The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpd.pbi.76000, 2024-01-31 09:56:47

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 37 วัตถุประสงค์ เพื่อด าเนินการเกี่ยวกับงานจัดที่ดินนิคมสหกรณ์ชะอ าและนิคมสหกรณ์ท่ายาง ให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 และระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารนิคม สหกรณ์พ.ศ.2561 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ สมาชิกในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชะอ าและนิคมสหกรณ์ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 สามารถด าเนินการเกี่ยวกับงานจัดที่ดินนิคมสหกรณ์ชะอ าและนิคมสหกรณ์ ท่ายาง ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 และระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารนิคมสหกรณ์ พ.ศ.2561 ได้ดังนี้ - ด าเนินการออกหนังสืออนุญาตให้เข้าท าประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3) แก่สมาชิกนิคม สหกรณ์ชะอ า จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 7 ไร่ นิคมสหกรณ์ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 8 ไร่ - ด าเนินการออกหนังสือแสดงการท าประโยชน์ (กสน.5) แก่สมาชิกนิคมสหกรณ์ชะอ า จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 27 ไร่ นิคมสหกรณ์ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 32 ไร่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ประชาสัมพันธ์สมาชิกนิคมสหกรณ์ที่ได้ด าเนินการจัดท าแผนผังระวางที่ดินเรียบร้อยแล้วยื่นค าขอ อนุญาตเข้าท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ - ตรวจสอบเอกสาร และคุณสมบัติของผู้ขออนุญาต - ตรวจสอบแผนผังจัดแปลงที่ดินและระวางที่ดิน - ตรวจสอบการขออนุญาตของผู้ขอและคู่สมรสว่ามีสิทธิ์ในที่ดินเกินกว่า 50 ไร่หรือไม่ (ครอบครอง ครอบครัวละไม่เกิน 50 ไร่) - นิคมสหกรณ์ประมวลเรื่องเสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์ผ่านสหกรณ์จังหวัด - กลุ่มจัดที่ดินนิคมสหกรณ์ประมวลเรื่องเสนอผู้อ านวยการกองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์เพื่อ ลงนามแทนอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ - กลุ่มจัดที่ดินนิคมสหกรณ์แจ้งนิคมสหกรณ์และจัดส่งหนังสือรับรองการท าประโยชน์ผู้ที่ได้รับอนุญาต - นิคมสหกรณ์แจ้งสมาชิกรับหนังสือรับรอง การท าประโยชน์ และลงทะเบียนคุม กสน.3, 5 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับหนังสือแสดงการท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ โดยแยกเป็นอนุญาตให้เข้า ท าประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3) จ านวน 15 ไร่และหนังสือแสดงการท าประโยชน์ (กสน.5) จ านวน 59 ไร่ เชิงคุณภาพ - สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รับหนังสือแสดงการท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ เป็นไปตามพระราชบัญญัติ จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 และระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารนิคมสหกรณ์ พ.ศ.2561


38 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบรายจ่ายอื่น 984 984 100 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค - สมาชิกบางรายไม่ทราบรายละเอียดในการขออนุญาตเข้าท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ท าให้ ไม่สามารถด าเนินการได้ตามขั้นตอนในการขออนุญาตท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ - สมาชิกนิคมสหกรณ์บางราย มีปัญหาข้อพิพาทที่แนวเขตที่ดิน แนวทางแก้ไข - ท าการประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบจากหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้สามารถด าเนินการออกเอกสารสิทธิ์ แสดงการท าประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ให้แล้วเสร็จ - ร่วมประชุมหรือหารือเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 39 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้การส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นไปตามแผนงาน ตัวชี้วัดของกรมส่งเสริมสหกรณ์และ แผนปฏิบัติงานของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 2. เพื่อจัดท าแผนพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้ผ่านมาตรฐานและ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ - ประกอบด้วย คณะท างานฯ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 25 คน ในจังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน - จัดประชุมคณะท างาน จ านวน 1 ครั้ง และมีการประชุมติดตามผลการประเมิน ปัญหาและอุปสรรค ในที่ประชุมข้าราชการประจ าเดือน จ านวน 12 ครั้ง - ผลการประเมินมาตรฐานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นไปตามตัวชี้วัดที่ก าหนด งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 4,750 4,750 100.00 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ. - ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ประจ าปี 2566 สหกรณ์ที่น ามาจัดมาตรฐานทั้งหมด จ านวน 87 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 77.90 ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.10 - ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจ าปี 2566 กลุ่มเกษตรกรที่น าจัดมาตรฐานทั้งหมด 51 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 49 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.08 ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.92 เชิงคุณภาพ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีแผนในการส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานที่ชัดเจน


40 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในพื้นที่รับผิดชอบ 2. รายงานผลการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น ถึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ภายในเวลา ที่ก าหนด ผลการด าเนินงาน จัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ในวันที่ 23 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมชั้น 3 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีเวลา 09.30 น. มีสหกรณ์ส่งผลการด าเนินงานเข้ารับการคัดเลือก จ านวน 2 สหกรณ์ ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด ได้คะแนน (1) ความคิดริเริ่ม 92.00 คะแนน (2) ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 315.00 คะแนน (3) บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 235.00 คะแนน (4) ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 120.00 คะแนน (5) การท ากิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 145.00 คะแนน รวมคะแนน 907.50 คะแนน สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น ระดับจังหวัด ในประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ และเห็นสมควรส่งผลการคัดเลือกของสหกรณ์ฯ เข้ารับการคัดเลือก ในระดับภาคและระดับชาติต่อไป 2. สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด ได้คะแนน (1) ความคิดริเริ่ม 92.00 คะแนน (2) ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 267.00 คะแนน (3) บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 191.00 คะแนน (4) ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 116.00 คะแนน (5) การท ากิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 150.00 คะแนน รวมคะแนน 816.00 คะแนน สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด ในประเภทสหกรณ์นิคม และเห็นสมควรส่งผลการคัดเลือกของสหกรณ์ฯ เข้ารับการคัดเลือกในระดับภาคและ ระดับชาติต่อไป สรุปที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ส่งผลงานสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด เข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ และส่งผลงานสหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด เข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์นิคม ระดับภาคต่อไป


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 41 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ มีสหกรณ์ส่งผลการด าเนินเข้ารับการคัดเลือกตามโครงการ ฯ ทั้งสหกรณ์ในภาคการเกษตรและสหกรณ์ นอกภาคการเกษตร จ านวนทั้งสิ้น 2 สหกรณ์ และผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัด จ านวน 2 สหกรณ์ เชิงคุณภาพ สามารถส่งผลงานสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเพชรบุรี จ ากัด เข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์ดีเด่น ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ และส่งผลงานสหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด เข้าร่วมการคัดเลือกสหกรณ์ดีเด่น ประเภท สหกรณ์นิคม ระดับภาคต่อไป งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 7,025 7,025 100 ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากในปีงบประมาณ 2566/67 กรมส่งเสริมสหกรณ์มีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การให้คะแนนใหม่ ท าให้การเก็บข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนไปตามเกณฑ์ที่ก าหนด รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลและจัดท าเอกสาร ประกอบการประกวดของสหกรณ์มีเวลาจ ากัด


42 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจ ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจ 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินเฉลี่ยคืน ในธุรกิจเกษตรมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ เปูาหมาย สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด พื้นที่ด าเนินการ จัดอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ณ ห้องประชุม สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด ผลการด าเนินการ จัดอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ด าเนินการดังนี้ 1. ประสานงาน ชี้แจงกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมโครงการ 2. จัดอบรมการวางแผนการตลาดจ าหน่ายอาหารโคขุน และการจ าหน่ายโคขุนของสมาชิก ด้านการแปรรูป การลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ จัดหาวัตถุดิบ และก าหนดราคาซื้อวัตถุดิบ 3. แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 4. ติดตามการขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก และผลสัมฤทธิ์ของการ ด าเนินโครงการ 5. รวบรวมข้อมูล รายงานความคืบหน้าของการด าเนินโครงการตามขั้นตอนและเงื่อนเวลาและประโยชน์ ที่ได้รับจากการด าเนินงานพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรค ต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินเฉลี่ยคืน ในธุรกิจเกษตรมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 43 เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจ การบริหารจัดการองค์กร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งองค์กรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. สหกรณ์ให้ผลตอบแทนให้แก่สมาชิกต่อราย ในรูปเงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้น ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ - สหกรณ์ให้ผลตอบแทนให้แก่สมาชิกต่อรายในรูปเงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้น งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 20,100 20,100 100


44 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีให้กับเกษตรกรสมาชิก โดยผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ 2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกมีการจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม ก่อให้เกิด การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. เพื่อให้เกิดการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 2 แห่ง 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 81 ราย 3. เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและการผลิตเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 4. มูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ 1. สมาชิกสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด จ านวน 76 ราย 2. สมาชิกสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด จ านวน 5 ราย ผลการด าเนินการ 1. จัดท าฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงโครงการและ หรือจัดท าโครงการต่อไป 2. จัดอบรมหลักสูตร "การจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม" 3. แนะน าส่งเสริม ก ากับ ติดตามกลุ่มเปูาหมายเพื่อด าเนินการตามโครงการ 4. รายงานผลการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. ส่งเสริมให้สหกรณ์ด าเนินการส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัยได้จ านวน 2 แห่ง 2. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ได้ท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 81 ราย 3. เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและการผลิตเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 36.98 4. มูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 36.97 เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์ยื่นขอรับใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) จ านวน 55 ราย


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 45 ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ - สมาชิกสหกรณ์ผู้ร่วมโครงการมีความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีโดยผู้บริโภคสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้ - สมาชิกมีการจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม ก่อให้เกิดการช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน - สหกรณ์และสมาชิกเกิดความร่วมมือ และมีการาวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตร ปลอดภัย งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 46,800 46,800 100


46 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้การผลิตพืชปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์นิคม ให้ไปสู่การได้รับการ รับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขั้นสูงสุด 2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์มีการถ่ายทอดองค์ความรู้แบบมีส่วนร่วม ซึ่งจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ โดยธรรมชาติ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 2 แห่ง 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 40 ราย 3. เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและการผลิตเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ 1. สมาชิกสหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด จ านวน 20 ราย 2. สมาชิกสหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด จ านวน 20 ราย ผลการด าเนินการ 1. จัดท าฐานข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการส่งเสริม 2. จัดอบรมหลักสูตร "การเตรียมความพร้อมเพื่อยื่นขอรับรองมาตรฐาน GAP/PGS และมาตรฐาน อินทรีย์" และหลักสูตร "การตรวจสารเคมีตกค้างในผลผลิต" 3. แนะน าส่งเสริม ก ากับ ติดตามกลุ่มเปูาหมายเพื่อด าเนินการตามโครงการ 4. รายงานผลการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. ส่งเสริมให้สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัยได้ จ านวน 2 แห่ง 2. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ได้ท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 40 ราย 3. เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยและการผลิตเกษตรอินทรีย์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 20.47 เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์มีความรู้ด้านการท าเกษตรปลอดภัย และขั้นตอนการยื่นขอรับรองมาตรฐาน GAP /PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สามารถน าไปปฏิบัติได้ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ - สมาชิกสหกรณ์มีการผลิตพืชปลอดภัยให้ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP หรือ PGS และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ - สมาชิกสหกรณ์มีการถ่ายทอดองค์ความรู้แบบมีส่วนร่วม ซึ่งจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ โดยธรรมชาติ มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 47 งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 37,200 37,200 100 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาคณะกรรมการและฝุายจัดการของสหกรณ์ภาคการเกษตรให้มีความรู้ความสามารถและ ทักษะในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตรแบบมืออาชีพ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการผลิต 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการตลาด ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร 2. ร้อยละ 90 สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ สามารถเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ที่ท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตรระดับชุมชนได้ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ เปูาหมาย 1. สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรเขาย้อย จ ากัด พื้นที่ด าเนินการ ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด และห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรเขาย้อย จ ากัด


48 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิตพร้อมทั้งจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่ง ผลิต โดยด าเนินการประสานงาน ชี้แจงกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมโครงการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่าย ผู้ผลิตพร้อมทั้งจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ ติดตามการขับเคลื่อน โครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินโครงการ รวบรวมข้อมูล รายงานความคืบหน้าของการด าเนินโครงการตามขั้นตอนและเงื่อนเวลา และประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรค ต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - ร้อยละ 90 สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร ที่ท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตรระดับชุมชนได้ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ - สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เข้าร่วมโครงการเป็นสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น สามารถท าหน้าที่เป็น ศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตรระดับชุมชน มีการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ผลิตมีกระบวนการ รวบรวม และแปรรูป รวมทั้งมีการท าการตลาดส าหรับสินค้าเกษตรของชุมชน งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 18,500 18,500 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 49 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมแปลงใหญ่ให้มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูป เพื่อลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มผลผลิต 2. เพื่อสนับสนุนและเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่ม ช่องทางการจ าหน่าย ตัวชี้วัด 1. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ ไม่น้อย กว่า จ านวน 2 แห่ง 2. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปี 2564 ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาดเครือข่าย ไม่น้อยกว่า 1 แปลง 3. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 1,200 บาท/ไร่ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ กิจกรรม : ประชุมบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ จ านวน 4 แปลง 1. แปลงใหญ่ปี 2560 สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทยเพชรบุรี จ ากัด 2. แปลงใหญ่ปี 2560 สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด 3. แปลงใหญ่ปี2560 สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด 4. แปลงใหญ่ปี 2562 สหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด กิจกรรม : สนับสนุนให้มีการเชื่อโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ จ านวน 1 แปลง 1. แปลงใหญ่ปี 2564 แปลงใหญ่ชมพู่เพชรสายรุ้ง หมู่ 2,3,4,5,6,7,8,9,10,11 ต าบลบ้านกุ่ม ผลการด าเนินการ 1. จัดประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ จ านวน 1 ครั้ง 2. สนับสนุนให้มีการเชื่อโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ จ านวน 1 แปลง 3. รายงานผลการด าเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. ด าเนินการจัดประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ จ านวน 1 ครั้ง มีแปลงใหญ่เข้าร่วม จ านวน 5 แปลง 2. ด าเนินการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อได้ จ านวน 3 แปลง เชิงคุณภาพ เกิดการเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ มีการบริหารจัดการร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและเอกชน เช่น ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี ส านักงานเกษตรอ าเภอ ส านักงานสถานีพัฒนา ที่ดินเพชรบุรี ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ส านักงานชลประทานจังหวัดเพชรบุรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เกษตรเพชรบุรี ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรี ส านักงานพาณิชย์จังหวัดเพชรบุรี ฯลฯ เพื่อขับเคลื่อนการ ด าเนินงานแปลงใหญ่


50 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ - เกิดการเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างกลุ่มผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ มีการบริหารจัดการร่วมกัน ตลอดระหว่างแปลงใหญ่ ภาครัฐและเอกชน งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 7,200 7,200 100 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาความรู้เกษตรกรด้านการพัฒนากระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า 2. เพื่อสร้างเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 3. เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ด้านบรรจุภัณฑ์สินค้าของสถาบันเกษตรกรให้เป็นที่รู้จักและและสอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด 4. เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกร ตัวชี้วัด 1. สถาบันเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากการจ าหน่ายสินค้าเกษตรแปรรูป 2. สถาบันเกษตรกรสร้างเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งและ เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตน ามาแปรรูปเพิ่มสูงขึ้นไม่น้อยกว่า 7 เครือข่าย


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 51 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ เปูาหมาย 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองเพชรบุรี จ ากัด 2. สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด พื้นที่ด าเนินการ จัดอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูป หรือการจัดท าบรรจุภัณฑ์ โดยให้ความรู้ ในด้านต่าง ๆ เช่น อบรมการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/ การท าสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด ณ ห้องประชุมโรงแรมรอยัลไดมอนเพชรบุรี ผลการด าเนินการ 1. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูป การจัดท าบรรจุภัณฑ์ การท าสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผนการตลาด ด าเนินการดังนี้ 1.1 ประสานงาน ชี้แจงกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมโครงการ 1.2 จัดอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูป หรือการจัดท าบรรจุภัณฑ์ โดยให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ เช่น อบรมการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/ บรรจุภัณฑ์/การท าสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด 1.3 แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ที่ผ่านการอบรมส่งเสริมความรู้ด้านการวิเคราะห์ตลาดหรือการแปรรูป การจัดท าบรรจุภัณฑ์ การท าสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผนการตลาด 1.4 ติดตามการขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดกิจกรรมหลัก และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินโครงการ 1.5 รวบรวมข้อมูล รายงานความคืบหน้าของการด าเนินโครงการตามขั้นตอนและ เงื่อนเวลา และประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงานพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรค ต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ 1. สถาบันเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากการจ าหน่ายสินค้าเกษตร แปรรูป 2. สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรแปรรูปเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ 1. สถาบันเกษตรกรสร้างเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรที่มีความเข้มแข็งและ เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตน ามาแปรรูปเพิ่มสูงขึ้นไม่น้อยกว่า 7 เครือข่าย ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรแปรรูปเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายตลาด ระหว่างเกษตรกรผู้ผลิตกับสถาบันเกษตรกรในการน าผลผลิตมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและจัดหาช่องทางการ จ าหน่าย


52 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 56,800 56,800 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 53 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจในการด าเนินโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ ตัวชี้วัด สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้ง 14 แห่ง มีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ รวมทั้งสิ้น 62 คน ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการด าเนินการ ฝุายจัดการ ผู้น ากลุ่มสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 14 แห่ง ๆ ละ 3 คน รวม 42 คน 2. ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด (ทีมโค้ช) จ านวน 5 ทีม ทีมละ 4 คน รวม 20 คน ผลการด าเนินการ 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดท าค าสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กลุ่มงาน และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ที่ดูแลรับผิดชอบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แต่ละแห่ง 2. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการก าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างช าระ จัดท าแผนแก้ไข ปัญหาฯ และแผนการปูองกันมิให้เกิดซ้ า กลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ทีมโค้ช และผู้แทนสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร เปูาหมาย วัตถุประสงค์เพื่อก าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ และจัดท าแผนแก้ไขปัญหา และแผนการปูองกันมิให้เกิดซ้ า ผลส าเร็จ 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. สามารถสร้างรายได้ให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งผลให้มีศักยภาพหรือความสามารถในการ ช าระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้มากขึ้น ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสอมภาคทางสังคม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการด าเนินภารกิจยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม


54 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เชิงปริมาณ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ค้าง (NPL) ได้รับการส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มี ประสิทธิภาพ จ านวน 14 แห่ง เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ของตนเอง 3. สามารถสร้างรายได้ให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่งผลให้มีศักยภาพหรือความสามารถในการ ช าระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้มากขึ้น งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 16,400 16,400 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 55 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ได้รับการ ช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน ตัวชี้วัด 1. สมาชิกสหกรณ์ที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตร ได้รับการลดดอกเบี้ย จ านวน 3,641 ราย 2. จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 62 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้อนุมัติแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมโครงการช่วยเหลือด้าน หนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) รายการ เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้สหกรณ์ในจังหวัดเพชรบุรี จ านวน 10 แห่ง จ านวนสมาชิก 3,641 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับการจัดสรรชดเชย ปี 2566 จ านวน 2,006,851.32 บาท ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองเพชรบุรี จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 1,300 ราย เป็นเงิน 928,783.83 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 259 ราย เป็นเงิน 118,227.22 บาท 3. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเขื่อนเพชรโค้งข่อย จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 813 ราย เป็นเงิน 411,488.78 บาท 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหนองกระทุ่ม จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 1,017 ราย เป็นเงิน 493,064.83 บาท 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทุ่งเฟื้อ บางครก จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 17 ราย เป็นเงิน 4,874.63 บาท 6. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านทับคาง จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 43 ราย เป็นเงิน 13,116.77 บาท 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองหญ้าปล้อง จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 82 ราย เป็นเงิน 21,404.75 บาท 8. สหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 2 ราย เป็นเงิน 108.32 บาท 9. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าดอนทราย จ ากัด ได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 20 ราย เป็นเงิน 2,907.36 บาท 10. สหกรณ์ผู้ใช้น้ าหนองปรง จ ากัดได้รับการอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย จ านวน 88 ราย เป็นเงิน 13,216.05 บาท


56 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับจัดสรรเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อช่วยเหลือในการ ชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ดังกล่าว จ านวน 10 สหกรณ์ สมาชิก 3,641 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 2,006,851.32 บาท โดยมีขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้ 1. แจ้งโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. สถาบันเกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการ และจัดส่งรายละเอียดของสมาชิกที่มีคุณสมบัติเข้าร่วม โครงการ 3. การตรวจสอบคุณสมบัติเกษตรกรรายย่อย และการได้รับการช่วยเหลือจากโครงการอื่น แล้วส่ง รายละเอียดให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อขอรับเงินอุดหนุน 4. แจ้งสถาบันเกษตรกรท าเรื่องขอเบิกเงินอุดหนุนตามงบประมาณที่ได้รับ 5. ตรวจสอบความซ้ าซ้อนกับลูกค้า ธกส. 6. ตรวจสอบและเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้สถาบันเกษตรกร 7. ติดตามการจ่ายเงินอุดหนุนของสถาบันเกษตรกรให้กับสมาชิก 8. รวบรวม/รายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ ส าหรับส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับจัดสรรเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อด าเนินการ ช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ดังกล่าว จ านวน 10 สหกรณ์ สมาชิก 3,641 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 2,006,851.32 บาท ซึ่งสามารถบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน และได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพของ ตนเองได้ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ สามารถช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 10 สหกรณ์ สมาชิก 3,641 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 2,006,851.32 บาท เชิงคุณภาพ สามารถบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน และได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพของตนเองได้ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือ ไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน - - - งบอุดหนุน 2,006,851.32 2,006,851.32 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 57 ปัญหา/อุปสรรค ระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ เพื่อเบิกเงินให้สหกรณ์ กับก าหนดเวลาที่ต้องเบิกจ่ายน้อยเกินไป


58 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่เป้าหมายด าเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริในจังหวัดเพชรบุรี มีจ านวน 3 แห่ง ได้แก่ (สหกรณ์การเกษตรกลัดหลวง จ ากัด สหกรณ์การเกษตรดอนขุนห้วย จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด) งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 27,400 27,400 100.00 ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แห่ง 3 3 100 2. สหกรณ์ที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 63 แห่ง 3 3 100 3. สหกรณ์มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ล้านบาท 24.95 29.09 116.59 4. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 91 แห่ง 3 3 100 5. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 3 2 66.66 6. สหกรณ์จัดท างบการเงินและปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน ร้อยละ 100 แห่ง 3 3 100 7. ผลการด าเนินงานของสหกรณ์มีก าไรประจ าปีร้อยละ 100 แห่ง 3 2 66.67 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีจ านวน 3 แห่ง ได้แก่ (สหกรณ์การเกษตรกลัด หลวง จ ากัด สหกรณ์การเกษตรดอนขุนห้วย จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด) มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 1,727 คน สหกรณ์มีอัตราเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 2 แห่ง มูลค่าปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4.14 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.59 ด้าน ความเข้มแข็งของสหกรณ์ ตามเกณฑ์ 4 ด้าน (เกณฑ์เดิม) สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ จ านวน 956 คน คิดเป็นร้อยละ 55.35 มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจในระดับมั่นคงตามมาตรฐานขึ้นไป จ านวน 1 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 33.33 มีประสิทธิภาพในการจัดการองค์กรในระดับดีขึ้นไป จ านวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.66 สหกรณ์ มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จแต่ต้องติดตาม จ านวน 2 แห่ง 5 ประเด็น มูลค่าความเสียหายที่ได้รับการ แก้ไข จ านวน 0.513 ล้านบาท มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 2 จ านวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ด้านมาตรฐาน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านพลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 59 สหกรณ์ มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.66 ส่งผลให้สหกรณ์มีความเข้มแข็ง และ เป็นที่พึ่งแก่มวลสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์การเกษตรกลัดหลวง จ ากัด คือการขาดทุนสะสม และ ขาดทุนสุทธิประจ าปี การขาดความศรัทธาของสมาชิกปัญหาการทุจริตซ้ าๆ ท าให้ความร่วมมือการมีส่วนร่วมของ สมาชิกน้อยมาก เจ้าหน้าที่สหกรณ์มีการเข้าออกบ่อย และไม่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเพียงพอ 2. สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด ไม่ได้น าฐานข้อมูลที่รวบรวมไว้หรือวิเคราะห์ไว้ไปใช้ประโยชน์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมได้น าข้อมูลการวิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลปริมาณธุรกิจ รวมทั้งแผนกล ยุทธ์สหกรณ์ และข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อให้สหกรณ์น าไปใช้ประโยชน์ แต่สหกรณ์ไม่ได้น าข้อมูลดังกล่าวไปใช้ ประโยชน์เพื่อการขับเคลื่อนพัฒนาสหกรณ์ให้ดีอย่างต่อเนื่อง 3. ฝุายจัดการสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด ขาดทักษะด้าน Microsoft Offices เพื่อน ามาช่วยใน การค านวณให้รวดเร็วและก่อให้เกิดความผิดพลาดจากการค านวณน้อยที่สุด แต่เนื่องจากฝุายจัดการสหกรณ์ไม่ได้ เชี่ยวชาญ จึงอาจเกิดความสับสนในการใช้โปรแกรมและท าให้การท างานช้าลง 4. คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์บางราย ไม่ทราบรายละเอียดของข้อบังคับสหกรณ์ ท าให้ในการ ด าเนินงาน อาจเกิดการกระท าผิดข้อบังคับหรือระเบียบโดยไม่ได้เจตนา หรือ บางครั้งเมื่อไม่รู้อาจไม่สามารถ รักษา หรือ ปกปูอง ผลประโยชน์ของสมาชิกโดยรวม ท าให้การพัฒนาสหกรณ์ไม่เต็มประสิทธิภาพและไม่มี ประสิทธิผล ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. แนวทางแก้ไขปัญหา ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เข้าไปแนะน าการแก้ไขปัญหาและปูองกันการ ทุจริต แนะน าเรื่องการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดท าบัญชีและกรอบการด าเนินงานตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ พร้อมทั้งร่วมจัดท าแผนพัฒนาสหกรณ์ 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมเข้าแนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์น าข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์แล้ว น าไปใช้ประโยชน์ ต่อยอด 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมมีการสอนใช้โปรแกรม Microsoft Offices แบบตัวต่อตัว 4. ควรมีการจัดอบรมเกี่ยวกับข้อบังคับของสหกรณ์ เพื่อให้ตระหนักว่าการด าเนินการใดสามารถท าได้และ การด าเนินการใดที่ไม่สามารถกระท าได้ เพื่อจะได้ไม่เกิดการกระท าที่ฝุาฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะน าส่งเสริมฯ ปี 2566 มาใช้ในการ ด าเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด งานที่ด าเนินการ : การติดตามผลการแก้ไขหนี้ค้างช าระของสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โดย ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตร หุบกะพง จ ากัด ได้มีการติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ด้วยระบบสหกรณ์ และให้ติดตามให้สหกรณ์ฯ รายงานความเคลื่อนไหวการรับช าระหนี้จากสมาชิก ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2566 - กันยายน 2566


60 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : จากการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2566 พบว่า สหกรณ์ฯ สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ จ านวนทั้งสิ้น 1,644,814.29 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.49 งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริม การเพิ่มปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โดย ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตร หุบกะพง จ ากัด ได้มีการน าข้อมูลปริมาณธุรกิจในปีก่อนหน้ามาวิเคราะห์เป็นรายธุรกิจ และวิเคราะห์ปริมาณธุรกิจ จ าแนกเป็นรายเดือน รวมทั้ง แนะน าให้สหกรณ์น าผลการจากการวิเคราะห์ไปประกอบกับการด าเนินธุรกิจเพื่อเพิ่ม ปริมาณธุรกิจให้เพิ่มมากขึ้น ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด มีปริมาณธุรกิจรวมปี 2566 เท่ากับ 14,284,473.71 บาท ซึ่งมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นเพื่อเทียบกับปี 2565 มีปริมาณธุรกิจรวมเพียง 10,764,555.84 บาท งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริม พัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์ตามหลักธรรมาภิบาลและการ ควบคุมภายใน


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 61 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โดย ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตร หุบกะพง จ ากัด ได้มีการน าหลักธรรมาภิบาลมาขับเคลื่อนการด าเนินงานของสหกรณ์ และติดตามผล โดยได้ ประเมินธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในของสหกรณ์ ปีละ 2 ครั้ง พร้อมได้แนะน าให้สหกรณ์ น าผลการ ประเมินในรอบที่ผ่านมาปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : ผลการประเมินธรรมาภิบาลและการควบคุมภายใน ครั้งที่ 1 ประจ าปี 2566 พบว่า ธรรมาภิบาล ร้อยละ 96.03 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก และการควบคุมภายใน ร้อยละ 95.33และผลการ ประเมินธรรมาภิบาลและการควบคุมายใน ครั้งที่ 2 ประจ าปี 2566 พบว่า ธรรมาภิบาล ร้อยละ 96.03 ถือว่าอยู่ ในเกณฑ์ดีมาก และการควบคุมภายใน ร้อยละ 98.13 ด้านการพัฒนาธุรกิจ งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์น าสินค้าไปวางจ าหน่ายตามสถานที่ต่าง ๆ ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง แนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์รวบรวมผลิตภัณฑ์จากสมาชิกใน โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์หุบกะพง ไปวางจ าหน่ายตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเหลือ สมาชิกในการเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย และเป็นการเพิ่มปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในอนาคต โดยศูนย์สาธิต สหกรณ์โครงการหุบกะพง ได้ด าเนินการฯ แนะน า ส่งเสริม ประสานงานและร่วมน ากรรมการสหกรณ์ ติดต่อกับ ตลาดต่าง ๆ เพื่อให้สหกรณ์มีแหล่งรองรับผลิตภัณฑ์จากสมาชิก พร้อมทั้ง เป็นการส ารวจความต้องการผลิตภัณฑ์ ในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง นับเป็นการโปรโมทผลิตภัณฑ์ในพื้นที่โครงการฯ ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : ปริมาณธุรกิจการรวบรวมซื้อผลิตภัณฑ์จักสานปุานศรนารายณ์ยอดรวบรวม เป็นเงินทั้งสิ้น 1,207,133.40 บาท ซึ่งมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีปริมาณการรวบรวมซื้อผลิตภัณฑ์ จักสานปุานศรนารายณ์ เพียง 407,690.60 บาท


62 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์จดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โดย ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ส่งเสริมให้สหกรณ์การเกษตร หุบกะพง จ ากัด ได้มีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ในชื่อว่า “สานศร” เครื่องหมายการค้าสามารถช่วยสร้าง มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และเพิ่มความน่าเชื่อถือในตัวผลิตภัณฑ์ เนื่องจากเครื่องหมายการค้าจะช่วยให้ผลิตภัณฑ์ เป็นที่จดจ า และสามารถเพิ่มยอดขายและการซื้อซ้ า รวมทั้ง การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าจะช่วยปกปูองการ ลอกเลียนแบบ การปลอมแปลง โดยใช้บังคับทางกฎหมายได้ ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด มีเครื่องหมายการค้าในชื่อว่า “สานศร” โดยใช้กับสินค้าประเภทหมวกและกระเป๋า ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริมการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับสหกรณ์ สหกรณ์ได้ถือใช้ข้อบังคับสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561 โดยให้ บังคับใช้ ตั้งแต่วันถัดจากวันที่นายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียน และปัจจุบันสหกรณ์ยังคงถือใช้ข้อบังคับ ดังกล่าว แต่จากมติที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ มีมติให้ด าเนินการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ได้แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์ ในการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับของสหกรณ์ เพื่อให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์เพื่อให้ การด าเนินงานของสหกรณ์เป็นไปอย่างมีกฎเกณฑ์และความถูกต้อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีการก าหนดวันประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์เพื่อนัด หารือเกี่ยวกับการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับของสหกรณ์


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 63 งานที่ด าเนินการ : แนะน า ส่งเสริมการปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมระเบียบสหกรณ์ ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีการแก้ไข เพิ่มเติมระเบียบ ดังนี้ 1. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการใช้ทุนสนับสนุนขยายธุรกิจปุานศรนารายณ์ พ.ศ. 2565 2. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการรวบรวมผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ของสมาชิก พ.ศ.2566 3. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการใช้เงินทุนสะสมเพื่อการพัฒนากิจการของสหกรณ์ 4. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการรับเงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจ า พ.ศ.2566 5. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ พ.ศ.2566 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ 1.1 การแนะน า ส่งเสริม ให้สหกรณ์ด าเนินการจัดอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ และฝุายจัดการสหกรณ์ เพื่อให้คณะกรรมการด าเนินการและฝุายจัดการสหกรณ์ เข้าใจบทบาทหน้าที่ในแต่ละ ต าแหน่งได้อย่างถูกต้อง สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการท างานอย่างเป็นระบบ ช่วยพัฒนาสหกรณ์ รวมทั้งสามารถ ร่วมกันก าหนดแผนงานโครงการหรือกิจกรรม ในการพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับ ความต้องการของสมาชิก ผลลัพธ์ (Outcome) 1. คณะกรรมการ เข้าใจหลักการ วิธีการ อุดมการณ์สหกรณ์ และสามารถน ามาปรับ ใช้ในการบริหาร จัดการองค์กร ทั้งการเข้าร่วมประชุม การให้การความร่วมมือ และมองทิศทางการพัฒนาสหกรณ์ไปในทิศทาง เดียวกัน 2. คณะกรรมการสหกรณ์ ฝุายจัดการ เข้าใจในบทบาทหน้าที่ และสื่อสารท าความเข้าใจกับสมาชิก สหกรณ์เพื่อร่วมแก้ไขปัญหา และเข้าร่วมกิจกรรมกับสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของ


64 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ผลกระทบ (Impact) 1. คณะกรรมการ ฝุายจัดการ และสมาชิกสหกรณ์ มีความสัมพันธ์ที่ดี และมีความเข้าใจให้ความร่วมมือ และร่วมแก้ไขปัญหาสหกรณ์ และมองเห็นเปูาหมายในอนาคตร่วมกัน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากได้รับความร่วมมือ จากคณะกรรมการ และฝุายจัดการ ในการร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาสหกรณ์ส่งผลให้สมาชิกแข็งแรง สหกรณ์ เข้มแข็งชุมชนยั่งยืน 1.2 แนะน า ส่งเสริม พัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์ตามหลักธรรมาภิบาลและการควบคุมภายใน สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด ได้มีการน าหลักธรรมาภิบาลมาขับเคลื่อนการด าเนินงานของสหกรณ์ ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง แนะน า ส่งเสริม และเข้าประเมินธรรมาภิบาลและการควบคุม ภายในของสหกรณ์ ปีละ 2 ครั้ง ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์ โดย กรรมการ และ ฝุายจัดการ ทราบและร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้สามารถผ่าน การประเมินธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในของสหกรณ์ ในระดับที่ดีกว่าเดิม ผลกระทบ (Impact) 1. คณะกรรมการ ฝุายจัดการ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาของสหกรณ์ตาม รายงานผลการประเมิน ได้อย่างชัดเจน และถูกต้อง 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ กรรมการ ฝุายจัดการ มีความภูมิใจในผลการด่าเนินงาน ส่งผลให้มีก าลังใจ และแรงบันดาลในการท างานที่ดี 2. ด้านพัฒนาองค์กรสหกรณ์ แนะน า ส่งเสริมการจัดท าระเบียบสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์ จัดท าระเบียบก าหนดถือใช้ เพื่อให้เป็นไปตาม ข้อบังคับ ปูองกันการเกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ ผลการด าเนินงาน สหกรณ์ก าหนดระเบียบขึ้นถือใช้ จ านวน 4 ระเบียบ ดังนี้ 1. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการใช้ทุนสนับสนุนขยายธุรกิจปุานศรนารายณ์ พ.ศ. 2565 2. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการรวบรวมผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ของสมาชิก พ.ศ.2566 3. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการใช้เงินทุนสะสมเพื่อการพัฒนากิจการของสหกรณ์ 4. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการรับเงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจ า พ.ศ.2566 5. ระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ พ.ศ.2566 ผลผลิต (Output) 1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้เข้าแนะน า ส่งเสริม ตรวจสอบการใช้ระเบียบสหกรณ์ และ พบว่าสหกรณ์ ด าเนินงานโดยอาจไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมแนะน า การจัดท าแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบให้เป็นไปตามข้อบังคับสหกรณ์ จ านวน 4 ฉบับและเป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์ (Outcome) 1. สหกรณ์โดย กรรมการ และ ฝุายจัดการ สามารถทราบถึงจุดบกพร่องของการด าเนินงานสหกรณ์ และ ยอมรับการปรับปรุงแก้ไข โดยก าหนดระเบียบสหกรณ์ ถือใช้เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาภายใต้ข้อบังคับสหกรณ์ 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ท าหน้าที่ แนะน า ปูองปราม ปูองกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 65 ผลกระทบ (Impact) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ กรรมการ ฝุายจัดการด าเนินการโดยโปร่งใส และสมาชิกสามารถตรวจสอบได้ รวมถึง ไม่ขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง


66 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานในเรื่องของการสหกรณ์ ในภาคทฤษฎี ตามช่วงชั้น 2. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมตามอุดมการณ์สหกรณ์ เป้าหมาย ประกอบด้วย โรงเรียนต ารวจตระวนชายแดนนเรศวรบ้านห้วยโสก โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้าน โปุงลึก และศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนอินทรีอาสา (บ้านปาเกอะญอ) พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : อ าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน - แนะน าส่งเสริม ให้ความรู้ด้านการสหกรณ์ การประชุมคณะกรรมการ การจดบันทึกรายงานการประชุม คณะกรรมการด าเนินการกิจกรมสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบ และนักเรียนระดับชั้น ป.6 จ านนวน 2 ครั้ง - จัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน จ านวน 3 โรงเรียน ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 15 จังหวัด เพชรบุรี อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี และโครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างแบบผสมผสานตามพระราชด าริ ในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ต าบลบางแก้ว อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี - จัดกิจกรรมการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชี ผลการตัดสิน คือ โรงเรียน ต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโปุงลึก ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทการบันทึกรายงานการประชุม และโรงเรียน ต ารวจตระเวนชายแดนนเรศวรบ้านห้วยโสก ได้รับรางวัลชนะเลิศ ได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทการบันทึกบัญชี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. แนะน าส่งเสริมการด าเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน โดยจัดให้มี“การจัดการเรียนรู้การ สหกรณ์ในภาคทฤษฎี” ตามช่วงชั้นเรียน ประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง/โรงเรียน 2. แนะน าการจัดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ แก่ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหาร โรงเรียนเพื่อถ่ายทอดให้นักเรียนได้มีความรู้เรื่อง อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์โดยให้ สอดคล้องกับ แนวทาง/คู่มือการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน มีกิจกรรมขับเคลื่อน 5 กิจกรรม ประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมการเปิดรับสมาชิกใหม่ของกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2.2 กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนในเดือนที่ 2 ของการเปิดเรียนในภาคเรียนที่ 1 2.3 กิจกรรมการปรับวิธีการสอนให้ครูผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโรงเรียนให้เป็นปัจจุบันโดยใช้ “วิชาสหกรณ์เป็นแกนกลาง” เชื่อมโยงการส่งเสริมกิจกรรมการผลิต/อาชีพ กิจกรรมร้านค้าสหกรณ์ กิจกรรม ออม ทรัพย์ กิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและสวัสดิการ 2.4 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการประชุมและการบันทึกรายงานการประชุมแก่คณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์นักเรียน 2.5 แนะน า ส่งเสริมให้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีทุกสิ้นปีการศึกษา เพื่อรายงานผล กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน การปันผล เฉลี่ยคืน การคืนเงินออมในให้กับนักเรียนที่จบการศึกษา และเลือกตั้ง คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนเพื่อทดแทนคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนที่จบการศึกษา


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 67 3. จัดกิจกรรมด้านการเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์แก่เด็กนักเรียนในโครงการฯ 3.1 กิจกรรมทัศนศึกษาให้แก่นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์นักเรียน ครู และผู้ สังเกตการณ์ โรงเรียนละ 1 ครั้ง ๆ ละ 15 คน 3.2 กิจกรรมการประกวดเกี่ยวกับการด าเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เช่น ประกวดการบันทึก รายงานการประชุม การบันทึกบัญชี 4. ประเมินผลการเรียนนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งนักเรียนจะต้องผ่านการประเมินจากการท า แบบทดสอบจ านวน 50 ข้อ โดยต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 25,860 25,860 100 งบอุดหนุน 5,000 5,000 100 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - ผลการทดสอบของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี ดังนี้ 1. โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนนเรศวรบ้านห้วยโสก ผ่านการทดสอบวิชาสหกรณ์ ร้อยละ 90.12 2. โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโปุงลึก ผ่านการทดสอบวิชาสหกรณ์ ร้อยละ 71.54 3. ศูนย์การเรียนต ารวจตะเวนชานแดนอินทรีอาสา (บ้านปาเกอะญอ) ร้อยละ 85.00 เชิงคุณภาพ -นักเรียนของโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน จ านวน 3 โรงเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์เพิ่มขึ้น และสามารถน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 2. นักเรียนของโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบางส่วนยังไม่สามารถฟัง อ่านและเขียนภาษาไทยได้ หรืออ่าน ออกเขียนได้ แต่ยังไม่มีความช านาญ


68 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ เพื่อด าเนินการจัดเก็บข้อมูลด้านพันธุ์ไม้ ประสานงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบลโรงเรียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่นิคมสหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดิน ตามพระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จัดท าพัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่ นิคมสหกรณ์และศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืชของชุมชน/สมาชิก สหกรณ์/ประชาชนทั่วไป เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ ประสานหน่วยงานต่างๆ ส ารวจ จัดเก็บข้อมูลพันธุ์ไม้ในพื้นที่นิคมสหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนา ที่ดินตามพระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี และรายงานผล จ านวน 12 ครั้ง ผลการด าเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 นิคมสหกรณ์ชะอ า นิคมสหกรณ์ท่ายาง และศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการ หุบกะพง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ด าเนินการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังนี้ - ประสานหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อส ารวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบ ของโครงการ ฯ จ านวน 10 หน่วยงาน จ านวนชนิดพันธุ์พืชที่ส ารวจ 74 ชนิด - แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์นิคมชะอ า จ ากัด สหกรณ์นิคมท่ายาง จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จ ากัด เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชฯ - จัดท า/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดิน ตามพระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพงให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช ของชุมชน สมาชิกสหกรณ์ 5 แปลง จ านวนพันธุ์พืชในแปลง 99 ชนิด - มีจ านวนผู้ใช้ประโยชน์ ผู้เข้าเยี่ยมชม และศึกษาแปลงสาธิตพันธุ์กรรมพืชฯ จ านวน 974 คน - รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงาน จ านวน 12 ครั้ง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ส ารวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลด้านพันธุ์ไม้และประสานงานร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนต าบล/โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์/โรงเรียนในพื้นที่นิคมสหกรณ์/พื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราช ประสงค์หุบกะพง/ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง /และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากร ตามแนวทางโครงการอรุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด - ประสานและส ารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนในพื้นที่นิคม พื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการ หุบกะพง จังหวัดเพชรบุรีเพื่อส ารวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ตามที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด - จัดท า/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ พื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราช ประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืช


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 69 ของชุมชน/สมาชิกสหกรณ์พร้อมส ารวจพันธุ์พืชในแปลงสาธิต ตามแนวทางที่กองประสานงานโครงการ พระราชด าริก าหนด - มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดูแลแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช - รายงานแผนและผลการปฏิบัติงาน ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - ด าเนินการส ารวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่นเป็นฐานข้อมูลพันธุ์พืชในพื้นที่นิคม สหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 74 ชนิด - จัดท า/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตาม พระราชประสงค์หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรม พืชของชุมชน สมาชิกสหกรณ์ 5 แปลง จ านวนพันธุ์พืชในแปลง 99 ชนิด - มีจ านวนผู้ใช้ประโยชน์ ผู้เข้าเยี่ยมชม และศึกษาแปลงสาธิตพันธุ์กรรมพืชฯ จ านวน 974 คน เชิงคุณภาพ มีการจัดท าฐานข้อมูลพันธุ์พืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์และพื้นที่โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ หุบกะพง ศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี พร้อมทั้งสามารถขยายผล ให้สมาชิกสหกรณ์ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงานแปลงสาธิตอนุรักษ์พันธุกรรมพืช งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 22,800 22,800 100 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค - ช่วงหน้าแล้งมีปัญหาขาดแคลนน้ าในการดูแล บ ารุงรักษาแปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ - วัสดุอุปกรณ์ในการดูแลรักษาช ารุด เสื่อมสภาพการใช้งาน ระบบการให้น้ าในแปลงมีปัญหา - ขาดบุคลากรในการดูแล บ ารุงรักษา แปลงสาธิตและแปลงสมุนไพร - งบประมาณไม่เพียงพอ แนวทางแก้ไข - ของบประมาณเพิ่มเติมเพื่อจัดท าที่ส ารองกักเก็บน้ าไว้ใช้ให้เพียงพอในการดูแล บ ารุงรักษาแปลงอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชฯ ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ชะอ า จังหวัดเพชรบุรี ในช่วงหน้าแล้ง - ควรจัดสรรงบประมาณในการซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการดูแลแปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช - ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อจ้างบุคลากรในการดูแล บ ารุงรักษา แปลงสาธิตและแปลงสมุนไพร


70 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 71 วัตถุประสงค์ - เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่มีปัญหาในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงการบริการทาง วิชาการ และได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจรในคราวเดียวกัน - เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานวิชาการ ในการให้บริการและแก้ไขปัญหาร่วมกัน - เพื่อให้ประชาชน ได้รับความรู้ด้านหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ เพื่อประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ในการพัฒนาให้มีความเป็นอยู่ที่ดี เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี - ด าเนินการในพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของจังหวัดเพชรบุรี ผลการด าเนินงาน - ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับส านักงานเกษตรจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วม ด าเนินกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ - ด าเนินการประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ และแจ้งให้ผู้น าชุมชนในพื้นที่ ที่จะจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ เพื่อช่วยประชาสัมพันธ์งานอย่างทั่วถึงทุกพื้นที่ - ด าเนินการกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จ านวน 4 ไตรมาส จัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ ให้ค าปรึกษา แนะน าการจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานใน สหกรณ์ และให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์ ส่งเสริมการด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - รายงานผลการด าเนินงานในระบบข้อมูลโครงการคลินิก ไตรมาสละ 1 ครั้ง จ านวน 4 ครั้ง - รายงานในระบบงานบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการกรมส่งเสริมสหกรณ์ (E-Project) จ านวน 12 ครั้ง - รายงานผลการด าเนินงานในระบบข้อมูลโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - เกษตรกรและประชาชนทั่วไป จ านวน 200 ราย ได้รับบริการของคลินิกสหกรณ์ ได้รับค าปรึกษาแนะน า การจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานในสหกรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์อย่างครบ วงจร ณ จุดเดียว และเกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เชิงคุณภาพ - เกษตรกรและประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงบริการของคลินิกสหกรณ์ ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สหกรณ์ ได้รับค าแนะน าการจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานในสหกรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ ของ สหกรณ์ ได้รับการแก้ไขปัญหารวดเร็วทันเวลา เกิดความเชื่อมั่นในการให้บริการของส านักงานสหกรณ์จังหวัด เพชรบุรี


72 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 9,100 9,100 100 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น าแนวคิดตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในการบริหารองค์กรได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นน าไปประยุกต์ใช้ ในองค์กรได้ 2. เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร น า แนวทางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิก ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการด าเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 73 เป้าหมาย สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการและเข้าร่วมการประกวดการขับเคลื่อนการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงใน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีจ านวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านซ่อง จ ากัด สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองขานาง จ ากัด ผลการด าเนินงาน 1. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อชี้แจงโครงการ และแนวทางในด าเนินงานแก่สหกรณ์ เปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการ 2. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการของสหกรณ์เปูาหมาย เพื่อร่วมจัดท าแผนในระดับองค์กร 3. แนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์มีการน าแผนระดับองค์กร เข้าที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อติดตาม ความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานเป็นประจ าทุกเดือน 4. ลงพื้นที่ติดตามผลการด าเนินงานของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 5. คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น าแนวคิดตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ใน การบริหารองค์กรได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นน าไปประยุกต์ใช้ใน องค์กรได้ เพื่อเสนอชื่อเข้าประกวดตามโครงการฯ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. แนะน า ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้น าแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและสมาชิก และให้ด าเนินกิจกรรมตามแผนการ ด าเนินกิจกรรมการประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางที่กองประสานงานโครงการ พระราชด าริก าหนด 2. แนะน า ส่งเสริมและติดตามสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการขยายผลการน าหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้น าหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง 3. คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ ตามแนวทางโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด 4. รายงานผลการด าเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 3,200 3,200 100 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ สหกรณ์เปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 3 แห่ง มีการจัดท าแผนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของสหกรณ์ในระดับองค์กร และมีการจัดท าแผนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ในระดับสมาชิก เชิงคุณภาพ สหกรณ์และสมาชิกเปูาหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ น าแผนการประยุกต์ใช้ฯ มาเป็น แนวทางในการ ปฏิบัติงานส่งผลให้สหกรณ์มีทุนด าเนินงานเพิ่มขึ้น และส าหรับสมาชิกสามารถมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบ อาชีพ


74 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่มีความสนใจในการเข้าร่วมโครงการฯ เนื่องจากมีขั้นตอนในการ ด าเนินการ ค่อนข้างยุ่งยาก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ที่ทรงริเริ่มให้จัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 2. เพื่อสร้างกิจกรรม วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ใน โรงเรียนให้ แพร่หลาย เป้าหมาย นักเรียนในสังกัดโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน จ านวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน นเรศวรบ้านห้วยโสก และศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนอินทรีอาสา (บ้านปาเกอะญอ) หน่วยงานภาครัฐ ประชาชน ขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบุรี และบุคลากรในสังกัดส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบุรี รวม ทั้งสิ้น 100 คน ขั้นตอนการด าเนินงาน : 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมเพื่อก าหนดรายละเอียดกิจกรรม และก าหนดผู้รับผิดชอบ 2. ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ด าเนินการจัดงาน “7 มิถุนายน วันกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ประจ าปี 2566” โดยก าหนดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 75 1.1 หมวดความรู้ ดังนี้ - นิทรรศการการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียนและความรู้เกี่ยวกับการจัด บันทึกบัญชี และรายงานการประชุมของกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.2 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ การเล่นเกมตอบปัญหาชิงรางวัล 1.3 สรุปผลการจัดโครงการและรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 20,000 20,000 100 ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - การด าเนินโครงการฯในวันสหกรณ์นักเรียน มี ครู นักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วม กิจกรรม จ านวน 140 ราย เชิงคุณภาพ ครู นักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เห็นความส าคัญในการจัดการเรียนรู้และการจัด กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน และสามารถใช้แนวทางสหกรณ์ในการพัฒนานักเรียนให้รู้จักการด าเนินชีวิตโดยใช้วิถี สหกรณ์


76 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกษตรกรรอบพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดเพชรบุรี ได้เรียนรู้และมีความเข้าใจเรื่องการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มสามารถพึ่งพาตนเองได้ และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนภายใต้ อุดมการณ์หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ในการบริหารจัดการกลุ่มให้เกิดความยั่งยืน เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ เกษตรกรรอบพื้นที่ศูนย์การศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดเพชรบุรี จ านวน 20 ราย และเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้อง จ านวน 5 ราย รวมทั้งสิ้น 25 ราย ผลการด าเนินการ ด าเนินการประสานงานกับทางกลุ่มชาวบ้าน และหน่วยงานที่รับผิดชอบร่วม ส ารวจความต้องการในการ จัดโครงการและหัวข้อในการให้ความรู้จัดโครงการให้ความรู้กับกลุ่มอาชีพ รายงานกรมฯ ตามรูปแบบหลังจากจัด โครงการฯ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ มีสมาชิกกลุ่มชาวบ้านเข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 20 ราย เชิงคุณภาพ กลุ่มชาวบ้านสามารถน าความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในกลุ่มอาชีพของตนเองได้ ผลสัมฤทธิ์ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ สามารถพึ่งพาตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. เกษตรกรสามารถ น าหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์มาปรับใช้ในการบริหารการจัดการกลุ่ม ให้มีความเข้มแข็ง แต่ไม่สามารถพัฒนาเป็นกลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์ได้ เนื่องจากทางกลุ่มฯ ได้เคยจัดตั้งเป็น สหกรณ์แล้ว และได้ยกเลิกการจดทะเบียนสหกรณ์ไปแล้ว งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,800 6,800 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 77 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนภายในพื้นที่เปูาหมายการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนในรูปแบบสหกรณ์ ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การใช้ระบบ อนุรักษ์ดินและน้ าอย่างยั่งยืน พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1. พื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ ปุายางหัก - เขาปุูม เนื้อที่ 23,132 - 0 - 0 ไร่ สามารถออกหนังสืออนุญาต เนื้อที่ 8,848 - 1 - 16 ไร่ จ านวน 996 ราย 1,441 แปลง 2. พื้นที่ปุาชายเลนบ้านบางอินทร์ หมู่ที่ 8 ต.บางขุนไทร อ.บ้านแหลม เนื้อที่ 9 - 1 - 16 ไร่ สามารถออก หนังสืออนุญาต เนื้อที่ 9 - 1 - 16 ไร่ จ านวน 32 ราย 33 แปลง ขั้นตอนการด าเนินงาน 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีจัดประชุมคณะท างานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน (คทช,) จังหวัดเพชรบุรี เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ในพื้นที่ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน ไตรมาสละ 1 ครั้ง 2. น าเสนอแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดให้ที่ประชุม (คทช.) จังหวัด พิจารณาให้ความ เห็นชอบ ตามแผนงานเป็นรายพื้นที่ เพื่อมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตามแผนงานต่อไป 3. ขับเคลื่อนการด าเนินงานตามแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ในพื้นที่เปูาหมาย 4. จัดท าฐานข้อมูลของเกษตรกรทั้งหมดที่ได้รับการจัดสรรที่ดินท ากินในพื้นที่ (คทช.) 5. เข้าส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในพื้นที่ รวมทั้งติดตามรายงานผลการด าเนินงานในพื้นที่ ผลการด าเนินงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีจัดประชุมคณะท างานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน (คทช.) จังหวัดเพชรบุรี เพื่อร่วมกันวางแผนและติดตามการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการตลาดในพื้นที่ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน จ านวน 4 ครั้ง น าเสนอแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ให้ที่ประชุม (คทช.) จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบตามแผนงานเป็นรายพื้นที่ และน าเสนอผลการส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพให้ที่ประชุม (คทช.) จังหวัด ทราบ รายงานผลการด าเนินงานในพื้นที่กิจกรรมและการใช้จ่าย งบประมาณ ในระบบติดตามผลการด าเนินงานจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ทุกไตรมาส ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรที่ดินท ากินในพื้นที่ (คทช.) 2 พื้นที่ โดยบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งเป็นคณะท างานพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ รวมทั้งสิ้น 29 กิจกรรม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านเศรษฐกิจฐานราก แผนงานบูรณาการ พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก


78 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรที่ดินในพื้นที่เปูาหมาย ได้รับการส่งเสริมความรู้ในเรื่องการรวมกลุ่ม การสหกรณ์ ส ารวจปัญหาอุปสรรคในการประกอบอาชีพ และได้รับส่งเสริมอาชีพจากส านักงานสหกรณ์จังหวัด เพชรบุรีและหน่วยงานต่าง 1 ซึ่งเป็นคณะท างานพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ท าให้มีความรู้และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 8,400 8,400 100 ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข รายชื่อราษฎรที่ได้รับจัดสรรที่ดิน ในพื้นที่ปุายางหัก-เขาปุูม ไม่สามารถระบุที่อยู่อาศัยที่แน่ชัดได้


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 79 วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนวิทยากรถ่ายทอดความรู้เรื่องการสหกรณ์และการรวมกลุ่มแบบสหกรณ์ โดยบูรณาการร่วมกับ ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี เข้าให้ความรู้การสหกรณ์ การรวมกลุ่มและการด าเนินกิจกรรมกลุ่มรูปแบบสหกรณ์ 2.สนับสนุนการจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) โดยบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานภาคีเครือข่ายและคณะกรรมการ ศพก. ในระดับพื้นที่ ร่วมกันจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ 3. สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ด้านการสหกรณ์เพื่อเผยแพร่ใน ศพก. ตามความเหมาะสมและความ ประสงค์ของแต่ละ ศพก. ในพื้นที่ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ - สนับสนุนการขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ศพก. ในจังหวัดเพชรบุรี รวม 8 ศูนย์ ศพก. โดยด าเนินการสนับสนุนจ านวน 3 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. สนับสนุนวิทยากรถ่ายทอดความรู้เรื่องการสหกรณ์และการรวมกลุ่มแบบสหกรณ์ โดยบูรณาการ ร่วมกับส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี เข้าให้ความรู้การสหกรณ์ การรวมกลุ่มและการด าเนินกิจกรรม กลุ่มรูปแบบสหกรณ์จ านวน 8 ศพก. ผู้เข้ารับการถ่ายทอดความรู้ จ านวน 240 คน 2. สนับสนุนการจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) โดยบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายและคณะกรรมการ ศพก. ในระดับพื้นที่ ร่วมกันจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับ สหกรณ์จ านวน 8 ศพก. 3. สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ด้านการสหกรณ์เพื่อเผยแพร่ใน ศพก. ตามความเหมาะสมและความ ประสงค์ของแต่ละ ศพก. ในพื้นที่ ไม่มี ศพก. ขอรับการสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 8,000 8,000 100 2.2 ผลการด าเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


80 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ เพื่อบรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์ที่ไม่สามารถกระจายสินค้าออกนอกแหล่งผลิตและเพื่อเป็นการ สร้างเสถียรภาพด้านราคาผลผลิตของสมาชิกและสถาบันเกษตรกร รวมทั้งเกษตรกรผู้บริโภคผลไม้ทั่วไป ให้เป็นไป ตามกลไกลตลาดที่เป็นธรรม เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรประตูปุา จ ากัด จังหวัดล าพูน ผลการด าเนินการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ร่วมกับเครือข่ายสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบุรี หน่วยงานราชการ และ ประชาชนทั่วไป ร่วมอุดหนุนและสนับสนุนการกระจายล าไย (สดช่อ) พันธุ์อีดอ ขนาด AA+A จากสหกรณ์ การเกษตรประตูปุา จ ากัด จังหวัดล าพูน สู่ผู้บริโภค ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ กระจายล าไย (สดช่อ) พันธุ์อีดอ ขนาด AA+A (ขนาดบรรจุตะกร้า 3 กิโลกรัม) จ านวน 815 ตะกร้า รวมปริมาณทั้งสิ้น 2.4 ตัน เชิงคุณภาพ บรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์ที่ไม่สามารถกระจายสินค้าออกนอกแหล่งผลิตและเพื่อ เป็นการสร้างเสถียรภาพด้านราคาผลผลิตของสมาชิกและสถาบันเกษตรกร รวมทั้งเกษตรกรผู้บริโภคผลไม้ทั่วไป ให้เป็นไปตามกลไกลตลาดที่เป็นธรรม ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สามารถกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิตสู่ผู้บริโภค งบประมาณที่ได้รับ “ด าเนินการโดยไม่ใช้จ่ายงบประมาณ”


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 81 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สหกรณ์มีบทบาทในการยกระดับราคาเกลือทะเล เกษตรกรมีรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. เพื่อให้การด าเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสหกรณ์ฯ มีประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้า รวดเร็ว 3. เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาราคาเกลือทะเลตกต่ า ตลอดจนเป็นการสร้างเสถียรภาพ รายได้ให้กับเกษตรกรชาวนาเกลือ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ - สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทยเพชรบุรี จ ากัด ผลการด าเนินการ - สหกรณ์การเกษตรเกลือทะเลไทยเพชรบุรี จ ากัด มีผลการด าเนินงานในธุรกิจรวบรวมเกลือทะเล ปี 2566 ปริมาณ 1,524.92 ตัน มูลค่า 2,242,003.44 บาท ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อจัดซื้อรถบรรทุก 4 ล้อ จ านวน 1 คัน เพื่อรวบรวมผลผลิตเกลือทะเล เชิงคุณภาพ เกษตรกรมีรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การด าเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลของสหกรณ์ฯ มีประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้า รวดเร็ว ตอบสนองนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาราคาเกลือทะเลตกต่ า งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 840 840 100 ปัญหา/อุปสรรค - เกลือทะเลมีราคาสูง เนื่องจากเกิดภัยพิบัติในพื้นที่ ท าให้ได้ผลผลิตน้อย และค่าขนส่งมีราคาแพง เนื่องจากราคาน้ ามันปรับขึ้น จึงท าให้ปริมาณการใช้รถบรรทุกน้อยลง เพราะลูกค้าบางรายน ารถมาบรรทุกเอง แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ - อยากให้รัฐบาลปรับราคาน้ ามันให้มีราคาถูก หากค่าขนส่งมีราคาถูก จะท าให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการ เหมือ นเดิม


82 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพการผลิต การแปรรูปสินค้าเกษตรให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีคุณภาพและมาตรฐาน 2. สนับสนุนปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์การตลาดแก่สหกรณ์ เพื่อพัฒนาการแปรรูปสินค้าเกษตร ให้มีคุณภาพมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า 3. สร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ ในการเป็นกลไกขับเคลื่อนนโยบายรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมในชุมชน ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านแปรรูปสินค้าเกษตร 2. สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการแปรรูปสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ - สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด , สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด ผลการด าเนินการ ติดตามการใช้ประโยชน์ รถบรรทุก 4 ล้อ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับเงินสนับสนุน เพื่อจัดซื้อรถบรรทุกห้องเย็น 4 ล้อ แห่งละ 1 คัน เพื่อใช้ ประโยชน์ส าหรับการขนส่งกล้วยหอมทองไปยังผู้บริโภค เชิงคุณภาพ สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมกล้วยหอมทองจากสมาชิกสหกรณ์ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สหกรณ์สามารถควบคุมคุณภาพของกล้วยหอมทองในการ ขนส่งไปยังผู้บริโภคได้ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 1,680 1,680 100


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 83 วัตถุประสงค์ 1. ชะลอผลผลิตออกสู่ตลาดในช่วงต้นฤดูกาล กักเก็บผลผลิตส ารองไว้แปรรูปหรือใช้ในยามจ าเป็น 2. สนับสนุนสหกรณ์ในการก่อสร้าง จัดหาปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน/อุปกรณ์ในการจัดเก็บ/รวบรวมผลผลิต สินค้าเกษตร เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านราคาสินค้าข้าว 3. เพิ่มขีดความสามารถและสร้างโอกาสให้กับสหกรณ์ที่มีศักยภาพ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิตและจัดเก็บผลผลิตเพิ่มขึ้น 2. สมาชิกสหกรณ์มีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ สหกรณ์ผู้ใช้น้ าหนองปรงสามัคคี จ ากัด ผลการด าเนินการ ติดตามการใช้ประโยชน์ ลานตาก ขนาด 1,600 ตารางเมตร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ สหกรณ์มีปริมาณรวบรวมผลผลิต 4,311 ตัน/ปี และมูลค่าการรวบรวม 41,098,278 บาท เชิงคุณภาพ สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้าวจากสมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรทั่วไป ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ เพิ่มขีดความสามารถและสร้างโอกาสในธุรกิจรวบรวมผลผลิต และจัดเก็บผลผลิตให้กับสหกรณ์ งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 840 840 100 ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากบริเวณรอบๆ สหกรณ์มีท่าข้าวเอกชนและโรงสี ท าให้ปริมาณในการรวบรวมผลผลิต มีจ านวนน้อย แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ สหกรณ์อยากให้รัฐบาลมีโครงการรับซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร โดยให้สหกรณ์เป็นผู้รวบรวมผลผลิต สหกรณ์จะได้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากธุรกิจรวบรวม


84 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ 2. ส่งเสริมความร่วมมือและเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตและร้านค้าสหกรณ์ 3. ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่าน ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ตัวชี้วัด 1. ร้านค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการด าเนินธุรกิจ 2. ร้อยละ 80 ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงน าสินค้าจากสมาชิกและเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร มาจ าหน่ายเพิ่มขึ้น เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด ผลการด าเนินการ 1. เข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายและการสร้างคุณค่าซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ อย่างยั่งยืน รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 2 – 3 กุมภาพันธ์ 2566 ณ โรงแรมรอยัลซิตี้ ปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้และเพิ่มศักยภาพการด าเนินงานซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ด้วยการตลาดสมัยใหม่ และ เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือระหว่างซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์ผู้ผลิต และสร้างความ เข้าใจในแนวทางการขับเคลื่อนการส่งเสริมธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ติดตามการด าเนินโครงการส่งเสริมการด าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ จ านวน 2 ครั้ง ในไตรมาสที่ 2 และไตรมาสที่ 4 3. รายงานกิจกรรม และผลลัพธ์การด าเนินงานซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ให้กองพัฒนาสหกรณ์ภาค การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรทราบเป็นประจ าทุกเดือน ผลส าเร็จ เชิงปริมาณ - ผลการจัดจ าหน่ายสินค้าในซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ จ านวน 701,688 บาท เชิงคุณภาพ - มีการเชื่อมโยงน าสินค้าจากสมาชิกและเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร มาจ าหน่ายเพิ่มขึ้น ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ ได้รับการพัฒนาความรู้และเพิ่มศักยภาพการด าเนินงานซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ด้วยการตลาดสมัยใหม่ และสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือระหว่างซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์ผู้ผลิตได้ 2.3 ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี 85 งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 1,720 1,720 100


86 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สหกรณ์ผู้ใช้บริการ เข้าถึงแหล่งเงินทุนในการประกอบอาชีพ ในอัตราดอกเบี้ยต่ า 2. เพื่อพัฒนาทักษะของทรัพยากรบุคคลในกองทุนฯ ให้มีความเชี่ยวชาญ 3. เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการ ให้บริการ ตัวชี้วัด สหกรณ์ผู้ใช้บริการได้รับเงินกู้เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน จ านวน 29.65 ล้านบาท เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี ได้รับวงเงินกู้ เงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 29.65 ล้านบาท แยกเป็น โครงการพิเศษ จ านวน 8 โครงการ เป็นเงิน 14.65 ล้านบาท ดังนี้ 1. โครงการบริหารจัดการธุรกิจรวบรวมผลไม้ในสถาบันเกษตรกร วงเงิน 6.00 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด จ านวน 4.00 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด จ านวน2.00 ล้านบาท 2. โครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีในสถาบันเกษตรกร วงเงิน 0.60 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด จ านวน 0.60 ล้านบาท 3. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 4 วงเงิน 2.15 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด จ านวน 1.45 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าปล้อง จ ากัด จ านวน 0.70 ล้านบาท 4. โครงการสนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้แก่สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด าริ และสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง วงเงิน 0.40 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรดอนขุนห้วย จ ากัด จ านวน 0.40 ล้านบาท 5. โครงการสร้างโอกาสทางการค้าส าหรับร้านค้าสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจซุบเปอร์มาร์เก็ต วงเงิน 1 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ ากัด จ านวน 1.00 ล้านบาท 6 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการแก้ไขปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ปีที่ 3 วงเงิน 0.30 ล้านบาท - สหกรณ์การเกษตรหนองหญ้าปล้อง จ ากัด จ านวน 0.30 ล้านบาท 7. โครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ตามโครงการเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคเกษตร (ASPL) วงเงิน 3.00 ล้านบาท - สหกรณ์โคนมชะอ า - ห้วยทราย จ ากัด จ านวน 3.00 ล้านบาท 8. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ วงเงิน 1.20 ล้านบาท


Click to View FlipBook Version