The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpd.pbi.76000, 2024-01-31 09:56:47

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

ดาวน์โหลดเล่มรายงานประจ าปี 2566 ได้จาก QR CODE นี้


ก สารสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ท าเนียบบุคลากร บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ 2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ 4 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลัง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 5 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพ ในสังกัดสหกรณ์ 16 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่าย งบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 79 ผลการด าเนินงาน/โครงการนอกแผน การปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 84 ผลการด าเนินงาน/โครงการ ตามนโยบายส าคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่ 90 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการสหกรณ์ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2566-2570) ข จ


ส่วนที่ 3 ส่วนที่ 4 ส่วนที่ 5 ภาคผนวกและ/หรือบรรณานุกรม กิจกรรมประชาสัมพันธ์ รายงานทางการเงิน 119 บรรณานุกรม 95 กิจกรรมของหน่วยงาน 100 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการ ร่วมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 104 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการ ร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ 111 รางวัลที่หน่วยงานได้รับ จากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ 113 งบแสดงฐานะการเงิน 114 งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน 115 หมายเหตุประกอบงบการเงิน



สารสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เป็นหน่วยงำนรำชกำรในสังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มีหน้ำที่และภำรกิจในกำรก ำกับดูแล และแนะน ำส่งเสริมสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร และประชำชนทั่วไปให้รับรู้และเข้ำใจในหลักกำร อุดมกำรณ์และวิธีกำรสหกรณ์ โดยในปีงบประมำณ พ.ศ.2566 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีปฏิบัติงำนแนะน ำส่งเสริมสหกรณ์ จ ำนวน 90 แห่ง กลุ่มเกษตรกรจ ำนวน 51 แห่ง และกลุ่มอำชีพจ ำนวน 18 แห่ง และปฏิบัติงำน ตำมแผนงำนประจ ำปีของกรมส่งเสริมสหกรณ์ นโยบำยส ำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และงำนตำมยุทธศำสตร์จังหวัดเพชรบุรี ส ำเร็จลุล่วงตำมเป้ำประสงค์ที่ก ำหนดได้ด้วยควำมร่วมมือร่วมใจ สมัครสมำนสำมัคคี ทุกคนปฏิบัติหน้ำที่ตำมควำมรับผิดชอบจนท ำให้ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับรำงวัลต่ำง ๆ ทั้งจำกหน่วยงำนภำยนอก และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดังนี้ 1. รำงวัลเลิศรัฐ กำรบริหำรรำชกำรแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน ประจ ำปี พ.ศ. 2566 ระดับดี ผลงำนเรื่อง “กล้วยหอมทอง ก้ำวผ่ำนควำมจน สหกรณ์กำรเกษตรท่ำยำง จ ำกัด” จำก ส ำนักงำนขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ยุทธศำสตร์ชำติ และกำรสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดอง (ส ำนักงำน ป.ย.ป) 2. รำงวัลหน่วยงำนที่มีผลกำรปฏิบัติงำนและผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ ประจ ำปี งบประมำณ พ.ศ. 2566 ในระดับคุณภำพดีเด่น อันดับที่ 1 ของระดับประเทศ จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. รำงวัลแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผ่ำนกำรคัดเลือกเป็นสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรต้นแบบที่น้อมน ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกำรด ำเนินงำน ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 โดยผ่ำนกำรคัดเลือกเป็นสหกรณ์ต้นแบบในระดับเขต จ ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์เครดิตยูเนียนหนองขำนำง จ ำกัด และสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยนบ้ำนซ่อง จ ำกัด ในโอกำสนี้ ขอขอบพระคุณผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเพชรบุรี รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเพชรบุรี สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หน่วยงำนรำชกำรต่ำง ๆ และหน่วยงำนภำคเอกชน ที่มีส่วนช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุน ภำรกิจของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีให้ประสบผลส ำเร็จ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำข้อมูลจำกรำยงำนผล กำรด ำเนินงำนประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2566 ของส ำนักงำน สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี จะเป็นประโยชน์ส ำหรับ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจ และต้องขอขอบคุณ คณะท ำงำนทุกท่ำนที่ร่วมแรงร่วมใจกันจัดท ำรำยงำนฉบับนี้ ให้ส ำเร็จลุล่วงโดยดี นำงครสวรรค์ โภคำ สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี มกรำคม 2567






ฉ บทสรุปผู้บริหาร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีเป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคในสังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหลักในการก ากับดูแล และแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความ เข้มแข็ง และประชาชนทั่วไปให้รับรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ รวมถึงขับเคลื่อน แผนงาน/โครงการตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2566-2570) แผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมสหกรณ์ และยุทธศาสตร์จังหวัด โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงานฯ ปฏิบัติงานตามแผนงานต่าง ๆ โดยน า หลักการ PDCA มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เริ่มต้นจากการประชุมเพื่อก าหนดเป้าหมายและท า แผนปฏิบัติงาน การเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ตามที่แผนก าหนด การติดตามความก้าวหน้าของผลการปฏิบัติงาน น ากลับมาวิเคราะห์และประเมินผล ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อด าเนินการให้เป็นไปตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ ก าหนด ซึ่งสรุปผลการปฏิบัติงานออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของส านักงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้ก าหนดวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานของส านักงานฯ ไว้ว่า “ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เป็นองค์กรชั้นน าในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง เป็นที่พึ่งของมวลสมาชิก” มีหน่วยงานย่อยในสังกัด ทั้งสิ้น 13 หน่วยงาน ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ นิคมสหกรณ์ 2 นิคมสหกรณ์ คือ นิคมสหกรณ์ท่ายางและนิคมสหกรณ์ ชะอ า และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1-5 รวมทั้งศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง 1 ศูนย์ มีอัตราก าลังในการ ปฏิบัติงานแยกเป็นข้าราชการ จ านวน 43 คน พนักงานราชการ 23 คน และลูกจ้างประจ า 7คน ในรอบปีที่ผ่านมา ส านักงานฯ ได้รับงบประมาณจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ทั้งสิ้น 16.74 ล้านบาท แยกเป็นงบบุคลากร 5.65 ล้านบาท งบด าเนินงาน 7.71 ล้านบาท งบลงทุน 1.02 ล้านบาท งบเงินอุดหนุน 2.35 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่น 984 บาท ขับเคลื่อนการด าเนินงานภายใต้ 6 แผนงาน มีสหกรณ์ที่มีสถานะในการด าเนินธุรกิจจ านวน 90 แห่ง และ อยู่ระหว่างช าระบัญชี จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะในการด าเนินธุรกิจ จ านวน 51 แห่ง และอยู่ ระหว่างการช าระบัญชี 2 แห่ง และมีกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ จ านวน 18 แห่ง ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้ด าเนินการตามแผนปฏิบัติงานที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และสามารถสรุปผลการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการจัดสรรงบประมาณทั้งสิ้น 16.74 ล้านบาท ขับเคลื่อนการด าเนินงานภายใต้ 6 แผนงาน 1 ผลผลิต 8 โครงการ 11 กิจกรรมหลัก ดังนี้ แผนงานบุคลากรภาครัฐ งบประมาณได้ที่รับจ านวน 6.67 ล้านบาท ใช้ส าหรับเป็นค่าตอบแทน พนักงานราชการ ค่าเช่าบ้าน และเงินประกันสังคม แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน งบประมาณได้ที่รับจ านวน 6.95ล้านบาท กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงาน สหกรณ์จ านวน 87 แห่ง มีสมาชิก ทั้งหมด จ านวน 211,511 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับสหกรณ์ จ านวน 169,682 คนหรือคิดเป็น ร้อยละ 80.22 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.05 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 65 แห่ง คิดเป็นร้อยละ


บทสรุปผู้บริหาร ช 77.38 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 86 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.72 และสหกรณ์มีอัตราส่วนเงินออม ต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 61.62 มีสหกรณ์ที่จัดตั้งใหม่ในปี 2566 และสามารถด าเนินกิจการได้อย่าง มีคุณภาพ จ านวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรวังจันทร์ – แก่งกระจาน จ ากัด และส่งเสริมสหกรณ์เพื่อ คัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติจ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด กลุ่มเกษตรกร จ านวน 51 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 3,479 คน โดยมีสมาชิก มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จ านวน 1,654 คน คิดเป็นร้อยละ 47.54 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.38 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 49 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.07 มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 51 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 92.72 และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 64.70 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม งบประมาณได้ที่รับจ านวน 0.80 ล้านบาท กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริผลการด าเนินงาน สหกรณ์ จ านวน 3 แห่ง มีสมาชิก 1,727 คน สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.66 สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 2 จ านวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.59 สหกรณ์สามารถน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน โดยผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ต้นแบบในระดับเขต จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองขานาง จ ากัด และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านซ่อง จ ากัด แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า งบประมาณได้ที่รับจัดสรรจ านวน 0.19 ล้านบาท ประกอบด้วย กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร ได้เข้าแนะน า ส่งเสริม สหกรณ์ให้มี การบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ จ านวน 4 แห่ง โดยส่งเสริมสหกรณ์ให้มีบทบาททางการเกษตรกับ แปลงใหญ่ เช่น เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตในแปลงใหญ่ ผลการด าเนินงาน เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตลดลง ผลผลิตเพิ่มขึ้น และมีรายได้เพิ่มส่งผลให้ความเป็นอยู่ดีขึ้น รวมทั้งมีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น มีตลาดรับซื้อผลผลิต ที่แน่นอนและขายได้ในราคายุติธรรม กิจกรรมหลักส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้เข้าแนะน า ส่งเสริม และพัฒนาองค์ความรู้ให้สหกรณ์เป้าหมาย 4 แห่ง ในด้านการวิเคราะห์ตลาด การแปรรูป และ การจัดท าบรรจุภัณฑ์รวมถึงการสร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาดภายในจังหวัด ผลการด าเนินงาน สหกรณ์ที่ เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจ าหน่ายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.69 กิจกรรมหลักพัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ได้เข้า แนะน า ส่งเสริม และพัฒนาองค์ความรู้ให้กับ สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด โดยจัดอบรมหลักสูตรต่อยอดเพิ่ม ขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจ วิเคราะห์ปัญหาด้านธุรกิจของสหกรณ์และร่วมจัดท าแผนเพิ่มมูลค่าการด าเนิน ธุรกิจ(BVCP) ผลการด าเนินงาน สหกรณ์ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจ การบริหารจัดการองค์กร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์ได้กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัย ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองการสนับสนุนการทาการเกษตรปลอดภัยส าหรับสินค้าผักและผลไม้ ได้แนะน า ส่งเสริม และจัดอบรมหลักสูตร “การจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม" โดยมุ่งเน้นส่งเสริมสมาชิกเกษตรกรที่ได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ในปี2565 จ านวน 81 ราย ผลการด าเนินงาน สมาชิกสหกรณ์มีรายได้จากการผลิตสินค้าปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 36.85 สมาชิกยื่นขอ ต่อใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) จ านวน 55 ราย และสหกรณ์มีมูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตร ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 36.81 กิจกรรมรองการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรใน เขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ได้เข้าแนะน า ส่งเสริม และพัฒนาองค์ความรู้ การผลิตพืชปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์นิคม ให้ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขั้นสูงสุด ผลการด าเนินงาน เกษตรกรสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติหรือเป็นแนวทางในการท าเกษตรปลอดภัย รวมทั้ง มีฐานข้อมูล


ซ บทสรุปผู้บริหาร สมาชิกผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการเกษตรปลอดภัย สามารถผลักดันให้ไปสู่การได้รับการรับรอง มาตรฐาน และต่อยอดในปีต่อไป แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม งบประมาณที่ได้รับ จ านวน 2.01 ล้านบาท ประกอบด้วย กิจกรรมหลักช่วยเหลือด้านหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงาน สมาชิกสหกรณ์ได้รับการลดภาระดอกเบี้ย จ านวน 3,641 ราย และมีต้นทุน การผลิตที่ลดลง และกิจกรรมหลักการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิต สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ได้ด าเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความรู้ในการบริหารจัดการสินเชื่อที่มี ประสิทธิภาพการแก้ปัญหาหนี้ค้างช าระและการส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยมีสหกรณ์เข้าร่วม โครงการ จ านวน 12 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 2 แห่ง ส่งผลให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วม โครงการมีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละร้อยละ 15.97 แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา อาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล งบประมาณ 8,400 บาท ได้ร่วมบูรณาการกับหน่วยงานหลาย ภาคส่วน เพื่อส่งเสริมการสหกรณ์ การพัฒนาอาชีพและการตลาด ในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่ายางหักเขาปุ้ม และชุมชนบ้านบางอินทร์ หมู่ 8 ต าบลบางขุนไทร อ าเภอบ้านแหลม โดยการจัดประชุมคณะท างานส่งเสริม พัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดเพชรบุรี เพื่อร่วมกันวางแผนและติดตาม ผลการปฏิบัติงานในการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งรายงานผล การปฏิบัติงานให้ คทช.จังหวัดเพชรบุรี ทราบ ซึ่งตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 – 2566 มีราษฎรได้รับประโยชน์ จาการการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดแล้ว จ านวนทั้งสิ้น 756 ราย โดยแบ่งเป็น พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่ายางหัก-เขาปุ้ม จ านวน 724 ราย และชุมชนบ้านบางอินทร์ หมู่ 8 ต าบลบางขุนไทร อ าเภอบ้านแหลม จ านวน 32 ราย ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์กร เป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ต่อสมาชิกและประชาชนทั่วไป ตามนโยบาย ของรัฐบาลโดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ได้มีงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด และจัดกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เช่น การร่วมจัดกิจกรรมสหกรณ์เพชรบุรีร่วมใจ ปี 66 /โครงการสหกรณ์เพชรบุรี เอื้ออาทรต่อชุมชนครั้งที่ 6 /การเข้าร่วมประชุมเครือข่ายสหกรณ์และสันนิบาตสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เป็นต้น ดังนั้นการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารตลอดจนสร้างความน่าชื่อถือ ความรู้ที่ถูกต้องเพื่อประโยชน์แก่สมาชิกและ ประชาชนทั่วไป จึงเป็นสิ่งที่จ าเป็นอย่างยิ่ง ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จากการด าเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมาพบปัญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ทั้งปัญหา ด้านเศรษฐกิจและภาวะเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อวิถีการด ารงชีวิตและความเป็นอยู่ของสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร รวมถึงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ด้วย ท าให้ทุกคนต้องปรับเปลี่ยนไปสู่วิถีชีวิต ปกติใหม่ (New Normal) ซึ่งบุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี รวมถึงการประชาสัมพันธ์งาน ด้านสหกรณ์ผ่านสื่อต่าง ๆ จึงมีผลให้การปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี กอปรกับทุกคนปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบจนท าให้ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับรางวัลส านักงาน สหกรณ์จังหวัดที่มีผลการประเมินการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับคุณภาพดีเด่น อันดับที่ 1 ของระดับประเทศ


2 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 3


4 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี กรอบอัตราก าลัง เพศชาย เพศหญิง รวม 1) ข้าราชการ 10 33 43 2) ลูกจ้างประจ า 6 1 7 3) พนักงานราชการ 5 18 23 รวม 21 52 73 หมายเหตุ** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 5 แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ การปฏิบัติงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลงาน สะสม (หน่วยนับ) ร้อยละ ผลส าเร็จ งบประมาณ ที่ได้รับ ผลการ เบิกจ่าย สะสม ร้อยละ 1.1 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองสนับสนุนการส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ 147 แห่ง 147 แห่ง 100 5,762,200 5,762,200 100 กิจกรรมรองออกหนังสือรับรองการท า ประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 60 ไร่ 71 ไร่ 118.33 984 984 100 ก่อสร้างรั้วคอนกรีต นิคมสหกรณ์ชะอ า 1 แห่ง 1 แห่ง 100 789,000 789,000 100 กิจกรรมหลักการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร งบลงทุนค่าครุภัฑณ์คอมพิวเตอร์ 23 รายการ 23 รายการ 100 234,300 234,300 100 1.2 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ 3 แห่ง 3 แห่ง 100 715,500 715,500 100 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ฯ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 9,100 9,100 100 โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง 5 แห่ง 100 3,200 3,200 100 โครงการร่วมพัฒนาพื้นที่กองบัญชาการ ต ารวจตระเวนชายแดนเพื่อด าเนินงานตาม "หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" 1 แห่ง 1 แห่ง 100 1,250 1,250 100 โครงการส่งเสริมความรู้ด้านสหกรณ์แก่กลุ่ม ชาวบ้าน 1 แห่ง 1 แห่ง 100 8,050 8,050 100 โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนฯ 3 แห่ง 3 แห่ง 100 25,860 25,860 100 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมกันจัดท า/ ทบทวนแผนกลยุทธ์ 3 แห่ง 3 แห่ง 100 20,400 20,400 100 ส่งเสริมการด าเนินงานของกลุ่มอาชีพสังกัด สหกรณ์ในพื้นที่โครงการพระราชด าริ 6 แห่ง 6 แห่ง 100 2,500 2,500 100


6 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ การปฏิบัติงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลงาน สะสม (หน่วยนับ) ร้อยละ ผลส าเร็จ งบประมาณ ที่ได้รับ ผลการ เบิกจ่าย สะสม ร้อยละ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 3 แห่ง 3 แห่ง 100 22,800 22,800 100 1.3 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ กิจกรรมหลักแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนา คุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ 14 แห่ง 14 แห่ง 100 20,000 20,000 100 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลักช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 10/3,641 แห่ง/ราย 10/3,641 แห่ง/ราย 100 2,006,851 2,006,851 100 1.4 แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลักพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถในการด าเนินธุรกิจของ สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน 1 แห่ง 1 แห่ง 100 20,100 20,100 100 โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักส่งเสริมการแปรรูปสินค้า เกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง 4 แห่ง 100 56,300 56,300 100 โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมการสนับสนุนการท าการเกษตร ปลอดภัยส าหรับสินค้าผักและผลไม้ 2/81 แห่ง/ราย 2/81 แห่ง/ราย 100 46,470 46,470 100 กิจกรรมเกษตรปลอดภัยในสถาบัน เกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ 2/40 แห่ง/ราย 2/40 แห่ง/ราย 100 37,200 37,200 100 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลักระบบส่งเสริมเกษตรแบบ แปลงใหญ่ สถาบันเกษตร 5 แปลง 5 แปลง 100 7,200 7,200 100 โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบธุรกิจเกษตรกร กิจกรรมหลักยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็น ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร 2 แห่ง 2 แห่ง 100 19,220 19,220 100 1.5 แผนงานบรูณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบาย 2 แห่ง 2 แห่ง 100 8,400 8,400 100


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 7 หน่วย : บาท งบรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมงบประมาณ 21,043,333.94 28,413,661.73 16,744,782.60 งบบุคลากร 5,365,669.13 5,411,090.71 5,654,563.29 งบด าเนินงาน 8,375,662.79 7,741,433.20 7,713,997.99 งบลงทุน 201,600.00 13,096,788.00 1,023,300.00 งบอุดหนุน 7,097,745.62 2,162,915.82 2,351,937.32 งบรายจ่ายอื่น 2,656.40 1,434.00 984.00 หน่วย : ล้านบาท


8 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ประเภท จ านวนสหกรณ์ จ านวนชุมนุมสหกรณ์ รวม ทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม สหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร - 21 1 - 2 - 24 สหกรณ์ประมง - 2 - - - - 2 สหกรณ์นิคม - 2 - - - - 2 สหกรณ์ร้านค้า - - 1 - - - 1 สหกรณ์บริการ - 8 - - - - 8 สหกรณ์ออมทรัพย์ - 8 - - - - 8 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - 47 - - - - 47 รวมทั้งสิ้น - 88 2 - 2 - 92 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี) ประเภท จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) สหกรณ์การเกษตร 23 58,493 สหกรณ์ประมง 2 443 สหกรณ์นิคม 2 3,131 สหกรณ์ร้านค้า - - สหกรณ์บริการ 8 1,207 สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 18,529 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 47 131,435 รวมทั้งสิ้น 90 213,238 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี)


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 9 ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สหกรณ์การเกษตร 1 - 12 - - 2 2 - 1 - - 5 สหกรณ์ประมง - - 1 - - - - - - - - 1 สหกรณ์นิคม - - 2 - - - - - - - - - สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - - - - - - สหกรณ์บริการ - - - - - - 1 1 - - 1 5 สหกรณ์ออมทรัพย์ - - - - - - - - 5 2 - 1 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - - 1 1 - - - - 4 6 3 32 รวมทั้งสิ้น 1 - 16 1 - 2 3 1 10 8 4 44 ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 สหกรณ์การเกษตร 6 16 0 1 สหกรณ์ประมง 0 2 0 0 สหกรณ์นิคม 1 1 0 0 สหกรณ์ร้านค้า 0 0 0 1 สหกรณ์บริการ 1 7 0 0 สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 2 0 0 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 16 31 0 0 รวมทั้งสิ้น 30 59 0 2 ที่มา : (รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กองแผนงาน)


10 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณ ธุรกิจ สหกรณ์การเกษตร 22 1,166.92 1,768.53 751.23 415.00 118.12 42.14 4,261.94 สหกรณ์ประมง 2 0.00 0.00 2.43 0.00 13.26 0.39 16.08 สหกรณ์นิคม 2 28.44 53.89 59.94 0.02 11.37 0.00 153.66 สหกรณ์ร้านค้า 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 สหกรณ์บริการ 8 0.69 11.66 0.01 0.00 0.00 0.93 13.29 สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 2,533.53 5,505.77 0.00 0.00 0.00 0.10 8,039.40 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 47 3,074.63 4,316.95 49.89 0.00 0.00 1.34 7,442.81 รวมทั้งสิ้น 89 6,804.22 11,656.80 863.50 415.02 142.75 44.9 19,927.18 ที่มา : (ระบบรายงานปริมาณธุรกิจรายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์) ประเภท ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) สหกรณ์การเกษตร 15 123,034,888.50 7 14,737,577.22 สหกรณ์ประมง - - 2 1,098,726.51 สหกรณ์นิคม 1 3,005,433.10 1 1,100,555.70 สหกรณ์ร้านค้า - - - - สหกรณ์บริการ 6 1,841,861.71 2 165,745.69 สหกรณ์ออมทรัพย์ 8 423,479,432.87 - - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 45 208,224,166.63 2 90,428,437.03 รวมทั้งสิ้น 75 759,585,782.81 14 107,531,042.15 ที่มา : (งบการเงินของสหกรณ์กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ )


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 11 ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร จ านวนชุมนุมสหกรณ์ รวม ทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกกลุ่ม ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรท านา - 36 - - - 36 กลุ่มเกษตรกรท าสวน - 9 - - - 9 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 6 1 - - - 7 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - 1 - - - 1 รวมทั้งสิ้น - 51 2 - - - 53 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี) ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) กลุ่มเกษตรกรท านา 36 2,897 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 9 371 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 6 211 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - รวมทั้งสิ้น 51 3,479 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี) ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่มเกษตรกร ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กลุ่มเกษตรกรท านา 1 - 34 - - - 1 - - - - - กลุ่มเกษตรกรท าสวน - - 7 - - - - - - - - 2 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - 3 - - - - - - - - 3 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 1 - 44 - - - 1 - - - - 5 ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี)


12 ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 กลุ่มเกษตรกรท านา 3 33 - 1 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 7 - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 6 - 2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - 1 รวมทั้งสิ้น 5 46 - 4 ที่มา : (รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กองแผนงาน) หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณ ธุรกิจ กลุ่มเกษตรกรท านา 36 0.00 11.14 13.72 0.00 0.00 0.01 24.87 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 9 0.00 4.94 1.00 0.00 0.00 0.03 5.97 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 6 0.08 4.14 3.59 0.00 0.00 0.00 7.81 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวมทั้งสิ้น 51 0.08 20.22 18.31 0.00 0.00 0.04 38.65 ที่มา : (ระบบรายงานปริมาณธุรกิจรายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์) ประเภท ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) กลุ่มเกษตรกรท านา 35 626,968.88 1 1,257.31 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 9 313,869.92 - - กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 6 242,099.91 - - กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - รวมทั้งสิ้น 50 1,182,938.71 1 1,257.31 ที่มา : (งบการเงินของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ )


ส่วนที่ 1 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 13 ประเภท Active Non-Active รวม ทั้งสิ้น ด าเนิน ธุรกิจ ด าเนินธุรกิจ เป็นครั้งคราว หยุด ด าเนินการ แจ้งยกเลิก กลุ่มแล้ว แต่ยังไม่ได้ แจ้งคืนเงินเข้า คลังจังหวัด แจ้งยกเลิกกลุ่ม และคืนเงินเข้า คลังจังหวัด เรียบร้อยแล้ว ติดตาม ไม่ได้ อาหารแปรรูป 2 2 - - - - 4 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 1 - - - - - 1 ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 4 - - - - - 4 เลี้ยงสัตว์ 3 - - - - - 3 บริการ - - - - - - - เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - - - - - - - เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 1 - - - - - 1 สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา 2 - - - - - 2 เพาะปลูก 3 - - - - - 3 ปัจจัยการผลิต - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 18 - - - - - 18 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี)


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 15


16 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี มีจ านวน 145 แห่ง (ไม่รวมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการ พระราชด าริ) โดยแบ่งเป็นสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจ จ านวน 87 แห่ง สหกรณ์ที่อยู่ระหว่างช าระบัญชี จ านวน 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินธุรกิจ จ านวน 51 แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระบัญชี จ านวน 5 แห่ง งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 433,800 433,800 100 ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แห่ง 145 145 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อ หนี้สิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 63 แห่ง 137 86 62.77 3. สหกรณ์มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ล้านบาท 17,917.75 19,898.08 111.05 4. กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ1 ล้านบาท 34.70 38.65 111.38 5. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 91 แห่ง 88 86 97.72 6. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 แห่ง 55 5 9.09 7. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 84 65 77.38 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการด าเนินภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 17 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 8. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 51 49 96.07 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดท างบการเงินและปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน ร้อยละ 100 แห่ง 137 133 97.08 10. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ในปี 2566 สามารถด าเนินกิจการได้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100 แห่ง 1 1 100 11. ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีก าไรประจ าปีร้อยละ 100 แห่ง 137 122 89.05 12. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างช าระบัญชี สามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 แห่ง 6 2 33.33 13. จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่พิจารณาคัดเลือกและ ส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ แห่ง 3 2 66.66 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงาน 1. สหกรณ์ในจังหวัดเพชรบุรี จ านวน 89 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 211,511 คน สหกรณ์มีอัตราเงิน ออมต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 53 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.91 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 55 แห่ง มูลค่าปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 1,980.33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.05 ด้านความเข้มแข็งของสหกรณ์ ตาม เกณฑ์ 4 ด้าน (เกณฑ์เดิม) สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ จ านวน 169,682 คน คิดเป็นร้อยละ 80.22 มี ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจในระดับมั่นคงตามมาตรฐานขึ้นไป จ านวน 43 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 49.43 มี ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กรในระดับดีขึ้นไป จ านวน 70 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80.45 สหกรณ์มีข้อบกพร่อง ได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จแต่ต้องติดตาม จ านวน 12 แห่ง 21 ประเด็น มูลค่าความเสียหายที่ได้รับการแก้ไข จ านวน 3,785.31 ล้านบาท มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 86 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.72 ด้านมาตรฐาน สหกรณ์ มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 65 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 77.38 ด้านการแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ มี สหกรณ์ที่จัดตั้งใหม่ในปี 2566 และสามารถด าเนินกิจการได้อย่างมีคุณภาพ จ านวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรวังจันทร์ – แก่งกระจาน จ ากัด และส่งเสริมสหกรณ์เพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด ซึ่งจากการด าเนินงาน ดังกล่าว ส่งผลให้สหกรณ์มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งแก่มวลสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี จ านวน 56 แห่ง (กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินธุรกิจ จ านวน 51 แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระบัญชี จ านวน 5 แห่ง) มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 3,479 คน สหกรณ์มีอัตราเงิน ออมต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.70 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 27 แห่ง มูลค่าปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 3.95 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.38 ด้านความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร ตามเกณฑ์ 4 ด้าน (เกณฑ์เดิม) สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ จ านวน 1,654 คน คิดเป็นร้อยละ 47.54 มี ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจในระดับมั่นคงตามมาตรฐานขึ้นไป จ านวน 49 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.07 มี ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กรในระดับดีขึ้นไป จ านวน 22 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 43.13 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 89 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.80 ด้านมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร มีกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 49 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.07 ซึ่งจากการด าเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง และ เป็นที่พึ่งแก่มวลสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ


18 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร - สมาชิกของสหกรณ์จ านวนมากได้รับผลกระทบด้านเศรษฐกิจที่มีความผันผวน สมาชิกมีรายได้ลดลงจาก การจ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตร เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากราคาเคมีการเกษตรเพิ่มสูงขึ้นเท่าตัว ท าให้ สมาชิกขาดสภาพคล่องทางการเงินส่งผลให้ไม่สามารถช าระหนี้ของสหกรณ์ได้ตามก าหนดระยะเวลาของสัญญาได้ ส่งผลกระทบต่อการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ - สหกรณ์บางแห่งมีปัญหาหนี้ค้างช าระนาน และดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ ส่งผลกระทบในการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ - กลุ่มเกษตรกรบางกลุ่มมีเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอต่อการด าเนินธุรกิจ จึงท าให้ผลการด าเนินงานมีผล ขาดทุน/ก าไรเพียงเล็กน้อย ซึ่งไม่เพียงพอส าหรับการปันผล และเฉลี่ยคืนสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - สหกรณ์ควรเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามหนี้ ให้ลูกหนี้เงินกู้น าเงินมาช าระหนี้ให้เป็นไปตามก าหนด สัญญาโดยเร็วโดยเฉพาะหนี้ค้างนาน จัดท าโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์และ คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ควรพิจารณาการปล่อยสินเชื่อให้กับสมาชิกที่มีวินัยทางการเงินมีความสามารถในการ ช าระหนี้ได้ พร้อมทั้งมีการส่งเสริมอาชีพสมาชิกสหกรณ์เพื่อสร้างรายได้ - กลุ่มเกษตรกรต้องวางแผนในการระดมเงินทุน และเพิ่มปริมาณธุรกิจ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการด าเนิน ธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรให้มีผลการด าเนินงานก าไรเพิ่มมากขึ้น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะน าส่งเสริมฯ ปี 2566 มาใช้ในการ ด าเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ร่วมกับคณะกรรมการด าเนินการ ฝุายจัดการของ สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด โดยร่วมกันวิเคราะห์ ก าหนดแผนพัฒนาสหกรณ์ ในด้านการพัฒนาศักยภาพการด าเนิน ธุรกิจของสหกรณ์/ พัฒนาองค์กร/พัฒนาบุคลากร และด าเนินการตามแผนที่ก าหนด รวมถึงติดตามประเมินผลเพื่อแก้ไข ในปี 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีร่วมกับสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัดได้น าเสนอผลงาน รางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน เรื่อง “กล้วยหอมทอง ก้าวผ่านความจน สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด” และได้รับรางวัลเลิศรัฐ ระดับดี n


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 19 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งานที่ด าเนินการ :ส่งเสริมสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็ง ระดับชั้น 1 และผลักดันให้เป็นต้นแบบ รางวัลเลิศรัฐ ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีผลการประเมินความเข้มแข็ง ระดับชั้น 1 และได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน เรื่อง “กล้วยหอมทอง ก้าวผ่านความจน สหกรณ์ การเกษตรท่ายาง จ ากัด” ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ ให้มีการพัฒนาธุรกิจสหกรณ์และส่งเสริมการแปรรูป เพื่อเพิ่ม มูลค่าสินค้าเกษตร ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจ 132,409,66.71 บาท และมีการแปรรูป กล้วยหอม ทองอบตากพลังงานแสงอาทิตย์และแปรรูปกล้วยหอมทองเป็นกล้วยกวน ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ งานที่ด าเนินการ : เข้าแนะน า ก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้ด าเนินการตาม กฎหมาย ระเบียบ ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ระเบียบ ข้อบังคับสหกรณ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์ด าเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับสหกรณ์ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ ปัจจัยแห่งความส าเร็จในการขับเคลื่อนพัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด ให้มี ความเข้มแข็งและผลักดันสู่รางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน เรื่อง “กล้วยหอมทอง ก้าวผ่านความจน สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด” ได้รับรางวัลระดับดี ส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบุรีและสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด ด าเนินการประสบความส าเร็จโดยมีแนวทาง ดังนี้ (1) ส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาคุณภาพกล้วยหอมทองแบบปลอดภัย มาตรฐาน GAP (2) สนับสนุน เงินทุน (3) พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ (4) ส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน (5) ส่งเสริมการท าปุ๋ยหมัก (6) ติดตามและประเมินผล ซึ่งสามารถเป็นต้นแบบให้กับสหกรณ์ต่างๆ ปัจจุบันสหกรณ์ได้มีการขยายความส าเร็จ เป็นศูนย์เรียนรู้ใน การศึกษาดูงานเรื่องระบบสหกรณ์และธุรกิจกล้วยหอมทอง ตลาดกลางการเกษตรของสหกรณ์ โดยมีผู้ศึกษาดูงาน เฉลี่ยเดือนละ 400 คน ทั้งจากสหกรณ์ต่างๆ เกษตรกรและหน่วยงานราชการ อีกทั้งสหกรณ์ยังมีกิจกรรมช่วยเหลือ สังคม เช่น สนับสนุนกล้วยหอมทองให้หน่วยงานราชการในวันส าคัญ กิจกรรมวันเด็ก


20 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ มีจ านวน 2 แห่ง (สหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด , สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด) งบประมาณที่ได้รับ หน่วยงาน ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ นิคมสหกรณ์ชะอ า งบด าเนินงาน 980,200 980,200 100 นิคมสหกรณ์ท่ายาง งบด าเนินงาน 699,200 699,200 100 ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แห่ง 2 2 100 2. สหกรณ์ที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 63 แห่ง 2 2 100 3. สหกรณ์มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ล้านบาท 142.56 153.66 107.78 5. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 91 แห่ง 2 2 100 7. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 2 1 50 9. สหกรณ์จัดท างบการเงินและปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน ร้อยละ 100 แห่ง 2 2 100 11. ผลการด าเนินงานของสหกรณ์มีก าไรประจ าปีร้อยละ 100 แห่ง 2 1 100 13. จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่พิจารณาคัดเลือกและ ส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ แห่ง 2 1 50 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงาน 1. สหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชะอ า จังหวัดเพชรบุรี (สหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด) มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 1,321 คน โดยสมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับสหกรณ์ จ านวน 1,031 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 78.05 มีปริมาณธุรกิจลดลง จ านวน 4.1 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 48.23 สหกรณ์มีผลขาดทุนจ านวน 1.1 ล้านบาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดี สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไป สหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 3 2. สหกรณ์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี (สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด) มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 1,810 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับสหกรณ์ จ านวน 1,522 คนหรือคิดเป็นร้อยละ84.09 มีปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้น จ านวน 15,227,820.98 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.36 สหกรณ์มีผลก าไร จ านวน 3,005,433.10 บาท สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดี สหกรณ์ มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับดีเลิศ สหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 2 ซึ่งจากการด าเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้สหกรณ์มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งแก่มวลสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 21 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นิคมสหกรณ์ชะอ า - สหกรณ์มีผลการด าเนินงานขาดทุนหลายปีบัญชีติดต่อกันจึงท าให้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น ของสมาชิก - สหกรณ์มีปัญหาหนี้ค้างช าระจ านวนมาก มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นจ านวนสูง ส่งผลให้ มีผลการด าเนินงานขาดทุน นิคมสหกรณ์ท่ายาง - คณะกรรมการด าเนินการและฝุายจัดการ ไม่ให้ความส าคัญในการปฏิบัติงานตามข้อบังคับ/ระเบียบ คณะกรรมการบางท่านยังขาดความรู้เกี่ยวกับการด าเนินกิจการของสหกรณ์ ขาดความรู้เรื่องกฎหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขตแห่งการด าเนินกิจการที่พึงด าเนินการได้ของสหกรณ์ - สมาชิกสหกรณ์ ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อสหกรณ์ ขาดความรู้เรื่องสหกรณ์ สมาชิก บางรายขาดความร่วมมือ และไม่ได้มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา นิคมสหกรณ์ชะอ า - สหกรณ์ต้องเร่งติดตามและขับเคลื่อนแผนฟื้นฟูสหกรณ์ และด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์ เพื่อให้สหกรณ์ มีผลการด าเนินงานที่ดี มีก าไรจากการด าเนินธุรกิจ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสมาชิก โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหา หนี้ค้างช าระที่มีจ านวนมาก - สหกรณ์ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และอุปกรณ์การตลาดของสหกรณ์ที่มีอยู่ให้มาก ขึ้นและให้เกิดผลตอบแทนสูงสุด - สหกรณ์ควรเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามหนี้ ให้ลูกหนี้เงินให้กู้น าเงินมาช าระหนี้ให้เป็นไปตามก าหนด สัญญาโดยเร็วโดยเฉพาะหนี้ค้างนาน จัดท าโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ - สหกรณ์ต้องวางแนวทางในการระดมเงินทุน เพิ่มศักยภาพในการด าเนินธุรกิจให้สามารถท าก าไรได้ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่สมาชิก - สหกรณ์มีสภาพคล่องน้อย เงินทุนจ ากัด จึงควรลงทุนในธุรกิจที่ให้รายได้ผลตอบแทนอย่างรวดเร็ว มีการหมุนรอบน้อย และคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ควรพิจารณาการปล่อยสินเชื่อให้กับสมาชิกที่มีวินัย ทางการเงินแต่ละรายที่มีความสามารถในการช าระหนี้ได้ นิคมสหกรณ์ท่ายาง - แนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์ติดตามเร่งรัดหนี้ค้างช าระอย่างต่อเนื่อง และน าผลการปฏิบัติงาน พร้อมปัญหาในการติดตามหนี้ค้างช าระน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ เพื่อจะได้ร่วมกันแก้ไข - แนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์มีการจัดโครงการอบรม เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามข้อบังคับ/ระเบียบ มติที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ กฎหมายสหกรณ์ ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้อง ให้แก่คณะกรรมการและฝุายจัดการ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่สมาชิกสหกรณ์ เกี่ยวกับบทบาท สิทธิ และหน้าที่ของสมาชิก


22 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 23 สหกรณ์การเกษตรวังจันทร์ - แก่งกระจาน จ ากัด ผู้ซึ่งประสงค์จะจัดตั้งสหกรณ์ได้จัดประชุม และจัดให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้ โดย ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เพชรบุรี ในวันที่ 19 – 20 ตุลาคม 2565 ในการประชุมครั้งนี้ ได้ก าหนดวาระ เพื่อพิจารณา ดังต่อไปนี้ 1.1 การพิจารณาเลือกตั้งคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ 1.2 การพิจารณาก าหนดชื่อสหกรณ์ 1.3 พิจารณาก าหนดประเภทและวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ 1.4 พิจารณาแผนด าเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ หรือ กิจกรรมของสหกรณ์ 1.5 พิจารณาก าหนดข้อบังคับ ของสหกรณ์ คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ จ านวน 10 ราย ได้ยื่นค าขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2566 โดยขอจดทะเบียนประเภท สหกรณ์การเกษตร มีท้องที่ด าเนินงานในอ าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ร่วมกันยื่นเอกสาร ดังนี้ 1. ส าเนารายงานการประชุมผู้ซึ่งประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด 2. ส าเนารายงานการประชุมคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด 3. ส าเนารายงานการประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด 4. แผนด าเนินการเกี่ยวกับธุรกิจหรือกิจกรรมของสหกรณ์และเอกสารประกอบ จ านวน 2 ชุด 5. บัญชีรายชื่อผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด 6. ข้อบังคับของสหกรณ์ จ านวน 4 ฉบับ นายทะเบียนสหกรณ์ได้รับจดทะเบียนสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรวังจันทร์ - แก่งกระจาน จ ากัด เลขทะเบียนสหกรณ์ ที่ 7600000125662 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 โดยสหกรณ์มีส านักงาน อยู่ที่ต าบลวังจันทร์ อ าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตรวังจันทร์ - แก่งกระจาน จ ากัด ด าเนินงานเป็นไปตามอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ โดยด าเนินการตามแผนธุรกิจที่ได้วางไว้ สหกรณ์มี ผลการด าเนินงาน ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 มีสมาชิก จ านวน 181 ราย โดยมีรายละเอียด ตามงบแสดงฐานะการเงิน/งบก าไรขาดทุน ดังนี้ รายการ จ านวน (บาท) สินทรัพย์ 1,249,826,32 หนี้สิน 1,017,528.00 ทุนของสหกรณ์ 232,298.32 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ 51,088.32 ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 สหกรณ์การเกษตรวังจันทร์ - แก่งกระจาน มีปริมาณธุรกิจ ดังนี้ รายการ จ านวน (บาท) ธุรกิจสินเชื่อ 648,468.00 ธุรกิจรับฝากเงิน 1,017,528.00


24 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี การจัดตั้งสหกรณ์ให้มีคุณภาพและประสบความส าเร็จจะต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิกสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของสหกรณ์ และ ในฐานะผู้ใช้บริการ ต้องมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ ซึ่งส านักงาน สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้แนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์ด าเนินงานตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อเป็นการ วางรากฐานที่ดีให้แก่สหกรณ์ เป็นที่พึ่งให้แก่มวลสมาชิก


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 25 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการจัดระดับความเข้มแข็งสหกรณ์ตามระดับชั้นส าหรับใช้ในการพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ ให้สอดคล้องในแต่ละระดับชั้น เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี - สหกรณ์ จ านวน 90 แห่ง - กลุ่มเกษตร จ านวน 51 แห่ง งบประมาณที่ได้รับ - ไม่ได้รับงบประมาณ - ผลการด าเนินการ จากเกณฑ์การประเมินผล ตามเกณฑ์การจัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ ทั้ง 4 ด้านข้างต้น ได้แบ่งระดับชั้นของสหกรณ์ ออกเป็น4 ระดับชั้น ดังนี้ 1. ชั้น 1 (Class 1) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 70 และมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป มีชั้นคุณภาพการควบคุมภายในดี ถึงดีมาก และไม่มีข้อบกพร่องจากการด าเนินงาน หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้ด าเนินการแก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 2. ชั้น 2 (Class 2) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้ระหว่างร้อยละ 60 – 69 และมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ ากว่ามาตรฐาน มีชั้นคุณภาพการควบคุมภายในในระดับพอใช้ หรือเป็นสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องซึ่งได้ด าเนินการแก้ไขแล้วเสร็จแต่ต้องติดตาม หรืออยู่ระหว่างด าเนินการแก้ไข 3. ขั้น 3 (Class 3) เป็นสหกรณ์ที่มีความสามารถในการบริการสมาชิกได้ต่ ากว่าร้อยละ 60 และมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับต้องปรับปรุงและมีชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ต้องปรับปรุงหรือไม่มีระบบการควบคุมภายใน หรือเป็นสหกรณ์ที่เกิดข้อบกพร่องและยังไม่เริ่มด าเนินการแก้ไข 4. ชั้น 4 < (Class 4) เป็นสหกรณ์ที่นายทะเบียนสหกรณ์สั่งเลิกกิจการแล้ว อยู่ในระหว่างการช าระบัญชี ผลส าเร็จ - สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 จ านวน 30 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 32.96 แบ่งเป็น ประเภท สหกรณ์การเกษตร 6 แห่ง สหกรณ์นิคม 1 แห่ง สหกรณ์บริการ 1 แห่ง สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 แห่ง และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 16 แห่ง - สหกรณ์ ผ่านเกณฑ์ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 2 จ านวน 59 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.83 แบ่งเป็น ประเภท สหกรณ์การเกษตร 16 แห่ง สหกรณ์ประมง 2 แห่ง สหกรณ์นิคม 1 แห่ง สหกรณ์บริการ 7 แห่ง สหกรณ์ออมทรัพย์ 2 แห่ง และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 31 แห่ง - กลุ่มเกษตรกร ผ่านเกณฑ์ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 จ านวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 9.80 แบ่งเป็น ประเภท กลุ่มเกษตรท านา 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท าสวน 2 แห่ง - กลุ่มเกษตรกร ผ่านเกณฑ์ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 2 จ านวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90.20 แบ่งเป็น ประเภท กลุ่มเกษตรท านา 33 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท าสวน 7 แห่ง กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 6 แห่ง


26 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน เนื่องจากในปีงบประมาณ 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์ประเมินความเข้มแข็ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ท าให้ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าใจระบบการตรวจการสหกรณ์ 2. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้ทราบสถานะภาพของสหกรณ์ ข้อสังเกตจากการการสอบ บัญชี การตรวจการสหกรณ์ที่ผ่านมาและความเสี่ยงของสหกรณ์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการตรวจการสหกรณ์ 3. เพื่อก าหนดเปูาหมาย คัดเลือกสหกรณ์ที่จะตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 4. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าใจขั้นตอนการบันทึกผลการตรวจการสหกรณ์ในระบบตรวจการสหกรณ์ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน กลุ่มตรวจการสหกรณ์จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 โดยมีผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้เกี่ยวข้องเข้าประชุม จ านวน 31 คน ประเด็นต่าง ๆ ที่ประชุมมีดังนี้


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 27 1. ชี้แจงระบบการตรวจการสหกรณ์ 2. แจ้งค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 3. รายงานผลการวิเคราะห์สถานภาพ/ความเสี่ยงของสหกรณ์ 4. ข้อสังเกตตามรายงานการสอบบัญชีประจ าปี/ข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญชี/ผลการตรวจการ สหกรณ์ที่ผ่านมา 5. คัดเลือกสหกรณ์เปูาหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ โดยพิจารณาให้ความส าคัญเรียงล าดับ ดังนี้ 5.1 สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต 5.2 สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน 5.3 สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 6. วิธีการรายงานผลการตรวจการสหกรณ์ผ่านระบบตรวจการสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ จ านวน 1 ครั้ง - มีผู้เข้าประชุม จ านวน 31 คน ประกอบด้วย ผู้ตรวจการสหกรณ์ จ านวน 26 คน ผู้ช่วยผู้ตรวจการ สหกรณ์ จ านวน 2 คน และผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 3 คน เชิงคุณภาพ - ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้รับทราบระบบการตรวจการสหกรณ์ - ได้รับทราบข้อมูลสหกรณ์จากการวิเคราะห์สถานภาพ/ความเสี่ยง และข้อสังเกตต่าง ๆ สามารถน า ไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ได้เข้าใจขั้นตอนการบันทึกผลการตรวจการสหกรณ์ในระบบตรวจการสหกรณ์ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 15,000 15,000 100


28 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาการด าเนินกิจการและการบริหารงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อผลักดันสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องสามารถแก้ไขได้เสร็จสมบูรณ์ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ สหกรณ์จ านวน 14 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 1 แห่ง พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี มอบหมายกลุ่มตรวจการสหกรณ์รับผิดชอบการติดตามประเมินผล ความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยแบ่งเป็นข้อบกพร่องเดิมและข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้นใหม่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แล้วรายงานผ่านระบบการจัดการข้อบกพร่องของสหกรณ์ทางเว็บไซต์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และรายงานตามแบบที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนด ในปีงบประมาณพ.ศ. 2566 มีข้อบกพร่อง ดังนี้ 1. ข้อบกพร่องของสหกรณ์ สหกรณ์เดิม จ านวน 14 แห่ง เกิดขึ้นใหม่ระหว่างปี จ านวน 1 แห่ง แก้ไขเสร็จสมบูรณ์ จ านวน 1 แห่ง 2. ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรเดิม จ านวน 1 แห่ง เกิดขึ้นใหม่ระหว่างปี จ านวน 1 แห่ง ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องสามารถแก้ไขเสร็จสมบูรณ์จ านวน 1 สหกรณ์ 2. กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องสามารถแก้ไขเสร็จสมบูรณ์ จ านวน 1 แห่ง เชิงคุณภาพ 1. จ านวนสหกรณ์ที่ได้รับติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง จ านวน 14 สหกรณ์ 2. จ านวนกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง จ านวน 1 กลุ่ม 3. การรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้รับผิดชอบมีการรายงานความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบทั้งการรายงานผ่านระบบการจัดการข้อบกพร่องของ สหกรณ์ทางเว็บไซต์กรมส่งเสริมสหกรณ์และรายงานตามแบบที่กรมก าหนดได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 12,500 12,500 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 29 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง เรื่องร้องเรียนของสหกรณ์ ให้เป็นไปและสอดคล้อง ตามข้อก าหนดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวทางในการด าเนินคดีตามกฎหมายกับผู้กระท าผิดต่อสหกรณ์ 2. เพื่อผลักดันให้สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง ข้อร้องเรียนต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ จัดประชุมคณะท างานฯ จ านวน 4 ครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี มอบหมายกลุ่มตรวจการสหกรณ์ รับผิดชอบการจัดประชุมคณะท างาน ระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) โดยกลุ่มตรวจการ สหกรณ์จัดประชุม จกบ. จ านวน 4 ครั้ง ซึ่งจะมีการประชุม 3 เดือนต่อครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 ผู้เข้าประชุม จ านวน 23 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 16 มีนาคม 2566 ผู้เข้าประชุม จ านวน 23 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ผู้เข้าประชุม จ านวน 20 คน ครั้งที่ 4 วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 ผู้เข้าประชุม จ านวน 20 คน ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย คณะท างานฯ ที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และผู้แทนสหกรณ์ โดยประเด็นในการประชุมมีการชี้แจง /พิจารณาในเรื่องดังนี้ 1. ติดตามความหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของแต่ละสหกรณ์ 2. ก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์ ให้เป็นไปและสอดคล้องตามข้อก าหนด ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวทางในการด าเนินคดีตามกฎหมายกับผู้กระท าผิดต่อสหกรณ์ เมื่อด าเนินการประชุมเสร็จ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ในฐานะเลขานุการคณะท างานฯ จะเป็นผู้บันทึก รายงานการประชุม แจ้งให้คณะท างานฯ พิจารณาและรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมทั้งแจ้งเวียนค าแนะน า ข้อเสนอของคณะท างานตามมติที่ประชุมให้สหกรณ์น าไปพิจารณาด าเนินการ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - มีการประชุมจ านวน 4 ครั้ง จ านวนสหกรณ์ที่น าเข้าที่ประชุม จ านวน 14 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ได้รับแนวทาง ค าแนะน าในการด าเนินคดีตามกฎหมายทั้งทางอาญาและทางแพ่ง การสืบทรัพย์ เพื่อบังคับคดี การด าเนินการตามกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ค าแนะน าในการการด าเนินงานของสหกรณ์ ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ รวมไปถึงการได้รับการประสานงาน ความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานสอบสวน อัยการ ท าให้การด าเนินคดีตามกฎหมายเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว


30 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 2. ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องได้เสร็จสมบูรณ์ จ านวน 5 สหกรณ์ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 11,400 11,400 100 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อก ากับ ดูแล และตรวจสอบการด าเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อปูองกันปัญหาข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น 3. เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเมื่อเกิดเหตุผิดปกติ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ สหกรณ์จ านวน 14 แห่ง (ร้อยละ 15 ของจ านวนสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจ) ผลการด าเนินงาน ผู้ตรวจการสหกรณ์/คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าตรวจการสหกรณ์จ านวน 14 แห่ง กลุ่มตรวจการสหกรณ์ พิจารณาตัดเลือกสหกรณ์เปูาหมายตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 โดย ด าเนินการดังนี้ 1. สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีในฐานะรองนายทะเบียนสหกรณ์ ปฏิบัติการแทนนายทะเบียนสหกรณ์ มอบหมายผู้ตรวจการสหกรณ์และคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ตรวจสอบสหกรณ์เป็นกรณีพิเศษ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด โดยพิจารณาจาก


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 31 (1) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต (2) สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน (3) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 2. คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดเพชรบุรี เข้าตรวจสอบสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และเมื่อตรวจสอบสหกรณ์เสร็จแล้ว ได้สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจการสหกรณ์ต่อนายทะเบียน สหกรณ์พิจารณา ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - สหกรณ์ที่ได้รับการตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ จ านวน 14 สหกรณ์ เชิงคุณภาพ - เมื่อมีเหตุผิดปกติในสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์/คณะผู้ตรวจสหกรณ์ ได้เข้าตรวจสอบโดยเร็ว ท าให้ได้ ทราบข้อมูลถึงเหตุผิดปกติ ทราบมูลค่าความเสียหาย ผู้กระท าผิด และสามารถด าเนินการตามกฎหมายได้อย่าง รวดเร็ว รวมถึงได้มีการชี้แจงเหตุที่เกิดขึ้นให้สมาชิกเกิดความเข้าใจ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 15,000 15,000 100


32 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อก ากับ ดูแล และตรวจสอบการด าเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อปูองกันปัญหาข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ สหกรณ์ จ านวน 22 แห่ง (ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจทั้งหมด โดยไม่นับซ้ ากับสหกรณ์ เปูาหมายที่ได้ตรวจสอบโดยทีมตรวจสอบสหกรณ์ระดับจังหวัดไปแล้ว ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565) พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จ านวน 8 ทีม ได้ตรวจการสหกรณ์จ านวน 22 แห่ง กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ก าหนดเปูาหมายสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ซึ่งได้ด าเนินการดังนี้ 3.1 จัดทีมตรวจสอบสหกรณ์ในรูปแบบคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัด 3.2 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดร่วมกันจัดท าแผนปฏิบัติการตรวจสอบสหกรณ์เปูาหมายตามที่ นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด 3.3 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดเข้าตรวจสอบสหกรณ์ตามแผนที่ก าหนด โดยการเข้าตรวจสอบ แต่ละครั้งตรวจสอบครบทุกประเด็นตามรายการที่ก าหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ ใช้ระยะเวลาในการ ตรวจสอบเฉลี่ยสหกรณ์ละ 3 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของสหกรณ์ 3.4 เมื่อตรวจสอบเสร็จแล้ว สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลกาตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบก่อนน าเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณาสั่งการ/ แนะน าให้ด าเนินการแก้ไข กรณีมีข้อสังเกตหรือข้อบกพร่อง ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - จ านวนสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบ โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จ านวน 22 แห่ง เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบ ได้รับค าแนะน าสามารถแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องและ ข้อสังเกตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีการด าเนินงานที่เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 53,400 53,400 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 33 การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี จ านวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1.1 สหกรณ์การเกษตรแก่งกระจาน จ ากัด 1.2 ร้านสหกรณ์วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี จ ากัด 2. กลุ่มเกษตรกร จ านวน 6 แห่ง ได้แก่ 2.1 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ไร่ใหม่พัฒนา 2.2 กลุ่มเกษตรกรท านานายาง 2.3 กลุ่มเกษตรกรท าสวนบ้านหม้อ 2.4 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ าต าบลโพพระ 2.5 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลโพพระ 2.6 กลุ่มเกษตรกรท านาไร่สะท้อน ผู้ช าระบัญชีได้ด าเนินการการช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ด าเนินการปิด/เผยแพร่ ประกาศผู้ช าระบัญชี ผู้ช าระบัญชีจัดท าประกาศผู้ช าระบัญชีเพื่อแจ้ง เจ้าหนี้ยื่นค าทวงหนี้ หรือผู้ประสงค์จะติดต่อ กับสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร โดยติดไว้ที่ท าการของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร หรือติดประกาศในที่เปิดเผยให้ สาธารณะชนได้รับทราบ เช่น ที่ว่าการอ าเภอ องค์การบริหารส่วนต าบล ส่วนราชการภายในท้องถิ่น ส านักงาน สหกรณ์จังหวัด ฯลฯ ประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ อย่างน้อย 2 วัน ติดต่อกัน หรือประกาศโฆษณาทางอื่นให้ สาธารณชนได้ทราบว่าสหกรณ์ได้เลิก และนายทะเบียนสหกรณ์ได้แต่งตั้งอยู่ช าระบัญชีแล้ว 2. รับมอบทรัพย์สินพร้อมด้วยสมุดบัญชีและเอกสาร ผู้ช าระบัญชีจัดท าหนังสือแจ้งสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร (คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ฯลฯ) และ จัดท าบันทึกการรับมอบทรัพย์สินไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร ทะเบียนลูกหนี้/เจ้าหนี้/หุ้น วัสดุ อุปกรณ์ เอกสารทางการเงินและทางบัญชี ฯลฯ 3. จัดท างบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน (ตาม ม.80) เมื่อได้รับมอบเอกสารหลักฐานทางบัญชี รวมทั้งทรัพย์สินต่าง ๆ แล้ว ผู้ช าระบัญชีด าเนินการ จัดท างบ การเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน โดยใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีให้ความเห็นปีล่าสุด (ก่อนการเลิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) เป็นข้อมูลการตั้งยอดบัญชี ในกระดาษท าการงบการเงิน ซึ่งงบการเงินจะประกอบไปด้วย กระดาษท าการงบการเงิน งบดุล งบก าไรขาดทุน งบต้นทุนขายพร้อม รายละเอียดประกอบงบการเงินเสนอส่งให้ ผู้สอบบัญชีตรวจรับรองงบ 4. ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองงบการเงิน 5. ผู้ช าระบัญชีเสนองบการเงินให้ที่ประชุมใหญ่อนุมัติ/นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจรับรองงบแล้ว ผู้ช าระบัญชีเรียกประชุมใหญ่สมาชิก เพื่อเสนองบดุลให้ที่ประชุมใหญ่ พิจารณาอนุมัติงบการเงิน แล้วจึงเสนอต่อไปยังนายทะเบียนสหกรณ์ หากไม่สามารถเรียกประชุมใหญ่เพื่อ พิจารณาอนุมัติการเงินได้ ให้เสนองบการเงินต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่ออนุมัติ


34 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 6. ผู้ช าระบัญชีด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน 6.1 จัดการเกี่ยวกับทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นเงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้สินค้าคงเหลือสินทรัพย์ ถาวร และสินทรัพย์ยืม โดยด าเนินการ ดังนี้ 1) จ่ายช าระหนี้ให้เจ้าหนี้ หากไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะช าระหนี้ต่อเจ้าหนี้ ให้ท าหนังสือ ประนีประนอมขอลดหนี้ หรือเฉลี่ยหนี้สินแล้วแต่กรณี 2) ติดตามเร่งรัดหนี้สิน กรณีที่มีลูกหนี้ค้างช าระ หากลูกหนี้ไม่มีเงินเพียงพอที่จะช าระ หนี้ให้ เสร็จสิ้น ลูกหนี้อาจขอลดหนี้ได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ช าระบัญชี 3) การจัดจ าหน่ายทรัพย์สินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อรวบรวมเงินช าระหนี้ แก่เจ้าหนี้ กรณีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทรัพย์สินคงเหลือและมีหนี้ค้างช าระ และเมื่อจัดการช าระหนี้สินแล้ว มีทรัพย์สิน (เงินสด) เหลืออยู่ ให้ด าเนินการจ่ายคืนค่าหุ้น/ปันผล ต่อไป 6.2 การจัดการเกี่ยวกับหนี้สิน 6.2.1 ให้ผู้ช าระบัญชีจัดการค่าธรรมเนียม ค่าภาระติดพัน และค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียตามสมควร 6.2.2 เจ้าหนี้ 1) จัดท าหนังสือแจ้งไปยังเจ้าหนี้ให้ยื่นค าทวงหนี้ 2) ตรวจสอบเอกสารการทวงหนี้ 3) ด าเนินการช าระหนี้แก่เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ตามล าดับข้อผูกพัน 4) ถ้าขายทรัพย์สิน ครบถ้วนแล้ว มีเงินไม่พอช าระหนี้ให้ขอประนีประนอมกับเจ้าหนี้ หากมีเงินไม่เพียงพอแก่การช าระหนี้อยู่อีก ให้ร้องขอต่อศาลเพื่อสั่งให้สหกรณ์ล้มละลาย 5) กรณีติดต่อเจ้าหนี้ไม่ได้ หรือเจ้าหนี้ไม่ยอมทวงถามให้วางเงินต่อรองนายทะเบียน สหกรณ์ 6.2.3 ค่าบ ารุงสันนิบาตสหกรณ์ค้างจ่าย 1) ช าระทั้งหมด 2) ช าระบางส่วน (เงินไม่พอ) 3) ไม่ต้องช าระ (เงินไม่มี) 6.2.4 หนี้สินอื่น ด าเนินการเหมือนข้อ 6.2.2 6.3 จัดการเกี่ยวกับทุน 6.3.1 จ่ายคืนค่าหุ้นสมาชิกตามมูลค่าหุ้นที่ถืออยู่กรณีเงินสดคงเหลือไม่พอช าระหนี้ ได้เต็ม จ านวน ให้ท าการเฉลี่ยค่าหุ้นให้หุ้นละเท่า ๆ กันเพื่อจ่ายให้สมาชิกได้ครบทุกราย 6.3.2 ถ้าหลังจากจ่ายคืนค่าหุ้นให้สมาชิกได้เต็มมูลค่า แล้วยังมีเงินเหลือ ให้จ่ายปันผลสมาชิก กรณีผลการด าเนินงานปีก่อนเลิกมีก าไรแต่ยังไม่มีการจัดสรรให้สมาชิกและหากมีทรัพย์สินเหลืออยู่อีก ให้ท าการ โอนบริจาคให้สหกรณ์อื่นที่ด าเนินธุรกิจอยู่ หรือน าส่งสันนิบาตสหกรณ์ ตามมติที่ประชุมใหญ่เห็นชอบ 6.3.3 กรณีจ่ายค่าหุ้น/ปันผลให้สมาชิกได้ไม่ครบตามจ านวนที่จัดสรรไว้ให้น าเงินวางไว้ที่นาย ทะเบียนสหกรณ์เพื่อให้สมาชิกติดต่อรับคืนได้ในภายหลัง 6.4 การด าเนินการเมื่อทรัพย์สินของสหกรณ์คงเหลือจากการช าระบัญชี 6.4.1 จ่ายตามมติที่กฎหมายก าหนด 6.4.2 โอนให้แก่สหกรณ์อื่นหรือสันนิบาตตามมติที่ประชุมใหญ่ 6.4.3 ในกรณีประชุมใหญ่ไม่ได้ให้ขอความเห็นชอบจากรองนายทะเบียนสหกรณ์ภายใน 3 เดือน นับแต่ช าระบัญชีเสร็จ


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 35 7. จัดท ารายงานการช าระบัญชีและรายงานย่อของการช าระบัญชี ตามมาตรา 87 ให้ผู้สอบบัญชี ตรวจรับรอง 7.1 จัดท าสรุปงบย่อของบัญชีที่ช าระเสร็จสิ้น ประกอบด้วย บัญชีรับ – จ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีทุนเรือนหุ้น บัญชีเลิกกิจการตั้งแต่วันที่เริ่มต้นการช าระบัญชี (วันถัดจากวันที่ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงิน ณ วันรับ มอบทรัพย์สิน) จนถึงวันที่ช าระบัญชีเสร็จสิ้น 7.2 จัดท ารายงานการช าระบัญชี ด าเนินการช าระบัญชีและจัดการทรัพย์สินของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ไปอย่างใดบ้าง 8. ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ช าระตามมาตรา 87 9. ผู้ช าระบัญชีเสนอรายงานต่อนายทะเบียนสหกรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีรับรอง บัญชีที่ช าระ เพื่อพิจารณาถอนชื่อออกจากทะเบียน เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจรับรองรายงานการช าระบัญชี และรายการย่อของบัญชีที่ช าระแล้ว ให้ผู้ช าระบัญชี เสนอรายงานการช าระบัญชีดังกล่าวต่อนายทะเบียนสหกรณ์ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีรับรองบัญชี ช าระนั้น 10. ผู้ช าระบัญชีส่งมอบบรรดาสมุดบัญชีและเอกสารทั้งหลายแก่นายทะเบียนสหกรณ์ ส่งมอบสมุดบัญชีและเอกสารของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรที่ช าระบัญชีเสร็จแล้วแก่รองนายทะเบียน สหกรณ์ภายใน 30 วันนับแต่วันที่นายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบในการช าระบัญชี รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 1. สหกรณ์การเกษตรแก่งกระจาน จ ากัด ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สิน ยื่นล้มละลาย ศาลมีค าสั่งพิทักษ์ ทรัพย์ของกลุ่มเกษตรกร (คดีหมายเลขแดงที่ ล 4953/2566) 2. ร้านสหกรณ์วิทยาลัยเทคนิค เพชรบุรี จ ากัด (เลิกระหว่างปี2566) ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สิน 3. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ไร่ใหม่พัฒนา ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สิน ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สิน และหนี้สิน 4. กลุ่มเกษตรกรท านานายาง ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี) ถอนชื่อและส่งมอบบรรดาสมุดและ เอกสารให้นายทะเบียนสหกรณ์แล้ว 5. กลุ่มเกษตรกรท าสวนบ้านหม้อ ขั้นที่ 8 ผู้สอบบัญชีรับรอง บัญชีที่ช าระตามมาตรา 87 ถอนชื่อและส่งมอบบรรดาสมุดและ เอกสารให้นายทะเบียนสหกรณ์แล้ว 6. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ าต าบล โพพระ ขั้นที่ 5 ผู้ช าระบัญชีเสนองบ ก า รเงินให้ที่ป ร ะชุมใหญ่ อนุมัติ/นายทะเบียนสหกรณ์ ถอนชื่อและส่งมอบบรรดาสมุดและ เอกสารให้นายทะเบียนสหกรณ์แล้ว 7. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลโพ พระ ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สิน ขั้นที่ 3 ส่งงบการเงินตามมาตรา 80 ให้ผู้สอบบัญชีรับรอง 8. กลุ่มเกษตรกรท านาไร่สะท้อน (เลิกระหว่างปี2566) ถอนชื่อและส่งมอบบรรดาสมุดและ เอกสารให้นายทะเบียนสหกรณ์แล้ว


36 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 3. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ล าดับที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วันที่ถอนชื่อ 1 กลุ่มเกษตรกรท าสวนบ้านหม้อ 15 พฤศจิกายน 2565 2 กลุ่มเกษตรกรท านานายาง 15 พฤศจิกายน 2565 3 กลุ่มเกษตรกรท านาไร่สะท้อน 15 สิงหาคม 2566 4 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ าต าบลโพพระ 7 กันยายน 2566


Click to View FlipBook Version