The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poyppn, 2021-03-04 20:44:05

ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้ำหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ

นางสาวแพรวา นิวัฒยานนท์ 590210281

รายงานการวจิ ยั

เร่อื ง
ชุดฝึกทกั ษะการไล่ระดบั น้าหนักแรเงาด้วยดนิ สอ โดยใช้รปู แบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโ์ รว์

ของนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านเชงิ ดอยสุเทพ

โดย
นางสาวแพรวา นวิ ัฒยานนท์

สาขา ศิลปศกึ ษา
รหัสประจา้ ตัว 590210281
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

บทคดั ยอ่

นกั วจิ ยั นางสาวแพรวา นิวัฒยานนท์ อาจารย์ท่ีปรึกษา ดร.ประไพลิน จันทน์หอม
รหสั ประจา้ ตัว 590210281 สาขาศิลปศึกษา
สาขา ศิลปศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

การวจิ ยั ในครงั นีมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื สรา้ งชดุ แบบฝกึ ทักษะสา้ หรับพัฒนาทกั ษะการไล่ระดับน้าหนัก
แรเงาของนักเรียนชนั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ กลุ่มเป้าหมายการวิจัย คอื นักเรียนชัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 จ้านวน 4 คน เครอ่ื งมือในการวิจัย 1) ชุดฝึกทกั ษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ
2) แผนการจัดการเรียนรู้ และ 3) เกณฑก์ ารประเมินแบบฝกึ ทกั ษะ โดยครูผสู้ อนเป็นผู้บันทกึ

ผลการวิจัยพบวา่ จากการท้าแบบฝกึ หัดการสร้างสรรค์ผลงานเรอ่ื งกการแรเงารูปทรงกลมและแรเงา
ตามวัตถุท่ีก้าหนดให้ ของนักเรียนทัง 4 คน จะเห็นได้ว่าอยู่ในระดับท่ีดีมาก และหาค่าเฉลี่ยของผลงานการ
สร้างสรรค์ของเกณฑ์ใน 4 ด้าน ของนักเรียนทัง 4 คน ถือว่าดีมาก ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี ดา้ นความสวยงาม

มีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 2.33 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมาก ด้านการไล่ระดับน้าหนัก มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 2
สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมากด้านการจดั องคป์ ระกอบ มีคา่ เฉลย่ี อยูท่ ่ี 2.67 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดี
มากและด้านความตรงต่อเวลา มคี ่าเฉลย่ี อย่ทู ี่ 2 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดมี าก

ติดตอ่ นกั วิจัย e-mail : [email protected]

คานา
การวิจัยเรื่อง ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน
ทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ของนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ เป็นการด้าเนินการ
วิจัยอันเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการเรียนรายวิชา 100599 การปฏิบัติงานวิชาชีพครู (PRAC TEACH
PROFESS 2 ) ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ในการฝึกฝนนกั ศึกษาให้ได้รบั ประสบการณ์ในการแก้ไขปญั หาท่ีเกิดขึนในชัน
เรียนในสภาพจริงโดยเน้นการด้าเนินการตามหลักวิธีวิทยาการวิจัยที่ถูกต้องเป็นส้าคัญ โดยผู้วิจัยคัดเลือก
ประเด็นปัญหาของนักเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการวาดเส้นด้วยแบบจ้าลองกล่องจัดแสง เป็นประเด็น
การวิจัยครงั นี ภายหลงั จากใช้เวลาสังเกตนักเรียนมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้เกดิ ความแน่ใจว่าเปน็ ปัญหาท่ี
รุนแรงอยา่ งแท้จรงิ
ในการด้าเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้องจนพบวา่ การใช้การ
ไล่ระดับน้าหนกั แรเงาดว้ ยดินสอ โดยใชร้ ูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏบิ ตั ขิ องแฮร์โรว์ เป็นหน่ึงในวธิ กี ารท่ี
สามารถแก้ไขปัญหาทักษะไล่ระดับน้าหนักแรเงาของนักเรียนได้ และพยายามใช้แนวคิดพัฒนาแนวทาง
ดังกลา่ วเกดิ เป็นชดุ แบบฝกึ ทักษะใช้กบั นกั เรยี นทีผ่ ่านการขอความอนเุ คราะหจ์ ากสถานศึกษาและครูประจา้ ชัน
เปน็ ระยะเวลา 2 เทอม และเนน้ การด้าเนินการวิจัยท่ีสง่ ผลทางลบต่อสภาพจิตใจของนกั เรียนใหน้ อ้ ยท่สี ดุ เทา่ ที่
จะท้าได้ ตลอดระยะเวลาทด่ี ้าเนินการวิจยั ผู้วิจัยได้พูดคุยและสร้างความเขา้ ใจกบั ทุกฝ่ายเกยี่ วกับการใช้ขอ้ มูล
การวิจัยและการเปิดเผยผลการวิจัยที่จะไม่ส่งผลกระทบต่อตัวนักเรียนและสถานศึกษา รวมถึงการเผยแพร่
ขอ้ มลู เปน็ ไปในทางสรา้ งสรรค์และได้รับการยนิ ยอมจากผู้เก่ยี วขอ้ งแลว้
เนื่องด้วยข้อจ้ากัดของกระบวนวิชาที่นักศึกษาจ้าเป็นต้องเรียนเนือหาสาระด้านการวิจัย ด้าเนินการ
วิจัย และเขียนผลการวิจัยให้แล้วเสร็จภายใน 2 ภาคการศึกษา ท้าให้การทดลองสามารถด้าเนินการเพียง
ระยะเวลาอันสัน ไมส่ ามารถดา้ เนนิ การได้เปน็ ระยะเวลายาวนานเพอ่ื ยืนยันผลการใช้นวัตกรรมอย่างชัดเจนได้
ดังนัน ผู้อ่านจึงไม่ควรใช้ผลการวิจัยคร้ังนี้เพื่ออ้างอิงเชิงวิชาการในทุกกรณี ทังเพียงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือ
ภาพรวมของผลการวิจัยทังหมด โดยประโยชน์ท่ีได้จากการวิจัยครังนี เน้นการพัฒนาสมรรถนะทางการวิจัย
ของผวู้ จิ ยั เท่านนั

แพรวา นวิ ัฒยานนท์
1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

กติ ติกรรมประกาศ
การวิจยั เร่ือง ใช้รูปแบบการเรียนการสอนทกั ษะปฏิบตั ิของแฮรโ์ รวข์ องนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่
6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ ครงั นี ส้าเร็จลลุ ่วงได้ ภายใต้การใหค้ ้าชีแนะ ปรบั ปรุง และให้ข้อเสนอแนะของ
ดร.ประไพลิน จันทน์หอม อาจารย์ประจ้าวิชา 100599 การปฏิบัติงานวิชาชีพครู PRAC TEACH PROFESS2
ซงึ่ ผูว้ ิจยั กราบขอบพระคุณที่อาจารย์ได้กรณุ ามอบความรู้ ให้แง่คิดในการพัฒนาชินงานดา้ นการวจิ ยั เพื่อพฒั นา
ผูเ้ รยี นครังแรกในชวี ติ
ผวู้ ิจัยขอขอบคณุ ผูอ้ ้านวยการและคณะครู โรงเรียนบ้านเชงิ ดอยสุทพ จังหวัดเชยี งใหม่ ทีไ่ ด้ให้ความ
อนุเคราะห์ เอือเฟ้ือ และดูแลผู้วิจัยในการด้าเนินการวิจัยครังนี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
จ้านวน 4 คน ท่ีให้ความร่วมมือปฏิบัติกิจกรรมในทุกครังที่พบเจอด้วยความเต็มใจและน่ารักย่ิง ตลอด
ระยะเวลาการทดลอง ตังแต่ วันที่ 15 ธันวาคม 2563 ถึง วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564 ท่ีผู้วิจัยพบความ
เปล่ียนแปลงของนกั เรยี น ไม่เพียงแต่ช่วยให้เกิดความเข้าใจของคุณค่าของการวจิ ัยเท่านัน แต่ยังช่วยให้ผ้วู ิจัย
ย่ิงเกิดความตระหนักและมีอุดมการณ์ในการพัฒนาผู้เรียนให้เพียบพร้อมทังเก่ง ดี และเรียนอย่างมีความสุข
เปน็ บุคคลที่มีคุณภาพของสังคมตอ่ ไป
เน่ืองด้วยข้อจ้ากัดด้านระยะเวลาการด้าเนินการวิจัย ท้าให้เกิดข้อจ้ากัดด้านกระบวนการวิจัย
ผลการวิจัยและคุณค่าท่ีได้รับ ผู้วิจัยขอน้อมรับในข้อบกพร่อง และจะใช้เป็นบทเรียนเพ่ือพัฒนาศักยภาพให้
เป็นครูดีและวิจัยเก่ง ในฐานะครใู นอนาคต

แพรวา นวิ ฒั ยานท์
1 กมุ ภาพันธ์ 2564

สารบญั หนา้

บทท่ี 1 บทนา้ 1
ความเปน็ มาของปญั หา 2
วตั ถุประสงค์การวิจยั 2
ขอบเขตการวิจยั 3
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 3
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั
4
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 4
ตอนท่ี 2.1 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั แบบฝกึ 5
2.1.1 ความหมายของชดุ ฝึกทกั ษะ 7
2.1.2 ลักษณะของแบบฝึกทกั ษะท่ดี ี 8
2.1.3 หลกั ทางจิตวิทยาท่ีเกย่ี วกับการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ 10
2.1.4 หลกั การสร้างแบบฝกึ ทักษะ 12
2.1.5 ประโยชน์ของแบบฝกึ 13
2.1.6 ประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทกั ษะ 14
ตอนที่ 2.2 รปู แบบการสอนทักษะปฏิบตั ิของ Harrow 14
2.2.1 ระเบียบวิธีการสอน(Methodology) 14
ตอนท่ี 2.3 เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ งการวาดเส้น 15
2.3.1 ความหมายของการวาดเสน้ 16
2.3.2 การรับรู้ดา้ นสุนทรียศาสตรใ์ นการวาดเส้น 16
2.3.3 การวาดเสน้ โดยใช้ทักษะแสงและเงา 17
2.3.4 หนา้ ทข่ี องนา้ หนักในการวาดเส้น 17
2.3.5 เทคนคิ การแรเงาน้าหนัก 19
2.3.6 ค่าน้าหนักของแสงและเงาทีเ่ กดิ บนวตั ถุ 19
2.3.7 ทิศทางแสง 19
ตอนที่ 2.3 งานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
2.3.1 งานวิจัยในประเทศ

สารบญั (ต่อ) 23
26
บทท่ี 3 วธิ ดี ้าเนนิ การวิจยั 26
3.1 กลุ่มเปา้ หมาย 27
3.2 เคร่อื งมอื และคณุ ภาพเครื่องมอื วจิ ัย 29
3.2.1. แบบฝกึ หดั จา้ นวน 4 ชดุ
3.2.2. แผนการจัดการเรยี นรูเ้ รื่องการวาดเสน้ และการไล่ระดับนา้ หนักแรเงา
3.2.3. เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 29
3.4 การวิเคราะหข์ ้อมลู 31
บทที่ 4 ผลการวิจยั
4.1 ผลการท้าชุดฝกึ ทกั ษะการไล่ระดับนา้ หนักแรเงาดว้ ยดนิ สอ โดยใชร้ ปู แบบการเรยี น 32
การสอนทักษะปฏบิ ตั ขิ องแฮร์โรว์
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะการวิจัย 42
5.1 สรุปผลการวจิ ยั 42
5.2 อภปิ รายผลการวิจยั 43
5.3 ข้อเสนอแนะการวจิ ัย 44
45
เอกสารอา้ งองิ 46
ภาคผนวก 61

ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนร้เู รื่องแสงและเงา 89
ภาคผนวก ข ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับนา้ หนกั แรเงาด้วยดินสอ 121
โดยใชร้ ปู แบบการเรยี นการสอนทักษะปฏิบตั ขิ องแฮรโ์ รว์
ภาคผนวก ค ภาพถา่ ยผลงานนกั เรยี น
ประวัติผู้วิจยั

สารบัญตาราง หนา้
23
ตาราง 1 ตาราง 3.1.1 พฤตกิ รรมการสร้างสรรคผ์ ลงานรายบคุ คล ซึง่ กล่าวโดยรวมจากการ
สังเกตทงั หมด 3 ครัง 25
27
ตาราง 2 3.1.2 การบนั ทกึ เกณฑ์ประเมินการสรา้ งสรรค์ผลงานรายบคุ คลทงั 3 ครงั 28
ตาราง 3 ตาราง แนวคิดการพฒั นาชดุ แบบฝกึ ทกั ษะ 30
ตาราง 4 ตาราง 2.5 รายละเอียดของเนอื หาและวนั เวลาของแผนการจดั การเรียนรู้ 32
ตาราง 5 ตาราง แผนการดา้ เนินการทดสอบ
ตาราง 6 4.1.1 กราฟแทง่ แสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเร่อื ง แบบฝึกหัดการไล่ 33

ระดบั น้าหนกั แรเงา 9 ระดับและการไล่ระดบั แรเงาในทิศทางต่างๆ 34
ตาราง 7 4.1.1 ตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรคผ์ ลงานเรือ่ ง การไล่ระดับ
35
น้าหนกั แรเงา 9ระดบั และการไล่ระดบั แรเงาในทศิ ทางตา่ ง ๆ
ตาราง 8 4.1.2 กราฟแท่งแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเรอื่ ง การวาดโครงสร้าง 36

เรขาคณิตและแบบฝึกหดั การแรเงาเรขาคณิตและตารางคะแนนแสดงผลคะแนนใน 37
การสร้างสรรคผ์ ลงานเรื่อง การวาดโครงสรา้ งเรขาคณิตและแบบฝกึ หัดการแรเงา
เรขาคณิต 38
ตาราง 9 4.1.2 ตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรคผ์ ลงานเรอ่ื ง การวาดโครงสรา้ ง 39
เรขาคณิตและแบบฝึกหดั การแรเงาเรขาคณติ
ตาราง 10 4.1.3 กราฟแท่งแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเร่ือง การแรเงาตามวตั ถุที่
กา้ หนดใหแ้ ละตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเรื่อง การแรเงา
ตามวัตถุทกี่ า้ หนดให้
ตาราง 11 4.1.4 ตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรคผ์ ลงานเร่ือง การแรเงาตาม
วัตถทุ ่กี ้าหนดให้
ตาราง 12 4.3 ตารางคา่ เฉลีย่ ของคะแนนทัง 3 ครัง ก่อนใชน้ วตั กรรม
ตาราง 13 4.4 ตารางคา่ เฉลี่ยของคะแนนทงั 4 ครงั หลงั ใช้ชุดฝึกทักษะการไลร่ ะดับนา้ หนกั แร
เงาดว้ ยดนิ สอ โดยใช้รปู แบบการเรยี นการสอนทักษะปฏิบตั ขิ องแฮร์โรว์

สารบัญภาพ

ภาพประกอบ 1 ใบงานกิจกรรมท่ี 1 2 3 และ 4 ของ ก หนา้
ภาพประกอบ 2 ใบงานกิจกรรมท่ี 1 2 3 และ 4 ของ ข 93
ภาพประกอบ 3 ใบงานกิจกรรมท่ี 1 2 3 และ 4 ของ ค 100
ภาพประกอบ 4 ใบงานกิจกรรมที่ 1 2 3 และ 4 ของ ง 107
114

1

บทที่ 1

บทนำ
ควำมเป็นมำของปญั หำวิจยั

การวาดเสน้ เป็นวิธีการและกลวิธขี ั้นพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ทุกสาขา เป็นการเร่ิมต้น
ของการถ่ายทอดความคิด การจินตนาการ การศึกษารายละเอียด และฝึกฝนทักษะ เพื่อให้มีความแม่นยา
ชานาญในการนาไปใช้สร้างงานอน่ื ๆ (สชุ าติ สุขนา, 2547: 5 - 7) ซง่ึ การวาดเสน้ มีความสัมพันธ์กับจิตรกรรม
อย่างมาก เพราะมีเทคนิคบางอย่าง ท่เี หมือนกัน เช่น การเขียน การป้าย การระบาย เป็นต้น (สุชาติ เถาทอง,
2536) ในทางวิชาการเป็นข้ันตอนที่สาคัญท่ีสุดในกระบวนการสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทุกแขนง
จะต้องใช้กรรมวิธีวาดเส้นเป็นขัน้ ตอนแรกในการถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในความคดิ ใหเ้ ป็นรูปธรรมก่อนท่ีจะพัฒนา
ไปส่ใู นการนาเสนอในสาขาต่างๆของตน ดังจะเหน็ ไดจ้ ากสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบ ๆ ตวั เราที่เกดิ จากการออกแบบน้นั ได้
ผ่านการพัฒนาจากการวาดเส้นทั้งส้ินก่อนจะเกิดเป็นชิ้นงานหรือผลงาน เช่น จิตรกรต้องร่างความคิดของ
ตนเองอย่างคร่าว ๆ ก่อนท่ีจะลงมือเขียนด้วยสี ประติมากรต้องจัดสรรรูปทรง ปริมาตรที่ว่างให้ลงตัวด้วย
วธิ ีการร่างภาพ ก่อนท่ีจะลงมือป้ันด้วยดิน การวาดเส้นในการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่จี ะออกแบบสง่ิ ของท่ีใช้ใน
ชีวิตประจาวัน การวาดเส้นสถาปัตยกรรมออกแบบท่ีอยู่อาศัยหรือส่ือต่าง ๆ ล้วนผ่านกระบวนการการคิด
สร้างสรรค์ก่อนจะถ่ายทอดออกมาเป็นภาพร่าง จากการวาดเส้นที่จะนามาให้เกิดความพอใจ และความ
สะดวกสบายใจในการใช้งานหรือแม้กระทั่งงานศิลปะบริสุทธิ์ทีส่ ร้างความปติ ิทาให้เกิดปัญญา (อนันต์ ประภา
โส, 2553: 12 - 15) ซึ่งการวาดเส้นนัน้ เกิดจากหลายองคป์ ระกอบตา่ งๆที่สร้างใหผ้ ลงานเกิดความสมบรู ณ์ เช่น
จุด เส้น แสงและเงา ความรู้สึกของเส้น เส้นเพื่อรูปทรงสองมิติและสามมิติ (รูปร่างและรูปทรง) และ ระยะ
(พงศ์ภวัน อะสตั ิรตั น์. 2557) องค์ประกอบทส่ี าคัญในการวาดเส้นน้นั คอื แสงและเงาซึ่งจะทาให้ภาพเกิดความ
กลมกลืนสร้างสรรค์ผลงานออกมาเหมือนจริงมากยง่ิ ข้ึน หรือต้ืนลึกเหมือนจริงอย่างที่ตาเห็น ท้ังยังทาให้เกิด
รปู ทรงและความสมบูรณข์ องภาพ ในการสร้างสรรค์งานวาดเส้นจาเป็นต้องคานึงถึงเร่อื งแสงและเงาเพือ่ เป็น
ตัวกลางช่วยให้มองเห็นรูปได้ชัดเจนข้ึนและทาให้เกิดภาพในลักษณะสามมิติ ได้ด้วยแสงเงา ที่จะช่วยบอก
ตาแหนง่ ระยะใกล้ไกลและสร้างบรรยากาศใหเ้ กดิ ขึน้ กับภาพท่ีวาดจากการให้คา่ น้าหนักของแสงและเงาที่เกิด
บนวัตถุ (ไพรวลั ดาเกลี้ยง. 2547)

การวาดภาพทม่ี ีการแสดงนา้ หนักแสงเงาท่ีชัดเจนน้ัน จะถ่ายทอดตามสายตาท่ีมองเห็น เช่น ความลึก
ตืน้ หนา บาง นูน เรียบ โค้ง เว้า ได้ชัดเจนมากกว่าภาพทีแ่ สดงด้วยเส้นเพียงเส้นเดียวเพ่ือให้ผลงานท่ีออกมา
นัน้ สมจรงิ มากยิง่ ขึน้ แสงและเงาช่วยให้การวาดเสน้ แรเงาดูเป็นสามมิติหรือเหมือนจริงมากทสี่ ดุ จากการสงั เกต
การจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ศิลปะ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นเชิงดอยสุเทพ อาเภอเมือง
ในวนั ท่ี 22 23 และ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2563 จานวน 3 คาบ ไดพ้ บสาเหตุไมส่ ามารถไลร่ ะดับนา้ หนกั แรเงาได้
โดยสามารถยืนยันพฤตกิ รรมปัญหาดังกล่าวได้จากการทาแบบฝกึ ทักษะ โดยให้นักเรียนน้ันสร้างสรรค์ผลงาน
โดยการไล่ระดับน้าหนักแรเงาจากขาวสุดจนไปถึงดาสุด โดยมีวัตถุให้นักเรียนได้วาดตาม จานวน 4 คร้ัง ซึ่ง
ปรากฏการสร้างสรรค์ผลงานไว้ดังน้ี นักเรียนไม่สามารถไล่ระดับแรเงาตั้งแต่ระดับขาวสุดจนไปถึงดาสุดได้

2

นอกจากนั้นแล้วในขณะที่สอนน้ันนักเรียนรู้สึกเกร็ง ๆ และไม่อยากที่จะทางานต่อ อาจเป็นเพราะไล่ระดับ
น้าหนักแรเงาไม่ได้ ซ่ึงจากการสังเกตและยืนยันปัญหานักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนที่มี
ปัญหาทางด้านการไลร่ ะดบั นา้ หนักแรงเงาจานวน 4 คน ผวู้ จิ ัยจงึ เหน็ วา่ นักเรียนทง้ั 4 คน ควรไดร้ ับการพฒั นา
ทักษะการไลร่ ะดบั น้าหนกั แรเงาเพอ่ื ที่จะสรา้ งสรรค์ผลงานให้สมบรู ณย์ ง่ิ ข้นึ ตอ่ ไป

สาหรับแนวทางในการพัฒนาทักษะการวาดเส้นของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านเชิง
ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยจึงได้คิดคน้ ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบ
การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ เพือ่ ท่ีจะกระตุ้นให้นกั เรียนเกดิ ทักษะในเรือ่ งของ การไล่ระดับแร
เงาได้ดยี งิ่ ขน้ึ นอกจากน้นั แล้วยงั ประกอบแบบฝกึ หัดการไลร่ ะดับนา้ หนกั แรเงา 9 ระดบั และการไล่ระดบั แรเงา
ในทศิ ทางต่างๆ แบบฝึกหัดการวาดโครงสรา้ งเรขาคณิต ดงั น้ี วงกลม สามเหล่ียม สี่เหล่ียม แบบฝึกหดั การแร
เงาเรขาคณิต ดังน้ี วงกลม สามเหลี่ยม ส่ีเหลี่ยม และแบบฝึกหัดการแรเงาตามวัตถุท่ีกาหนดให้ ซึ่งเป็น
ภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบตั ิเพื่อฝึกใหเ้ กดิ ความชานาญทง้ั ดา้ นฝีมือและความคิด
วตั ถปุ ระสงค์กำรวิจัย

การวิจัยในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้
รปู แบบการเรยี นการสอนทักษะปฏบิ ตั ิของแฮรโ์ รว์ ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรยี นบ้านเชงิ ดอยสเุ ทพ
ขอบเขตกำรวจิ ัย

ประชากรในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 4 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2563 โดยสงั เกตจากพฤติกรรมการสรา้ งสรรค์ผลงาน จานวน 3 ครง้ั ในชว่ งเดือน มกราคม – กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.
2563

จากการศกึ ษาพฤติกรรมการสร้างสรรคผ์ ลงานของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จงึ พบว่ามีนกั เรยี น
จานวน 4 คน ท่ีไม่สามารถไล่ระดับน้าหนักแรเงาในช่วงสีเทาได้ การไล่น้าหนักจึงเป็นระดับน้าหนักท่ีเท่ากัน
หมด
2. ตวั แปรทใ่ี ช้ในกำรวจิ ยั

งานวิจัยชิ้นน้ีมีตัวแปรที่ใชใ้ นการศึกษาและวิจยั คอื ชุดฝึกทักษะการไลร่ ะดบั น้าหนักแรเงาดว้ ยดินสอ
โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะการไล่
ระดับแสงเงา ซ่ึงจะนาไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานเพื่อให้ผลงานน้ันมีความสมจริงมากยิ่งขึ้นและศึกษาชุดฝึก
ทกั ษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอนทักษะปฏิบตั ิของแฮร์โรว์ น้ันเกิด
ประสิทธภิ าพในการเรียนการสอนได้มากน้อยเพยี งใด

โดยการพัฒนาทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ
ปฏิบัติของแฮร์โรว์น้ี จาเป็นต้องพัฒนาทั้ง 2 ตัวแปรควบคู่กนั ไปเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสดุ ในเร่ืองทักษะการ
วาดภาพให้เสมือนจรงิ

3

นิยำมศัพท์เฉพำะ
1.กำรวำดเส้น (Drawing) หมายถึง เป็นวิธีส่ือความหมายทางการเห็นขั้นพ้ืนฐาน การวาดเส้นเป็น

การสร้างภาพด้วยวิธีวาด วิธเี ขียนด้วยวัสดเุ คร่ืองมือลงบนพ้ืนระนาบ มีเนอ้ื หาสาระทางการเหน็ เป็นทัศนศิลป์
รูปแบบหน่ึง การวาดเส้นมีความสัมพันธ์กับจิตรกรรมอย่างมาก เพราะมีเทคนิคบางอย่าง ที่เหมือนกัน เช่น
การเขยี น การปา้ ย การระบาย เป็นต้น การวาดเสน้ เป็นการวาดรูปร่างลกั ษณะของภาพดว้ ยเทคนิคการใช้เส้น
บางครั้งงานวาดภาพระบายสีก็มีลกั ษณะ งานวาดเส้นผสมผสาน ยากทจี่ ะแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ไม่ว่า
จะเป็นลักษณะงานและการใช้วัสดุ โดยสีไม่ได้เป็นสิ่งครอบงาการวาดภาพ สีและการวาดเส้นเป็นส่ิงที่
ผสมผสานกลมกลืนกันไป

2. แสงเงำ (Light & Shade) หมายถึง แสงจากธรรมชาติหรอื แสงไฟทสี่ ่องมากระทบวัตถุให้เกิด
สว่ นสวา่ งบริเวณทแี่ สงกระทบ และเกิดเงาบรเิ วณตรงกันขา้ มกบั แสง รวมทงั้ เกดิ เงาตกทอดของวัตถุนั้นลงใน
ทิศทางท่ีตรงกันข้ามกับแสงอีกด้วย ดังน้ันแสงเงาจึงมีความสัมพันธ์กัน ช่วยส่งเสริมสร้างงานให้มีคุณค่าใน
การสรา้ งมิติ ตนื้ ลึก มรี ะยะใกล้ไกลและมคี ณุ ค่าทางความงามเหมือนจริง

3. แบบฝึกทักษะ หมายถึง เคร่ืองมือท่ีช่วยพัฒนาทักษะในเร่ืองท่ีเรียนรู้ให้มากขึ้น โดยอาศัยการ
ฝกึ ฝนหรือปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองของผ้เู รยี น ลักษณะปัญหาในแบบฝกึ ทกั ษะจะเปน็ ปัญหาท่ีเสริมทกั ษะพื้นฐานโดย
กาหนดขึ้นให้ผู้เรียนตอบเรียงลาดับจากง่ายไปยาก ปริมาณของปัญหาต้องเพียงพอที่สามารถตรวจสอบและ
พัฒนาทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เรียนไปแล้ว เพ่ือนาไปใช้ในการแก้ปัญหา
รวมท้งั ในแบบฝึกทักษะจะทาใหผ้ ู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจบทเรียนด้วยตนเองได้ เพ่ือให้เกดิ ทักษะ
เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญในเน้อื หาท่ผี ู้เรียนไดเ้ รียนไปในเร่ืองน้นั ๆ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รบั

1. ผู้สอนได้ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ
ปฏิบัติของแฮร์โรว์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือใช้ในการเรียนการสอนในเร่ือง การวาด
เส้น ของกลุ่มสาระศลิ ปะ

2. การใช้ชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ
ปฏบิ ตั ขิ องแฮร์โรว์ สามารถแก้ไขปญั หาการไล่ระดับนา้ หนกั ในการวาดภาพลายเสน้ ได้

3. ผู้สอนได้แนวทางการพฒั นาการสอนในเรือ่ งการวาดเส้น

4

บทที่ 2

เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

ในการดาเนินการวิจัยคร้งั นี้ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องเพอ่ื ใช้กาหนดกรอบแนวคิด
และออกแบบการวจิ ัย ซ่ึงผู้วิจยั ได้สรปุ เน้อื หาสาระทีส่ าคญั โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้
ตอนที่ 2.1 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกีย่ วข้องกับแบบฝกึ
2.1.1 ควำมหมำยของชดุ ฝกึ ทกั ษะ

การเรียนการสอนในปัจจุบัน การฝึกมีความจาเป็นในการช่วยพัฒนาการแก้โจทย์ปัญหา เพราะช่วย
เสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะ และเข้าใจในบทเรียนมากข้ึนผู้เรียนยังสามารถแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียนด้วย
การฝึกจากแบบฝึกที่ครูสรา้ งขน้ึ แบบฝึกมีผู้เรยี กแตกต่างกันไป เชน่ แบบฝึก ชดุ ฝกึ ชุดการสอน ชุดการฝึก จาก
การศึกษาความหมายของแบบฝกึ ทักษะ ไดม้ ผี ้ใู ห้ความหมายไว้ตา่ ง ๆ กัน ดงั น้ี

ราชบัณฑิตยสถาน (2546:641) ได้ให้ความหมายของชดุ ฝกึ ไว้ว่า หมายถงึ แบบฝึกหดั หรือชุดการสอน
ที่เปน็ แบบฝึกทใี่ ช้เปน็ ตัวอย่างปัญหาหรอื คาสั่งที่ต้งั ข้ึนให้นกั ศกึ ษาฝกึ ตอบ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาประถมแห่งชาติ (2540:147) ได้ให้ความหมายของชุดฝกึ ไวว้ ่า เป็น
สอ่ื การสอนประเภทหนึ่ง สาหรับปฏิบตั ิเพ่ือให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจและมที ักษะเพ่ิมขึ้นส่วนใหญ่ชดุ ฝึกทักษะ
จะอยู่ท้ายบทเรียนของหนงั สือเรยี น

ศฤงคาร แป้นกลาง (2538, หน้า 23) ไดส้ รุปความหมายของแบบฝึกทกั ษะไว้วา่ แบบฝึกทกั ษะเป็น
เคร่ืองมือในการแก้ปัญหาเฉพาะทักษะ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความชานาญและเสริมสร้างความเข้าใจใน
เนื้อหาที่เรยี น มลี ักษณะคล้ายแบบทดสอบย่อย แต่มีลักษณะท่ีเฉพาะ เจาะจงมากกว่า ลักษณะปญั หาในแบบ
ฝึกทกั ษะจะเรียงลาดบั จากง่ายไปยากและต้องเป็นปัญหาที่เสริมทกั ษะพนื้ ฐาน

ฉวีวรรณ กีรติกร (2538, หน้า 7) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะวา่ เป็นงานท่ีครูมอบหมายให้
นักเรียนทาเพื่อทบทวนความรู้ที่เรียนไปแล้ว โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ
แกป้ ัญหาและพฒั นาทักษะของนักเรียน

สนุ ันทา สนุ ทรประเสริฐ (2544, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึกหรอื แบบฝึกหัด
คือ สื่อการเรยี นการสอนชนดิ หน่งึ ทใี่ ชฝ้ ึกทักษะให้กับผู้เรียน หลังจากเรียนจบเนือ้ หาในช่วงหนึ่ง ๆ เพ่ือฝกึ ฝน
ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ รวมทั้งเกดิ ความชานาญในเร่ืองน้นั ๆ อย่างกว้างขวางมากข้นึ

สุพรรณี ไชยเทพ (2544, หน้า 17) ยงั ได้ใหค้ วามหมายของแบบฝกึ ไว้วา่ แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง
เอกสารหรือแบบฝึกหัดที่ใช้เปน็ ส่ือประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝกึ ปฏิบัติ เป็นการช่วยเสริมให้
นักเรียนมที กั ษะสงู ย่ิงข้นึ

ถวัลย์ มาศจรัส (2548, หน้า 151) ได้ให้คาจากัดความของแบบฝึกทักษะว่า เป็นกิจกรรมพัฒนา
ทกั ษะการเรียนร้ทู ี่ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมมคี วามหลากหลายและปริมาณเพียงพอท่ีสามารถ
ตรวจสอบและพัฒนาทักษะ กระบวนความคิด กระบวนการเรียนรู้ สามารถนาผูเ้ รียนสู่การสรปุ ความคิดรวบ

5

ยอดและหลักการสาคัญของสาระการเรียนรู้ รวมท้ังทาให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจบทเรียนด้วย
ตนเองได้

ดังน้ัน แบบฝึกทักษะจึงเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยพัฒนาทักษะในเร่ืองท่ีเรียนรู้ให้มากขึ้น โดยอาศัยการ
ฝึกฝนหรอื ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองของผเู้ รยี น ลกั ษณะปัญหาในแบบฝกึ ทกั ษะจะเปน็ ปัญหาทเี่ สริมทักษะพ้ืนฐานโดย
กาหนดข้ึนให้ผู้เรียนตอบเรียงลาดับจากง่ายไปยาก ปริมาณของปัญหาต้องเพียงพอที่สามารถตรวจสอบและ
พัฒนาทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีเรียนไปแล้ว เพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหา
รวมทั้งในแบบฝึกทักษะจะทาให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจบทเรียนด้วยตนเองได้ เพือ่ ใหเ้ กดิ ทักษะ
เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญในเนื้อหาท่ีผู้เรยี นได้เรียนไปในเรอื่ งนั้น ๆ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2.1.2 ลกั ษณะของแบบฝึกทกั ษะทด่ี ี

ในการสร้างแบบฝึกสาหรับเด็ก มีองค์ประกอบหลายประการ ซึ่งได้มีนักการศึกษาหลายท่านให้
ข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั ลกั ษณะของแบบฝึกทด่ี ี ไวด้ ังนี้
สพุ รรณี ไชยเทพ (2544, หนา้ 19) ไดก้ ลา่ วถึงลกั ษณะของแบบฝึกทด่ี ีไวด้ ังน้ี

1. ตอ้ งมีความชัดเจน ท้ังคาชีแ้ จง คาสง่ั ง่ายต่อการเข้าใจ
2. ตรงกับจดุ ประสงคท์ ต่ี ้องการวดั
3. มีภาษาและรูปภาพที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียนและเหมาะสมกับวัยของผเู้ รยี น
4. แบบฝกึ แต่ละเรือ่ งไมค่ วรยาวมากจนเกนิ ไป
5. ควรมกี จิ กรรมหลากหลายรูปแบบทาใหน้ กั เรียนไม่เบอื่
6. ควรตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรยี น สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินขณะทา
แบบฝึก
7. มีคาตอบที่ชดั เจน
8. แบบฝกึ ทดี่ สี ามารถประเมินความก้าวหนา้ และความรขู้ องนักเรยี นได้
กสุ ยา แสงเดช (2545, หนา้ 6-7) ได้กลา่ วแนะนาผ้สู รา้ งแบบฝึกใหย้ ดึ ลักษณะแบบฝึกที่ดดี งั นี้
1. แบบฝึกทดี่ ีควรความชัดเจนท้งั คาส่ังและวิธที า คาส่ังหรือตัวอย่างแสดงวิธที า ที่ใชไ้ ม่ควรยากเกนิ ไป
เพราะจะทาความเข้าใจยาก ควรปรบั ใหง้ า่ ยและเหมาะสมกบั ผใู้ ช้ เพอื่ นกั เรียนสามารถเรียนดว้ ยตนเองได้
2. แบบฝึกท่ีดีควรมีความหมายต่อผู้เรียนและตรงตามจุดหมายของการฝึก ลงทุนน้อย ใช้ได้นาน
ทันสมยั
3. ภาษาและภาพท่ใี ชใ้ นแบบฝึกเหมาะกบั วัยและพ้ืนฐานความร้ขู องผู้เรยี น
4. แบบฝึกท่ดี ีควรแยกฝกึ เป็นเรื่อง ๆ แต่ละเรอื่ งไมค่ วรยาวเกนิ ไป แตค่ วรมกี ิจกรรมหลายแบบเพ่ือเร้า
ความสนใจ และไม่เบอื่ ในการทาและฝึกทกั ษะใดทกั ษะหนง่ึ จนชานาญ
5. แบบฝึกท่ีดีควรมีทั้งแบบกาหนดคาตอบในแบบและให้ตอบโดยเสรี การเลือกใช้คา ข้อความ
รปู ภาพในแบบฝกึ ควรเป็นสิ่งท่ีนักเรยี นคุ้นเคยและตรงกับความสนใจของนักเรียน กอ่ ให้เกิดความเพลิดเพลิน
และพอใจแกผ่ ู้ใช้ ซงึ่ ตรงกบั หลักการเรียนรวู้ ่า นกั เรียนจะเรยี นได้เรว็ ในการกระทาทท่ี าใหเ้ กิดความพึงพอใจ

6

6. แบบฝึกท่ีดีควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ให้รู้จักค้นควา้ รวบรวมสิ่งที่พบเหน็ บ่อย ๆ
หรือที่ตัวเองเคยใช้ จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องนั้น ๆ มากยิ่งข้ึน และรู้จักนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
อย่างถูกตอ้ ง มหี ลักเกณฑแ์ ละมองเห็นวา่ สิ่งทีไ่ ดฝ้ กึ น้ันมีความหมายตอ่ เขาตลอดไป

7. แบบฝกึ ทด่ี คี วรตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ผ้เู รียนแต่ละคน มคี วามแตกต่างกนั ในหลาย
ๆ ด้าน เช่น ความต้องการ ความสนใจ ความพร้อม ระดับสตปิ ัญญา และประสบการณ์ เป็นต้น ฉะนั้น การทา
แบบฝกึ แตล่ ะเร่อื งควรจัดทาให้มากพอและมที ุกระดับตัง้ แต่ ง่าย ปานกลาง จนถึงระดับคอ่ นขา้ งยาก เพือ่ วา่ ทั้ง
นักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน จะได้เลือกทาได้ตามความสามารถ ทั้งน้ีเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้ประสบ
ความสาเรจ็ ในการทาแบบฝึก

8. แบบฝกึ ทจ่ี ัดทาเป็นรปู เล่ม นกั เรยี นสามารถเก็บรักษาไวเ้ ป็นแนวทางเพือ่ ทบทวนดว้ ยตนเองตอ่ ไป
9. การท่ีนักเรยี นได้ทาแบบฝึก ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรอื ปัญหาต่าง ๆ ของนักเรียนไดช้ ัดเจน ซ่ึง
จะชว่ ยให้ครดู าเนินการปรับปรุงแก้ไขปญั หานนั้ ๆ ไดท้ ันท่วงที
10. แบบฝกึ ท่ีจัดขึน้ นอกจากมใี นหนงั สอื เรียนแลว้ จะช่วยใหน้ ักเรียนไดฝ้ ึกฝนอยา่ งเต็มท่ี
11. แบบฝึกที่จดั พิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้ครูประหยัดแรงงานและเวลาในการที่จะต้องเตรียม
แบบฝกึ อยเู่ สมอ ในด้านผู้เรยี นไม่ต้องเสียเวลาในการลอกแบบฝกึ จากตาราเรียนหรือกระดานดา ทาให้มีเวลา
และโอกาสไดฝ้ ึกฝนทักษะตา่ ง ๆ ไดม้ ากขนึ้
12. แบบฝึกชว่ ยประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะการพิมพ์เป็นรปู เล่มที่แนน่ อน ลงทุนต่าแทนที่จะใช้พิมพ์ลง
กระดาษไขทกุ คร้งั ไป นอกจากน้ียงั มีประโยชน์ในการที่ผู้เรยี นสามารถบันทกึ และมองเหน็ ความก้าวหนา้ ของตน
ได้อย่างมีระบบและมรี ะเบยี บ
จริยภรณ์ รุจิโมระ (2548, หน้า 148) ได้เสนอหลักเกณฑ์การฝึกทกั ษะสรุปได้คือแบบฝึกทกั ษะควร
กาหนดนิยามของแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน ให้สามารถนาไปปฏิบัติได้ แจกแจงทักษะใหญ่ออกเป็นทักษะย่อย
โดยละเอียด นกั เรียนจะตอ้ งฝึกทักษะในขั้นยอ่ ย ๆ เหลา่ นั้นทลี ะข้ันจนเกิดทักษะแลว้ จึงฝึกทักษะท่ียากขน้ึ ให้
นักเรียนฝึกทักษะท่ีแจกแจงเป็นทักษะย่อยแล้วหลายคร้ัง จนมีความชานาญ เน้นการฝึกซ้า ๆ มีการวัดและ
ประเมนิ ผล หรอื สงั เกตพฤติกรรมเดก็ อย่างสม่าเสมอเพ่ือประเมนิ วา่ เด็กมีทกั ษะเกิดข้นึ แล้ว
นอกจากน้แี ลว้ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2540, หน้า 146) ยังได้กล่าวถึง
ลักษณะของแบบฝกึ ทกั ษะท่ีดไี วด้ ้วยเช่นกันคอื แบบฝกึ ทกั ษะควรเก่ียวขอ้ งกบั เรอื่ งทเี่ รยี นมาแล้ว เหมาะสมกับ
ระดับ วัยหรือความสามารถของนักเรียน มีคาช้ีแจงส้ัน ๆ ท่ีช่วยให้นักเรียนเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาท่ี
เหมาะสม มีสงิ่ ท่ีนา่ สนใจและทา้ ทายให้แสดงความสามารถ มขี ้อแนะนาในการใช้ มีให้เลือกทั้งแบบตอบอย่าง
จากัดและตอบอย่างเสรี ถา้ เปน็ แบบฝึกที่ต้องการให้ผูท้ าศึกษาด้วยตนเอง แบบฝึกนน้ั ควรมหี ลายรูปแบบและ
ให้ความหมายแก่ผู้ฝึกทาด้วย ควรใช้ภาษา สานวนง่าย ๆ ฝึกให้คิดให้เร็วและสนุก รวมท้ังแบบฝึกควรปลุก
ความสนใจและใชห้ ลักจิตวทิ ยารว่ มดว้ ย
โดยสรุปลักษณะของแบบฝึกที่ดีคือ ต้องมีจุดประสงค์และคาส่ังที่ชัดเจน เข้าใจง่าย มีความ
เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีรูปแบบทีท่ ันสมัย สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนให้เกดิ ความต้องการท่ีจะ
ฝึกปฏิบัติเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

7

จากลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดีที่มีนักการศึกษาหลายท่านได้อธิบายไว้ เป็นลักษณะของแบบฝึก
ทกั ษะซึ่งใช้ไดก้ ับทกุ รายวชิ า ในส่วนของแบบฝกึ ทกั ษะที่ผู้ศึกษาสร้างเป็นแบบฝกึ ทักษะวิชาคณติ ศาสตร์
แบบฝกึ ทักษะของผ้ศู ึกษาจะมีลกั ษณะท่ีดดี ังนี้

1. คาสั่ง ข้อแนะนาและคาช้ีแจงใช้คาท่ีเข้าใจง่ายและไม่ยาวเกินไป เพื่อให้เด็กเข้าใจและศึกษาด้วย
ตนเองไดต้ ามตอ้ งการ

2. เนน้ การฝกึ ซ้า ๆ
3. ใชภ้ าษาทเ่ี ข้าใจงา่ ย
4. ระดบั เนอ้ื หาเหมาะกบั ระดับพนื้ ฐานความสามารถของผู้เรยี น
5. กาหนดเวลาที่ใชใ้ นแบบฝึกทักษะให้เหมาะสม
6. สร้างแรงจูงใจให้กับเดก็ เกิดความอยากรู้อยากเหน็ และกระตือรือรน้ ท่อี ยากกระทากิจกรรมโดยทุก
ครั้ง เมื่อจบการฝึกใหก้ ารเสริมแรงเด็กโดยชมเชยด้วยคาพูดหรอื เขียนให้กาลังใจ ในแบบฝึกทักษะ เพ่ือท่ี
เด็กจะไดอ้ ยากทากิจกรรมต่อไป
7. มกี ารวดั และประเมนิ ผลหรอื สังเกตพฤติกรรมเดก็ อยา่ งสมา่ เสมอเพื่อประเมนิ ว่าเดก็ มีทกั ษะแล้ว
2.1.3 หลกั ทำงจติ วิทยำทีเ่ กย่ี วกับกำรสร้ำงแบบฝกึ ทกั ษะ
พงษ์พนั ธ์ พงษโ์ สภา (2544, หน้า 91-92) ไดก้ ล่าวถึง กฎการเรยี นรทู้ สี่ าคัญของ ธอรน์ ไดค์วา่ มอี ยู่ 3 กฎ คอื
1. กฎแหง่ ความพึงพอใจ หรือกฎแห่งผล ธอร์นไดค์ได้สรุปว่า อินทรยี ์จะทาใน สิ่งท่ีก่อให้เกิดความพึง
พอใจและจะหลีกเล่ียงสิ่งท่ีทาใหเ้ ขาไม่พึงพอใจ ธอรน์ ไดค์ได้เนน้ ถึง การใชเ้ ทคนิคทีจ่ ะสร้างความพงึ ใจให้กับ
ผเู้ รียน เชน่ การชม การให้รางวลั
2. กฎแห่งความพร้อม การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดเม่ือผู้เรียนอยู่ในสภาพท่ีพร้อมจะเรียน
หรือพร้อมที่จะทากิจกรรม ความพร้อมในที่นี้รวมความถึงความพร้อมด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และ
อารมณ์
3. กฎแห่งการฝึกหดั ประกอบด้วยกฎท่สี าคัญ 2 ข้อ คอื

ก. กฎแห่งการใช้พฤติกรรมใดท่ีอินทรีย์ได้มีการกระทาอยู่เสมอหรือมีการฝึกฝนอยู่เป็น
ประจา ไม่ได้ท้ิงชว่ งไว้นาน อินทรยี ย์ ่อมเกิดทักษะและกระทาพฤตกิ รรมน้ันไดด้ ี

ข. กฎแห่งการไมใ่ ชพ้ ฤติกรรมใดก็ตามที่อินทรียท์ ิ้งช่วงไว้นานอินทรยี ์ยอ่ มจะเกิดการลืมหรือ
กระทาพฤตกิ รรมน้ันไมด่ ี

นอกจากน้ี พงษพ์ ันธุ์ พงษ์โสภา (2544, หนา้ 87) ยังได้กล่าวถงึ ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มของสกินเนอร์
ไว้ว่า มคี วามเชือ่ ในเร่ืองของการเสรมิ แรง พฤตกิ รรมใดกต็ ามถ้าได้รับ การเสริมแรงพฤติกรรมน้ันก็มี แนวโน้ม
ที่จะเกิดข้ึนซ้า ๆ สกินเนอร์ได้นาผลการทดลองมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนไว้หลายรูปแบบ เช่น
บทเรยี นโปรแกรม โดยยดึ หลักการเสริมแรงและลกั ษณะอืน่ ๆ ที่สาคัญ ประกอบดว้ ย

ก. ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีส่วนร่วมหรอื ลงมือกระทาด้วยตนเอง
ข. ให้มีความกา้ วหน้าไปทีละน้อย ๆ
ค. ใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ูผ้ ลการกระทาในทนั ที

8

วันชยั ไทยใหม่ (2539, หนา้ 19) ไดใ้ หค้ าแนะนาวา่ แบบฝึกควรสร้างโดยใชห้ ลกั จิตวิทยา ดงั นี้
1. เรา้ ใจใหน้ กั เรียนเกิดความสนใจโดยการใช้แบบฝกึ หลาย ๆ ชนิด
2. ใหน้ ักเรยี นมโี อกาสตอบสนองส่ิงเรา้ ดว้ ยการแสดงความสามารถและความเขา้ ใจลงในแบบฝึกหดั
3. ให้นกั เรยี นนาสงิ่ ทีเ่ รยี นมาตอบในแบบฝึกหดั ใหต้ รงเปา้ หมายได้
นอกจากน้ี กรรณิการ์ พวงเกษม (2540, หนา้ 7) ได้กล่าวถึงการสร้างแบบฝกึ หัดเพื่อใชฝ้ ึกทกั ษะอยา่ ง

มปี ระสิทธภิ าพนน้ั ต้องสร้างโดยคานึงถงึ หลกั ทางจติ วทิ ยา ดังน้ี
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ต้องคานึงอยู่เสมอว่านักเรียนแต่ละคนมี

ความรู้ ความถนัด ความสามารถ ความสนใจแตกต่างกัน ในการสร้างแบบฝึกหดั จึงควรพิจารณาให้เหมาะสม
ไม่งา่ ยเกินไปสาหรับเด็กท่ีเก่ง และไมแ่ ยกกลุ่ม ควรให้เด็กเกง่ คละกบั เด็กอ่อน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เก่งชว่ ยเหลือเดก็ อ่อน

2. การเรียนรู้โดยการฝึกฝน (Law of Exercise) ธอร์นไดด์ (Thorndike) ได้กล่าวว่า การเรียนรู้จะ
เกิดข้ึนได้ดีก็ต่อเม่ือได้มีการฝึกฝนหรือการกระทาซ้า ๆ ฉะนั้นในการสร้างแบบฝึกหัดจึงควรสร้างแบบฝึกหัด
เพือ่ ให้นักเรียนได้ฝึกฝนเร่อื งหนึ่ง ๆ ซ้า ๆ กนั หลายครั้ง โดยแบบฝกึ หดั มีลกั ษะหลายรปู แบบ เพื่อไมใ่ ห้นักเรียน
เกดิ ความเบ่อื หน่าย อนั จะสง่ ผลทาใหค้ วามสนใจในการฝึกลดลงและจะไมเ่ กิดการเรยี นร้เู ท่าที่ควร

3. กฎแห่งผล (Law of Effect) เมื่อนักเรียนได้เรียนไปแล้ว นักเรียนย่อมต้องการทราบผลการเรียน
ของตนเองว่าเป็นอย่างไร เม่ือให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดหรือให้ทางานใด ๆ จึงควรเฉลยหรือตรวจ เพ่ือให้
นกั เรยี นทราบผลโดยเรว็ หรอื สามารถตรวจคาตอบได้เอง เพอื่ จะได้รู้ขอ้ บกพรอ่ งของตนเอง

4. แรงจูงใจ (Motivation) เพ่ือให้เด็กอยากทาแบบฝึกหัดต่อไป แบบฝึกหัดควรเป็นแบบสั้น ๆ เพ่ือ
ไม่ให้นักเรียนเบ่ือหน่าย ควรมีแบบฝึกหัดหลายรูปแบบไม่ซ้าซาก เช่น อาจจัดแบบฝึกหัดในลักษณะของเกม
กจิ กรรมในสถานการณ์ทตี่ ่าง ๆ แปลกใหม่ น่าสนใจ และสนกุ สนานเหมาะสมกบั วัยและความต้องการของเดก็
2.1.4 หลกั กำรสร้ำงแบบฝกึ ทักษะ

ถวัลย์ มาศจรัส (2548, หน้า 148-149) ได้กล่าวถึงส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะไว้ว่า ต้องมี
จุดประสงค์ชัดเจนสอดคล้องกับการพัฒนาทักษะตามสาระการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มการ
เรียนรู้ ในส่วนของเน้ือหาต้องถูกต้องตามหลักวิชา ใหภ้ าษาเหมาะสม มีคาอธิบายและคาสั่งที่ชัดเจนง่ายต่อ
การปฏบิ ัตติ าม สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ นาผู้เรียนสูก่ ารสรุปความคดิ รวบยอดและหลกั การสาคัญของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามลาดับขั้นตอนการเรียนรู้ สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ และความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล มีคาถามและกจิ กรรมทที่ า้ ทายสง่ เสริมทักษะกระบวนการเรียนร้ขู องธรรมชาติวชิ ามกี ลยุทธ์การ
นาเสนอ และการต้ังคาถามท่ีชัดเจนน่าสนใจ ปฏิบตั ิได้ สามารถให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรงุ การเรียนรขู้ อง
ผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง

สมวงษ์ แปลงประสพโชค (2538, หน้า 26) ได้กล่าวถึงหลักการให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดไว้ดังน้ี
แบบฝึกหัดและกิจกรรมควรเรียงจากง่ายไปยากหาคาตอบของแบบฝึกหัดบางข้อเพื่อให้นักเรียนตรวจสอบ
ผลงาน และควรมีข้อแนะนาอธิบายสาหรับข้อที่ยาก ควรให้นักเรียนได้ทาแบบฝึกหัดในช่ัวโมงเรียน จะได้
จาแนกข้อยากและมีโอกาสซักถาม หลีกเลี่ยงการให้แบบฝึกหัด ที่ซ้าซากและกิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตร ควร
สอดแทรก เกม ปริศนา และกิจกรรมทดลองที่น่าสนใจ ควรมีแบบฝึกหัดแบบปลายเปิดทีน่ ักเรยี นเลือกปัญหา

9

ด้วยตนเอง ควรอนุญาตให้นักเรียนทางานเป็นคู่หรือกลุ่มในบางโอกาส พยายามส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่ม
และลดการลอกงานกัน

สมทรง สุวพานชิ (2539, หน้า 42) ได้เสนอถงึ วิธกี ารให้ทาแบบฝกึ หัดดังต่อไปน้ี การใหฝ้ กึ ปฏบิ ัตคิ วร
จะมาหลงั การสอน เมือ่ นกั เรยี นเข้าใจดแี ลว้ และควรให้ฝกึ ทุก ๆ ดา้ น โดยฝึกทาจากส่งิ ทงี่ ่ายไปหาสิ่งทยี่ าก ให้
ระยะเวลาสนั้ ๆ ในการฝกึ แตบ่ ่อยครัง้ จะดกี วา่ การฝึกตดิ ต่อกัน เป็นเวลานาน เน่ืองจากเดก็ แต่ละคนอาจจะใช้
วิธีการทาท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันครูต้องติดตามผลการฝึกอยู่เสมอ ควรให้งานตามความสามารถ ตามความ
เหมาะสมเป็นกลุ่ม ๆ ครูควรจัดให้เด็กเก่งศึกษาปัญหาทางคณิตศาสตร์ประเภทลับสมองเพื่อให้เขาได้พบสิ่ง
แปลกใหม่ เป็นการเร้าความสนใจ ไมค่ วรปล่อยให้ทาแบบฝกึ หัดมาก ๆ ทุกคร้ังไป ครูต้องสรา้ งทัศนคตทิ ี่ดีต่อ
การให้แบบฝึกหดั โดยให้เดก็ เห็นความสาคญั และใหใ้ ช้เป็นส่งิ แสดงความกา้ วหน้าของแต่ละคน ครูต้องแนะนา
อย่างใกล้ชิดหากมีผดิ พลาดครูควรแก้ไขเสียก่อนท่ีจะติดเป็นนิสัย ในการฝึกท่ีชัดเจน ครตู ้องดูแลและจัดการ
ฝึกให้เหมาะสมกับนักเรียนซ่งึ มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล และครูต้องสรรหากิจกรรมท่ี ใช้ฝึกให้มี
ความหลากหลายใหน้ ักเรียนได้ฝึก

ยพุ นิ พิพธิ กลุ (2539, หนา้ 13) ได้กลา่ วถึงข้อควรคานงึ ในการทาแบบฝกึ ว่า การฝึก จะให้ได้ผลดตี อ้ ง
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรจะฝึกไปทลี ะเรือ่ ง เม่อื จบบทเรียนหนึ่ง และเม่ือเรียนไดห้ ลายบท ก็
ควรจะฝึกรวบยอดอีกครั้ง ควรจะมีการตรวจสอบแบบฝึกแต่ละคร้ังที่ให้นักเรียนทาเพ่ือประมวลผลนักเรียน
คดั เลือกแบบฝึกที่สอดคล้องกับบทเรียนและพอเหมาะ ไม่มากเกนิ ไป คานึงถึงความยากง่าย และพึงตระหนัก
อยู่เสมอว่าก่อนที่จะให้นักเรียนทาโจทย์น้ันนักเรียนเข้าใจในวธิ ีการทาโจทย์นน้ั โดยถ่องแท้แล้ว อย่าปล่อยให้
นกั เรยี นทาโจทย์ตามตวั อยา่ ท่ีครูสอนโดยไมเ่ กิดความรเิ ริ่มสร้างสรรค์

จากหลักและวิธีการให้ทาแบบฝึกทักษะข้างต้น ผู้ศึกษาขอสรุปวิธีการให้ทาแบบฝึกทักษะที่ผู้ศึกษา
สรา้ งไว้ดังนี้ คอื ต้องกระตุ้นให้นักเรียนเหน็ ความสาคญั ของการฝกึ ทกั ษะ โดยใช้แบบฝึกทกั ษะใหผ้ เู้ รียนทาแบบ
ฝกึ ด้วยความตงั้ ใจท่ีจะพัฒนาตนเอง ทาดว้ ยความเขา้ ใจตามระดับความสามารถของตน กาหนดระยะเวลาสั้น
ๆ ในการฝึก แต่บ่อยคร้ัง ไม่ฝึกติดต่อกันเป็นเวลานานเพราะผู้เรียนอาจเกิดความเบ่ือหน่ายและเมื่อยลา้ ได้ มี
การอธิบายสาหรับขอ้ ทย่ี าก รวมทั้งการให้ฝึกปฏบิ ัติควรจะมาหลงั การสอน เมอื่ นกั เรียนเขา้ ใจดแี ลว้ โดยฝกึ ทา
จากส่ิงทีง่ ่ายไปหาสิ่งทย่ี าก อีกท้งั ครูต้องแนะนาอยา่ งใกล้ชิด เพราะถ้าพบข้อผิดพลาดแล้วครจู ะไดแ้ กไ้ ขก่อนท่ี
จะติดเป็นนิสัย ในการฝึก และแจ้งให้นักเรียนทราบว่าแบบฝึกทักษะจะเป็นการแสดงถึงความก้าวหน้าของ
นกั เรยี น เพอื่ ครจู ะใช้เปน็ แนวทางในการช่วยเหลอื ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพต่อไป

สาหรับแบบฝึกทักษะท่ีผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีหลักในการสร้างดังน้ี ในส่วนของจุดประสงค์ ผู้ศึกษา
ต้องการท่ีจะพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองเศษส่วน ในส่วนของเนื้อหาได้เลือกเน้ือหาที่เหมาะสมกับ
ระดบั พื้นฐานความสามารถของนักเรียน โดยเรยี งลาดับจากง่ายไปยาก ภาษาที่ใช้เปน็ ภาษาท่ีเหมาะสมกบั วัย
และความสามารถในการอ่านและการทาความเข้าใจของนักเรยี น เน้ือหาทจ่ี ัดให้เป็นไปตามขัน้ ตอนการเรียนรู้
ตามหลักวิชาคณิตศาสตร์ รวมท้ังมีคาเฉลยไว้ท้ายแบบฝึกทักษะเพ่ือให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องด้วย
ตนเอง

10

2.1.5 ประโยชนข์ องแบบฝกึ
แบบฝึกเป็นส่ือการเรียนการสอนทีม่ ีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้เรยี นที่จะช่วยให้ผเู้ รียนได้ฝึกทักษะต่าง ๆ

ใหม้ คี วามรมู้ ากขึ้นได้ฝึกดว้ ยตนเอง เกิดความมั่นใจทีจ่ ะเรยี นรู้ ดงั ท่ี สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษา
แหง่ ชาติ (2535, หนา้ 173 - 175) กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึก ทเี่ กีย่ วกบั ทกั ษะคณิตศาสตร์ไว้ สรปุ คอื เป็น
ส่วนเพม่ิ หรอื เสริมหนงั สือเรียนในการเรียนทักษะเปน็ อุปกรณก์ ารสอนที่ชว่ ยลดภาระของครไู ด้มาก เพราะแบบ
ฝึกเป็นสิง่ ทจ่ี ัดขน้ึ อย่างเป็นระบบระเบียบ ช่วยในเร่ืองของความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล การใหน้ ักเรยี นทาแบบ
ฝึกท่ีเหมาะสมกับความสามารถของเขาจะช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จในด้านจิตใจมากข้ึน ช่วยเสริมให้
ทักษะคงทนโดยการฝึกทันทีหลังจากเด็กไดเ้ รียนรูเ้ รื่องน้ันๆ ฝึกซ้า ๆ หลายคร้ัง เนน้ เฉพาะเรื่องท่ีต้องการ ใช้
เป็นเครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากจบบทเรียนในแต่ละคร้ัง ขณะเม่ือเด็กทาแบบฝึกจะช่วยให้ครูมองเห็น
จดุ เดน่ หรือปญั หาต่าง ๆ ของเด็กได้ชดั เจน ซ่ึงจะช่วยใหค้ รดู าเนนิ การปรบั ปรุงแกไ้ ขปัญหานัน้ ไดท้ นั ท่วงที สว่ น
การจัดแบบฝกึ เปน็ รูปเล่มจะทาให้เด็กสามารถเก็บรกั ษาไว้ใช้เป็นแนวทางเพื่อทบทวนด้วยตนเองไดต้ ่อ รวมทั้ง
ช่วยให้เดก็ ได้ฝึกฝนตนเองได้อย่างเต็มที่ ช่วยใหค้ รปู ระหยดั ท้งั แรงงานและเวลาในการท่จี ะต้องเตรยี มแบบฝึก
อยู่เสมอในดา้ นผเู้ รยี นกไ็ ม่ตอ้ งเสียเวลาลอกแบบฝึกจากตาราเรยี นทาให้มโี อกาสฝกึ ฝนทักษะต่างๆ มากข้ึน

ประทีป แสงเป่ียมสุข (2538, หน้า 34) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้เช่นกันคือแบบฝึกเป็น
อปุ กรณ์ชว่ ยลดภาระของครู ช่วยให้ครูมองเห็นปญั หาตา่ ง ๆ ของนักเรียนไดช้ ดั เจน ชว่ ยให้นักเรียนไดฝ้ ึกทักษะ
ในการใช้ภาษาให้ดีขึ้น ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในทางจิตใจ
มากข้ึน ช่วยเสริมทักษะทางภาษาให้คงทน เป็นเครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากเรียนบทเรียนแล้ว ช่วยให้
นกั เรียนสามารถทบทวนได้ด้วยตนเอง ช่วยให้นักเรียนฝึกฝนได้เต็มท่ี นอกเหนือจากที่เรียนในเวลาเรียนและ
ชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเหน็ ความก้าวหน้าของตนเองดว้ ย

ฉวีวรรณ กีรติกร (2538, หนา้ 10) กล่าวว่า การส่งเสริมและพัฒนาทักษะโดยใช้ แบบฝึกทกั ษะจะ
ส่งผลถึงพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนคือ ช่วยในการปรับพฤติกรรมการเรียน ส่งเสริมความเข้าใจความ
ชานาญ การคดิ ในใจ และแกป้ ัญหาด้วยตนเองไดเ้ รว็ ถูกต้องและแมน่ ยา
กรรณกิ าร์ พวงเกษม (2540, หนา้ 7) ได้กล่าวถึงประโยชนข์ องแบบฝึกที่มีตอ่ การเรียนรู้ คือ

1. เป็นส่วนเพิ่มหรอื เสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปน็ อุปกรณ์การสอนที่ช่วยลดภาระของครู
ไดม้ าก เพราะแบบฝกึ หดั เป็นส่งิ ทจ่ี ัดทาอยา่ งเปน็ ระบบระเบยี บ

2. ช่วยเสริมทักษะทางการใช้ภาษา แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เด็กฝึกทักษะ การใช้ภาษาได้ดีข้ึน
แต่ต้องอาศัยการสง่ เสรมิ และเอาใจใส่จากครูผู้สอนดว้ ย

3. ชว่ ยในเรอ่ื งความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เนอ่ื งจากเด็กมีความสามารถทางภาษาแตกต่างกัน การให้
เดก็ ทาแบบฝึกทีเ่ หมาะสมกับความสามารถจะช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จ ในดา้ นจติ ใจมากขึน้

4. แบบฝึกชว่ ยเสริมให้ทกั ษะทางภาษาคงทนโดยกระทา ดงั นี้
4.1 ฝึกทนั ทีหลงั จากที่เดก็ ได้เรยี นรู้สงิ่ น้นั ๆ
4.2 ฝกึ ซา้ หลาย ๆ คร้ัง

11

4.3 เน้นเฉพาะเร่ืองที่ต้องการฝึก
5. แบบฝกึ ที่ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือวัดผลการเรยี นร้หู ลงั จากจบบทเรียนในแตล่ ะครง้ั
6. แบบฝึกที่จัดทาขึน้ เป็นรปู เลม่ เด็กสามารถเก็บรกั ษาไว้เพื่อเป็นแนวทางและทบทวนด้วยตนเองได้
ตอ่ ไป
7. การให้เด็กทาแบบฝึก ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่น หรือปัญหาต่าง ๆ ของเดก็ ได้ชัดเจน ซ่ึงจะช่วยให้
ครูดาเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ขปญั หานน้ั ๆ ได้ทนั ทว่ งที
8. แบบฝกึ ทจี่ ัดทาขึ้นนอกเหนือจากทีม่ อี ยู่ในหนงั สือจะชว่ ยให้เด็กได้ฝึกฝนอยา่ งเตม็ ที่
9. แบบฝึกท่ีจัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยจะช่วยให้ครูประหยัดทั้งแรงงานและเวลาในการท่ีจะต้องจัดเตรียม
สร้างแบบฝึกอยู่เสมอ ในด้านผู้เรียนก็ไม่ต้องเสียเวลาออกแบบฝึกจากตาราเรียน ทาให้มีโอกาสฝึกฝนทักษะ
ต่าง ๆ ได้มากข้ึน
10. แบบฝึกช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะการจัดพิมพ์ขึ้นเป็นรูปเล่มแน่นอนต้องลงทุนต่ากว่าท่ีจะ
พิมพ์ลงกระดาษไขทกุ ครงั้ และผู้เรยี นสามารถบันทึกและมองเหน็ ความกา้ วหนา้ ของตนเองไดอ้ ยา่ งมีระเบียบ
ยุพา ยิ้มพงษ์ (อ้างใน สุนันทา สุนทรประเสริฐ, 2544, หน้า 3) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้
หลายข้อด้วยกัน ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. เป็นส่วนเพ่ิมเติมหรือเสริมหนังสือเรยี นในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การสอนท่ีช่วยลดภาระครู
ได้มาก เพราะแบบฝึกเปน็ ส่ิงทีจ่ ัดทาข้ึนอยา่ งเป็นระบบและมีระเบยี บ
2. ช่วยเสริมทกั ษะแบบฝึกหัดเป็นเคร่อื งมือทช่ี ว่ ยเด็กในการฝกึ ทักษะ แตท่ ัง้ นจี้ ะต้องอาศยั การสง่ เสริม
และความเอาใจใส่จากครผู ูส้ อนดว้ ย
3. ชว่ ยในเร่ืองความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เน่ืองจากเดก็ มีความสามารถทางภาษาแตกตา่ งกัน การให้
เด็กทาแบบฝึกหัดที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา จะช่วยให้เด็กประสบผลสาเร็จในด้านจิตใจมากข้ึน
ดงั นั้นแบบฝึกหัดจงึ ไม่ใช่สมุดฝึกที่ครูจะให้เด็กลงมือทาหน้าต่อหน้า แต่เปน็ แหล่งประสบการณ์เฉพาะสาหรับ
เด็กท่ีตอ้ งการความชว่ ยเหลอื พิเศษ และเป็นเคร่ืองมือช่วยที่มีค่าของครูท่ีจะสนองความต้องการเป็นรายบุคคล
ในช้ันเรยี น
4.แบบฝึกช่วยเสริมทักษะให้คงทน ลักษณะการฝึกเพ่ือช่วยให้เกิดผลดังกล่าวน้ัน ได้แก่ ฝึกทันที
หลงั จากที่เด็กไดเ้ รียนรใู้ นเร่ืองนนั้ ๆ ฝกึ ซา้ หลาย ๆ ครั้ง เนน้ เฉพาะในเร่ืองท่ีผิด
โดยสรปุ แบบฝึกทีด่ ีและมปี ระสิทธิภาพ จะชว่ ยทาใหน้ ักเรียนประสบผลสาเร็จใน การฝึกทักษะไดเ้ ป็น
อย่างดี แบบฝึกที่ดีเปรียบเสมือนผู้ช่วยท่ีดีของครู ทาให้ครูลดภาระการสอนลงทาให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตนเองได้อย่างเต็มทแ่ี ละเพิ่มความม่ันใจในการเรียนได้เป็นอย่างดี อกี ทั้งแบบฝึกจะช่วยในเรอ่ื งของความ
แตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะเด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้นั้น จาเป็นต้องมีการสอนตา่ งจากกลมุ่ เด็กปกติ
ทัว่ ไป หรือเสรมิ เพม่ิ เติมให้เป็นพเิ ศษ ฉะน้ันแบบฝึกจึงมปี ระโยชน์มากสาหรับเด็กที่มีปัญหาในการเรยี นรทู้ ่ีจะ
ชว่ ยใหเ้ ดก็ ได้ฝึกปฏบิ ตั ิเพ่อื ให้เกดิ ทกั ษะทางภาษาไดม้ ากข้นึ

12

2.1.6 ประสิทธภิ ำพของแบบฝึกทกั ษะ
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2532, หน้า 494) ได้กล่าวถงึ ความจาเป็นทจ่ี ะต้องทดสอบประสิทธิภาพของชุด

การสอนหรอื แบบฝึกอยหู่ ลายประการ คือ
1. สาหรับหน่วยงานผลิตแบบฝึก เป็นการประกันคุณภาพของแบบฝึกว่าอยู่ในข้ันสูงเหมาะสมท่ีจะ

ผลิตออกมาจานวนมาก หากไม่มีการทดสอบประสิทธิภาพเสียก่อนแล้ว ผลิตออกมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ดี ก็
จะตอ้ งทาใหม่ เป็นการสน้ิ เปลอื งเวลาและเงนิ ทอง

2. สาหรับผู้ใช้แบบฝึก แบบฝึกจะทาหน้าที่สอน โดยท่ีช่วยสร้างสภาพการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเปลี่ยน
พฤติกรรมตามท่ีมุ่งหมาย ดังน้ันก่อนนาแบบฝกึ มาใช้จึงควรมั่นใจว่าแบบฝึกนนั้ มีประสิทธิภาพในการช่วยให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้จริง การทดสอบประสิทธิภาพตามลาดับขั้น จะช่วยให้มีคุณค่าทางการสอนจริงตาม
เกณฑท์ ี่กาหนดไว้

3. สาหรับผู้ผลิตแบบฝึก การทดสอบประสิทธภิ าพจะทาให้ผผู้ ลติ ม่ันใจได้ว่าเนื้อหาสาระท่บี รรจุลงใน
ชดุ แบบฝึกง่ายตอ่ การเขา้ ใจ อันจะช่วยให้ผ้ผู ลติ มคี วามชานาญสงู ขน้ึ

การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพทาได้โดยการประเมินพฤติกรรมต่อเน่ือง (กระบวนการ) และ
พฤติกรรมขั้นสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพ E1 เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการและ E2
เป็นประสิทธิภาพของผลลัพธ์ กาหนดเป็นเกณฑ์ท่ีผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงพอใจ
โดยกาหนดให้เป็นเปอร์เซ็นต์ของผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนทั้งหมด น่ันคือใช้เกณฑ์ในเนื้อหาเป็น
ทกั ษะไว้ 80/80
ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2532, หนา้ 495) เสนอวิธคี านวณหาประสทิ ธภิ าพ โดยใชว้ ิธี การคานวณดงั น้ี

E1 ไดจ้ ากการนาคะแนนงานทุกช้นิ ของนักเรียนแต่ละคนรวมกนั แลว้ หาคา่ เฉล่ียเทยี บเป็นร้อยละ
E2 ไดจ้ ากการนาคะแนนผลการสอบหลงั การทดลองของนักเรยี นทัง้ หมดรวมกนั แล้วหาคา่ เฉลี่ยเทียบ
เป็นรอ้ ยละ
การคานวณประสิทธิภาพของแบบฝึกกระทาโดยใช้สตู รตอ่ ไปนี้

E1 = x 100
E2 = x 100
E1 แทน ประสทิ ธิภาพของกระบวนการคดิ เปน็ รอ้ ยละจากการตอบแบบฝึกหดั

ของชดุ การฝกึ ได้ถูกต้อง
E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์คดิ เป็นรอ้ ยละจากการทาแบบทดสอบ

หลงั การฝึกแต่ละชดุ ไดถ้ กู ตอ้ ง
X แทน คะแนนรวมของผู้เรียนจากแบบฝกึ หดั
Y แทน คะแนนรวมของการทดสอบหลังจากฝกึ
N แทน จานวนของผเู้ รยี น
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ
B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังการฝึก

13

การกาหนดเกณฑป์ ระสิทธภิ าพของแบบฝกึ และการยอมรบั ประสทิ ธภิ าพของแบบฝึก
มีผใู้ หเ้ กณฑ์ดงั นี้

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2532, หน้า 495) กล่าวว่า การกาหนดเกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเท่าใดน้ันควร
พิจารณาตามความเหมาะสม โดยปกติเนื้อหาที่เป็นความรู้ความจา มักจะต้ังไว้ 80/80, 85/85 หรือ 90/90
ส่วนเน้ือหาท่ีเป็นทักษะอาจต้ังไว้ ต่ากว่านี้ เช่น 75/75 เป็นต้น เม่ือกาหนดเกณฑ์แล้วนาไปทดลองจริง อาจ
ได้ผลไม่ตรงตามเกณฑ์ แต่ไมค่ วรต่ากวา่ เกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ร้อยละ 5 เช่น ถา้ กาหนดไว้ 90/90 ก็ควรไดไ้ ม่ต่า
กวา่ 85.5/85.5

ข้ันตอนการทดสอบประสิทธิภาพ เมื่อผลิตแบบฝึกเพ่ือเป็นต้นแบบแล้ว ต้องนา แบบฝึกไปทดสอบ
ประสิทธภิ าพตามขั้นตอนต่อไปน้ี ชัยยงศ์ พรหมวงศ์ (2532, หน้า 496-497)

1. ขั้นหาประสิทธิภาพ 1:1 แบบเดยี่ ว (Individual Tryout 1:1)
เป็นการทดลองกับผเู้ รียนกลุ่มละ 1 คน โดยใช้เด็กเก่ง ปานกลาง อ่อน เพื่อค้นหาข้อบกพร่องต่าง ๆ
เช่น ลกั ษณะของแบบฝึก จานวนแบบฝึก ความสนใจของนักเรียนและ ความเหมาะสมในด้านเวลา เสร็จแล้ว
ปรบั ปรงุ ให้ดขี นึ้
2. ขั้นหาประสิทธภิ าพ 1:10 แบบกลุม่ (Small group Tryout 1:10)
เป็นการทดลองกับผู้เรียนกลุ่มละ 6-10 คน (คละผู้เรียนเก่งกับอ่อน) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ
สังเกต ตรวจผลงาน สัมภาษณ์ เพ่ือคน้ หาข้อบกพร่องแล้วนาไปปรับปรุงแกไ้ ขให้ผ้เู ชยี่ วชาญตรวจและปรบั ปรุง
จนได้ตามเกณฑ์
3. ข้นั หาประสิทธภิ าพ 1:100 แบบสนาม (Field Tryout 1:100)
เป็นการทดลองกับผู้เรียนกลุ่ม 40 - 100 คน ให้นักเรียนคละกันทั้งเก่งและอ่อน คานวณหา
ประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ ผลลัพธท์ ไ่ี ดค้ วรใกล้เคยี งกับที่ต้ังจากเกณฑพ์ จิ ารณาประสทิ ธิภาพดงั กล่าว
ตอนที่ 2.2 รปู แบบกำรสอนทักษะปฏิบัตขิ อง Harrow
รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของ Harrow (1972) เป็นรูปแบบท่ีเน้นการสอนทักษะปฏิบัติ เหมาะ
สาหรับนาไปจดั กิจกรรมการสอนในเดก็ ระดบั ชั้นประถมศึกษาตอนปลายไปจนถึงระดับอดุ มศึกษา และรปู แบบ
การสอนทักษะปฏิบัตินี้ มีประโยชน์ สามารถนามาใช้ในการประเมินความสาเร็จในการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับ
ความคิด ผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมในการทางานได้ นอกจากน้ีการจัดกจิ กรรมตามแนวคิดดังกล่าวยัง
เหมาะสาหรบั การนาไปใช้ในวิชาพลศกึ ษา ศิลปศึกษา และการสอนเด็กพิเศษดว้ ย แนวคิดน้ีจงึ มีความหมายต่อ
การกาหนดประสบการณ์ การเรยี นรเู้ พือ่ เนน้ ให้เกดิ พฤติกรรมทีต่ อ้ งการพฒั นาเด็กในแต่ละวยั
ซ่ึงแฮร์โรว์ (Harrow. 1972: 96-99) ได้จัดลาดับข้ันของการเรียนรู้ทางด้านทักษะปฏิบัติโดยเร่ิมจาก
ระดับท่ซี บั ซ้อนนอ้ ยไปจนถงึ ระดบั ทมี่ คี วามซับซอ้ นมาก ซงึ่ กระบวนการเรียนการสอนของรปู แบบมีทัง้ หมด
5 ขัน้ ดังนี้

14

2.2.1 ระเบียบวธิ ีกำรสอน(Methodology)
1. ข้ันการเลียนแบบ เป็นขั้นท่ีให้ผู้เรียนสังเกตการกระทาท่ีต้องการให้ผู้เรียนทาได้ซ่ึงผู้เรียนย่อมจะ

รบั รู้หรือสังเกตเห็นรายละเอียดต่าง ๆ ได้ไม่ครบถ้วน แต่อย่างน้อยผู้เรียนจะสามารถบอกได้วา่ ข้ันตอนหลัก
ของการกระทาน้ัน ๆ มอี ะไรบา้ ง

2. ขั้นการลงมือกระทาตามคาสงั่ เมือ่ ผเู้ รียนได้เหน็ และสามารถบอกข้นั ตอนของการกระทาทตี่ อ้ งการ
เรียนรู้แล้ว ให้ผู้เรียนลงมือทาโดยไม่มีแบบอย่างให้เห็น ผู้เรียนอาจลงมือทาตามคาสั่งของผู้สอน หรือทาตาม
คาสงั่ ทผ่ี สู้ อนเขยี นไว้ในคู่มือก็ได้ การลงมอื ปฏิบตั ติ ามคาสง่ั น้ี แม้ผู้เรยี นจะยังไม่สามารถทาไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ แต่
อย่างน้อยผู้เรียนก็ได้ประสบการณ์ในการลงมือทาและค้นพบปัญหาต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้ และการ
ปรบั การกระทาให้ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ข้ึน

3. ข้ันการกระทาอย่างถูกต้องสมบรู ณ์ (Precision) ขัน้ น้ีเปน็ ขัน้ ท่ีผู้เรยี นจะตอ้ งฝกึ ฝนจนสามารถทา
สิ่งนนั้ ๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งสมบูรณ์ โดยไม่จาเป็นต้องมีแบบอยา่ งหรือมีคาสงั่ นาทางการกระทา การกระทาที่
ถูกตอ้ งแม่นยาตรง พอดี สมบรู ณแ์ บบ เปน็ ส่งิ ท่ผี ู้เรียนจะตอ้ งสามารถทาได้ในขั้นนี้

4. ขั้นการแสดงออก (Articulation) ขน้ั นี้เป็นข้ันที่ผู้เรียนมโี อกาสได้ฝึกฝนมากขึ้น จนกระทง่ั สามารถ
กระทาสง่ิ นน้ั ได้ถกู ตอ้ งสมบูรณแ์ บบอยา่ งคล่องแคล่ว รวดเรว็ ราบร่นื และดว้ ยความม่นั ใจ

5. ขนั้ การกระทาอย่างเปน็ ธรรมชาติ (Naturalization) ขั้นนเ้ี ปน็ ข้ันท่ผี ู้เรียนสามารถกระทาสิ่งนัน้ ๆ
อย่างสบาย เป็นไปอยา่ งอัตโนมัติ โดยไมร่ สู้ กึ วา่ ต้องใชค้ วามพยายามเปน็ พเิ ศษ ซ่งึ ต้องอาศยั การปฏบิ ตั ิบ่อย ๆ
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย
ตอนที่ 2.3 เอกสำรท่ีเกย่ี วข้องกำรวำดเสน้
2.3.1 ควำมหมำยของกำรวำดเสน้

วาด หมายถึง เขียนหรือลาก หรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพ
ทิวทัศน์ เขียนเป็นลายเส้น ส่วนวาดเขียน หมายถึง วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่างๆ (ราชบัณฑิตยสถาน ,
2539)

วาดเส้น เป็นวิธีการและกลวิธีขั้นพ้ืนฐานในการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ทุกสาขา เป็นการเริ่มต้นของ
การถ่ายทอดความคิด การจินตนาการ การศึกษารายละเอียด และฝึกฝนทักษะ การวาดภาพ เพ่ือให้มีความ
แม่นยาชานาญในการนาไปใช้สร้างงานอ่ืน ๆ การวาดเส้นจึงเป็นท้ังทฤษฎีและการปฏิบัติที่สาคัญอย่างยิ่งใน
งานศลิ ปกรรม วธิ ีการวาดเส้นมหี ลายแบบและหลายวิธี ส่วนมากวาดเปน็ ลายเส้นบนพ้ืนทเ่ี ป็นแผน่ ได้แก่ แผ่น
หนัง กระดาษ โลหะ หรือบนวัตถุส่ิงของเครื่องใช้ ภาชนะต่าง ๆ ผลงานวาดเส้นจึงรวมถึงลายเส้นของงาน
ประติมากรรมลายเส้นท่ีปรากฏบนวัตถุส่ิงของเคร่ืองใช้ ภาชนะ มีหลายลักษณะ หลายวิธีการ เช่น ลายสลัก
ภาพสลักลายเสน้ บนแผน่ หิน แผน่ โลหะ ภาพวาดเส้นระบายสีบนภาชนะกรีซและโรมัน เปน็ ต้น
(กาจร สนุ พงษศ์ รี, 2555)

การวาดเส้นในความหมายทางวิชาการเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดในกระบวนการสร้างสรรค์ ในการ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานทกุ แขนงจะตอ้ งใช้กรรมวธิ ีการวาดเส้นเป็นขัน้ ตอนแรกในการถ่ายทอดสิง่ ที่อยใู่ นความคิดให้
เป็นรูปธรรมก่อนท่ีพัฒนาไปสู่การนาเสนอในสาขาต่าง ๆ ของตน ตัวอย่างเช่น จิตรกรต้องร่างความคิดของ

15

ตนเองอย่างคร่าว ๆ ก่อนท่ีจะลงมือเขียนด้วยสี ประติมากรต้องจัดสรรรูปทรง ปริมาตรท่ีว่างให้ลงตัวด้วย
วิธกี ารร่างภาพ ก่อนทีจ่ ะลงมอื ปั้นดว้ ยดนิ (อนนั ต์ ประภาโส,2553)

การวาดเส้นหรือวาดเขียน เปน็ การลากเส้นบนพ้ืนระนาบของรูปร่างหรือรูปทรงต่าง ๆ ซึ่งอาจมีการ
ระบายสีในข้ันต่อไป หรืออาจเป็นการแรเงาด้วยแสงและเงาด้วยวิธีแรเส้นเงา (Hatching) หรือด้วยการใช้สี
หมึกระบาย การวาดเส้น เป็นกลวิธพี ้ืนฐาน และเป็นผลงานแบบวจิ ิตรศิลป์ และยงั เป็นขั้นตอนแรกของการทา
งานประเภทจิตรกรรม กลวิธีในการวาดเส้นมีหลายวิธีมีลักษณะ ท่ีเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของศิลปิน ได้แก่
การวาดเส้นด้วยดินสอบนพ้ืนเรียบเนียนจะให้เส้นท่ีเรียบต่อเน่ือง ชัดเจน ถ้าวาดเส้นบนพ้ืนผิวหยาบ ขรุขระ
จะให้เส้นเว้า ๆ แหว่ง ๆ การใช้หมึกหรือสีน้า ด้วยพู่กัน ความอ่อนแก่ของหมึกหรือสีน้าจะแสดงความต้ืนลึก
แทนการใช้เส้นแรเงา (ไมเยอร์, 2540)

กล่าวโดยสรุป การวาดเส้น หมายถงึ การลากเส้นบนพ้ืนระนาบของรปู ร่างหรอื รูปทรงต่าง ๆ ซ่งึ เป็น
ทกั ษะข้ันพื้นฐานและเปน็ งานข้ันเร่ิมต้นท่ีจะพัฒนาไปสู่กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะทั้งในงานวิจิตรศิลป์
และประยุกต์ศิลป์ การวาดเส้นนอกจากมีวตั ถุประสงค์เพอ่ื การถ่ายทอดเนือ้ หา เรอ่ื งราว รูปร่าง รปู ทรงของส่ิง
ท่มี องเห็น รบั รู้ ความคิดและจนิ ตนาการแล้ว การวาดเสน้ ยังมีการสร้างสรรคร์ ปู แบบ กลวธิ แี ละความคดิ แปลก
ใหมม่ าอยา่ งต่อเน่ืองตัง้ แต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั
2.3.2 กำรรับรดู้ ้ำนสุนทรียศำสตร์ในกำรวำดเสน้

คาว่าการเขียน (Drawing) มีการแสดงออกท่ีแตกต่างออกไปตามแต่บุคคลเช่ือในนยิ ามของการเขียน
ภาพน้ัน ซึ่งการแสดงออกน้ันมคี วามหลากหลาย เกิดได้จากประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และจิตใต้สานึกของ
บคุ คลนั้น ๆ ซ่งึ เกรยอง ชอล์ก หมึก พู่กัน ฯลฯ หรือเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้นมากมายบนโลกใบน้ีนามากระทาบน
ระนาบ หรือสิ่งท่ีเป็นสามมิติก็ตาม แต่อย่างไรก็ดี ในปจั จุบันมีการสร้างสรรค์มากมายท่ีไม่ใช่แค่การเขยี นเส้น
ดว้ ยดินสอลงในกระดาษเพียงวธิ ีการเดียว ผู้เขียนภาพมีอิสระทางความคิด มีเสรีภาพในการสร้างผลงานมาก
ขนึ้ ท้งั เรื่องราวและรูปแบบ ซึ่งมกี ารเปลย่ี นแปลงตามสภาพแวดล้อมและกาลเวลา การเหน็ มคี วามสาคญั มาก
ในการเขียนภาพมีผลในแง่ของการรับรู้ ในแต่ละคนอาจมีการเห็นท่ีแตกต่างกันซ่ึงเกิดจากจิตใต้สานึก การ
ฝึกฝน รสนิยม และสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน จนมีอิทธิพลในการถ่ายทอดผลงานผ่านทางประสาทสัมผัส
ทางตามาถึงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ที่สามารถกระทาให้เกิดผลงาน ผสมกับการแสดงออกด้วยจิตนาการ
ท้ังนี้มนุษย์สามารถฝกึ ฝนในการมองเห็นได้ ในการเขยี นภาพไดจ้ าแนกชนิดของการเหน็ ตามวิธีการสังเกตเชิง
สนุ ทรียภาพ ดังนี้ (สมศริ ิ อรโุ ณทยั , 2559)

1. เหน็ เพราะรปู และพน้ื (Figure and ground) เหน็ ดว้ ยการจาแนกมวลรปู ทรงและพ้ืนภาพออกจาก
กนั

2. เห็นเพราะทิศทางแสงสว่าง (Lighting direction) การหาทิศทางของแสงสว่าง การมองเห็น
โครงสรา้ งรปู ดว้ ยแสงและเงา

3. เห็นเพราะหลกั ทัศนียภาพ (Perspective) เป็นการเห็นทีม่ ีแบบแผน ด้วยการหาจุดรวมสายตาเพื่อ
ดึงเสน้ จดุ มาเป็นโครงรปู ภาพ เปน็ การเหน็ ท่ีใชใ้ นการเขยี นแบบ

16

4. เห็นเพราะการจาแนกของสนามภาพ (Classify visual field) สนามภาพเป็นพ้ืนท่ีท่ีถูกกาหนด
ขอบเขตจากเสน้ รอบภาพเปน็ การเห็นทจี่ าแนกพนื้ ทต่ี ่าง ๆ ไว้เป็นส่วน ๆ

5. เห็นเพราะมวลของรูปร่างท่ีเกิดจากากรก่อตัวของเส้น (The shape of masses by following
the formative lines) การจับทิศทาง องศา ลักษณะ เส้นของรูปร่างท่ีเห็นงานจิตรกรรมประติมากรรม
สถาปตั ยกรรม ภาพพิมพแ์ ละงานออกแบบประยกุ ต์ศิลปป์ ระเภทตา่ ง ๆ เป็นตน้
2.3.3 กำรวำดเสน้ โดยใชท้ กั ษะแสงและเงำ

แสงและเงา เมื่อส่องกระทบกับวัตถุจะเกิดเป็นค่าน้าหนักท่ีวัตถุ แสงละเงาเป็นสิ่งสาคัญท่ีทาให้ภาพ
เกิดความกลมกลืน หรือตน้ื ลึกเหมอื นจริงอย่างที่ตาเห็น ท้ังยังทาให้เกิดรูปทรงและความสมบรูณข์ องภาพ ใน
การสร้างสรรคง์ านวาดเส้นจาเปน็ ตอ้ งคานงึ ถงึ เร่อื งแสงเงาเพื่อเป็นตวั กลาง ช่วยให้มองเห็นรปู ไดช้ ดั เจนขน้ึ และ
ทาใหเ้ กิดภาพในลักษณะสามมิติ ไดด้ ้วยแสงเงาท่จี ะช่วยบอกตาแหนง่ ระยะใกลไ้ กลและสรา้ งบรรยากาศให้เกิด
ข้ึนกบั ภาพทีว่ าดจากการให้คา่ น้าหนกั ของแสงและเงาที่เกิดบนวตั ถุ (จิระพฒั น์ พิตรปรีชา, 2545)

การแรเงา คอื การสร้างรอยดินสอ ปากกาหรืออื่น ๆ ดว้ ยการควบคมุ น้าหนกั ผ่อนหนกั เบาในการ ขีด
เขียน เกลี่ย ปาด ทับ ไขว้ และใช้รอยเหล่านี้สร้างน้าหนักให้เกิดลักษณะผิวของธรรมชาติหรือหุ่นท่ีใช้ในการ
เขียน การแรเงาจึงเป็นการสร้างความเข้มด้วยระยะตา่ ง ๆ ในรปู ทรงของงานช้นิ หน่ึง ๆ เม่ือใช้ตามลักษณะแสง
เงาจะทาให้เกิดมิติของมวลสารและระยะ หรือปริมาณมาตรของรูปทรง น้าหนักท่ีไล่เรียงจากอ่อนไปหาแก่
อย่างสม่าเสมอน้ีเรียกว่า ค่า (Value) ของสีหรือน้าหนักที่ระบายเปน็ ระยะออ่ น กลาง แก่ค่าของระยะอ่อนแก่
เหล่านนี้ ิยมเรยี กกันว่า น้าหนกั

การแรเงานา้ หนกั จึงเป็นการสรา้ งเงาในภาพ ใหด้ ูมีความลกึ มีระยะใกล้ไกลและดูมีปรมิ าตร เปลี่ยนค่า
ของรูปร่างท่ีมีเพียง 2 มิติให้เป็น 3 มิตทิ าให้รูปร่างท่ีมีเพยี งความกว้าง-ยาวเปล่ียนคา่ เป็นรูปทรงมคี วามตื้นลึก
หนา บางเกิดข้นึ ความตื้นลึกหนาบางนี่เป็นความรูส้ ึกเท่าน้ัน และการทาใหเ้ กิดภาพเช่นนี้กค็ ือ เทคนิคในการ
สร้างภาพลวงตา (Illusion) เปน็ วิธกี ารสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะอย่างหนึง่ (สุชาติ เถาทอง, 2536)
ความสาคัญของคา่ นา้ หนกั และการแรเงา ไดแ้ ก่

1. ให้ความแตกต่างระหว่างรปู และพน้ื หรอื รปู ทรงกบั ที่วา่ ง
2. ใหค้ วามรสู้ ึกเคลอื่ นไหว
3. ให้ความรู้สกึ เปน็ 2 มิติ แก่รปู รา่ ง และความเป็น 3 มิตแิ กร่ ปู ทรง
4. ทาใหเ้ กดิ ระยะความตื้น - ลึก และระยะใกล้ - ไกลของภาพ
5. ทาให้เกดิ ความกลมกลนื ประสานกันของภาพ
2.3.4 หนำ้ ท่ีของน้ำหนกั ในกำรวำดเสน้ มีดังน้ี (อัศนยี ์ ชูอรุณ, 2543)
1. ให้ความแตกตา่ งระหว่างรูปทรงกับพ้ืนที่ หรอื รูปทรงกับที่ว่าง
2. ให้ความรู้สึกเคล่ือนไหวต่อการน าสายตาผู้ดูบริเวณท่ีน้าหนักตดั กันจะดึงดดู ความสนใจ ถ้าตัดกัน
หลายแห่งจะนาสายตาให้เคล่ือนท่ีจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง ทั้งน้ีจะเป็นไปตามจังหวะท่ี ผู้เขียน
กาหนดไว้น่ันเอง ซ่งึ อาจกลมกลืนหรือตดั กันอยา่ งรุนแรง
3. ให้ความเป็น 2 มติ ิ หรอื 3 มิติแกร่ ปู ทรง

17

4. ให้ความร้สู ึกในภาพ ดว้ ยการประสานกันของน้าหนัก
5. ใหค้ วามลกึ แก่ภาพ
2.3.5 เทคนิคกำรแรเงำนำ้ หนกั
เม่ือตรวจแก้ไขข้อบกพร่องของภาพร่างดีแล้ว และเป็นภาพร่างท่ีพร้อมจะแรเงาน้าหนักการกาหนด
แสงเงาบนวัตถุในภาพร่างซ่ึงมีรูปทรงต่าง ๆ นั้น อาจลาดับขั้นตอนของกระบวนการได้ ดังนี้ (ชาญณรงค์ พร
ร่งุ โรจน์, 2546)
1. หรี่ตาดูวตั ถุท่ีเปน็ หุ่น กาหนดพ้ืนท่ีแบ่งสว่ นระหว่างแสงเงาออกจากกันให้ชัดเจนด้วยเสน้ รา่ งเบาๆ
บนรปู ทรงของภาพรา่ งท่ีวาดไวน้ น้ั โดยแบ่งออกเปน็ 2 ส่วนครา่ วๆ คือ แสงกับเงาเท่าน้ัน
2. แรเงาน้าหนักในส่วนพื้นที่ทีเ่ ป็นเงาทั้งหมด ด้วยน้าหนักเบาทสี่ ุดของเงาที่ตกทอดบนวัตถุและเว้น
พืน้ ท่ีสว่ นทีเ่ ปน็ แสงไว้
3. พจิ ารณาเปรียบเทียบน้าหนักท่ีเบาท่ีสุดกับน้าหนักที่เข้มในส่วนขึ้นอกี เท่าใด แล้วแบ่งน้าหนักเงาที่
อ่อนกับเงาท่ีเข้มขึ้นด้วยวิธีร่างเส้นแบ่งพ้ืนที่เบา ๆ เช่นกันกบั ข้อ 1 จากน้ีก็แรเงาเพิ่มน้าหนักในส่วนทีเ่ ข้มข้ึน
ตลอดเวลาจะต้องเปรียบเทียบน้าหนักของเงาท่ีลงใหม่กับเงาอ่อนและแสงท่ีเว้นไว้อยู่เสมอเพื่อให้การแรเงา
นา้ หนักได้ใกลเ้ คยี งความเปน็ จริง การแรเงานา้ หนกั ตอ้ งลงรวม ๆ ไปทีละนา้ หนัก จะทาใหค้ มุ น้าหนักไดง้ ่าย
4. การแรเงาน้าหนักที่เข้มข้ึนจะใช้วิธีการเดียวกับข้อ 1 และข้อ 3 จนครบกระบวนการจะทาให้ได้
ภาพที่มีน้าหนักแสงเงาใกล้เคียงกับความเป็นจริง จากนั้นจึงเกลี่ยน้าหนักท่ีแบ่งไว้ในเบื้องต้นให้ประสาน
กลมกลนื กนั
5. พจิ ารณาในสว่ นของแสงท่ีเว้นไว้จะเห็นว่ามีนา้ หนักออ่ นแก่เช่นเดียวกับในสว่ นของเงาต้องใช้ดนิ สอ
ลงน้าหนกั แผว่ ๆ ในสว่ นของแสงทเี่ วน้ ไว้เพ่อื ใหร้ ายละเอียดของแสงเงามีนา้ หนักทส่ี มบูรณ์
6. เงาตกทอด ใช้หลักการเดียวกบั การแรเงาน้าหนักบนวัตถุที่กล่าวมาแล้ว แต่ต้องสงั เกตทิศทางของ
แสงประกอบการเขียนแสงในการวาดเขียนปกติจะใช้ประมาณ 45 องศา กับพืน้ แต่มขี ้อสังเกต คือ ถ้าแสงมา
จากมุมที่สงู จะเห็นเงาตกทอดส้ัน ถ้าแสงมาจากมมุ ท่ตี ่าลง เงาตกทอดจะยาวขึ้นในสว่ นนา้ หนักของเงาตกทอด
เองก็จะมนี า้ หนักอ่อนแก่เช่นเดียวกับแสงเงาบนวัตถคุ ือเงาทีอ่ ยู่ใกลว้ ัตถจุ ะมีความเข้มกวา่ เงาที่ทอดห่างตัววัตถุ
สาเหตมุ าจากแสงสะทอ้ นรอบ ๆ ตวั วตั ถทุ ีส่ ะทอ้ นเขา้ มาลบเงาใหจ้ างลง
2.3.6 คำ่ นำ้ หนักของแสงและเงำท่เี กดิ บนวตั ถุ สำมำรถจำแนกเปน็ ลกั ษณะต่ำงๆไดด้ ังนี้
(จริ ะพัฒน์ พติ รปรชี า, 2545)
1. แสงสว่างจัด (HIGH LIGHT) คือ บริเวณของวัตถุท่ีถูกแสงสว่างโดยตรงและมากท่ีสุด การวาดถ้า
เปน็ วตั ถุแข็งหรือเป็นเงามนั ควรทงิ้ ส่วนท่ีแสงสวา่ งทีส่ ุดใหเ้ ป็นกระดาษขาวได้เลยแตถ่ ้าเป็นวัตถุแสงเงาในการ
วาดเส้นช่วยให้งานวาดเส้นท่ีได้ออกมาเหมือนจริงย่ิงค่าของน้าหนักสีมีค่าระดับมากเท่าไหร่ก็จะเพ่ิมค่าของ
ความเหมอื นมากเทา่ นั้น
2. แสงสว่าง (LIGHT) คือ บริเวณท่ีไม่ถูกแสงกระทบโดยตรงจะเป็นแสงเลื่อมๆเทาการวาดให้แรเงา
แบบเกล่ียเรยี บจากน้าหนกั เงามาจนถงึ แสงสว่าง

18

3. เงา (SHADOW) คือ บริเวณที่ถูกแสงน้อยท่ีสดุ การวาดควรเนน้ ส่วนท่ีเป็นเงาให้เข้ม และเน้นเส้น
รอบนอก (OUT LINE) ดังน้ันการประกอบกันระหว่างแสงสว่างจัด แสงสว่าง และเงาจะเกิดเป็นภาพสามมิติ
หรอื ภาพวาดทม่ี ีชวี ิต

4. แสงสะทอ้ น (REFLECT LIGHT) คือ บริเวณทมี่ แี สงของวตั ถุโดยรอบสะท้อนเขา้ มาในวตั ถุน้นั ไมว่ ่า
จะเป็นในด้านของแสงหรือเงาจะไดร้ บั อิทธพิ ลของแสงสะทอ้ นนีไ้ ดเ้ หมือนกนั

5. เงาตกกระทบหรือเงาของวัตถุ (CASTSHADOW) จะอยู่ดา้ นเงามดื ของวตั ถุเสมอเปน็ เงาของวตั ถุท่ี
ตกกระทบพืน้ เงาของวตั ถุจะเปน็ เช่นไรขน้ึ อยู่กับรูปทรงของวตั ถุและมมุ ของแสงท่ีมากระทบ

เงา คือ ส่วนที่แสงส่งไปไม่ถึงโดยมีวัตถุหรือสิ่งของบังเอาไว้เงาตกทอดจะมีรูปร่างเหมือนวัตถุน้ันเช่น
วตั ถุรปู สีเ่ หล่ียม เงาตกทอดกเ็ ปน็ ส่เี หล่ียมเหมือนรูปรา่ งของวัตถุนน้ั ๆ เงาจะชัดหรือไม่ชัดอยู่ทีแ่ สง ถ้าแสงสว่าง
จดั เงาก็จะชดั ถ้าแสงสว่างนอ้ ยเงาก็ไมช่ ัดเงาของวัตถุมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับแสงสว่างท่ีมากระทบวัตถุน้ัน
แสงสว่างน้อยเงาท่ีเกิดข้ึนกับวัตถุก็จะน้อย ถ้าแสงสว่างจัดมากเงาของวัตถุท่ีปรากฏก็จะเข้มชัดมากขึ้นด้วย
ลักษณะของเงาตกทอดนัน้ สามารถ แยกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดังนี้

1. เงาตกทอด หมายถงึ แสงสวา่ งท่มี ากระทบวตั ถุแล้วเกดิ เปน็ เงาตกทอดไปยงั พื้นทที่ ี่วัตถนุ ั้นวางอยู่
2. เงาคาบเก่ียว หมายถึง แสงสว่างท่ีมากระทบวัตถุแล้วเกิดเป็นเงาตกทอดไปยังพื้นและมีวัตถุ
ใกล้เคียงวางอยู่หรือวางอยู่ใกล้ผนังเงาที่ใกล้ผนังเงาท่ีเกิดข้ึนก็จะเกดิ จากพื้นและทอดไปยังวัตถุใกล้เคียงแสง
และเงาช่วยให้การวาดเส้นแรเงาดูเป็นสามมิติหรือเหมือนจริงมากที่สุด ดังน้ันผู้ท่ีฝึกวาดรูปจึงควรต้องศึกษา
เรอื่ งของแสงเงาก่อน
น้าหนักแสงและเงา
แสงและเงา (LIGHT AND SHADOW) ในการวาดภาพลายเสน้ น้ันน้าหนกั แสงเงาเป็นส่ิงท่ีสาคัญอย่าง
ย่ิงในการทางาน เพราะแสงเงาจะช่วยทาให้ผลงานท่ีสรา้ งสรรค์ออกมาเหมอื นจริงมากยง่ิ ขึ้น การวาดภาพท่ีมี
การแสดงน้าหนักแสงเงาที่ชดั เจนนน้ั จะถ่ายทอดตามสายตาท่ีมองเห็น เช่น ความลึก ต้นื หนา บาง นูน เรยี บ
โค้ง เว้า ได้ชัดเจนมากกว่าภาพที่แสดงด้วยเส้นเพียงเส้นเดียว จะใช้ค่าน้าหนักแสงเงาทั้งหมด 10 ระดับใน
การศกึ ษาเพ่อื ใหผ้ ลงานท่ีออกมานนั้ สมจริงมากย่ิงข้นึ ช่องน้าหนักแสงเงา 10 ระดับ
การวาดภาพแสงเงาสามารถแยกได้ 3 ประเภทใหญด่ งั น้ี (กาจร สนุ พงษ์ศรี, 2555)
1. ภาพแสงเงา 2 ระยะ หมายถึง ภาพท่ีแสดงเพียง 2 ระยะสว่ นใหญ่จะเห็นเงาเป็นเพียงแผ่นบาง ๆ
เน้นสว่ นรายละเอยี ด (DETAIL)
2. ภาพแสงเงา 3 ระยะ หมายถึง ภาพที่แสดงน้าหนักแสงเงาค่อนข้างชัดเจนมากกว่าภาพ 2 ระยะ
เหน็ รายละเอยี ดได้มากกว่า แสดงส่วนทเี่ ป็นแสงสวา่ งและเงามดื ได้ชัดเจนกว่า
3. ภาพแสงเงากลมกลนื หมายถึง ภาพท่แี สดงแสงเงาใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สดุ รายละเอียดชัดเจน
จะเป็นภาพวาดทีม่ ลี กั ษณะเหมือนจรงิ มาก

19

2.3.7 ทิศทำงแสง
เรียนรู้ทิศทางของแสงกัน เพราะแม้ว่าแสงท่ีมีแหล่งกาเนิดมาจากที่เดียวกันแต่หากว่ามีทิศทางที่

แตกตา่ งกันจะส่งต่อมติ ิของภาพ หรืออารมณ์ของภาพได้ ดงั นั้นในการถ่ายภาพไมว่ า่ จะมอื ใหม่หรอื มอื อาชพี
ส่ิงทค่ี วรพิจารณาอีกอยา่ งคือความเหมาะสมของทิศทางของแสง
โดยเราสามารถแบง่ ทศิ ทางของแสงออกเปน็ 4 ทศิ ทางใหญ่ๆ ดงั น้ี (อารี พันธม์ ณี, 2543)

1. ทิศทำงแสงบน คอื แหลง่ กาเนิดแสงจะอยู่บนหวั เราหรือมมุ สูงนน่ั เอง ยกตัวอย่าง การถา่ ยภาพใน
ตอนกลางวนั ดวงอาทติ ย์จะอยู่ดา้ นบนหัวเราแสงทอี่ อกมาจะมีความเข้มสูงและกระจายเต็มพนื้ ที่ และจะทาให้
เกิดเงาตกกระทบทางดา้ นล่างของวตั ถุ แสงในทิศทางนี้ไม่เหมาะในการถ่ายภาพคนเพราะว่าจะเกิดเงาบรเิ วณ
ใต้ตา ปาก และจมูก การถ่ายภาพท่ีเหมาะสมกับแสงในทศิ ทางน้ี เชน่ การถ่ายภาพกจิ กรรมทว่ั ๆ ไป เชน่ การ
แสดงต่างๆ ภาพการแข่งขันกีฬา เนื่องจากแสงจากทิศทางดังกล่าวจะมีความแรงและมักจะไม่ถูกบดบังจาก
วตั ถอุ ื่นๆ

2. ทิศทำงแสงข้ำง หมายถึง ทุกทิศทางท่ีมาจากทางด้านข้าง ไม่ว่าจะมาตรงๆ หรือเฉียงก็ตาม แสง
ที่มาจากด้านข้างนี้ จะทาให้ภาพมีมิติ แตจ่ ะทาให้เกิดแสงเงาทางด้านตรงขา้ มของแสง คอื ถา้ แสงมาดา้ นซ้ายก็
จะเกิดเงามดื ทางด้านขวานั่นเอง มือใหม่ควรระวงั ในจุดนี้ด้วย สาหรับแสงข้างเหมาะสาหรบั การวาดภาพหลาย
ประเภท อาทิ เช่น วาดภาพคน วาดภาพวิวทิวทัศน์ วัตถุ สิ่งของ เพราะแสงจะทาให้วัตถุดมู ีมิติ ไม่เรียบแบน
จนเกนิ ไป

3. ทิศทำงแสงด้ำนหน้ำ แสงจะมาทางด้านหลังของวัตถุที่เป็นแม่แบบ หรือถ้าเรียกเป็นคาพูดที่เรา
คุ้นเคยกันดีก็คือ ทิศทางยอ้ นแสง น่ันเอง จะเป็นการถา่ ยภาพย้อนแสง ซ่ึงโดยปกตแิ ล้วการถ่ายภาพย้อนแสง
จะทาให้ภาพไมส่ วย หน้าจะมืด หรือวัตถหุ รือแมแ่ บบจะกลายเป็นเงาดาจะเห็นเปน็ แคร่ ปู รา่ งของวัตถุท่ีตดั กับ
แสงจากทอ้ งฟา้

4. ทิศทำงแสงด้ำนหลัง คือทิศทางของแสงจะเขา้ มาทางด้านหน้าของตัวแบบหรือวัตถุ หรือทิศทาง
ตามแสง เหมาะสาหรับการถ่ายภาพท่ัวไป เช่น การถ่ายภาพววิ ทวิ ทัศน์ หรือภาพคน เมอื่ ถ่ายออกมาแล้วจะให้
ภาพที่เหน็ รายละเอียดต่างๆ ของวัตถุครบทุกส่วนชัดเจน ไม่เกิดเงาทางดา้ นหน้า เงาจะไปตกอยู่ทางด้านหลัง
แทน
ตอนท่ี 2.3 งำนวจิ ยั ท่เี ก่ยี วข้อง
2.3.1 งำนวจิ ยั ในประเทศ

การจัดกลุ่มงานวิจัยในประเทศ แยกตามประเภทชองนวัตกรรมท่ีใช้ในการพัฒนาทักษะการไล่ระดับ
น้าหนกั แรเงา มีดังตอ่ ไปน้ี

อ.วรรษมน ยะวงค์ (2557) ทาวจิ ัยเร่ือง ผลการใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะในการพัฒนาทกั ษะการวาดภาพ
ระบายสีเรอ่ื งน้าหนักแสงเงา โดยมีวัตถุประสงค์ พื่อพัฒนาทักษะการวาดภาพระบายสีเรือ่ งน้าหนักแสงเงาใน
การเรียนวิชาทัศนศลิ ป์ มีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยการทดสอบผเู้ รียนก่อนการ
ใช้แบบฝึกเสริมทักษะและบนั ทึกคะแนน 1 คร้งั จากนั้นทาการใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะจานวน 4 ครัง้ พร้อมท้ัง
บันทึกข้อมูลของผู้เรียนระหว่างการใช้แบบฝึกเสริมทักษะในแต่ละคร้ัง และทาการทดสอบผู้เรียนหลังการใช้

20

แบบฝึกเสรมิ ทักษะและบันทึกคะแนนอกี 1 คร้ัง จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกคะแนนก่อน
การใช้แบบฝึกเสริมทักษะและหลังการใช้แบบฝกึ เสริมทักษะ โดยนาคะแนนที่ได้มาหาคา่ ความก้าวหน้าและค่า
รอ้ ยละของผเู้ รียน และวิเคราะหข์ ้อมลู จากแบบบันทกึ ข้อมูลระหว่างการใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะเรอื่ งนา้ หนักแสง
เงาตามเกณฑ์การประเมิน พรอ้ มทั้งนาเสนอในรปู ของตารางแผนภมู ิและการอธิบายถึงตารางและแผนภูมิ ซึ่ง
สรุปผลการวจิ ัยดังนี้ กอ่ นการเรียน ผู้เรียนมีคะแนนอยู่ในเกณฑ์ระดับพอใช้และระดับนอ้ ยและหลงั จากใชแ้ บบ
ฝึกเสริมทักษะแล้ว ผู้เรียนได้มีการพัฒนาทักษะการวาดภาพระบายสีเรื่องน้าหนักแสงเงาขึ้น คือ ผู้เรียนมี
คะแนนอยู่ในเกณฑ์ระดบั ที่ดมี ากและระดับดี ซึง่ ผลที่ได้นน้ั คอื ผเู้ รียนมีการพฒั นาทักษะการวาดภาพระบายสี
เรื่องน้าหนักแสงเงาเป็นที่น่าพอใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะทาให้ผู้เรียนได้คะแนนเพิ่มมากขึ้น และมีผลต่อ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน เพราะเม่ือผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานในการวาดภาพระบายสีเรอื่ งน้าหนักแสง
เงาแล้วนั้น ก็จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานศิลปะได้สวยงามและสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน และส่งผลให้ผล
การเรียนของผู้เรียนดีขึ้นตามลาดับ อีกท้ังผู้เรยี นสามารถนาเอาความรู้ในเร่ืองของการวาดภาพระบายสีเรื่อง
น้าหนักแสงเงาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะช้ินอ่ืนๆ หรือนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั ของ
ตนเองได้

ยุภาวดี พันธัง (2554) ทาวิจัยเรื่อง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เส้นสีแสงเงา พบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า
คะแนนก่อนเรยี นของนกั เรียนมคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 13.40 ค่าคะแนนหลังเรยี น เท่ากบั 24.50 นักเรียนทีเ่ รียนดว้ ย
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีผลคะแนนสูงกว่าก่อนเรียนท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากบทเรียนคอมพิ วเตอร์ช่วย
สอน มีประสิทธิภาพเหมาะกับการนาไปใช้เพราะได้ผา่ นกระบวนการหาประสทิ ธภิ าพหลายข้ันตอนจนมีความ
เหมาะสมก่อนนาไปใช้ จึงทาให้หลังจากเรยี นด้วยบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน แล้วผู้เรียนสามารถเข้าใจมาก
ขึ้น และทางด้านแบบทดสอบก็ได้ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพ โดยหาค่าความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก และ
ค่าความเช่ือม่ันที่เหมาะสมก่อนนาไปใช้ จึงทาให้นักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มี
ผลสมั ฤทธ์ิหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียน แสดงใหเ้ ห็นว่าการถา่ ยทอดความรู้ด้วยส่ือท่ีเหมาะสมช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรูส้ นใจแล้วผู้เรียนสามารถเข้าใจมากขน้ึ ยอมรบั สามารถเรยี นร้ดู ้วยตนเองได้

จักรี โสสะ (2555) ทาวิจัยเรื่อง ผลการใช้วิธีสอนตามแนวคิดการสแกฟไฟล์ดิงร่วมกับชุดฝึกที่มี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะการวาดและการแรเงา ซึ่งการวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้วธิ ีสอนตามแนวคดิ การสแกฟโฟล์ดิงร่วมกับชดุ ฝกึ 2) เปรียบเทียบ
ทักษะการวาดและการแรเงาก่อนและหลังการใช้วิธีสอนตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิงร่วมกับชุดฝึก และ 3)
ศึกษาความ พึงพอใจของนกั เรียนตอ่ การใชว้ ิธสี อนตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิงร่วมกับชดุ ฝึกกลุ่มตวั อย่างเป็น
นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนธรรมศกึ ษามูลนิธิจานวน 40 คน ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม เครอ่ื งมอื ท่ีใช้
ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดฝึกร่วมกับการสอนตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิงจานวน 7 ชุด 2) แผนการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิงจานวน 7 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 4) แบบทดสอบวัด
ทักษะปฏิบัติ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบน

21

มาตรฐาน และ การทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนท่ีเรียนด้วยวิธีสอนตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิง
ร่วมกับชุดฝึก มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2)
นกั เรยี นทเ่ี รียนด้วยวิธสี อนตามแนวคิดการสแกฟโฟล์ดิงร่วมกับชดุ ฝึก มที กั ษะการวาดและการแรเงาหลังเรียน
สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้วิธีสอนตาม
แนวคดิ การสแกฟโฟลด์ งิ รว่ มกบั ชดุ ฝึกในระดบั มาก

ปณุ ณรัตน์ พิชญไพบูลย์ (2545) ทาวิจัยเร่ือง ผลของการสอนวิชา จิตรกรรม 1เรื่องแสงและเงาโดย
บรู ณาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกที่มีต่อผลสมั ฤทธท์ิ างเปน็ การวิจัยเชงิ ทดลองมีวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศึกษา
ผลของการสอนวชิ า จิตรกรรม 1 (ศ015) เรื่องแสงและเงาโดยบูรณาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกทีม่ ีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร ภาคการศกึ ษาต้น ทล่ี งทะเบียนเรียนวิชาจิตรกรรม 1 (ศ015)
จานวน 20 คน เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการสอนเรื่องแสงและเงา 2) เกณฑก์ ารคัดเลอื ก
โปรแกรมคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกทใ่ี ช้ในการเรียนการสอนเรอ่ื งแสง และเงา 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นด้านพุทธิปัญญาเรือ่ งแสงและเงาทั้งกอ่ น เรียนและหลังเรยี น จานวน 1 ฉบบั และ 4) แบบประเมินทกั ษะ
เร่ืองแสงและเงา ก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าที ( T - Test ) เพ่ือหาค่า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิปัญญา และ ด้านทักษะปฏิบัติ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) และ ส่วนเบ่ียงเบน
มาตราฐาน (S.D.) ใช้กบั แบบประเมินทักษะเรอ่ื งแสงและเงา ผลการวจิ ัยพบวา่ ผลของการสอนวชิ า จิตรกรรม
1 (ศ015) เร่ืองแสงและเงาโดยบรู ณาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกท่ีมตี ่อผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนในระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนด้านพุทธปิ ัญญาหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน อยา่ งมนี ัยสาคัญ
ทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นดา้ นทักษะปฏิบตั ิหลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้ึนเป็นผลจากการบูรณาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กราฟิกร่วมกับการเรียนการสอนเรื่องแสงและเงา ได้แก่ การใช้โปรแกรม Microsoft Power Point ในการ
นาเสนอเนื้อหารวมถึงหลักการท่ีสาคัญของการเรียนเรื่องแสงและเงา และใช้โปรแกรม 3D Studio Max ใน
การจาลองสถานการณ์ของแสงและเงา โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นได้ทดลองจัดแสงดว้ ยตนเอง ซ่ึงการบูรณาการ
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์กราฟิกท้ัง 2 โปรแกรม ทาให้ผ้เู รยี นมีความรู้พ้ืนฐานเรื่องแสงและเงาที่ดขี ้ึน จนสามารถ
นาความรู้ไปประยุกตใ์ ชก้ ับการปฏิบตั ิการแรเงาในลกั ษณะที่เหมือนจริง ได้ โดยทกั ษะท่ีผเู้ รียนทาไดด้ ีที่สุด คือ
การแสดงค่าน้าหนักของแสงและเงาไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

จรยิ า ทองหอม (2560) ทาวิจัยเรอื่ ง การวิจัยและพฒั นาหลกั สูตรการแรเงา มจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื
1) เพ่ือวจิ ัยและพัฒนาหลกั สตู รการแรเงา และ 2) เพื่อศึกษาประสทิ ธผิ ลของหลกั สูตรแรเงา โดยใช้ขนั้ ตอนการ
วิจยั และพฒั นา 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสงั เคราะหข์ ้อมลู พื้นฐาน 2) การพฒั นาหลักสูตรแรเงา 3) การทดลอง
ใชห้ ลกั สูตรการแรเงา ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรมิ าณโดยใชโ้ ปรแกรมวิเคราะหค์ ่าสถิติพื้นฐานจากเครอื่ งมือ
วจิ ัย และทาการวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เนื้อหา พฤติกรรมของผเู้ รียนและ
การตรวจผลงานของนักเรียนแล้วนาเสนอในรูปแบบความเรียงประกอบการอธิบายเสริมข้อมูลเชิงปริมาณ
ตงั้ แตก่ ่อนการใช้ ระหว่างการใช้และหลังการใช้หลักสูตรการแรเงา ผลงการวิจยั ได้ตรวจสอบประสทิ ธิผลของ

22

หลักสูตรโดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ one – group pretest – posttest design ทาการทดลองกับ
นกั เรียนจานวน 2 หอ้ งเรียน โดยใช้วิธีการเลอื กแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่านักเรียนกลุ่มตวั อย่างมีคา่ เฉลี่ย
คะแนนทักษะการแรเงาหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นการเรยี นอย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 ผลการประเมิน
หลกั สตู รมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ีก่ าหนด

23

บทท่ี 3

วธิ ีดำเนนิ กำรวจิ ัย
การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้
รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏบิ ตั ขิ องแฮร์โรว์ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
โรงเรยี นบ้านเชงิ ดอยสุเทพ
ในการดาเนนิ การวิจัย ผูว้ ิจัยนาเสนอแบ่งเปน็ 4 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 3.1 กลุ่มเป้าหมาย
ตอนท่ี 3.2 เครื่องมอื วิจยั และคณุ ภาพเครือ่ งมือ
ตอนท่ี 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ตอนที่ 3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู
3.1 กลมุ่ เป้ำหมำย
จากการสงั เกตพฤติกรรมการสร้างสรรค์ผลงานของระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านเชิงดอย
สุเทพ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ในคาบเรียนวิชา ศลิ ปะ ผวู้ ิจยั พบว่า มีนักเรียนจานวน 4 คน ซ่ึงได้มา
จากการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผ่านการวัดเส้นฐานจานวน 6 คร้ัง แบง่ เป็นการบันทึก
คะแนน
การสร้างสรรค์ผลงานการไล่ระดับน้าหนักแรเงาจานวน 2 ครั้งและการสังเกตพฤติกรรมการ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานผลงานของนกั เรยี นจานวน 4 คร้งั โดยมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี
ตาราง 3.1.1 พฤตกิ รรมการสรา้ งสรรค์ผลงานรายบคุ คล ซ่งึ กลา่ วโดยรวมจากการสังเกตทงั้ หมด 3 คร้ัง

ท่ี ชอื่ – นำมสกลุ พฤติกรรม

1 มีพฤติกรรมชอบเล่นกับเพ่ือน ๆ จึงต้องเข้าไป

ตกั เตอื นหลายครง้ั และเมื่อเขา้ ไปสอน จึงได้สอบถาม

ความรู้เล็กน้อยโดยใช้คาถามว่า ถ้าแสงอาทิตย์ส่อง

ทางซ้าย แสงจะสว่างขาวหรือเทา และควรอยู่

ก ทางด้านซ้ายหรือขวา เม่ือถามเสร็จแลว้ จงึ ใหน้ กั เรียน

คิดคาตอบ แต่กลับพบว่านักเรียนนั้นตอบคาถาม

ไม่ไดเ้ ลย การวาดรูปมักจะไล่ระดับนา้ หนักแรเงาเข้ม

(ดาสุด) แล้วไล่มาน้าหนักอ่อนสุดเลย (เกือบขาวสุด)

โดยไม่มีระดับปานกลาง (สีเทา) นอกจากนั้นแล้วยัง

ขาดความมัน่ ใจในการวาดรปู

2 มพี ฤตกิ รรมชอบแหยก่ ับเพื่อนข้าง ๆ และชอบพูดคุย

เสียงดังบ้างในบางคร้ัง เมื่อผู้สอนน้ันทดสอบความรู้

24

ด้วยทิศทางของแสง พบว่านักเรียนไม่สามารถบอก
คาตอบได้แต่นักเรียนก็มีความพยายามในการตอบ
ข คาถามแม้จะตอบผิด ขาดความม่ันใจในการตอบ
คาถาม และการไล่ระดับน้าหนักแรเงา มักจะระบาย
ระดับน้าหนักเขม้ (ดาสุด) เพียงอย่างเดียวทั้งรูปภาพ
นอกจากนั้นแล้วยังทางานเลอะเทอะมาก ไม่มีความ
ตงั้ ใจในการวาดรปู เลย
3 มพี ฤติกรรมน่งั ลอกงานเพื่อนทน่ี ั่งข้าง ๆ และแอบคุย
กับเพื่อนในบางครงั้ ในขณะทสี่ อนน้ันพบว่าขาดความ
มั่นใจในการวาดรูป และรู้สึกเกร็ง ๆ เมื่อผู้สอนน้ัน
เข้ามาสอนแบบตัวต่อตัวและอาจจะรู้สึกอายเพ่ือนๆ
ค ในโต๊ะบ้างเล็กน้อย เน่ืองจากเพ่ือนๆในโต๊ะนั้นชอบ
ทักว่า “ทาไม่ได้รึไง” ซึ่งในส่วนน้ีอาจจะทาให้ขาด
ความม่ันใจในการทางานเป็นอย่างมาก และเมือ่ ถาม
คาถามเร่ืองทิศทางแสงน้ันนักเรียนไม่สามารถตอบ
คาถามได้เลย และการวาดรูปไล่ระดับแรเงามักจะไล่
นา้ หนักเขม้ เพียงอย่างเดยี ว (ดาสุด)
4 มีพฤติกรรมแอบหลับบ้างในเวลาท่ีครูสอน และเม่ือ
ให้นักเรียนทางานในห้องเรียนพบว่า นักเรียนคนน้ี
นน้ั มีพฤติกรรมชอบลอกเพื่อน ๆ ทีน่ ่ังข้าง ๆ กนั และ
มีบ้างในบางครง้ั ทช่ี อบใหเ้ พ่อื นน้นั ไล่ระดับน้าหนักแร
ง เงาให้ เน่ืองจากตนเองน้ันทาไม่ได้ จากการ
สร้างสรรค์งานที่ผา่ นมาพบว่าไล่ระดับแรเงาในช่วงสี
เทาไม่ได้เลย มักจะเป็นการไล่ระดับน้าหนักแรเงาที่
เท่ากันหมดทุกช่อง เมื่อให้วาดตามหุ่นน่ิง การ
สรา้ งสรรค์งานจงึ ดไู มม่ ีมติ เิ ลย
จากปัญหาของนักเรียนทั้ง 4 คนซึ่งกล่าวโดยภาพรวมของพฤติกรรมในข้างต้น ผู้วิจัยได้สังเกตและ
บนั ทึกในช่วงท่ีทาการยืนยันปัญหาทั้งหมด 3 คร้งั ดังทก่ี ลา่ วมาข้างตน้ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านไี้ ด้เกิดข้ึนซ้า ๆ กัน
กบั ผเู้ รยี นคนเดมิ ซึ่งแสดงให้เหน็ ถึงปัญหาดา้ นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานของนักเรยี น โดยมรี ายละเอยี ดวัน เวลา ท่ี
สังเกตพฤตกิ รรมดังน้ี
ครัง้ ท่ี 1 วนั ท่ี 22 ธันวาคม 2563 เวลา 10.25 – 11.20 น.
คร้งั ท่ี 2 วันที่ 23 ธันวาคม 2563 เวลา 10.25 – 11.20 น.
คร้งั ท่ี 3 วนั ที่ 30 ธนั วาคม 2563 เวลา 10.25 – 11.20 น.

3.1.2 การบันทึกเกณฑป์ ระเมนิ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานรายบคุ คลท้ัง 3 คร้ัง คร
ครงั้ ที่ 1

ช่อื – สกุล
ความสะอาด
เรียบร้อย
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา
ความสะอาด
เรียบร้อย
การไล่ระ ัดบน้าหนัก

ก 21 121 1
ข 11 122 1
ค 11 111 1
ง 11 221 1
รวม 5 4 5 7 5 4
หมายเหตุ : นกั เรียนที่มีการสร้างสรรค์ผลงานตา่ กวา่ คา่ เฉลย่ี 1.37 อยู่ในเกณฑป์ รับป
จากตาราง 3.1.2 การบันทึกเกณฑ์ประเมินผลงานรายบุคคลของนักเรียนชนั้
คะแนนการสรา้ งสรรค์ผลงาน มีคา่ เฉล่ยี อยู่ที่ 1.29 ซึ่งต่ากว่าเกณฑ์ทค่ี วรจะเป็น และ
ผู้วจิ ยั จงึ เลง็ เหน็ วา่ นกั เรียนทกุ คนควรได้รบั การแกไ้ ขและพัฒนาทักษะการไลร่ ะดับนา้ ห

25

รั้งท่ี 2 ครงั้ ท่ี 3

การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา
ความสะอาด
เรียบร้อย
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา
รวม คำ่ เฉล่ยี

1 2 1 1 2 1 16 1.33
2 1 1 1 1 2 16 1.33
1 2 2 1 2 1 15 1.25
1 2 1 1 1 1 15 1.25
5 7 5 4 6 5 62 1.29
ปรุง
ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบ้านเชิงดอยสุเทพพบว่านักเรียนทั้ง 4 คนน้ันมีผลบักทึก
ะจะเห็นได้ว่านักเรยี นท้ัง 4 คนนั้นมคี ะแนนท่เี กาะกลุ่มกัน น่ันคืออยู่ในระดับปรงั ปรุง
หนักแรเงา เพอื่ ให้นกั เรยี นนัน้ เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ

26

3.2 เคร่อื งมือวจิ ยั และคณุ ภำพเครื่องมือ
เครอ่ื งมือในการวจิ ัยและวิธีการสร้างและผลการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือวิจยั มดี ังน้ี
3.2.1 ชุดแบบฝกึ ทกั ษะการไล่ระดับนา้ หนักแสงและเงาจานวน 4 ชดุ
แบบฝกึ หัดการไล่ระดับน้าหนกั แรเงา 9 ระดบั และการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆ
แบบฝกึ หัดการวาดโครงสร้างเรขาคณติ ดงั นี้ วงกลม สามเหล่ยี ม สีเ่ หล่ยี ม
แบบฝกึ หัดการแรเงาเรขาคณิต ดงั น้ี วงกลม สามเหลย่ี ม สีเ่ หล่ียม
แบบฝกึ หัดการแรเงาตามวตั ถุทกี่ าหนดให้
3.2.2 แผนการจดั การเรียนรู้เรื่องการวาดเสน้ และการไล่ระดบั นา้ หนกั แรเงา
3.2.3 เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝกึ หดั ทงั้ 4 ชุด โดยครผู ้สู อนเปน็ ผบู้ ันทกึ

3.3 กำรสร้ำงเคร่อื งมือทใี่ ช้ในกำรวิจยั ผู้วิจัยได้ดำเนินกำรตำมลำดับขั้นตอน ดงั น้ี
3.3.1.ชุดแบบฝึกทกั ษะการไล่ระดบั น้าหนักแสงและเงาจานวน 4 ชุด ดังนี้

แบบฝกึ หดั การไล่ระดบั น้าหนกั แรเงา 9 ระดบั และการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆ
แบบฝึกหัดการวาดโครงสรา้ งเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหลี่ยม สีเ่ หลย่ี ม
แบบฝกึ หัดการแรเงาเรขาคณิต ดงั น้ี วงกลม สามเหล่ยี ม สีเ่ หลีย่ ม
แบบฝึกหัดการแรเงาตามวตั ถุทีก่ าหนดให้
มีขน้ั ตอนการสร้างแบบฝกึ หดั ดงั นี้
1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาชน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คู่มือสาระแกนกลางสาระกล่มุ สาระศิลปะ
ช่วงช้ันท่ี 2 (ป.4 – 6) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง สร้างงานทัศนศิลป์จากรูปแบบ 2 มิติ เป็น 3 มิติ โดยใช้
หลกั การของแสงเงาและนา้ หนกั
2. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในช่วงช้ันท่ี 2 เร่ือง
สรา้ งงานทศั นศิลปจ์ ากรปู แบบ 2 มติ ิ เปน็ 3 มติ ิ โดยใชห้ ลักการของแสงเงาและน้าหนกั
3. ศกึ ษารายละเอยี ดเกี่ยวกับหลักการสร้างแบบฝกึ และการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกจากเอกสาร
และงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพอื่ เป็นแนวทางในการสร้างชดุ แบบฝึก สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
4. เลือกเนื้อหาสาหรับสร้างแบบฝึก โดยแบ่งเนื้อหาของแบบฝึกออกเป็น 4 ชุด แบบฝึกทักษะทั้ง 4
ชุดน้ี มีรายละเอียดท่ีแตกต่างกัน เร่ิมจากแบบฝึกหัดชุดท่ี 1 การไล่ระดับน้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่
ระดบั แรเงาในทิศทางต่าง ๆ เพือ่ ให้นกั เรียนนน้ั ไดค้ นุ้ เคยกบั น้าหนกั มอื ของตนเองและสามารถไล่ระดับน้าหนัก
จากขาวสุดไปจนถึงดาสุดได้ แบบฝึกหัดชุดที่ 2 เป็นการวาดโครงสร้างเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหล่ียม
สี่เหลี่ยม เพ่ือใหน้ กั เรียนเรียนรู้ในการวาดโครงสร้างเรขาคณติ ที่จะนาไปสกู่ ารร่างภาพหนุ่ นิ่ง แบบฝึกหัดชดุ ท่ี 3
การแรเงาเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหล่ียม สี่เหล่ียม เป็นการเร่ิมต้นแรเงาภาพให้เหมือนกับหุ่นนิ่งให้มาก
ที่สุด ซึ่งจะนาไปสู่แบบฝึกหัดชุดท่ี 4 การแรเงาตามวัตถุที่กาหนดให้ ด้วยแบบฝึกทักษะให้ครบท้ัง 4 ชุด เพื่อ
พฒั นาทกั ษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ดังตารางสรปุ ตอ่ ไปน้ี

27

ตาราง แนวคดิ การพัฒนาชุดแบบฝกึ ทกั ษะ

ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะ แนวคดิ

แบบฝึกหัดชุดท่ี 1 แบบฝึกหัดการไล่ระดับน้าหนัก การฝึกไล่ระดับน้าหนักแรเงาต้ังแต่ระดับขาวจนถึง

แรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาในทิศทาง ดาสุด ซ่ึงมีทั้งหมดอยู่ 9 ระดับ โดยเร่ิมจากการไล่

ต่างๆ ระดับน้าหนักแรเงาแบบแบ่งเป็นช่อง การระบาย

แบบให้ระดับน้าหนักเรียบเนียน จนไปถึงการไล่

ระดับนา้ หนักตามทิศทางตา่ ง ๆ เพ่อื ฝกึ ให้คนุ้ เคยกับ

นา้ หนักมอื ของตนเอง

แบบฝึกหัดชุดท่ี 2 แบบฝึกหัดการวาดโครงสร้าง การวาดโครงสร้างเรขาคณิตเป็นพื้นฐานท่ีจะช่วยให้

เรขาคณติ ดงั น้ี วงกลม สามเหลยี่ ม ส่ีเหลย่ี ม เราวาดภาพเหมือนตามหุ่นนิ่ง นอกจากนั้นแล้วยัง

สามารถชว่ ยให้กาหนดแสงและเงาได้อย่างถูกต้อง

แบบฝึกหัดชุดท่ี 3 แบบฝึกหัดการแรเงาเรขาคณิต การแรเงารูปเรขาคณิตนั้นจะช่วยให้เข้าใจในเร่ือง

ดังนี้ วงกลม สามเหลี่ยม สีเ่ หลีย่ ม แสงและเงาได้มากย่ิงข้ึน ก่อนทจ่ี ะนาไปสกู่ ารแรเงา

ภาพให้เหมือนจรงิ ย่ิงขึ้น

แบบฝึกหัดชุดท่ี 4 แบบฝึกหัดการแรเงาตามวัตถุท่ี การแรเงาตามวัตถุที่กาหนดให้นน้ั จะทาให้ผลงานนั้น

กาหนดให้ มคี วามเสมือนจริงกบั สิ่งทตี่ าเรามอง

5. ขน้ั ตอนในการสร้างชดุ แบบฝึกทักษะ
5.1 กาหนดจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมให้สอดคล้องกับขนั้ ตอนต่าง ๆ ในหลกั การสอนวชิ า

ศลิ ปะ
5.2 กาหนดกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมทก่ี าหนดไว้
5.3 สรา้ งแบบฝึกให้สอดคล้องกับจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมทต่ี ง้ั ไว้

6. นาแบบฝึกที่สรา้ งขน้ึ เสนออาจารยท์ ่ีปรึกษางานวจิ ยั เพือ่ ตรวจสอบคณุ ภาพและนาไปปรับปรุงแกไ้ ข
7. แก้ไขนาแบบฝึกท่ีได้ปรับปรุงแล้วไปให้ผู้เชย่ี วชาญในด้านเน้ือหา พิจารณาตรวจสอบความถกู ต้อง
พรอ้ มท้ังให้คาแนะนา แล้วนามาปรบั ปรงุ แก้ไข
8.เมื่อแกไ้ ขและปรบั ปรงุ แล้ว จงึ นาไปจดั พิมพ์แบบฝึกหดั เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นนาไปใช้
2. แผนกำรจดั กำรเรยี นรเู้ รื่องกำรไลร่ ะดบั น้ำหนกั แรเงำ
มขี นั้ ตอนการสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้เรอ่ื งการไลร่ ะดบั นา้ หนกั แรเงา ดงั นี้
2.1 ศกึ ษาวิเคราะห์หลกั สตู ร ได้แก่ หลกั การ จุดหมาย โครงสรา้ ง เวลาเรียนแนวดาเนินการในการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนให้ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การวัดและการ
ประเมินการเรียน คาอธิบายในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ ซึ่งระบุเน้ือหาท่ีต้องให้นักเรียนได้เรียนตามลาดับ
ข้ันตอนกระบวนการท่ตี ้องให้นักเรียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิ และจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่ตอ้ งการใหเ้ กดิ การเรียนรู้

28

2.2 ศึกษาเนอ้ื หาในเรื่องการวาดเสน้ และการไล่ระดบั น้าหนกั แรเงา

2.3 ลาดับความคิดรวบยอดทจ่ี ัดให้นกั เรียน โดยพิจารณาขอบข่ายเน้ือหา และกิจกรรท่ีกาหนดไว้ใน

คาอธบิ ายรายวิชา

2.4 กาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามลาดับขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชาหรืออาจจะ

พจิ ารณาจากกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกับเน้ือหาสาระ

2.5 กาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมกับขอบข่ายเน้ือหาสาระหรือความคิดรวบยอด จุดประสงค์การ

เรยี นร้แู ละกิจกรรมทีก่ าหนดไว้

ตำรำง 2.5 รายละเอียดของเนอ้ื หาและวนั เวลาของแผนการจัดการเรยี นรู้

แผนกำรจัดกำร เนอื้ หำ/สำระสำคัญ เวลำท่ีใช้สอน

เรยี นรูท้ ่ี

1 ค่าน้าหนักจากความสว่างสุดถึงความมืดที่สุด หรือ จากน้าหนัก 60 นาที

ขาวสุดจนถึงดาสุด น้าหนักที่เกิดข้ึนนั้นสามารถแบ่งได้ 9 ระดับ

ซึ่งความตา่ งระดับของแสงเงาสามารถทาให้การมองเห็นวตั ถนุ ้ันดู

มีมิติ และในด้านของศิลปะการวาดเส้นการไล่น้าหนักอ่อนแก่

สามารถสร้างภาพจาก 2 มิติ ใหม้ องเห็นเปน็ ภาพลวงตา 3 มิติ

การวาดน้าหนักแสง 9 ระดับบนวัตถุใดหรือบริเวณใดจะทาให้

วัตถุน้ันดูแลว้ ได้ความรู้สึกกลม ซึ่งแสงเงาน้นั แสดงถึง ความใกล้

กลาง ไกล ยาว สนั้ นนู เว้า หรือ สูง ตา่ ไดอ้ ย่างชัดเจน

2 การรา่ งภาพเป็นสว่ นท่สี าคัญมากในการวาดเขยี น เพราะเปน็ การ 60 นาที

เริ่มวาดโครงรา่ งทั้งหมดของภาพ กอ่ นจะดาเนินขั้นตอนไปส่กู าร

แรเงาลงน้าหนกั การไล่ระดับน้าหนกั แรเงา/แสงและเงาน้ันถ้าใช้

ค่าน้าหนักหลาย ๆระดบั จะทาให้มีความกลมกลืนมากยงิ่ ข้ึน และ

ถา้ ใชค้ ่านา้ หนกั จานวนน้อยท่ีแตกต่างกันมาก จะทาใหเ้ กดิ ความ

แตกต่าง ความขัดแย้ง ซึ่งสามารถทาให้ผลงานเกิดความรู้สึก

เคลื่อนไหวและเสมอื นจรงิ มากย่งิ ข้นึ ทาให้เกิดระยะความตนื้ ลึก

และระยะใกล้ ไกลของภาพ นอกจากน้ันแล้วยังทาให้เห็นถึง

ความแตกตา่ งระหวา่ งรปู และพนื้ หรอื รปู ทรงกับท่วี ่าง

3 การเขียนภาพหุ่นน่ิงให้มีลักษณะเหมือนจริงนั้นจะต้องมีการลง 60 นาที

น้าหนักอ่อนแก่ให้ตรงตามแสงเงาท่ีมองเห็นซ่ึงแสงท่ีมากระทบ

กบั วตั ถุตา่ ง ๆ นั้นจะมีนา้ หนกั ออ่ นแก่ท่ีตา่ งกนั เป็นต้นวา่ สง่ิ ของ

บางอย่าท่ีมีสีแก่จะมีน้าหนักเข้มส่วนวัตถุท่ีมีสีอ่อนจะมีน้าหนัก

อ่อน ดังนั้นการมองเหน็ ความแตกต่างของน้าหนกั วัตถสุ ่ิงของตา่ ง

ๆ เหล่านี้จะช่วยให้การเขียนภาพมีความถูกต้องแต่การแรเงาก็

29

จะต้องคานึงถึงสภาพของแสงและเงาด้วย ไม่ว่าจะเป็นเงาตก
ทอดทพี่ ื้นแสงสะท้อนของวัตถุหรอื แสงจัดในส่วนทีไ่ ด้รับสงสว่าง
โดยตรงทัง้ นี้ขน้ึ อยกู่ ับรายละเอยี ดของวตั ถุน้ันๆ

2.6 จดั ทาแผนการจัดการเรียนรแู้ ละทาการหาคุณภาพของเคร่อื งโดยการนาแผนการจัดการเรียนรู้ไป
ให้ผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบโดยอาจารย์ประจากระบวนวชิ า เพ่ือพจิ ารณาความเหมาะสมของเนอ้ื หาและกิจกรรม
การเรียนรทู้ ี่ผู้วิจยั สร้างขนึ้ โดยได้รบั คาแนะนา ดังต่อไปน้ี

2.6.1 ใหป้ รับปรงุ แกไ้ ขคาสง่ั ในแบบฝึกหัดทุกข้อ จานวน 4 ชุด เพื่อให้นกั เรยี นนนั้ เขา้ ใจได้
งา่ ยขน้ึ
2.7 ดาเนินและแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหาและ
แบบฝกึ หดั
2.8 นาแผนการจดั การเรยี นร้ฉู บับจรงิ ทเ่ี สร็จสมบูรณแ์ ล้วไปใช้จรงิ
4. เกณฑ์กำรประเมนิ แบบฝกึ หัด
ขัน้ ตอนการสร้างเกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝกึ หัดมีดงั นี้
4.1 เขียนนิยามของมิติหรือองค์ประกอบ ให้ชัดเจน กาหนดเป็นพฤติกรรม หรือคุณลักษณะงานที่
สามารถสังเกตได้
4.2 กาหนดระดับของการประเมิน โดยนาพฤติกรรม หรือคุณลักษณะ มากาหนดในแต่ละระดับ
และแต่ละระดับ
4.3 นาเกณฑ์การประเมินไปให้ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบ
4.4 นาคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญมาปรบั ปรงุ และแก้ไขเกณฑก์ ารประเมิน
4.5 นาเกณฑ์ไปทดลองใช้ประเมนิ ชิ้นงานนักเรียน
4.6 ปรับปรงุ แกไ้ ขแล้วนาไปทดลองใชป้ ระเมนิ อกี ครั้งหนง่ึ
4.7 เม่อื แกไ้ ขและปรบั ปรงุ แล้ว จงึ นาไปจัดพิมพ์เกณฑก์ ารประเมินเพ่ือให้ผ้เู รียนนาไปใช้
ตอนที่ 3.3 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล
จากกรอบดาเนินการวิจัยที่มีวัตถปุ ระสงค์ดาเนนิ การวจิ ัยกับนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรง
เรียนห โดยตัวแปรท่ีเกี่ยวข้อง ไดร้ ับการออกแบบใหส้ ามารถเก็บรวบรวมข้อมลู ได้ในรูปแบบการทาแบบฝึกหัด
ผู้วิจยั ดาเนินการรวบรวมข้อมูลดงั นี้
3.3.1 แบบฝกึ หัดจำนวน 4 ชุด ดังน้ี

แบบฝึกหดั การไล่ระดบั นา้ หนักแรเงา 9 ระดบั และการไล่ระดบั แรเงาในทศิ ทางต่างๆ
แบบฝกึ หัดการวาดโครงสรา้ งเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหล่ียม ส่ีเหลยี่ ม
แบบฝกึ หดั การแรเงาเรขาคณิต ดังน้ี วงกลม สามเหล่ยี ม สีเ่ หลย่ี ม
แบบฝึกหัดการแรเงาตามวตั ถทุ ก่ี าหนดให้

30

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาเฉพาะกรณี (Case study design) ซ่ึงเป็นการวิจัยท่ีมีการศึกษาอย่าง

ละเอียดลึกซ้ึงเป็นรายบุคคล โดยคดั เลือกมาจากการวัดเส้นฐานยืนยันปัญหาเป็นนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่

6 โรงเรียนบ้านเชิงดอยสุเทพ จานวน 4 คน เพอ่ื ออกแบบนวัตกรรมท่ชี ว่ ยพฒั นาทักษะการไลร่ ะดับนา้ หนักแร

เงาด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ โดยมีขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล

ดงั ต่อไปน้ี

1. ผู้วิจัยวัดเส้นฐานเพ่ือยืนยันปัญหาทักษะการวาดเส้นจานวน 3 คร้ัง โดยการบันทึกเกณฑ์การ

ประเมนิ แล้วนาผลท่ไี ด้ไปออกแบบนวตั กรรมเพ่ือพฒั นาทกั ษะ

2. จัดเตรยี มความพรอ้ มของเครือ่ งมือในการวจิ ัย

3. ผวู้ ิจัยกาหนดระยะเวลาในการรวบรวมข้อมลู ดงั รายละเอียดในตารางต่อไปน้ี

ตำรำง แผนกำรดำเนินกำรทดสอบ

ครง้ั ที่ แบบฝกึ รำยละเอยี ด วัน/เดือน/ปี เวลำ

1 ชุดท่ี 1 แบบฝึกหัดการไล่ ครูสอนเนื้อหาเรื่อง การไล่ระดับ 4 กุมภาพันธ์ 2564 10.00 -11.00 น.

ระดับน้าหนกั แรเงา 9 ระดับ น้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่

และ การไล่ระดับแรเงาใน ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆ จากน้ัน

ทศิ ทางตา่ งๆ มอบหมายให้นกั เรียนทาแบบฝึกทักษะ

2 ชุดท่ี 2 แบบฝึกหัดการวาด ครูสอนเน้ือหาเร่ือง วิธีการแรเงาและ 11 กมุ ภาพันธ์ 2564 13.30 – 14.30

โครงสร้างเรขาคณิต ดังน้ี วิธีการวาดโครงร่างเรขาคณิต จากนั้น น.

วงกลม สามเหลี่ยม ส่ีเหลยี่ ม มอบหมายใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกทกั ษะ

และชุดท่ี 3 แบบฝึกหัดการ

แรเงาเรขาคณติ ดงั น้ี วงกลม

สามเหลยี่ ม สีเ่ หลี่ยม

3 ชุดท่ี 4 แบบฝึกหัดการแร ครูสอนนักเรียนวาดโครงสร้างและแร 18 กมุ ภาพันธ์ 2564 13.30 – 14.30

เงาตามวตั ถุท่ีกาหนดให้ เงาตามหุ่นนิ่งที่กาหนดให้ จากนั้นแผ่น น.

ที่ 2 ให้นักเรียนน้ันได้ลองทาแบบฝึก

ทักษะดว้ ยตนเอง

4. จากตารางข้างต้นได้แบ่งเนื้อหาการสอนเป็น 3 ช่วง ในช่วงแรกคือ ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564
เวลา 10.00 -11.00 น. โดยจะสอนเน้ือหาเรื่องการไล่ระดับน้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาใน
ทิศทางตา่ ง ๆ เวลา 60 นาที เม่ือนกั เรยี นทาเสร็จแล้วจงึ ทาผลงานมาประเมิน ชว่ งท่ีสองในวนั ท่ี 11 กุมภาพนั ธ์
256413.30 – 14.30 น. โดยจะสอนเนื้อหาเรื่อง การวาดโครงสร้างเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหลี่ยม
ส่ีเหลี่ยม และการแรเงาเรขาคณิต ดังนี้ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมเวลาในการสอน 60 นาที และช่วงท่ี 3
วันท่ี 18 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 13.30 – 14.30 น. โดยให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดการแรเงาตามวัตถุท่ี
กาหนดให้ เมอ่ื นักเรยี นทาเสรจ็ แล้วจึงทาผลงานมาประเมนิ บันทึกขอ้ มูล และนาคะแนนมาวเิ คราะห์ต่อไป

31

3.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูล
3.4.1 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลเชงิ ปริมำณ
เมื่อทาการประเมินการสร้างสรรค์ผลงานของนักเรียนทั้งก่อนและหลังแล้ว นาคะแนนที่

นกั เรียนแยกเปน็ 2 ส่วนคือ คะแนนก่อนและหลังเรียน ใช้ประกอบการประเมนิ ผลในการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
สถติ ิ โดยใช้สูตรที่ใชค้ านวณสถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) เป็นการแสดงค่าความถีข่ องขอ้ มูลที่เกบ็ มา
ได้ ซง่ึ สถิตใิ นการวเิ คราะห์ข้อมูลมดี ังต่อไปนี้

คำ่ เฉลี่ย (Mean) ใชส้ ตู ร (บญุ ชม ศรสี ะอำด, 2545 : 105) ดงั นี้

เมอื่ ̅ Σ = 1
̅ =
เท่ากบั คา่ เฉลี่ยของคะแนน

ΣiN = 1x i เทา่ กบั ผลรวมของคะแนนตงั้ แตค่ นท่ี 1 ถึงคนที่ N

เทา่ กับ จานวนขอ้ มลู ของคนท้งั หมด

การหาร้อยละความกา้ วหนา้ ของคะแนนเฉล่ยี ของนักเรียน กอ่ นเรียน – หลังเรยี น ใช้สูตร

(บุญชม ศรสี ะอาด. 2545: 101) ดงั น้ี

รอ้ ยละความกา้ วหนา้ = ̅ − ̅ X 100
คะแนน

เมื่อ ̅ เท่ากบั คะแนนเฉลี่ยก่อนเรยี น
̅ เทา่ กบั คะแนนเฉลี่ยหลงั เรียน

32

บทที่ 4

ผลกำรวิจยั
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างชุดฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงาด้วยดินสอ โดยใช้
รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโ์ รวข์ องนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรยี นบ้านเชิงดอยสุเทพ ได้ผลการวจิ ัยสรปุ ไดด้ ังนี้
4.1 ผลกำรทำชุดฝึกทักษะกำรไล่ระดับน้ำหนักแรเงำด้วยดินสอ โดยใช้รูปแบบกำรเรียนกำรสอน
ทักษะปฏิบัตขิ องแฮร์โรวข์ องนกั เรยี นจำนวน 4 คน ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 6 โรงเรียนบำ้ นเชงิ ดอยสเุ ทพ
สาหรับคะแนนการสร้างสรรค์ผลงานท่ีใช้ชุดแบบฝึกทักษะที่ช่วยให้นักเรียนมีทักษะการไล่ระดับ
น้าหนักแรเงา จะเห็นได้ว่านักเรียนน้ันควรใช้ชุดแบบฝึกทักษะการไล่ระดับน้าหนักแรเงา โดยสามารถแบ่ง
รายละเอยี ดของแบบฝึกหัด คอื
4.1.1 แบบฝึกหัดการไล่ระดับน้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆของ
นักเรียนทั้ง 4 คน ดังภาพ 4.1.1 กราฟแท่งแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเรื่องแบบฝึกหัดการไล่
ระดับน้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆและตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการ
สร้างสรรคผ์ ลงานเรื่อง แบบฝึกหดั การไลร่ ะดบั น้าหนักแรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่างๆ
4.1.1 กรำฟแท่งแสดงผลคะแนนในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนเรื่อง แบบฝกึ หัดกำรไลร่ ะดับน้ำหนกั แร
เงำ 9 ระดับและกำรไลร่ ะดบั แรเงำในทศิ ทำงตำ่ งๆ

แบบฝกึ ทักษะท่ี 1 เฉล่ยี

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0

ความสวยงาม การไล่ระดับนา้ หนกั ความตรงต่อเวลา

กขคง

ภาพประกอบ 4.1.1 แสดงผลคะแนนในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานเร่ืองการไล่ระดบั นา้ หนกั แรเงา 11 ระดบั และ
การไล่ระดับแรเงาในทศิ ทางต่าง ๆ

33

4.1.1 ตำรำงคะแนนแสดงผลคะแนนในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนเรือ่ ง กำรไล่ระดับน้ำหนักแรเงำ 9
ระดับและกำรไลร่ ะดบั แรเงำในทิศทำงตำ่ ง ๆ

เกณฑ์

ชื่อ – สกุล ความสะอาด การไลร่ ะดับนา้ หนกั ความตรงต่อเวลา ค่ำเฉลี่ย
เรยี บรอ้ ย

ก 3 3 2 2.67

ข 2 2 22

ค 3 2 2 2.33

ง 2 3 2 2.33
ค่าเฉล่ยี 2.5 2.5 2

จากตาราง 4.1.1 จะเห็นได้ว่า นักเรียนมีระดับความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานเรื่อง การไล่

ระดับนา้ หนักแรเงา 9 ระดับและการไล่ระดับแรเงาในทิศทางต่าง ๆ ในระดับท่ีดีมาก ซ่ึงมีรายละเอยี ดคา่ เฉลี่ย

ของนกั เรยี นแตล่ ะคน ดังต่อไปนี้

1. ก มีค่าเฉล่ยี อยทู่ ่ี 2.67 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดีมาก

2. ข มคี า่ เฉลย่ี อยูท่ ี่ 2 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดมี าก

3. ค มีค่าเฉลีย่ อยู่ที่ 2.33 สามารถแปลผลอยูใ่ นระดบั ดมี าก

4. ง มคี ่าเฉล่ยี อยทู่ ี่ 2.33 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดมี าก

จากการทาแบบฝกึ หัดการสรา้ งสรรค์ผลงานการไลร่ ะดับนา้ หนกั แรเงา 9 ระดบั และการไล่ระดับแรเงา

ในทิศทางต่าง ๆ ของนักเรียนท้ัง 4 คน จะเห็นได้ว่าอยู่ในระดับท่ีดีมาก และหาค่าเฉล่ียของผลงานการ

สรา้ งสรรคข์ องเกณฑใ์ น 3 ดา้ น ของนักเรยี นทัง้ 3 คน ถอื วา่ ดมี าก ซ่ึงมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

1. ความสะอาดเรยี บรอ้ ย มีค่าเฉลยี่ อยู่ที่ 2.5 สามารถแปลผลอย่ใู นระดับ ดมี าก

2. การไล่ระดับน้าหนัก มีค่าเฉลย่ี อยู่ที่ 2.5 สามารถแปลผลอยูใ่ นระดบั ดมี าก

3. ความตรงต่อเวลา มีคา่ เฉลย่ี อยทู่ ่ี 2 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดมี าก

34

4.1.2 แบบฝึกหัดเรือ่ งการวาดโครงสร้างเรขาคณิตและแบบฝึกหัดการแรเงาเรขาคณติ ของดงั ภาพ
4.1.2 กราฟแท่งแสดงผลคะแนนในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานเร่อื ง การวาดโครงสรา้ งเรขาคณิตและแบบฝึกหดั การ
แรเงาเรขาคณิตและตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์ผลงานเร่ือง การวาดโครงสรา้ งเรขาคณิต
และแบบฝกึ หัดการแรเงาเรขาคณติ

แบบฝึกทักษะท่ี 2 และ 3

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0

เดก็กชายปิยากร จนั ทรแ์ ก้ว เดก็ ขชายธชั กฤท ประทมุ เกสร เด็กคชายแสงเมือง ลงุ กร
เดงก็ หญงิ กรรณกิ า ค้าเตอื น
คา่ เฉล่ีย

ภาพประกอบ 4.1.2 แสดงผลคะแนนในการสรา้ งสรรค์ผลงานเร่อื ง การวาดโครงสรา้ งเรขาคณติ และ
แบบฝกึ หัดการแรเงาเรขาคณิต

35

4.1.2 ตำรำงคะแนนแสดงผลคะแนนในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำนเร่ือง กำรวำดโครงสรำ้ งเรขำคณิตและ
แบบฝึกหดั กำรแรเงำเรขำคณติ
เกณฑ์

ช่อื - สกลุ ความสะอาดของงาน เฉลย่ี
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การร่างโครงสร้าง

เรขาค ิณต
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา

ก 3 3 3 32 2.8
ข 2 2 3 32 2.4
ค 2 2 3 22 2.2
ง 3 3 3 22 2.6
2.5 2.5 3 2.5 2
คา่ เฉล่ีย

จากตาราง 4.1.2 จะเห็นได้ว่า นักเรียนมีระดับความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานเรื่อง การวาด

โครงสร้างเรขาคณิตและแบบฝึกหัดการแรเงาเรขาคณิต อยู่ในระดับที่ดีมาก ซ่ึงมีรายละเอียดค่าเฉลี่ยของ

นกั เรยี นแตล่ ะคน ดังต่อไปน้ี

1. ก มีค่าเฉลยี่ อยู่ที่ 2.8 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมาก

2. ข มคี ่าเฉลย่ี อยทู่ ี่ 2.4 สามารถแปลผลอยใู่ นระดบั ดมี าก

3. ค มคี ่าเฉลย่ี อยทู่ ี่ 2.2 สามารถแปลผลอยใู่ นระดบั ดมี าก

4. ง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.6 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดีมาก

จากการทาแบบฝึกทักษะการสร้างสรรคผ์ ลงานการวาดโครงสร้างเรขาคณิตและแบบฝึกหัดการแรเงา

เรขาคณิต ของนักเรยี นทงั้ 4 คน จะเห็นไดว้ า่ อย่ใู นระดบั ทดี่ มี าก และหาคา่ เฉล่ียของผลงานการสร้างสรรคข์ อง

เกณฑใ์ น 5 ด้าน ของนกั เรยี นทง้ั 4 คน ถอื วา่ ดมี าก ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังนี้

1. ความสะอาดของงาน มีค่าเฉล่ียอยทู่ ี่ 2.5 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดีมาก

2. การไล่ระดบั นา้ หนกั มคี ่าเฉลีย่ อยทู่ ่ี 2.5 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดมี าก

3. การรา่ งโครงสร้างเรขาคณิต มีคา่ เฉลี่ยอยู่ที่ 3 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดีมาก

4. การจัดองคป์ ระกอบ มคี ่าเฉลย่ี อยทู่ ี่ 2.5 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดมี าก

5. ความตรงต่อเวลา มคี ่าเฉลย่ี อยทู่ ี่ 2 สามารถแปลผลอยใู่ นระดบั ดีมาก

36

4.1.3 แบบฝึกหัดเร่ืองการแรเงาตามวัตถทุ ี่กาหนดให้ ของดงั ภาพ 4.1.3 กราฟแท่งแสดงผลคะแนนใน
การสร้างสรรค์ผลงานเรอื่ ง การแรเงาตามวัตถุทก่ี าหนดให้และตารางคะแนนแสดงผลคะแนนในการสร้างสรรค์
ผลงานเรื่อง การแรเงาตามวตั ถทุ ่ีกาหนดให้

แบบฝกึ ทักษะท่ี 4

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0

เดก็ ชายปิยากร จันทร์แก้ว เดก็ขชายธัชกฤท ประทุมเกสร เด็กคชายแสงเมอื ง ลุงกร
เดงก็ หญิงกรรณกิ า คา้ เตือน ค่าขเฉลี่ย

ภาพประกอบ 4.1.2 แสดงผลคะแนนในการสรา้ งสรรค์ผลงานเรื่อง การแรเงาตามวัตถุทีก่ าหนดให้

37

4.1.4 ตำรำงคะแนนแสดงผลคะแนนในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนเรอ่ื ง กำรแรเงำตำมวัตถุท่ีกำหนดให้

เกณฑ์

การร่างภาพโครงสร้าง เฉล่ยี
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
ช่อื – สกุล การเก็บรายละเอียด
ความสะอาดของงาน
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา

ก 3 3 2 2 3 2 2.5
ข 3 3 3 2 3 2 2.67
ค 3 3 2 3 3 2 2.67
ง 3 3 3 3 3 2 2.83
3 3 2.5 2.5 3 2
ค่าเฉลย่ี

จากตาราง 4.1.4 จะเห็นไดว้ ่า นักเรียนมีระดับความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานเรอ่ื ง การแรเงา

ตามวตั ถทุ ก่ี าหนดใหอ้ ยู่ในระดับทดี่ ีมาก ซง่ึ มีรายละเอียดค่าเฉลย่ี ของนักเรยี นแต่ละคน ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ก มีค่าเฉลี่ยอยทู่ ่ี 2.5 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมาก

2. ข มคี ่าเฉลีย่ อยทู่ ี่ 2.67 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดีมาก

3. ค มคี า่ เฉลีย่ อยู่ที่ 2.67 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดมี าก

4. ง มีคา่ เฉลี่ยอยทู่ ่ี 2.83 สามารถแปลผลอยใู่ นระดับ ดมี าก

จากการทาแบบฝึกทกั ษะการสรา้ งสรรค์ผลงานการการแรเงาตามวัตถทุ ก่ี าหนดใหข้ องนักเรียนท้ัง

4 คน จะเห็นได้ว่าอยู่ในระดับท่ีดีมาก และหาค่าเฉลี่ยของผลงานการสร้างสรรค์ของเกณฑ์ใน 6 ด้าน ของ

นักเรียนท้งั 4 คน ถือวา่ ดีมาก ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี

1. การรา่ งภาพโครงสรา้ ง มคี ่าเฉลย่ี อยทู่ ี่ 3 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมาก

2. การไลร่ ะดับน้าหนกั มคี า่ เฉลี่ยอยทู่ ่ี 3 สามารถแปลผลอย่ใู นระดบั ดมี าก

3. การเก็บรายละเอยี ด มีค่าเฉลย่ี อยู่ที่ 2.5 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดีมาก

4. ความสะอาดของงาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.5 สามารถแปลผลอยูใ่ นระดบั ดมี าก

5. การจัดองค์ประกอบ มคี ่าเฉลีย่ อยทู่ ่ี 3 สามารถแปลผลอยู่ในระดบั ดีมาก

6. ความตรงตอ่ เวลา มคี ่าเฉลี่ยอยทู่ ่ี 2 สามารถแปลผลอยู่ในระดับ ดีมาก

ความสะอาด4.3 ตำรำงค่ำเฉลี่ยของคะแนนทง้ั 3 ครัง้ กอ่ นใชน้ วตั กรรม
เรียบ ้รอยการบนั ทกึ เกณฑ์ประเมนิ การสรา้ งสรรค์ผลงานรายบคุ คลทงั้ 3 ครง้ั
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การ ัจดอง ์คประกอบ ครง้ั ท่ี 1
ความตรง ่ตอเวลา
ความสะอาดช่ือ – สกลุ
เรียบ ้รอย
ก 21121
ข 11122
ค 11111
ง 11221
รวม 5 4 5 7 5
จากตาราง 3.1.2 การบันทึกเกณฑ์ประเมนิ ผลงานรายบคุ คลของนกั เรยี นชนั้
คะแนนการสร้างสรรค์ผลงาน มีค่าเฉล่ยี อยู่ที่ 1.29 ซ่ึงต่ากวา่ เกณฑ์ท่คี วรจะเป็น และ
ผู้วจิ ยั จึงเลง็ เหน็ ว่านกั เรยี นทุกคนควรได้รบั การแกไ้ ขและพัฒนาทักษะการไล่ระดับนา้ ห

38

ครัง้ ท่ี 2 คร้ังที่ 3

การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา
ความสะอาด
เรียบ ้รอย
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา
รวม ค่ำเฉล่ยี

1 1 2 1 1 2 1 16 1.33
1 2 1 1 1 1 2 16 1.33
1 1 2 2 1 2 1 15 1.25
1 1 2 1 1 1 1 15 1.25
4 5 7 5 4 6 5 62 5.17
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นเชิงดอยสุเทพพบว่านักเรียนทัง้ 4 คนน้ันมีผลบักทึก
ะจะเห็นได้ว่านักเรยี นท้ัง 4 คนน้นั มีคะแนนทเ่ี กาะกล่มุ กัน น่ันคืออยใู่ นระดับปรังปรุง
หนกั แรเงา เพอ่ื ให้นักเรียนน้นั เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

4.4 ตำรำงคำ่ เฉลยี่ ของคะแนนทั้ง 4 คร้งั หลงั ใช้ชุดฝึกทกั ษะกำรไล่ระดบั นำ้ หนกั แร

แบบฝึกชุดท่ี 1 แบบฝึกชุด

ชอ่ื – สกุล ความสะอาดเรียบร้อย
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
ความตรง ่ตอเวลา

่คาเฉล่ีย
ความสะอาดของงาน
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การร่างโครงสร้าง

ก 33 2 2.67 3 3 3
ข 22 2222 3
ค 32 2 2.33 2 2 3
ง 23 2 2.33 3 3 3
คา่ เฉลยี่ 2.5 2.5 2 2.5 2.5 3

จากตาราง 4.4 จะเหน็ ไดว้ า่ นักเรียนแต่ละคนมจี ุดบกพร่องในการสร้างสรรค์ผลงานที่แ
หมายเหตุ : แบบฝึกหัดที่ 1 คอื การไล่ระดบั นา้ หนกั แรเงา 9 ระดบั และการไลร่ ะดับแร

แบบฝึกหดั ท่ี 2 และ 3 คือ การวาดโครงสร้างเรขาคณติ และแบบฝึกหัดกา
แบบฝึกหัดท่ี 4 คือ การแรเงาตามวัตถุทีก่ าหนดให้

39

รเงำดว้ ยดินสอ โดยใชร้ ูปแบบกำรเรียนกำรสอนทักษะปฏิบตั ขิ องแฮร์โรว์

ดท่ี 2 และ 3 แบบฝกึ ชุดท่ี 4

เรขาค ิณต
การ ัจดอง ์คประกอบ
ความตรง ่ตอเวลา

่คาเฉล่ีย
การร่างภาพโครงสร้าง
การไล่ระ ัดบน้าหนัก
การเ ็กบรายละเ ีอยด
ความสะอาดของงาน
การ ัจดอง ์คประกอบ

ความตรง ่ตอเวลา
่คาเฉลี่ย

3 2 2.8 3 3223 2 2.5
3323 2 2.67
3 2 2.4 3 3233 2 2.67
3333 2 2.83
2 2 2.2 3 3 2.5 2.5 3 2

2 2 2.6 3

2.5 2 3

แตกตา่ งกัน
รเงาในทิศทางตา่ ง ๆ
ารแรเงาเรขาคณิต ซึ่งใชเ้ กณฑ์การประเมนิ ร่วมกนั


Click to View FlipBook Version