอบและส่งงานตรงตามเวลา
ทก่ี าหนด อกี 2 เกณฑ์ทีอ่ ยใู่ นระดับดี คือ การเก็บรายละเอียดและ
ความสะอาดของงาน ซึ่งยังเก็บรายละเอียของภาพได้ไม่มากนัก
และมีรอยเป้อื นบนกระดาษเพียงเล็กนอ้ ย
2. ข มผี ลคะแนนเต็มใน 5 เกณฑ์ คอื การร่างภาพโครงสรา้ ง การระดับ
นา้ หนัก การเกบ็ รายละเอียด การจดั องค์ประกอบ และการสง่ งาน
ตรงตามเวลาท่ีกาหนด อยู่ในเกณฑ์ท่ีดมี าก ซึง่ มีเกณฑเ์ ดียวทไ่ี ม่ได้
คะแนนเต็ม คือ ความสะอาดของงาน มีรอยเป้ือนบ้างเล็กน้อย
3. ค มีผลคะแนนเต็มใน 5 เกณฑ์ คอื การรา่ งภาพโครงสร้าง การระดับ
น้าหนัก การเก็บรายละเอียด ความสะอาดของงาน การจัด
องค์ประกอบ และการส่งงานตรงตามเวลาท่ีกาหนด อยู่ในเกณฑ์ท่ี
ดีมาก ซ่งึ มีเกณฑ์เดยี วท่ไี ม่ได้คะแนนเต็ม คอื การเกบ็ รายละเอยี ด
4. ง มีผลคะแนนเต็มท้ัง 6 เกณฑ์ คอื การร่างภาพโครงสร้าง การระดับ
น้าหนัก การเก็บรายละเอียด ความสะอาดของงาน การจัด
องค์ประกอบ การเก็บรายละเอียด และการส่งงานตรงตามเวลาท่ี
กาหนด ซ่ึงอยู่ในเกณฑ์ทีด่ ีมาก

42

บทท่ี 5

สรปุ ผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะกำรวจิ ัย
5.1 สรปุ ผลกำรวจิ ัย

ในการวิจัยเรื่อง ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน
ทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ โดยมีนักเรียน
กลมุ่ เป้าหมาย จานวน 4 คน ปรากฏผลการวิจยั ทส่ี าคัญ ดังน้ี

1. ผู้วจิ ยั ได้ใช้ชดุ ฝกึ ทักษะการไลร่ ะดับน้าหนกั แรเงาด้วยดินสอ โดยใชร้ ูปแบบการเรียนการสอนทักษะ
ปฏบิ ัติของแฮร์โรวข์ องนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้จริงและเกดิ ประสิทธผิ ลตอ่ นักเรียน
กลุ่มเป้าหมายในดา้ นการพฒั นาการไล่ระดับน้าหนกั แรเงา และใชเ้ ป็นเคร่ืองมือเสรมิ สรา้ งการเรียนรู้ กระตุ้น
ความสนใจของผ้เู รียน โดยผา่ นการใชก้ ระบวนการใช้งานและไดผ้ ลตอบรับจากการใช้งานได้เปน็ อย่างดี

2. การเปลย่ี นแปลงความสามารถในดา้ นการไล่ระดับน้าหนกั แรเงาของนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษา
ปที ี่ 6
โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ ที่ได้ใช้ชุดฝึกทกั ษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียน
การสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีการเปล่ียนแปลงความสามารถในการวาดเส้นท่ี
เปน็ ไปในทางท่ดี ขี ึ้นเป็นอยา่ งมาก ซงึ่ นกั เรียนนน้ั มคี ่าเฉลี่ยอย่ใู นเกณฑท์ ี่ดมี าก

กลา่ วโดยสรุป ผู้วิจัยได้สร้างชุดฝึกทักษะการไล่ระดบั น้าหนักแรเงาดว้ ยดินสอ โดยใชร้ ปู แบบการเรยี น
การสอนทกั ษะปฏิบัตขิ องแฮรโ์ รว์ เพอ่ื นามาใช้พฒั นาทักษะการไล่ระดับนา้ หนักของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปี
ท่ี 6 โรงเรียนบ้านเขงิ ดอยสเุ ทพ เปน็ ผลทาให้นักเรียนกลมุ่ เปา้ หมายท้ัง 4 คนนั้นมีการพัฒนาการวาดเส้นได้ดี
ยิ่งขน้ึ เขา้ ใจหลกั การแสงและเงาได้มากขึ้น อกี ทั้งยังสามารถไล่ระดบั นา้ หนกั แรเงาไดด้ ขี น้ึ
5.2 อภิปรำยผลกำรวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเพ่ือศึกษาผลท่ีเกิดจากการใช้ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วย
ดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏบิ ัติของแฮร์โรว์ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
บา้ นเชงิ ดอยสเุ ทพ โดยมีนักเรยี นกลุ่มปา้ หมาย จานวน 4 คน พบวา่ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ชุดฝึกทักษะการ
ไล่ระดับนา้ หนกั แรเงาด้วยดนิ สอ โดยใช้รปู แบบการเรยี นการสอนทกั ษะปฏิบตั ิของแฮร์โรว์ มีพฒั นาการการไล่
ระดบั นา้ หนกั แรเงาได้ดียิง่ ขึ้น อันเนื่องมาจากสาเหตหุ ลายประการ ซึ่งสามารถอภปิ รายผลไดด้ ังต่อไปนี้

จะเห็นว่านกั เรียนท้ัง 4 คนน้นั มีจุดบกพร่องทแ่ี ตกต่างกันออกไป แต่คะแนนของทุกคนน้ันลว้ นอยู่ใน
เกณฑ์ท่ีดีมากเหมือนเปรียบเทียบตารางท่ี 4.3 และ 4.4 โดยค่าเฉล่ียก่อนใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ก มีค่าเฉล่ีย
1.33 ข มีค่าเฉลี่ย 1.33 ค มีค่าเฉลี่ย 1.25 และ ง มีค่าเฉลี่ย 1.25 แต่เม่ือได้ลองใช้ชุดแบบฝึกทักษะ แล้วจึง
พบว่า มีค่าเฉล่ีย ที่อยู่ในระดับดีมาก ในแบบฝึกทักษะทั้ง 4 ชุด แสดงให้เห็นว่าชุดฝึกทักษะการไล่ระดับ
น้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์น้ันช่วยให้นักเรียนมีการ
พัฒนาการไลร่ ะดับน้าหนักแรเงาและวาดเส้นด้วยทักษะแสงและเงาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

43

5.3 ข้อเสนอและกำรวิจัย
5.3.1 ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาผเู้ รยี น
การวิจยั ครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะในการพัฒนาผู้เรียน คอื ผู้วิจัยควรหากลุ่มเป้าหมายให้มีขนาดใหญม่ าก

ขึ้น เน่ืองจากในการศึกษาครั้งนี้มีจานวนกลุ่มตัวอย่างท่ีน้อยมาก เพ่ือให้มีการเปรียบเทียบผลการวิจัยท่ี
หลากหลายมากขึ้น และจะทาให้ทราบข้อปรงุ ปรับของนวัตกรรมใหส้ ามารถใช้งานใช้งานไดอ้ ย่างเกิดประโยชน์
สงู สุด

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื พัฒนาการสอน
การพัฒนาทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงานั้นจาเป็นต้องใช้เวลา และสมาธิในการวาดรูปเป็นอย่าง
มาก โดยต้องให้เวลากับนักเรยี นอย่างมาก เนือ่ งจากเวลาท่ีสอนนกั เรยี นนน้ั มีอย่างจากัด อาจจะทาให้นักเรยี น
นน้ั สร้างสรรค์ผลงานไม่เต็มความสามารถของตน นอกจากน้นั แล้วบรรยากาศสภาพแวดล้อมของหอ้ งเรยี นควร
เอื้ออานวยต่อการสร้างสรรค์ผลงาน ห้องเรียนควรมีพ้ืนท่ีพอเพียง ให้เหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
เคลื่อนไหวของนักเรียน และภายในห้องเรียนควรมีแสงสอ่ งอย่างเพียงพอและผู้สอน เน่ืองจากสภาพห้องเรยี น
น้ันเป็นห้องดนตรี ที่ตู้เก็บเคร่ืองดนตรีบังหน้าต่าง ทาให้สภาพห้องเรียนน้ันรู้สึกอึดอัดและไม่ปลอดโปร่ง
นอกจากนั้นแล้วยังมแี สงสวา่ งไม่เพียงพอ
5.3.3 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป
ผู้วิจยั ควรศึกษาทฤษฎี หลกั การ และแนวคิดของนักวิจยั ผอู้ ื่น เพ่ือรวบรวมมาเป็นฐานในการสร้างชุด
แบบฝึกทักษะท่มี ีความแปลกใหม่ และนามาบรู ณาการ ประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียน อาจจะจดั กิจกรรมท่ี
ทาใหเ้ กดิ ความสนกุ สนานและท้าทายกบั นักเรียนมากขึ้นกวา่ นี้

44

เอกสำรอำ้ งอิง
ไมเยอร์, ราลฟ์ . (2540). พจนานกุ รมศัพท์และเทคนคิ ทางศิลปะ. (แปลจาก A dictionary of Art
Terms and Techniques โดย มะลิฉัตร เชือ้ อานนั ท)์ . กรุงเทพฯ: กรมวิชาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2539). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน.์
สชุ าติ เถาทอง. (2536ก). วาดเส้น. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์
สชุ าติ เถาทอง. (2536ข). หลักการทัศนศลิ ป์. กรงุ เทพฯ: อักษรกราฟฟิค.
โสรชยั นนั ทวชั รวบิ ูลย.์ (2545). Be Graphic สเู่ ส้นทางกราฟิกดีไซเนอร.์ กรุงเทพฯ: พมิ พด์ ี.
อัศนีย์ ชอู รณุ . (2543). ความรูเ้ กีย่ วกับศลิ ปะภาพพิมพ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์
อารี พันธม์ ณี. (2528). การวาดเขียน. กรุงเทพฯ: จฌิ วลอารต์ .
อารี พันธม์ ณี. (2543). คดิ อย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ
ชลดู นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศลิ ปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช, 2538.
ธนา เทศทอง . “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาเลือกเสรี ศ 016 จิตรกรรม 2 เร่ืองการจัด
องค์ประกอบศิลป์กบั งานจิตรกรรม ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชินบี ูรณะ จังหวดั นครปฐม”
มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2544.

45

ภำคผนวก
ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรเู้ รอ่ื งแสงและเงา
ภาคผนวก ข ชุดฝึกทักษะการไลร่ ะดบั นา้ หนักแรเงาด้วยดินสอ
ภาคผนวก ค ภาพถ่ายผลงานนกั เรยี น

46

ภำคผนวก ก แผนกำรจดั กำรเรยี นรเู้ รอื่ งแสงและเงำ

47

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้
จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้

1. นักเรียนสามารถบอกทศิ ทางของแสงและเงาทีก่ ระทบตอ่ วัตถไุ ด้
2. นักเรียนสามารถไลร่ ะดบั นา้ หนกั แรเงาได้อย่างถกู ต้องจากสวา่ งสุดไปจนถึงดาสดุ
สำระสำคัญ
การวาดภาพลายเส้นนั้นน้าหนกั แสงเงาเป็นส่ิงที่สาคัญอย่างย่ิงในการทางาน เพราะแสงเงาจะช่วยทา
ให้ผลงานท่ีสร้างสรรค์ออกมาเหมอื นจริงมากยิ่งข้ึน การวาดภาพทมี่ ีการแสดงน้าหนกั แสงเงาที่ชัดเจนน้ัน จะ
ถา่ ยทอดตามสายตาที่มองเห็น เชน่ ความลึก ตื้น หนา บาง นูน เรียบ โคง้ เว้า ได้ชัดเจนมากกว่าภาพที่แสดง
ด้วยเสน้ เพยี งเส้นเดยี ว ในการศึกษาเพื่อให้ผลงานท่อี อกมาน้ันสมจริงมากยิ่งขึ้นแสงและเงาช่วยใหก้ ารวาดเส้น
แรเงาดูเป็นสามมิตหิ รือเหมอื นจรงิ มากที่สุดดงั นนั้ ผทู้ ฝี่ ึกวาดรูปจงึ ควรต้องศึกษาเรอ่ื งของแสงเงาก่อน
ขั้นตอนวธิ กี ำร
1.1 ขน้ั นำ
1.1. ผู้สอนทักทายผู้เรียน โดยพูดว่า ‘‘สวัสดคี ่ะนักเรียน มใี ครเคยเห็นครแู ละรู้จักชื่อครูม้ัยคะ’’ เมื่อ
ผเู้ รียนตอบแลว้ ผสู้ อนจงึ แนะนาตนเองโดยบอกชอ่ื – นามสกุล
1.2. จากนนั้ เลน่ เกมละลายพฤติกรรมของผู้เรียน โดยผู้สอนได้บอกกตกิ าเล่นเกม โดยให้นักเรยี นวาด
หน้าของตนเองลงในกระดาษ A4 เมื่อวานเสร็จให้ผู้เรียนสลับกระดาษและนามาสง่ ผู้สอน โดยใหผ้ ้สู อนน้ันทาย
ว่ารปู ทีว่ าดนนั้ เปน็ ของผเู้ รียนคนไหน เมอ่ื ผู้สอนคนื กระดาษให้ผู้เรยี น ผ้เู รยี นนั้นต้องแนะนาชอ่ื – นามสกุล
ชื่อเลน่ ของตนเอง
1.3. ผสู้ อนถามผ้เู รยี นวา่ “มนี ักเรียนคนไหนเคย Drawing บา้ งคะ”
2.1 ขน้ั สอน
2.1. ผูส้ อนนากลอ่ งจดั แสงมาใหผ้ ู้เรยี นไดด้ ู จากนั้นถามผเู้ รยี นวา่ เคยเหน็ กล่องแบบนี้หรอื ไม่
ถา้ เคยเห็นแล้ว รจู้ กั การใชง้ านของส่ิงๆนีห้ รือไม่ เม่ือถามเสร็จแล้วจึงอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ว่า ส่งิ น้ีคือกล่องจัดแสง

กลอ่ งจัดแสง
2.2. จากนัน้ สอนนกั เรียนเรื่องแสงเงาโดยสอนบนพาวเวอร์พ้อยโดยมีข้อมูลดังน้ี และสาธิตแสงท่ีส่อง
กับวัตถุใหน้ กั เรียน และให้นักเรยี นไดท้ ดลองทา

48

แสง
แสงหมายถึงสงิ่ ทที่ าให้เรามองเหน็ วัตถุจะมี 2 ลกั ษณะ คือ

1. เกดิ ขน้ึ จากธรรมชาติ เชน่ แสงจากดวงอาทติ ย์ แสงจากดวงจันทร์ แสงจากดวงดาว เปน็ ตน้
2. เกดิ จากมนษุ ยส์ รา้ งขึน้ เช่น หลอดไฟ ไฟฉาย โคมไฟ เทยี น เป็นต้น
แสงช่วยทาให้มองเห็นส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน นอกจากนนั้ แสงยังทาใหเ้ กดิ เงาของวัตถุซง่ึ เงาน้ีจะอยู่
ในทศิ ทางตรงข้ามกบั แสงเสมอ ท้ังแสงและเงาชว่ ยทาให้เกิดระยะความตืน้ ลึกของภาพในการเขียนภาพ
ระบายสเี ราสามารถใชส้ ตี า่ ง ๆ แสดงแสงและเงาได้

1. แสงสว่ำงจดั (HIGH LIGHT) คือ บริเวณของวตั ถุทีถ่ ูกแสงสว่างโดยตรงและมากท่สี ุด
การวาดถา้ เป็นวตั ถแุ ขง็ หรือเป็นเงามนั ควรทิ้งสว่ นท่ีแสงสวา่ งท่สี ุดให้เป็นกระดาษขาวได้เลยแต่ถ้าเปน็ วัตถุ
แสงเงาในการวาดเส้นช่วยให้งานวาดเส้นที่ได้ออกมาเหมือนจริงยง่ิ คา่ ของน้าหนักสีมีค่าระดับมากเท่าไหร่ก็จะ
เพิ่มค่าของความเหมอื นมากเท่านั้น

2. แสงสว่ำง (LIGHT) คือ บรเิ วณที่ไม่ถูกแสงกระทบโดยตรงจะเป็นแสงเลอ่ื มๆเทาการวาดใหแ้ รเงา
แบบเกลย่ี เรียบจากนา้ หนกั เงามาจนถงึ แสงสว่าง

3. เงำ (SHADOW) คอื บริเวณท่ีถกู แสงนอ้ ยที่สดุ การวาดควรเนน้ ส่วนที่เป็นเงาใหเ้ ข้ม และเนน้ เส้น
รอบนอก (OUT LINE) ดังนั้นการประกอบกันระหว่างแสงสว่างจัด แสงสว่าง และเงาจะเกิดเป็นภาพสามมิติ
หรือภาพวาดทีม่ ชี ีวิต

4. แสงสะท้อน (REFLECT LIGHT) คือ บริเวณที่มีแสงของวัตถุโดยรอบสะท้อนเขา้ มาในวัตถุนั้นไมว่ ่าจะเป็น
ในดา้ นของแสงหรือเงาจะไดร้ ับอิทธพิ ลของแสงสะท้อนน้ีได้เหมือนกัน

5. เงำตกกระทบหรอื เงำของวตั ถุ (CASTSHADOW) จะอยดู่ า้ นเงามดื ของวัตถุเสมอเปน็ เงาของวัตถุ
ที่ตกกระทบพน้ื เงาของวัตถุจะเป็นเชน่ ไรขึน้ อยูก่ ับรปู ทรงของวัตถแุ ละมุมของแสงท่ีมากระทบ

49

เงำ
เงา คือ ส่วนที่แสงส่งไปไม่ถงึ โดยมีวัตถุหรอื สิ่งของบังเอาไว้เงาตกทอดจะมีรูปร่างเหมือนวัตถุนั้นเช่น

วัตถุรปู สเี่ หลี่ยม เงาตกทอดก็เปน็ สีเ่ หลี่ยมเหมือนรูปรา่ งของวัตถุน้นั ๆ เงาจะชัดหรือไม่ชดั อยู่ทแี่ สง ถา้ แสงสว่าง
จัดเงาก็จะชัด ถ้าแสงสว่างน้อยเงาก็ไม่ชัดเงาของวัตถุมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบั แสงสว่างที่มากระทบวัตถุน้ัน
แสงสว่างน้อยเงาท่ีเกิดข้ึนกับวัตถุก็จะน้อย ถ้าแสงสว่างจัดมากเงาของวัตถุท่ีปรากฏก็จะเข้มชัดมากข้ึนด้วย
ลกั ษณะของเงาตกทอดนัน้ สามารถ แยกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั นี้

1. เงำตกทอด หมายถึง แสงสวา่ งทีม่ ากระทบวัตถแุ ล้วเกดิ เป็นเงาตกทอดไปยงั พ้นื ท่ีทว่ี ัตถุนั้นวางอยู่
2. เงำคำบเกี่ยว หมายถึง แสงสว่างท่ีมากระทบวัตถุแล้วเกิดเป็นเงาตกทอดไปยังพื้นและมีวัตถุ
ใกล้เคียงวางอยู่หรือวางอยู่ใกล้ผนังเงาท่ีใกล้ผนังเงาที่เกิดข้ึนก็จะเกดิ จากพ้ืนและทอดไปยังวัตถุใกล้เคียงแสง
และเงาช่วยให้การวาดเส้นแรเงาดูเป็นสามมิติหรือเหมือนจริงมากท่ีสุด ดังน้ันผู้ท่ีฝึกวาดรูปจึงควรต้องศึกษา
เร่อื งของแสงเงาก่อน
น้ำหนักแสงและเงำ
แสงและเงา (LIGHT AND SHADOW) ในการวาดภาพลายเส้นนนั้ นา้ หนักแสงเงาเป็นสงิ่ ที่สาคัญอยา่ ง
ย่ิงในการทางาน เพราะแสงเงาจะช่วยทาให้ผลงานท่ีสรา้ งสรรคอ์ อกมาเหมอื นจริงมากย่ิงข้ึน การวาดภาพท่ีมี
การแสดงน้าหนักแสงเงาท่ชี ัดเจนนน้ั จะถา่ ยทอดตามสายตาที่มองเห็น เช่น ความลกึ ตืน้ หนา บาง นูน เรยี บ
โค้ง เว้า ได้ชัดเจนมากกว่าภาพที่แสดงด้วยเส้นเพียงเส้นเดียว จะใช้ค่าน้าหนักแสงเงาท้ังหมด 10 ระดับใน
การศึกษาเพือ่ ใหผ้ ลงานท่อี อกมานนั้ สมจริงมากยิ่งข้ึน ช่องนา้ หนกั แสงเงา 10 ระดับ

การวาดภาพแสงเงาสามารถแยกได้ 3 ประเภทใหญ่ดงั นี้
1. ภาพแสงเงา 2 ระยะ หมายถึง ภาพท่ีแสดงเพียง 2 ระยะสว่ นใหญ่จะเห็นเงาเป็นเพียงแผ่นบาง ๆ

เน้นสว่ นรายละเอียด (DETAIL)

50

2. ภาพแสงเงา 3 ระยะ หมายถึง ภาพท่ีแสดงน้าหนักแสงเงาค่อนข้างชัดเจนมากกว่าภาพ 2 ระยะ
เห็นรายละเอยี ดได้มากกวา่ แสดงส่วนทเี่ ปน็ แสงสวา่ งและเงามืดได้ชดั เจนกว่า

3. ภาพแสงเงากลมกลืน หมายถึง ภาพท่ีแสดงแสงเงาใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สดุ รายละเอียดชัดเจน
จะเปน็ ภาพวาดที่มีลักษณะเหมือนจรงิ มาก
ทศิ ทำงแสง

เรียนรู้ทิศทางของแสงกัน เพราะแม้ว่าแสงที่มีแหล่งกาเนิดมาจากท่ีเดียวกันแต่หากว่ามีทิศทางท่ี
แตกตา่ งกันจะส่งต่อมิตขิ องภาพ หรืออารมณ์ของภาพได้ ดงั น้นั ในการถา่ ยภาพไม่วา่ จะมอื ใหมห่ รอื มืออาชพี
สงิ่ ทค่ี วรพจิ ารณาอกี อยา่ งคือความเหมาะสมของทศิ ทางของแสง
โดยเราสามารถแบ่งทิศทางของแสงออกเปน็ 4 ทิศทางใหญ่ๆ ดังนี้

1. ทิศทำงแสงบน คือ แหลง่ กาเนิดแสงจะอยู่บนหวั เราหรอื มมุ สูงนัน่ เอง ยกตวั อยา่ ง การถ่ายภาพใน
ตอนกลางวันดวงอาทติ ยจ์ ะอยดู่ า้ นบนหวั เราแสงท่อี อกมาจะมคี วามเขม้ สูงและกระจายเตม็ พนื้ ที่ และจะทาให้
เกดิ เงาตกกระทบทางดา้ นล่างของวัตถุ แสงในทศิ ทางนี้ไม่เหมาะในการถา่ ยภาพคนเพราะว่าจะเกิดเงาบรเิ วณ
ใตต้ า ปาก และจมูก การถา่ ยภาพท่ีเหมาะสมกับแสงในทิศทางนี้ เช่น การถ่ายภาพกจิ กรรมท่วั ๆ ไป
เชน่ การแสดงต่างๆ ภาพการแขง่ ขันกฬี า เน่ืองจากแสงจากทิศทางดงั กล่าวจะมีความแรงและมักจะไมถ่ ูกบด
บงั จากวัตถุอนื่ ๆ

2. ทิศทำงแสงข้ำง หมายถึง ทุกทิศทางที่มาจากทางด้านข้าง ไม่ว่าจะมาตรงๆ หรือเฉียงก็ตาม แสง
ทมี่ าจากด้านข้างน้ี จะทาให้ภาพมมี ิติ แต่จะทาให้เกิดแสงเงาทางด้านตรงข้ามของแสง คือถ้าแสงมาดา้ นซ้ายก็
จะเกิดเงามดื ทางด้านขวานั่นเอง มือใหม่ควรระวงั ในจุดน้ีด้วย สาหรับแสงข้างเหมาะสาหรบั การวาดภาพหลาย
ประเภท อาทิ เช่น วาดภาพคน วาดภาพววิ ทิวทัศน์ วัตถุ ส่ิงของ เพราะแสงจะทาให้วัตถุดมู ีมิติ ไม่เรยี บแบน
จนเกนิ ไป

3. ทิศทำงแสงดำ้ นหน้ำ แสงจะมาทางด้านหลังของวตั ถทุ เ่ี ป็นแม่แบบ หรือถ้าเรยี กเป็นคาพูดทีเ่ ราค้น
เคยกนั ดกี ็คอื ทิศทางย้อนแสง นั่นเอง จะเปน็ การถ่ายภาพย้อนแสง ซ่ึงโดยปกติแล้วการถา่ ยภาพย้อนแสงจะ
ทาใหภ้ าพไม่สวย หน้าจะมืด หรอื วัตถุหรอื แมแ่ บบจะกลายเปน็ เงาดาจะเห็นเป็นแค่รูปรา่ งของวัตถุท่ตี ดั กบั
แสงจากทอ้ งฟา้

4. ทิศทำงแสงด้ำนหลัง คือทิศทางของแสงจะเข้ามาทางด้านหน้าของตัวแบบหรือวัตถุ หรือทิศทาง
ตามแสง เหมาะสาหรบั การถ่ายภาพท่ัวไป เช่น การถา่ ยภาพวิวทวิ ทัศน์ หรือภาพคน เมอ่ื ถ่ายออกมาแล้วจะให้
ภาพท่ีเห็นรายละเอียดต่างๆ ของวัตถคุ รบทุกส่วนชัดเจน ไม่เกิดเงาทางด้านหน้า เงาจะไปตกอยูท่ างด้านหลัง
แทน

51

มุมแสง
มมุ ของแสงจะถกู กาหนดโดยความสงู ของแหล่งกาเนดิ แสง เมื่อแหล่งกาเนิดแสงสูงมุมสงู ชนั

(ใกลก้ ับแนวตั้ง) และเงาส้นั เม่ือแหลง่ กาเนิดแสงอยู่ในระดับตา่ มมุ อยใู่ นแนวนอนมากข้นึ และเงายาว

2.3. จากน้ันผู้สอนทากล่องจดั แสงมาใหน้ ักเรยี นไดด้ อู ีกครง้ั หน่ึง แลว้ เปดิ ไฟส่องวัตถุตามทางด้านหน้า
ด้านข้าง และด้านบน จากน้ันถามนักเรียนว่า ‘‘ถ้าครูส่องไฟกับวัตถุส่วนไหนจะสว่างสุดและไล่ระดับมาเทา
และดาสดุ คะ’’ เมื่อผูเ้ รยี นตอบแล้วจงึ ถามวา่ ‘‘และเงาตกกระทบของวตั ถุควรอยู่ตรงไหนคะ’’ เมอ่ื ผู้เรยี นตอบ
คาถามแล้ว จงึ อธิบายเพ่ิมเติม

2.4. ผสู้ อนบอกเทคนิคการจบั ดนิ สอเพ่อื ใหก้ ารจับดนิ สอนัน้ ถูกตอ้ งตามหลักการวาด โดยมีเน้ือหาดงั น้ี

52

กำรจับดินสอ

มกี ารจบั อย่หู ลากหลายตามความถนัด ฝกึ เพ่อื ความคล่องตัวและสะดวกในการใช้งาน คงมีอยู่ 4 อยา่ งด้วยกัน
1. จับแบบเขยี นหนังสือ
- ใช้สาหรบั การเก็บรายละเอยี ดของงานในพ้ืนท่เี ล็ก แคบ
- วธิ กี ารจับแบบนจี้ ะใช้ข้อน้ิวในการควบคุมดนิ สอ เหมอื นการเขียนตัวอักษร
- เป็นการใช้กล้ามเน้ือเล็กของข้อน้ิวในการควบคุมพื้นท่แี คบ หากใชพ้ ้นื ที่กวา้ งขึน้ กเ็ ริ่มใช้

ข้อมือเปน็ ศูนย์กลาง
2. จับจับแบบหลวม ใช้สาหรับร่างภาพ ตอ้ งการสะบดั ขอ้ มอื แบบสบายๆ
3. จบั แบบใช้ทกุ น้ิวสมั ผสั เพือ่ ประคองดนิ สอใหเ้ ปน็ แนวเส้นตรงสาหรับการลากเสน้ แนวดงิ่

ขวาง หรือเฉียง
4. จบั แบบคว่ามอื ใช้สาหรบั การกาหนดเส้นรา่ งแบบครา่ วๆ และใหเ้ บาบางที่สุด

*ห้ามใชน้ ้วิ ใดน้วิ หนง่ึ ลอ๊ คดินสอ พยายามจบั ใหด้ นิ สอเป็นอิสระมากท่ีสุด
โดยนิว้ แค่เป็นตัวประคองดินสอไวใ้ หเ้ หมอื นกบั ว่าดนิ สอน้นั เป็นส่วนหนง่ึ ในมือของเราที่จะบงั คบั ให้

ปลายดินสอนั้นไปทางไหนกไ็ ด้
แนะนำจดุ ศนู ย์กลำงของแตล่ ะสว่ นในกำรหมุนตวดั ปลำยดินสอ

53

การใชก้ ลา้ มเนอ้ื เลก็ ของขอ้ น้วิ ในการควบคุมพ้ืนท่แี คบสาหรับเก็บรายละเอยี ด
การใชข้ ้อมือเปน็ ศนู ยก์ ลาง เพือ่ รา่ งภาพในวงแคบ
การใชข้ อ้ ศอกเปน็ ศูนยก์ ลาง เพ่อื ร่างภาพในวงกว้าง
การใช้ไหล่เปน็ ศนู ยก์ ลางเพอ่ื ร่างภาพในวงกว้างมากข้นึ
กระดูกสนั หลังสว่ นเอวซึง่ เป็นกลา้ มเน้ือใหญ่ ในการวาดภาพใหญๆ่ เช่นวาดบนกาแพง เปน็ ต้น

2.5. ผู้สอนแจกใบกิจกรรมท่ี 1 โดยให้นักเรียนได้ลองไล่ระดับน้าหนักแรงเงา 11 ระดับ เพื่อดูระดับ
ความสามารถในการแรเงาของผู้เรียน ถ้าผ้เู รียนนั้นสามารถทาได้ในเกณฑ์ค่อนขา้ งดจี ึงจะนาไปสู่การไล่ระดับ
นา้ หนกั ในทศิ ทางตา่ งๆที่หลากหลายได้จากใบกจิ กรรมที่ 2 เมื่อผู้เรยี นทางานเสร็จแลว้ ใหน้ ามาสง่ ผ้สู อน

54

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้
จุดประสงค์กำรเรยี นรู้

1. นักเรยี นสามารถปฏิบตั งิ านตามหลักการแสงและเงาได้
สำระสำคัญ

แสงและเงาน้นั ถ้าใช้คา่ น้าหนักหลาย ๆระดบั จะทาใหม้ ีความกลมกลนื มากยิ่งขน้ึ และถา้ ใช้คา่ นา้ หนัก
จานวนนอ้ ยท่ีแตกตา่ งกันมาก จะทาใหเ้ กิด ความแตกตา่ ง ความขดั แย้ง ซ่งึ สามารถทาให้ผลงานเกิดความรู้สึก
เคลอื่ นไหวและเสมือนจริงมากย่ิงข้นึ ทาให้เกิดระยะความต้นื ลึก และระยะใกล้ ไกลของภาพ นอกจากนั้นแล้ว
ยงั ทาให้เห็นถงึ ความแตกต่างระหวา่ งรปู และพน้ื หรือรปู ทรงกับทีว่ ่าง
ขั้นตอนวธิ กี ำร
1. ขัน้ นำ

1.1. ผู้สอนทักทายผู้เรียน และทบทวนว่าในชั่วโมงเรียนท่ีแล้ว ผู้สอนได้สอนอะไรไป และได้ให้ทา
กิจกรรมอะไรบา้ ง
2. ขนั้ สอน

2.1. ผู้สอนนากล่องจดั แสงและวตั ถุทรงกลมมาใหน้ กั เรียนได้ทดลองสอ่ งไฟด้านบน ดา้ นข้าง ดา้ นหน้า
และให้บอกสว่ นสว่างสดุ และดาสุดของแต่ละดา้ น

2.2. ผสู้ อน สอนการวาดโครงรา่ งรูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม ส่เี หลี่ยม โดยมีเน้อื หาดงั น้ี
การฝึกวาดเส้นในเบ้ืองต้นน้ันรูปทรงเรขาคณิตถือได้ว่าเป็นพื้นฐานอันสาคัญในการฝึกและศึกษา
เพราะรูปทรงเรขาคณิตจะเป็นรูปทรงสิ่งของส่วนใหญ่ท่มี นุษย์สร้างขึ้น เช่นตกึ อาคาร รถยนต์ วิทยุ โทรทัศน์
ฯลฯ ก็มีพ้ืนฐานแนวความคิดมากจากรูปทรงเรขาคณิตทั้งสิ้น ก่อนจะมาปรับเป็น เหล่ียม มุม โค้ง มน ตาม
ความคิดและจิตนาการตอบสนองความต้องการท้ังทางด้านความงามและประโยชน์ใช้สอยของมนุษย์ ดังนั้น
ความรู้ความเข้าใจในโครงสรา้ งและแสงเงาของรปู ทรงเรขาคณิต ไดแ้ กร่ ปู ทรงกลม รปู ทรงสีเ่ หลี่ยมพรี ามดิ
รูปทรงกระบอก รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปทรงกรวย รูปทรงปริซึม และความเข้าใจในพ้ืนท่ีระนาบและ
รูปทรง 3 มิติทจี่ ะท้าใหล้ งน้าหนักแสงเงาได้ง่ายข้ึนกส็ ามารถน้าไปต่อยอดการวาดเส้นในสงิ่ ของตา่ งๆรอบตัวได้
อยา่ งเขา้ ใจในทม่ี าของรปู ทรงและโครงสรา้ งแสงเงาอย่างถูกทีจ่ ะอธบิ ายดงั ต่อไปน้ี
“ระนาบ”มีลกั ษณะเปน็ 2 มิตมิ ีพนื้ ผิวแบนราบเม่อื นา้ ระนาบมาประกอบเข้าด้วยกันจะได้รูปทรงที่
เปน็ 3 มติ ริ ะนาบเปรยี บไดก้ ับแผนที่ ในการลงนา้ หนักแสงเงาถา้ เรามองเหน็ ระนาบซ้อนอยู่ในหุน่ ทีเ่ ราจะวาด
ไดอ้ ย่างชัดเจน เราก็จะรู้ทนั ท่ีวา่ เราจะต้องแรงเงาน้าหนักอ่อนเขม้ ตรงสว่ นไหนของห่นุ เช่นการแรเงาทรงกลม
กต็ อ้ งพยายามมองให้เหน็ ระนาบของทรงกลมทีเ่ ราจะแรเงา ว่ามีลกั ษณะอยา่ งไร และจงึ แรเงาน้าหนักไปตาม
ระนาบท่ีเราเห็น จากดา้ นแสงไปหาด้านเงา
ขั้นตอนการเขียนโครงสร้างและการลงนา้ หนักแสงเงารูปทรงกลม
1. การร่างภาพรูปทรงกลมจะเรม่ิ จากการศึกษาสักเกตหุ ่นุ รูปทรงกลมเพ่ือเลือกและมองทิศทางที่แสง
มากระทบกับหนุ่ ปูนเห็นแสงเงาได้ชัดเจนกอ่ นจะเลือกมมุ มองท่ที า้ การร่างภาพ

55

2. เขียนเส้นแกนแนวตัง้ ฉากและก้าหนดจดุ ศนู ย์กลางของทรงกลม เขยี นเสน้ แกนแนวนอนลากผา่ นจุด
ศนู ย์กลางจากนัน้

3. เขยี นเสน้ เฉยี ง ลากผ่านจุดศนู ย์กลาง กาหนดรศั มจี ากจดุ ศนู ย์กลางโดยการวัดจากปลายดินสอแล้ว
ขีดกา้ หนดรศั มี

4. ลากเสน้ โคง้ ตามแนวก้าหนดรัศมีให้บรรจบกนั จนกลายเป็นวงกลม และลบเส้นรา่ งเหลอื ไว้เพียงเส้น
รอบนอกเพื่อลง้น้าหนกั แสงเงา

ข้นั ตอนการเขยี นโครงสรา้ งและการลงน้าหนักแสงเงารปู ทรงสเ่ี หลี่ยมลกู บาศก์
1. ลากเส้นทเ่ี ห็นชัดเจนทส่ี ุดก่อน ในทน่ี ค้ี อื เสน้ ที่ตั้งฉากทขี่ อบของรูปทรงเสน้ ท่อี ย่ใู กลต้ าทีส่ ุด
2. สร้างฐานของรปู ทรงโดยใช้ไมบ้ รรทัดหรือดินสอเลง็ เป็นแนวขนานที่มุมลา่ งของเสน้ ตรงเส้นแรกหา

มมุ ท่ีถกู ตอ้ งของฐานและความยาวของเสน้ ฐานทัง้ 2 เส้น จากน้นั รากเสน้ ขนานเพอื่ ก้าหนดเสน้ ฐาน
3. ลากเสน้ ตงั้ ฉากและเสน้ ขนานท่ีเหลอื อยจู่ นเป็นรปู ทรงลูกบากศ์ตรวจสอบความถกู ต้องแกไ้ ขให้

เรียบรอ้ ย

56

2.3. ผู้สอนแจกกระดาษรอ้ ยปอนด์ให้ผู้เรยี นได้ลองวาดรูปทรงไปพร้อมกับผู้สอน
2.4. เมื่อสอนการวาดโครงร่างแล้วผู้สอนจึงแจกใบกิจกรรมท่ีให้นักเรียนได้ลองทา เมื่อผู้เรียนเริ่ม
สามารถไล่ระดับน้าหนักได้แล้ว ผู้สอนจึงแจกใบกิจกรรมเพิ่มอีก 1 คือ รูปแอปเปิ้ล เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกฝน
มากย่ิงข้ึน

57

เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน
ชดุ ท่ี 1 แบบฝกึ หดั กำรไล่ระดบั น้ำหนกั แรเงำ 9 ระดบั และ กำรไลร่ ะดบั แรเงำในทศิ ทำงต่ำงๆ

ประเดน็ กำรประเมิน คำ่ น้ำหนัก แนวกำรให้คะแนน
คะแนน
ควำมสะอำดของ ผลงานสะอาดเรยี บร้อย
งำน 3 ผลงานมีความเลอะเทอะเพียงเล็กน้อย
2 ผลงานสกปรกและเลอะเทอะ
1

3 ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุดไปยังดาสุดได้ โดยแต่ละช่องมีความ
แตกตา่ งกันอย่างเห็นไดช้ ดั

กำรไล่ระดบั น้ำหนัก 2 ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุดไปยังดาสุดได้ โดยแต่ละช่องมีความ
แตกต่างไม่มาก เช่น ในช่วงสเี ทานั้น ไล่ระดับนา้ หนกั เหมือนกันประมาณ 3

ชอ่ ง

1 ไลร่ ะดบั นา้ หนักแรงเงาจากสว่างสุดไปยงั ดาสุดไดเ้ พียงเลก็ นอ้ ย

2 งานเสร็จสมบรู ณ์ตามเวลาท่กี าหนด

ควำมตรงตอ่ เวลำ 1 หมดเวลางานยังไม่เสร็จสมบูรณ์

0 ไมส่ ่งงาน

รวมคะแนน 8

ระดับคุณภำพ คะแนน 6 - 8 หมายถึง ดีมาก
เกณฑก์ ำรผ่ำน คะแนน 4 – 6 หมายถงึ ดี
คะแนน 2 – 4 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 0 – 2 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
ตงั้ แตร่ ะดบั คุณภาพพอใชข้ ึ้นไป

58

ชุดท่ี 2 แบบฝึกหัดกำรวำดโครงสร้ำงเรขำคณติ ดังน้ี วงกลม สำมเหล่ียม ส่ีเหลี่ยม และชุดท่ี 3 แบบฝึกหัด
กำรแรเงำเรขำคณิต ดังนี้ วงกลม สำมเหลยี่ ม สเ่ี หลย่ี ม

ประเดน็ กำรประเมนิ ค่ำนำ้ หนกั แนวกำรใหค้ ะแนน
ควำมสะอำดของ คะแนน
ผลงานสะอาดเรยี บร้อย
งำน 3 ผลงานมีความเลอะเทอะเพยี งเล็กน้อย
2 ผลงานสกปรกและเลอะเทอะ
กำรไล่ระดับน้ำหนกั 1 ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุดไปยังดาสุดได้ มีความแตกต่างกันอย่าง
เห็นได้ชัด
กำรร่ำงโครงสร้ำง 3 ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุดไปยังดาสุดได้ มีความแตกต่างไม่มาก
เรขำคณติ เช่น ในชว่ งสเี ทานนั้ ไล่ระดับนา้ หนกั เหมอื นกัน
2 ไลร่ ะดับนา้ หนกั แรงเงาจากสว่างสดุ ไปยังดาสดุ ได้เพยี งเลก็ นอ้ ย
กำรจดั องค์ประกอบ ร่างโครงสร้างตามขั้นตอนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง สดั ส่วนสวยงาม
1 ร่างโครงสรา้ งตามขนั้ ตอนไดแ้ ต่สัดสว่ นยังไมส่ มบูรณ์ (มีความเบยี้ ว)
ควำมตรงตอ่ เวลำ 3 ร่างโครงสร้างตามชน้ั ได้แต่สัดสว่ นม่มีความสมบูรณเ์ ลย
2 การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ในเกณฑ์ดี (วาดรูปอยู่ตรงก่ึงกลางของ
1 กระดาษและมีขนาด สัดส่วนทีเ่ หมาะสมตอ่ ทว่ี า่ งของกระดาษ)
การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ในเกณฑ์พอใช้ (วาดรูปอยู่ตรงกึ่งกลางของ
3 กระดาษแตย่ งั มขี นาด สัดส่วนไม่เหมาะสมตอ่ ที่วา่ งของกระดาษ)
การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ในเกณฑ์ปรับปรุง (วาดรูปเล็กๆอยู่ตรงมุม
2 บนและล่างของกระดาษ
งานเสรจ็ สมบูรณต์ ามเวลาท่ีกาหนด
1 หมดเวลางานยงั ไม่เสรจ็ สมบูรณ์
ไม่สง่ งาน
2
1
0

รวมคะแนน 14

ระดบั คณุ ภำพ

คะแนน 10 – 14 หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 5 – 9 หมายถึง ดี
คะแนน 0 – 4 หมายถึง พอใช้

ชุดที่ 4 แบบฝกึ หัดกำรแรเงำตำมวัตถุทกี่ ำหนดให้ 59

ประเด็นกำรประเมิน คำ่ นำ้ หนักคะแนน แนวกำรให้คะแนน
วาดรปู หุ่นนงิ่ ตามสัดสว่ นได้ถกู ตอ้ ง
กำรรำ่ งภำพโครงสรำ้ ง 3 สวยงาม
วาดรูปหุน่ น่งิ ตามสัดสว่ นพอได้
2 วาดรปู หนุ่ นิง่ ตามสัดสว่ นไดเ้ พียง
เล็กน้อย
1 ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุด
ไปยังดาสุดได้ มีความแตกต่างกัน
กำรไลร่ ะดับนำ้ หนัก อย่างเห็นได้ชดั
ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุด
3 ไปยังดาสุดได้ มีความแตกต่างไม่
มาก เช่น ในช่วงสีเทานั้น ไล่ระดับ
กำรเก็บรำยละเอียด 2 นา้ หนักเหมอื นกนั
ควำมสะอำดของงำน ไล่ระดับน้าหนักแรงเงาจากสว่างสุด
1 ไปยงั ดาสดุ ไดเ้ พยี งเล็กน้อย
กำรจดั องคป์ ระกอบ 3
2 เก็บรายละเอยี ดลักษณะผิวของ
1 ผลไมท้ ่มี ีลกั ษณะต่างกนั ได้ชัดเจน
3
2 เนน้ ระยะไดเ้ กบ็ รายละเอยี ดของ
1 วัตถไุ ด้

3 มีการเกบ็ รายละเอียดของงานเพยี ง
เล็กนอ้ ย
2
ผลงานสะอาดเรียบรอ้ ย
ผ ล ง า น มี ค ว า ม เ ล อ ะ เ ท อ ะ เ พี ย ง
เลก็ น้อย
ผลงานสกปรกและเลอะเทอะ
การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ใน
เกณฑ์ดี (วาดรูปอยู่ตรงก่ึงกลางของ
กระดาษและมีขนาด สัดส่วนที่
เหมาะสมต่อท่วี า่ งของกระดาษ)
การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ใน
เกณฑ์พอใช้ (วาดรูปอยู่ตรงกึ่งกลาง

1 60

ควำมตรงต่อเวลำ 2 ของกระดาษแต่ยังมีขนาด สัดส่วน
1 ไม่เหมาะสมตอ่ ทีว่ า่ งของกระดาษ)
การจัดองค์ประกอบของภาพอยู่ใน
0 เกณฑ์ปรับปรุง (วาดรูปเล็กๆอยู่ตรง
มุมบนและลา่ งของกระดาษ
งานเสรจ็ สมบูรณต์ ามเวลาทก่ี าหนด
หมดเวลางานยงั ไม่เสร็จสมบรู ณ์
ไมส่ ่งงาน

ระดบั คุณภำพ

คะแนน 10 – 14 หมายถึง ดมี าก
คะแนน 5 – 9 หมายถึง ดี
คะแนน 0 – 4 หมายถงึ พอใช้

61

ภำคผนวก ข ชุดฝึกทักษะกำรไล่ระดบั นำ้ หนกั แรเงำดว้ ยดินสอ
โดยใช้รูปแบบกำรเรยี นกำรสอนทกั ษะปฏบิ ตั ิของแฮร์โรว์

62

63

64

65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

ภำคผนวก ค ภำพถำ่ ยผลงำนนักเรยี น


Click to View FlipBook Version