The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sudarat Penmongkhol, 2022-05-06 10:44:59

คู่มือ sksp-65

คู่มือ

Keywords: คู่มือ sksp-65

งานทะเบยี น

งานทะเบยี น คือ ระบบงานทใ่ี หบ ริการดานเอกสาร ขอ มลู ตาง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ งกับ
นักเรยี น ตลอดระยะเวลาในการศึกษาในสถานศึกษาจนจบหลักสตู ร ระเบยี บ กฎเกณฑ
แนวปฏบิ ัตติ า ง ๆ ท่ีตอ งศึกษา เพอื่ ประโยชนก บั นักเรียน มดี งั นี้
๑. การมอบตวั นักเรียนเขา ใหม

นกั เรยี นเขา ใหม หมายถงึ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ และ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔
ดาํ เนินการมอบตัวพรอ มเอกสารดงั ตอไปน้ี

๑.๑ ใบมอบตัวตามแบบท่โี รงเรียนกาํ หนด
๑.๒ สาํ เนาทะเบียนบานนักเรียน บิดา มารดา
๑.๓ เอกสารที่ใชแทนสําเนาทะเบียนบานของ บิดา มารดา กรณี เสียชีวิต
หยา ราง สาบสูญ เชน สตู บิ ตั รของนกั เรียน ใบมรณะบตั ร
๑.๔ เอกสารแสดงการจบการศึกษา (ปพ.๑)
๒. การขอเปล่ยี นแปลงประวตั ิ
ประวัติ หมายถึง ขอมูลเก่ียวกับ ชื่อ นามสกุล ของนักเรียน บิดา มารดา
หากมีการเปล่ียนแปลงหลังจากเขาเปน นกั เรียนเรียบรอ ยแลว ดาํ เนินการดังตอ ไปนี้
๒.๑ ผปู กครองยนื่ คาํ รอ งขอเปลยี่ นแปลงประวตั ิ พรอ มแนบเอกสารทเี่ กยี่ วขอ ง
คอื

- สําเนาใบสาํ คัญเปลี่ยนชอื่ หรอื นามสกุล ของผูท่เี ปลีย่ นประวัติ
- สําเนาทะเบียนบาน ของผทู เ่ี ปลีย่ นประวัตทิ ม่ี ีการแกไขขอ มลู แลว

คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๐๑

๒.๒ กรณนี กั เรียนเปลยี่ นช่ือ หรือ นามสกุล หลังตดิ ตอ งานทะเบยี นเรียบรอย
แลว ใหน าํ เอกสารแจง เร่อื งการเปลยี่ นแปลงประวตั ิ

๓. การขอเอกสารตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วของกับการเปนนักเรยี น

เอกสารตาง ๆ ที่เก่ยี วของกบั การเปนนักเรียน หมายถึง เอกสารแสดงผลการเรียน
(ปพ.๑) เอกสารรับรองการเปนนักเรียน (ปพ.๗) เอกสารแสดงผลการเรียนเปนภาษาอังกฤษ
(Transcript) เอกสารรับรองการเปน นักเรียนฉบับภาษาองั กฤษ

๓.๑ ยน่ื คาํ รอ ง แจง ความประสงคข อเอกสาร พรอ มแนบรปู ถา ยนกั เรยี นขนาด ๑.๕ นวิ้
ตามจํานวนเอกสารทต่ี อ งการ

๓.๒ กรณีขอเอกสารที่เปนภาษาอังกฤษ ตองแนบสําเนาดานหนาหนังสือเดินทาง
(passport) ของนักเรียน สําเนาบัตรประชาชนของบิดา มารดา มาดวยเพ่ือความถูกตอง
ของการสะกดชอื่ นามสกลุ ในเอกสาร

๓.๓ กรณีขอเอกสารรับรองการเปนนักเรียน ที่ตองการระบุความสามารถพิเศษ
ดานตาง ๆ ตองมีเอกสารรับรองจากครูผูดูแล ฝกซอม ระบุขอมูลเกี่ยวกับความสามารถพิเศษ
ใหชัดเจน

๔. การลาออกจากการเปน นกั เรยี น

การลาออก หมายถึง การลาออกจากการเปนนักเรียนของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ เพื่อศึกษาตอสถานศึกษาอ่ืน หรือเพื่อประกอบอาชีพ
(กรณีเปนนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย) ดําเนนิ การดังตอไปนี้

๔.๑ ผูทีจ่ ะดาํ เนินการลานกั เรยี นออกจากการเปนนักเรียนได ตองเปนบิดา มารดา
หรอื ผูปกครองทีล่ งนามในใบมอบตวั หรอื ผทู ่ไี ดร บั มอบอํานาจใหดาํ เนินการแทน เทานน้ั

๔.๒ กรณเี ปนนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอนตน ประสงคไปศกึ ษาตอสถานศึกษาอ่นื
ตองมีหนังสือยืนยันการรับนักเรียนเขาเรียนจากโรงเรียนปลายทางมาแสดง โรงเรียนจึงจะ
ดําเนินการออกเอกสารตา ง ๆ ให

๔.๓ เขยี นคํารอง ขอลาออก พรอ มแนบรูปถา ยนักเรยี น ขนาด ๑.๕ นวิ้ จาํ นวน ๒ รูป
๔.๔ ตรวจสอบผลการเรียน ณ วันท่ีแจงลาออก ตองไมมีผลการเรียนที่ไมผาน
(๐ ร มส มผ) หากยังมีผลการเรียนดังกลาว นักเรียนตองดําเนินการใหแลวเสร็จกอน
จึงจะดาํ เนนิ การออกเอกสารตาง ๆ ให

๑๐๒ คมู อื ครู ผูป กครอง และนักเร�ยน ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

๔.๕ ตรวจสอบภาระทางการเงนิ และหองสมุด นกั เรยี นตอ งไมม ภี าระผกู พันใด ๆ
กบั ทางโรงเรียน

๕. การเขา เรียนระหวางป

การเขา เรยี นระหวา งป หมายถงึ นกั เรยี นกาํ ลงั เรยี นในสถานศกึ ษาอน่ื มคี วามประสงค
ขอเขา มาเรยี น ณ โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ ดว ยเหตผุ ลตา ง ๆ
เชน ยายตามผูปกครอง ยา ยกลับภมู ิลําเนา ดําเนนิ การดงั ตอไปน้ี

๕.๑ ผปู กครองยน่ื คาํ รอ ง ขอนาํ นกั เรยี นเขา เรยี นระหวา งป ทส่ี าํ นกั งานกลมุ บรหิ าร
วชิ าการ

๕.๒ แนบสําเนาหลักฐานแสดงผลการเรียน เพ่ือประกอบการพิจารณา โครงสราง
รายวิชา จาํ นวนหนวยการเรียน

๕.๓ เมอื่ ผา นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการฯ แลว จงึ ลาออกจากสถานศกึ ษาเดมิ
และรับเอกสารแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ฉบับจริง ท่ีมีหมายเลข เลมท่ี เลขท่ี กํากับ
ดานบนของเอกสารอยางถูกตองและจดหมายสงตัว เพ่ือนํามาดําเนินการมอบตัวตามขั้นตอน
การมอบตัวนกั เรยี นเขาใหม

๕.๔ นักเรียนท่ีเขาเรียนระหวางป ตองไมผลการเรียนที่ไมผาน (๐, ร, มส, มผ)
ในเอกสารแสดงผลการเรียน (ปพ.๑)

๖. รปู ถา ยสําหรับติดเอกสารงานทะเบียน

รูปถาย หมายถึง รูปท่ีสวมชุดนักเรียนที่ถูกตองตามระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน
และชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพอ่ื ใชใ นการตดิ เอกสารของงานทะเบียน ขอกาํ หนดดังตอ ไปน้ี

๖.๑ ขนาด ๑.๕ นว้ิ ถายไวไ มเกิน ๖ เดอื น
๖.๒ สวมชุดนักเรียนถูกตองตามระดับชั้น ท้ังชายและหญิง ไมสวมแวน ไมสวม
เครอ่ื งประดับ ไมแ ตงหนา ไมแตง ทรงผม (สาํ หรบั นกั เรยี นชายไมส วมเส้อื ยดื คอกลมดานใน)
๖.๓ ทรงผมตามระเบียบของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย
สมุทรปราการ ท้งั ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย
๖.๔ เปนรูปถายท่ีไดมาตรฐานของรานถายรูป ไมรับรูปโพลาลอยด รูปถายดวย
กลองจากมอื ถือ รปู ที่พมิ พจากกระดาษอนื่ ทีไ่ มใชก ระดาษสําหรบั อดั รูป

คมู อื ครู ผูปกครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๐๓

๖.๕ จํานวนรปู ถา ยท่ใี ช ข้นึ อยกู ับเอกสารทตี่ อ งการ
- สําเนา ปพ.๑ ใช ๑ รปู ตอ เอกสาร ๑ ฉบบั
- ใบรบั รองการเปนนกั เรียน ใช ๑ รูปตอ เอกสาร ๑ ฉบับ
- ใบแสดงผลการเรยี นเปน ภาษาองั กฤษ (Transcript)
ใช ๒ รูปตอเอกสาร ๑ ชดุ
- ปพ.๑ ฉบับจรงิ กรณนี กั เรยี นลาออก ใช ๒ รูป
- ปพ.๑ ฉบับจบหลกั สตู ร ใช ๒ รูป

๗. เวลาติดตอ หอ งทะเบยี น

เวลาติดตอหองทะเบียน หมายถึง เวลาท่ีนักเรียนของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ สามารถยน่ื คาํ รอ งเพอื่ ขอเอกสาร ขอรบั เอกสารทด่ี าํ เนนิ การ
ขอไวแ ลว ยืน่ คํารองขอเปล่ียนแปลงประวตั ิ ขอ กําหนดดังนี้

๗.๑ ชว งเวลาพักของนักเรียน
- ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๑.๕๐ น.
- ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เวลา ๑๑.๕๐ – ๑๒.๔๐ น.

๗.๒ หลังโรงเรยี นเลิก ๑๕.๑๐ – ๑๖.๐๐ น.

๘. การแตงกายเพอ่ื ติดตอ หอ งทะเบยี น

การแตงกาย หมายถึง การสวมเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกตองตามประเภท เชน
ชุดนกั เรียนปกติ ชุดพลศกึ ษา ชดุ ลกู เสอื -เนตรนารี รวมถึงองคป ระกอบตาง ๆ ทีเ่ หมาะสมกบั
สภาพการเปน นกั เรียน ขอกาํ หนดดงั น้ี

๘.๑ เครอื่ งแตงกาย
- ชดุ นกั เรยี นปกติ ตอ งเปนไปตามขอกําหนดของเครื่องแบบทถี่ ูกตอง
- ชุดพลศกึ ษา ท้งั นักเรยี นหญงิ และนักเรียนชายตอ งสอดชายเสื้อ
ไวใ นกางเกงพละ
- ชดุ ลกู เสอื - เนตรนารี ตอ งมผี าผกู คอและวอกเกิล้ ตามระเบยี บ
ของการแตง กาย

๑๐๔ คมู อื ครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

๘.๒ องคประกอบอื่น ๆ
- นักเรยี นทุกคนตองคลองบตั รประจาํ ตวั นกั เรยี น เพอื่ ยืนยันตวั ตน
- นักเรยี นหญิงไมแตง หนา ทาสีเลบ็
- นักเรียนทุกคนไมส วมเครอื่ งประดับ เชน แหวน สรอยขอมือ เชอื กสี
- นกั เรียน ม.ปลาย ทัง้ ชายและหญงิ ตอ งติดเขม็ สก. ทอี่ กดานขวาเหนอื
ตราเสมาชมพู - ฟา

คมู อื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๐๕

๑๐๖ คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

กลมุ บริหารงบประมาณ

การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาในยุคปจจุบันเนนความเปนอิสระ
ในการบรหิ ารใหม คี วามคลอ งตวั โปรง ใส ตรวจสอบได การบรหิ ารงบประมาณเปน สงิ่ จาํ เปน
อยา งยงิ่ ในการบรหิ ารงานทกุ ชนดิ ซงึ่ จะตอ งมกี ารวางแผนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมคี วามสมั พนั ธ
เก่ยี วของกับวตั ถปุ ระสงค นโยบาย วธิ ีดาํ เนินงานและโครงสรา งขององคกร

กลุมบริหารงบประมาณมีภารกิจสําคัญท่ีมุงสงเสริมใหบุคลากรสามารถปฏิบัติ
งานเพ่ือตอบสนองภารกิจของโรงเรียน โดยยึดหลักการบริหารแบบมุงเนนผลงาน
การดําเนินงานโปรงใส ตรวจสอบได เพ่ือประโยชนทางการบริหารจัดการภายในองคกร
สง ผลใหเกดิ คณุ ภาพทดี่ ตี อ ผูเรยี น

คมู อื ครู ผูปกครอง และนกั เร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๐๗

ระเบยี บการเกบ็ เงนิ บาํ รงุ การศกึ ษาและเงินบาํ รุงสมาคมผูปกครองและครู
โรงเรยี นนวมินทราชนิ ูทศิ สวนกุหลาบวิทยาลยั สมุทรปราการ

..........................................................

๑. เงนิ บํารงุ การศึกษา โรงเรยี นฯ จะเรยี กเกบ็ จากนักเรียนทกุ คน ภาคเรียนละ
๑ ครั้ง โดยมีหนังสือแจงไปยังผูปกครองผานชองทางการสื่อสารตางๆ ไดแก ฝากไปกับ
นกั เรียน ครทู ่ีปรึกษา เว็บไซตโรงเรยี น ยอดเงนิ ที่เรียกเกบ็ เปน ไปตามระเบยี บทส่ี าํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐานกาํ หนด

๒. เงินบํารุงสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบ
วิทยาลยั สมุทรปราการ โรงเรียนฯ จะเรยี กเกบ็ จากนกั เรยี นทกุ คน ปการศึกษาละ ๑ ครงั้
ซงึ่ เปน ไปตามระเบยี บของสมาคมผปู กครองและครโู รงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบ
วิทยาลัย สมุทรปราการ

๓. โรงเรียนฯ จะออกหลักฐานใบเสร็จรับเงินตรงตามยอดเงินและประเภทเงิน
ทไี่ ดรบั ทุกครั้ง ใหผ จู ายเงินตรวจสอบความถกู ตอ ง หากเกดิ ความผดิ พลาดใหแจง ในทนั ที

๔. การขอยกเวน คาเลาเรียนใหเปน ไปตามขอกําหนดของคณะกรรมการบรหิ าร
โรงเรยี นนวมินทราชินูทศิ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ

๕. การขอรับทุนการศึกษาใหเปนไปตามขอกําหนดของคณะกรรมการบริหาร
โรงเรยี นนวมินทราชินูทิศ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย สมทุ รปราการ

๖. การไมชําระเงินตามกําหนดจะทบยอดเงินไปจนกวาจะมีการชําระเงินใหถูก
ตอ งครบถวน

๗. การรบั เอกสารการจบหลกั สตู รในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓ หรอื ๖ หรอื การ
รบั เอกสารรบั รองผลการเรยี นกรณลี าออก/ยา ยโรงเรยี น นกั เรยี นจะตอ งไมม ภี าระตดิ คา ง
ทางดานการเงินใดๆ กบั ทางโรงเรียน

๑๐๘ คมู อื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

การชาํ ระเงินบํารุงการศกึ ษา / เงินสมาคมผูปกครองและครูฯ

ข้นั ตอนการชาํ ระเงนิ บํารงุ การศึกษา / เงินสมาคมผปู กครองและครู ฯ
๑. โรงเรยี นจะมีหนงั สือแจง ผปู กครอง เรอ่ื งกาํ หนดการชําระเงินในแตละ
ภาคเรียน
๒. การชาํ ระเงินหลังวนั ทีก่ ําหนด ใหตดิ ตอ ที่งานการเงิน สํานกั งานกลุม
บริหารงบประมาณ อาคาร ๑ ชน้ั ๑
๓. ผมู ีสิทธเ์ิ บกิ คา การศกึ ษาบตุ ร ตดิ ตอ เพือ่ ขอหนังสอื รบั รองทง่ี านการเงนิ
สาํ นกั งานกลมุ บรหิ ารงบประมาณ อาคาร ๑ ชัน้ ๑
๔. นักเรยี นที่มีปญ หาเรื่องการชาํ ระเงนิ /ตรวจสอบสถานะการคา งชาํ ระ
ใหติดตองานการเงนิ สาํ นกั งานกลมุ บริหารงบประมาณ อาคาร ๑ ช้นั ๑
๕. ผูปกครองที่มีความประสงคขอผอนผนั การชําระเงิน ใหต ิดตอ ย่ืนคํารอ ง
ไดท ง่ี านการเงิน สาํ นกั งานกลุมบริหารงบประมาณ อาคาร ๑ ชน้ั ๑
๖. สอบถามขอ มูลเพิ่มเติมไดทีเ่ บอรโ ทรศัพท ๐๒ ๓๓๐๑๐๕๗ หรอื
ครทู ปี่ รึกษาของนกั เรยี นทุกหอ ง

คูม ือครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๐๙

รายละเอยี ดการจดั เก็บเงนิ บํารุงการศึกษา/เงินสมาคมฯ(คาเทอม) ปก ารศกึ ษา๒๕๖๕
โรงเรยี นนวมินทราชินทู ศิ สวนกุหลาบวทิ ยาลยั สมุทรปราการ

รายการ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ หมายเหตุ

๑. เงนิ บาํ รงุ การศึกษา ๑๐๐ - ม.๑/ม.๔/นร.ใหม
- คาคูมอื นักเรียน /รายป ๑๐๐ - ม.๑/ม.๔/นร.ใหม
- คาบตั รประจําตวั นักเรียน /รายป ๑๐๐ ๑๐๐
- คา วารสารโรงเรยี น ๕๐๐ ๕๐๐
- คาจางครตู า งประเทศ ๕๐๐ ๕๐๐
- คา สอนคอมพวิ เตอรเกินมาตรฐานรฐั ๘๐๐ ๘๐๐
- คาใชจ า ยรวมกิจกรรมฯเกนิ มาตรฐานรฐั ๒๕๐ -
- คา ประกนั ชวี ิต/ประกันอบุ ตั ิเหตนุ ักเรยี น/รายป ๑๕๐ -
- คา ตรวจสุขภาพนอกเหนอื บรกิ ารของรัฐ/รายป ๑,๓๐๐ ๑,๐๐
- คาจา งบคุ ลากรท่ีปฏบิ ัติงานในโรงเรียน ๓,๘๐๐ ๓,๒๐๐

รวม ๕๐๐ - เปด ใหมป  ๖๕
หมายเหตุ ๒๐๐ -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑,ม.๔ นกั เรยี นใหม รวม ๓,๘๐๐ บาท ๓๐๐ -
ภาคเรียนที่ ๑ ม.๒,ม.๓,ม.๕,ม.๖ รวม ๓,๖๐๐ บาท ๕๐๐ -
๒.เงนิ สมาคมผูป กครองและครฯู ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐
- คาสมาชกิ สมาคมผปู กครองและครูฯ/รายป ๔,๕๐๐ ๔,๕๐๐
๑๓,๒๐๐ ๑๓,๒๐๐
นกั เรยี นใหม ๕๐๐ บาท ๑๒,๕๐๐ ๑๒,๕๐๐
นักเรยี นเกา ๒๐๐ บาท ๑๕,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
- คาระบบ Virtual School Gate/รายป
- คา ยทักษะชวี ติ ม.๑/ม.๔
๓. เงินโครงการหองเรียนพเิ ศษ
- หองเรียนพิเศษ วทิ ย-คณิต ม.ตน
- หอ งเรียนพิเศษ วิทย-คณติ ม.ปลาย
- หอ งเรียนพเิ ศษ MEP ม.๑
- หอ งเรียนพเิ ศษ MEP ม.๒ , ม.๓
- หอ งเรียนพเิ ศษ MEP ม.๔

๑๑๐ คมู ือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕

รายละเอียดคาใชจ า ยสําหรบั นกั เรียนใหม ระดบั ชั้น ม.๑ และ ม.๔
ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๕

โรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

๑. เงินบํารงุ การศึกษา รวม ๑๐๐ บาท
- คา คูม ือนักเรยี น รวม ๑๐๐ บาท
- คา บตั รประจําตัวนกั เรียน ๑๐๐ บาท
- คา วารสารโรงเรียน ๕๐๐ บาท
- คา จางครูตางประเทศ ๕๐๐ บาท
- คา สอนคอมพวิ เตอรเ กินมาตรฐานรัฐ ๘๐๐ บาท
- คา ใชจายรวมกจิ กรรมฯเกนิ มาตรฐานรัฐ ๒๕๐ บาท
- คา ประกนั ชวี ติ /ประกันอุบัติเหตุนักเรียน ๑,๓๐๐ บาท
- คา จา งบุคลากรท่ปี ฏิบัติงานในโรงเรียน ๑๕๐ บาท
- คาตรวจสุขภาพนอกเหนือบริการของรัฐ ๓,๘๐๐ บาท
๕๐๐ บาท
๒. เงนิ สมาคมผปู กครองและครฯู ๓๐๐ บาท
- คา สมาชกิ สมาคมผปู กครองและครูฯ ๕๐๐ บาท
- คา ระบบ Virtual School Gate ๑,๓๐๐ บาท
- คายทักษะชวี ติ ๔,๐๐๐ บาท
๔,๕๐๐ บาท
๓. เงนิ โครงการหองเรียนพิเศษ ๑๓,๒๐๐ บาท
- หองเรียนพเิ ศษ วทิ ย- คณิต ม.๑ ๑๕,๐๐๐ บาท
- หอ งเรยี นพิเศษ วิทย- คณิต ม.๔
- หอ งเรยี นพเิ ศษ MEP ม.๑
- หองเรียนพิเศษ MEP ม.๔

สรุปรวมคาใชจ าย เปนเงนิ ๕,๑๐๐ บาท
 หองเรียนปกติ ม.๑ และ ม.๔ เปนเงิน ๙,๑๐๐ บาท
 หอ งเรียนพิเศษ วทิ ย-คณติ ม.๑ เปนเงนิ ๙,๖๐๐ บาท
 หอ งเรยี นพเิ ศษ วิทย-คณิต ม.๔ เปน เงนิ ๑๘,๓๐๐ บาท
 หองเรยี นพิเศษ MEP ม.๑ เปน เงิน ๒๐,๑๐๐ บาท
 หองเรียนพิเศษ MEP ม.๔

คูม อื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๑๑

รายละเอยี ดคา ใชจายสําหรับนักเรยี น ม.๒,ม.๓,ม.๕,ม.๖
ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย สมุทรปราการ

๔. เงินบํารงุ การศึกษา รวม - บาท
- คาคมู ือนกั เรียน รวม - บาท
- คา บัตรประจําตัวนักเรยี น ๑๐๐ บาท
- คาวารสารโรงเรียน ๕๐๐ บาท
- คา จา งครูตางประเทศ ๕๐๐ บาท
- คาสอนคอมพวิ เตอรเ กินมาตรฐานรัฐ ๘๐๐ บาท
- คา ใชจายรวมกิจกรรมฯเกินมาตรฐานรฐั ๒๕๐ บาท
- คา ประกันชีวติ /ประกันอุบัติเหตนุ กั เรยี น ๑,๓๐๐ บาท
- คาจางบุคลากรท่ปี ฏบิ ัติงานในโรงเรยี น ๑๕๐ บาท
- คาตรวจสขุ ภาพนอกเหนอื บริการของรฐั ๓,๖๐๐ บาท
๒๐๐ บาท
๕. เงนิ สมาคมผปู กครองและครูฯ ๓๐๐ บาท
- คา สมาชกิ สมาคมผปู กครองและครฯู - บาท
- คาระบบ Virtual School Gate ๕๐๐ บาท
- คายทักษะชีวิต ๔,๐๐๐ บาท
๔,๕๐๐ บาท
๖. เงินโครงการหองเรียนพิเศษ ๑๒,๕๐๐ บาท
- หองเรียนพเิ ศษ วิทย- คณติ ม.๒ , ม.๓
- หองเรยี นพเิ ศษ วิทย- คณติ ม.๕ , ม.๖
- หอ งเรยี นพิเศษ MEP ม.๒ , ม.๓

สรปุ รวมคาใชจ า ย เปนเงิน ๔,๑๐๐ บาท
 หอ งเรยี นปกติ เปน เงนิ ๘,๑๐๐ บาท
 หองเรยี นพิเศษ วิทย-คณติ ม.๒ , ม.๓ เปน เงิน ๘,๖๐๐ บาท
 หองเรยี นพเิ ศษ วทิ ย-คณติ ม.๕ , ม.๖ เปนเงนิ ๑๖,๖๐๐ บาท
 หองเรียนพเิ ศษ MEP ม.๒ , ม.๓

๑๑๒ คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเร�ยน ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

กลมุ บรหิ ารท่วั ไป (ฝายกจิ การนักเรยี น)

คูมือครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๑๓

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ

วาดว ยการลงโทษนักเรยี นและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘

..........................................................

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แหง พระราชบญั ญตั คิ มุ ครอง
เด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ วางระเบียบวา ดวยการลงโทษ
นักเรียนและนักศึกษาไวดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบยี บน้ีเรียกวา “ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร วาดวยการลงโทษ
นกั เรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบยี บน้ใี หใชบ ังคบั ต้งั แตว นั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เปนตนไป
ขอ ๓ ใหย กเลกิ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ยการลงโทษนกั เรยี น หรอื
นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
ขอ ๔ ในระเบยี บนี้ “ผบู รหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา” หมายความวา ครใู หญ
อาจารยใหญ ผูอํานวยการ อธิการบดี หรือหัวหนาของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือ
ตาํ แหนงท่ีเรียกช่อื อยางอ่ืนของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษาน้ัน

“กระทาํ ความผดิ ” หมายความวา การทน่ี กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาประพฤติ
ฝาฝน ระเบยี บ ขอบังคบั ของสถานศึกษา หรอื ของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวง
วา ดว ยความประพฤตขิ องนกั เรียนและนักศกึ ษา

“การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทก่ี ระทาํ
ความผิดโดยมคี วามมุงหมายเพื่อการอบรมส่ังสอน

๑๑๔ คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕

ขอ ๕ โทษท่จี ะลงโทษแกนักเรียนหรือนกั ศกึ ษาทีก่ ระทาํ ความผดิ มี ๔ สถาน
ดังน้ี

๕.๑ วา กลา วตักเตอื น
๕.๒ ทาํ ทณั ฑบน
๕.๓ ตดั คะแนน ความประพฤติ
๕.๔ ทํากจิ กรรมเพอ่ื ใหป รบั เปลี่ยนพฤติกรรม
ขอ ๖ หามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาดวยวิธีรุนแรง หรือแบบกล่ันแกลง
หรือลงโทษดวยความโกรธ หรือดวยความพยาบาท โดยคํานึงถึงอายุของนักเรียนหรือ
นักศึกษา และความรายแรงของพฤตกิ ารณประกอบการลงโทษดว ย
การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาใหเ ปน ไป เพอื่ เจตนาทจ่ี ะแกน สิ ยั และ
ความประพฤตไิ มด ขี องนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ใหร สู าํ นกึ ในความผดิ และกลบั ประพฤตติ น
ในทางท่ีดีตอ ไป ใหผูบ ริหารโรงเรยี นหรือสถานศึกษา หรอื ผทู ่ผี ูบรหิ ารโรงเรียนหรอื สถาน
ศกึ ษามอบหมายเปนผูมีอํานาจในการลงโทษนกั เรียน นกั ศกึ ษา
ขอ ๗ การวากลาวตักเตือนใชในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระทําความผิด
ไมร า ยแรง
ขอ ๘ การทําทัณฑบนใชในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีประพฤติตน
ไมเหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงวาดวยความประพฤติ
นักเรยี นและนกั ศึกษา หรือไดรบั โทษวา กลา วตกั เตอื นแลว แตย งั ไมเขด็ หลาบ
การทําทัณฑบนใหทําเปนหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผูปกครอง
มาบันทึกรับทราบความผดิ และรบั รองการทาํ ทัณฑบนดว ย
ขอ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติใหเปนไปตามระเบียบปฏิบัติวาดวยการ
ตัดคะแนนความประพฤติ นกั เรยี นและนักศกึ ษาของแตละสถานศกึ ษากําหนด และใหทาํ
บันทึกขอ มลู ไวเปนหลักฐาน

คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๑๕

ขอท่ี ๑๐ ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใชในกรณีที่นักเรียนและ
นกั ศึกษากระทาํ ความผิดทส่ี มควรตองปรบั เปล่ียนพฤติกรรม

ขอ ท่ี ๑๑ ใหป ลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการใหเ ปน ไปตามระเบยี บนี้ และให
มอี าํ นาจตีความและวินจิ ฉยั ปญ หาเกี่ยวกบั การปฏิบัติตามระเบยี บน้ี

ระเบียบการปกครองนักเรยี นโรงเรยี นนวมินทราชินทู ิศ
สวนกหุ ลาบวิทยาลยั สมุทรปราการ
หมวดท่ี ๑
บทท่ัวไป

ขอ ที่ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กวา ระเบยี บการปกครองนกั เรยี นโรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย สมุทรปราการ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา ดวยการลงโทษ
นกั เรยี นหรอื นักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘

ขอท่ี ๒ ระเบียบนี้ใชบ ังคับต้งั แตภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๕ เปน ตน ไป
ขอท่ี ๓ บทลงโทษ แบง เปน ๕ สถานคอื

๓.๑ วา กลา วตกั เตือน
๓.๒ ทําทัณฑบน
๓.๓ ตดั คะแนน ความประพฤติ
๓.๔ ทํากิจกรรมเพ่อื ให ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม
๓.๕ สญั ญา ครั้งสดุ ทา ย
ขอท่ี ๔ การวา กลา วตักเตือน ใชในกรณีนักเรยี นกระทาํ ความผิดท่วั ไป โดยครู
ทกุ คนมหี นา ที่ในการวา กลา วตักเตือนนกั เรียน เมื่อพบเหน็ นกั เรียนกระทําความผิด

๑๑๖ คมู ือครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕

ขอ ที่ ๕ การทําทัณฑบนใชในกรณีนักเรียนไดรับโทษวากลาวตักเตือนแลว
แตยังไมเข็ดหลาบ การทําทัณฑบนใหทําเปนหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผูปกครอง
มาบันทึกรับทราบความผิดและรับรองการทําทัณฑบนโดยครูท่ีปรึกษา หัวหนาระดับชั้น
หัวหนางานฝายกิจการนักเรียน และรองผูอํานวยการกลุมบริหารท่ัวไป (ฝายกิจการ
นกั เรียน) ในการดาํ เนนิ การทําทณั ฑบ น

ขอท่ี ๖ ตดั คะแนนความประพฤติ ตามแนบ โดยใชเกณฑ (ป.ค.๑๖)
ขอ ท่ี ๗ การทํากิจกรรมเพ่ือใหปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใชในกรณีท่ีนักเรียน
กระทําความผิดรา ยแรง โดยเชญิ บดิ ามารดาหรอื ผูป กครองมาบนั ทกึ รบั ทราบ

กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะไดรับการฝกระเบียบวินัย
สงเสริมความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย โดยการปฏิบัติกิจกรรมสาธารณะ
ประโยชน ตามทีโ่ รงเรยี นกําหนด พรอมแนบบนั ทึก โดยมหี ัวหนาหนวยงานเปน ผูรับรอง

ขอ ท่ี ๘ ในกรณที ี่นกั เรียนไดถกู ลงโทษตามขอ ๑-๔ แลว แตพ ฤตกิ รรมไมดขี นึ้
จะใหท ําสัญญาครั้งสุดทาย

หมวดที่ ๒
ลักษณะความผดิ ของนักเรยี น

ขอที่ ๙ ความผดิ ทวั่ ไป คือ ความผดิ ที่มีลกั ษณะ ดังน้ี
๙.๑ มาสาย
๙.๒ ขาดเรียนโดยไมมีเหตผุ ลอันสมควร
๙.๓ แตงกายผดิ ระเบียบ
๙.๔ ทรงผมผดิ ระเบยี บ
๙.๕ ไวเลบ็ ยาว ตกแตง เลบ็ ดวยสีสนั

คมู ือครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๑๗

๙.๖ ไมร ักษาความสะอาดในหองเรียนและบริเวณโรงเรยี น
๙.๗ ไมเ ขารว มกิจกรรมของโรงเรยี นโดยไมมเี หตุผลอนั ควร
๙.๘ ไมส นใจเรียนขณะคณุ ครูกาํ ลงั ทาํ การสอน
๙.๙ รบกวน / กอ กวน การจัดกิจกรรมการเรียนรขู องครู
๙.๑๐ หนีเรยี น
๙.๑๑ พูดจาไมสุภาพ กาวรา วตอครู
๙.๑๒ โฆษณาหรอื จาํ หนา ยสง่ิ ของภายในโรงเรยี นโดยไมไ ดร บั อนญุ าต
๙.๑๓ ใชโ ทรศพั ทม ือถอื ในหอ งเรยี นโดยครผู สู อนไมไ ดอนุญาต
๙.๑๔ สวมเครือ่ งประดบั ทท่ี างโรงเรียนไมไดอ นญุ าต
๙.๑๕ ใชเคร่อื งสําอางที่ไมเหมาะสมกบั สภาพนกั เรยี น
๙.๑๖ อน่ื ๆที่ไมเ ปนความผดิ รา ยแรง
ขอท่ี ๑๐ ความผิดรายแรง คอื ความผดิ ท่ีมีลักษณะ ดังนี้
๑๐.๑ ยาเสพตดิ (เสพ / จาํ หนา ย) หรอื ดมื่ สรุ าของมนึ เมา หรอื สบู บหุ ร่ี
๑๐.๒ ลกั ทรพั ย หรือ ขดู รีดทรพั ย
๑๐.๓ พกอาวุธ วัตถุระเบิด ในและนอกโรงเรียน
๑๐.๔ พฤตกิ รรมชสู าวในและนอกโรงเรยี น
๑๐.๕ มสี ือ่ ลามกในครอบครอง
๑๐.๖ กอการทะเลาะววิ าทในและนอกโรงเรยี น
๑๐.๗ ปลอมลายเซน็ ผูปกครองและครู
๑๐.๘ ปลอมเอกสารเพอ่ื ผลประโยชนของตนเอง
๑๐.๙ ทุจริตในการสอบ
๑๐.๑๐ เลนการพนัน หรอื เลนเกมสพนนั ออนไลนทุกประเภท
๑๐.๑๑ กระทําความผดิ ทางคดอี าญา
๑๐.๑๒ ออกนอกบรเิ วณโรงเรียนโดยไมไดรับอนุญาต (ทุกกรณ)ี
๑๐.๑๓ นาํ ยานพาหนะเขามาในโรงเรยี นโดยไมไ ดรบั อนญุ าต
๑๐.๑๔ จงใจฝาฝนกฎระเบยี บของโรงเรียน

๑๑๘ คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

๑๐.๑๕ ทาํ ลายทรพั ยส ินของโรงเรยี นและของผอู ื่น
๑๐.๑๖ กระทาํ การใด ๆ ทน่ี าํ มาซง่ึ ความเสอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี งของโรงเรยี น
๑๐.๑๗ อนื่ ๆ ท่ีเขา ขา ยความผดิ รา ยแรง

หมวดที่ ๓
การควบคมุ ความประพฤตินกั เรียน

ขอ ท่ี ๑๑ ระเบียบการลงโทษนักเรียนที่ทําผิดระเบียบวนิ ัย
๑๑.๑ การวากลา วตักเตือน โดยครทู ุกทา นมอี ํานาจในการวา กลา ว

ตกั เตอื นนกั เรยี น เมื่อพบเหน็ นกั เรียนประพฤติปฏิบตั ิไมเ หมาะสม
๑๑.๒ การทําทณั ฑบนใชใ นกรณีนกั เรียนไดร บั โทษวากลาวตักเตอื น

แลว แตยังไมเข็ดหลาบ การทําทัณฑบนใหทําเปนหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือ
ผูปกครอง มาบันทึกรับทราบความผิดและรับรองการทําทัณฑบนโดยครูที่ปรึกษา
หวั หนาระดบั ชนั้ หัวหนางานฝา ยกจิ การนกั เรยี น และรองผอู าํ นวยการกลุมบริหารท่ัวไป
(ฝา ยกจิ การนักเรียน) ในการดําเนนิ การทําทณั ฑบน

๑๑.๓ ตดั คะแนนความประพฤติ ตามแนบ โดยใชเ กณฑ (ป.ค.๑๖)
๑๑.๔ การทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใชในกรณีที่
นักเรียนกระทาํ ความผดิ รายแรง โดยเชญิ บิดามารดาหรอื ผปู กครองมาบันทกึ รบั ทราบ
กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะไดรับการฝกระเบียบวินัย
สงเสริมความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย โดยการปฏิบัติกิจกรรมสาธารณะ
ประโยชน ตามที่โรงเรียนกาํ หนด พรอมแนบบันทึก โดยมีหวั หนาหนวยงานเปน ผูรบั รอง
๑๑.๕ ในกรณที นี่ กั เรยี นไดถ กู ลงโทษตามขอ ๑-๔ แลว แตพ ฤตกิ รรม
ไมด ีขนึ้ จะใหทําสัญญาครัง้ สดุ ทาย

คมู อื ครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปการศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๑๙

ขอท่ี ๑๒ แนวทางปฏิบตั ิวาดว ยการลงโทษ
เพ่ือใหสอดคลองและสะดวกกับการปฏิบัติของครู ในการพิจารณา

ลงโทษ นกั เรยี นโรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ มแี นวปฏบิ ตั ิ
ดงั นี้

๑๒.๑ นักเรียนท่ีกระทําผิดระเบียบวินัย ครั้งท่ี ๑ ถึงครั้งที่ ๓
ใหค รทู ปี่ รกึ ษามอี าํ นาจวา กลา วตกั เตอื น และเชญิ ผปู กครองมารบั ทราบพรอ มลงลายมอื ชอื่

๑๒.๒ นักเรียนท่ีกระทําผิดระเบียบวินัย คร้ังท่ี ๔ ใหครูท่ีปรึกษา
สง ตอใหห ัวหนาระดับทําทัณฑบน และเชิญผูปกครองมารบั ทราบพรอ มลงลายมือชอื่

๑๒.๓ นักเรียนท่ีกระทําผิดระเบียบวินัย หลังจากหัวหนาระดับ
ทาํ ทณั ฑบ นแลว ใหห วั หนา ระดบั สง ตอ หวั หนา งานระเบยี บวนิ ยั ดาํ เนนิ การทาํ กจิ กรรมเพอื่
ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม และเชิญผูปกครองมารับทราบ พรอ มลงลายมือช่ือ

ขอที่ ๑๓ นกั เรยี นทีก่ ระทาํ ความผดิ ตามหมวดที่ ๒ ขอท่ี ๙ ใหดําเนนิ การตาม
หมวดที่ ๓ วาดวยการควบคมุ ความประพฤตนิ ักเรียน ขอ ที่ ๑๒

ขอ ท่ี ๑๔ นกั เรยี นทกี่ ระทาํ ความผดิ ตามหมวดที่ ๒ ขอ ที่ ๑๐ ใหด าํ เนนิ การ ดงั น้ี
๑๔.๑ นักเรยี นท่เี สพสารเสพติด ใหครูทปี่ รึกษา / หวั หนาระดับช้ัน

/ สารวตั รนกั เรียน นําตัวนักเรยี นมาดาํ เนนิ การตรวจสารเสพตดิ ในเบ้อื งตน ทีห่ อ งกิจการ
นกั เรยี นโดยหวั หนา งานปอ งกนั และแกไ ขปญ หายาเสพตดิ เปน ผดู าํ เนนิ การ ถา พบสารเสพตดิ
แจงครูท่ีปรึกษาติดตอผูปกครอง พบหัวหนางานฝายกิจการนักเรียน ดําเนินการ
รว มแกไขปญ หากบั โรงเรยี น และสงตอใหหนว ยงานทเี่ กยี่ วของเพื่อรว มแกไขปญ หา

๑๔.๒ นกั เรยี นทจี่ าํ หนา ยสารเสพตดิ ใหค รทู ปี่ รกึ ษา / หวั หนา ระดบั ชน้ั
/ สารวัตรนักเรียน / หัวหนางานปองกันและแกไขปญหายาเสพติด / หัวหนางาน
ฝา ยกจิ การนกั เรยี นดาํ เนินการสอบสวน แลวแจง ผูบงั คับบัญชา ตามลําดับขัน้ พรอ มแจง
ครูท่ีปรึกษาติดตอผูปกครองทราบเพื่อดําเนินการรวมกันแกไขปญหากับโรงเรียน
และสงตอใหหนว ยงานที่เกย่ี วของเพือ่ รว มแกไ ขปญหาตอไป

๑๒๐ คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๔.๓ นกั เรยี นทกี่ อ เหตทุ ะเลาะววิ าท นอกบรเิ วณโรงเรยี นใหห วั หนา
งานฝายกจิ การนักเรียนแจง ผูปกครองทราบ เพอื่ ใหเ จา หนาท่ตี าํ รวจดาํ เนินการตอ ไป

๑๔.๔ ความผดิ อนื่ ๆ ตามหมวดท่ี ๒ ขอ ท่ี ๑๐ ทไ่ี มเ กย่ี วกบั ยาเสพตดิ
ใหห วั หนา งานฝา ยกจิ การนกั เรยี น ดาํ เนนิ การสอบสวน แลว แจง ครทู ปี่ รกึ ษา เชญิ ผปู กครอง
มารับทราบ แลวดําเนินการตามข้ันตอนตอไป

ขอ ที่ ๑๕ นักเรียนที่กระทําความผิดระเบียบวินัย ตามหมวดที่ ๒ ขอที่ ๙
และ ๑๐ ท่ีตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครั้งที่ ๑ แตยังไมไดรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แตยังกระทําความผิดระเบียบวินัยที่รายแรง ตามขอท่ี ๑๐ อีก ใหยกมาปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมครั้งท่ี ๒ ซง่ึ ถอื เปน การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมครั้งสุดทาย

ขอ ท่ี ๑๖ นกั เรยี นทไี่ ดร บั การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ครงั้ ท่ี ๒ แลว ยงั มพี ฤตกิ รรม
ไมดีขึ้น กระทําผิดระเบียบวินัยใด ๆ อีก ตามขอที่ ๙ และขอที่ ๑๐ ใหคณะกรรมการ
กลุมบริหารกิจการนกั เรียน พิจารณาดําเนินการแลวนําเสนอผูอํานวยการพิจารณาตอ ไป

ระเบียบตา ง ๆ ของโรงเรียนท่นี กั เรียนและผูปกครองควรทราบ

ระเบยี บการแตงกายของนักเรยี น
นักเรยี นชาย

๑. เสือ้
๑.๑ นักเรยี นชายระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน
- เส้อื เชิต้ แขนส้นั คอต้ังใชผ าโทเร สขี าวเกลยี้ ง ไมบ างหรอื หนา

จนเกนิ ไป ไมใ ชผามัน ผาฝา ย ผา ดา ยดิบ หรือผา เนื้อหยาบ
- ตัวปลอย ไมรัดรูป ไมตีเกล็ดหลัง ผาอกตลอดมีสาบนอกท่ี

หนาอกกวา ง ๒.๕ – ๓ เซนติเมตร
- ติดกระดุมสีขาว กลมแบน เสนผาศูนยกลาง ๑ เซนติเมตร

จาํ นวน ๕ เมด็ แขนส้นั เหนือศอก ประมาณ ๕ เซนตเิ มตร ความกวา งของแขนพอเหมาะ
กับรอบแขนของนักเรียน ไหลไมตก

คูมือครู ผูป กครอง และนักเร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๒๑

- มกี ระเปา (ไมม ฝี า) ทอี่ กเสอื้ เบอ้ื งซา ย ๑ ใบ ขนาดกวา ง ๘ - ๑๒
เซนติเมตร พอเหมาะกับขนาดของเสื้อ

- ปกอักษร “นมร.ส.ก.ส” ที่อกเส้ือเบ้ืองขวาเหนือราวนม
ดว ยดา ยหรอื ไหมสีนา้ํ เงินเขม ตามขนาด และแบบท่ีโรงเรียนกําหนด

- ชายเสอื้ สอดไวใ นกางเกงใหเ รยี บรอ ย ใหส ามารถมองเหน็ เขม็ ขดั ได
๑.๒ นกั เรียนชายระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

- เสื้อเหมือนกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน
ยกเวน ตวั อักษรท่ีปกอกเส้ือใหเ ปล่ียนเปนตราเสมาและอักษรยอ ส.ก.ส. ตามขนาดและ
แบบท่ีโรงเรยี นกําหนด กลัดเขม็ เครอื่ งหมายโรงเรยี นเหนืออกั ษรยอ

๒. เสือ้ ดานใน
ใหนกั เรียนสวมเสื้อกลา มหรือเสอื้ คอกลมสีขาวเกลีย้ ง

๓. กางเกง
- กางเกงทรงนกั เรยี นขาสนั้ ใชผ า โทเรหรอื ผา เสริ ท สดี าํ สนทิ เนอื้ ผา เกลยี้ ง

ไมมันหรือดาน ไมบางหรือหนาเกินไป ไมใชผายีนส ผาเวสปอยทหรือผาเน้ือหยาบ
เม่ือใชแ ลว ไมซีด หรือดา ง

- ขนาดความยาวของขากางเกงสงู จากกงึ่ กลางลกู สะบา หวั เขา ขน้ึ มา ๖-๘
เซนติเมตร ความกวางของปลายขอบขากางเกงเม่ือยืนตรงวัดโดยรอบหางจากขา ๔-๖
เซนติเมตร ปลายขาพับชายเขา ขา งในกวา ง ๕ เซนติเมตร

- ผา ตรงสว นหนา ใชซ ปิ ซอ นไวด า นใน มตี ะขอตดิ เรยี บรอ ย มกี ระเปา ตาม
แนวตะเข็บขาง ขางละ ๑ ใบ จีบดานหนา ขางละ ๒ จีบ จีบออกไมมีกระเปาหลัง
มีหูกางเกงรอบเอว สําหรับสอด เข็มขัดชนิดหัวเด่ียว ใชผาและสีชนิดเดียวกับกางเกง
ขนาดกวา ง ๑ เซนติเมตร จํานวน ๗ หู ระยะหาง ระหวา งหูเทากนั เวลาสวมขอบกางเกง
อยูระดับสะดอื ทบั ชายเสอ้ื ไวใหเรยี บรอ ย

๑๒๒ คมู อื ครู ผูปกครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕

๔. เข็มขัด
ใชเข็มขัดหนังสีดํา ขนาดกวาง ๓ – ๓.๕ เซนติเมตร ไมมีลวดลายหรือ

ตัวอักษรผิวดานนอก หัวเข็มขัดเปนโลหะสีทองรูปสี่เหลี่ยมผืนผามุมมน ชนิดหัวกลัด
ไมม ลี วดลาย มปี อกหนงั สเี ดยี วกบั เขม็ ขดั ขนาดกวา ง ๑ เซนตเิ มตร สาํ หรบั สอดปลายเขม็ ขดั
เพียงใหรอยหูกางเกงหูท่ี ๑ ได เมื่อกลัดหัวแลวปลายเข็มขัดเปนรูปโคงมนไมเขียนหรือ
ติดสง่ิ ใด ๆ ลงบนเขม็ ขัด

๕. รองเทา
- ใชรองเทา หมุ สน สนเต้ีย ชนดิ ผกู เชือก เปนผา ใบหรือหนงั เกลย้ี ง สีดํา

แบบสุภาพ ไมมีลวดลายและไมมีขอบเปนสีอน่ื มรี รู อยเชือก ๕ – ๖ รู สีดําท้งั เชือกและ
ตาไก การผกู เชือกตองดึงเชอื กใหตงึ และผูกเชอื กใหเรียบรอย ไมใสเ หยียบสน รองเทา

- รองเทา ลกู เสอื ใชร องเทา หนงั เกลย้ี งสนี าํ้ ตาล/รองเทา ผา ใบสนี าํ้ ตาลแบบ
สภุ าพมรี รู อ ยเชอื ก ๕ – ๖ รู ตามแบบท่โี รงเรียนกําหนด

๖. ถุงเทา ใชถุงเทาแบบธรรมดาสีขาว ชนิดลายเสนใหญ ไมมีลวดลาย
เวลาสวมดึงใหต งึ ไมมว นหรือพบั ขอบลงมา และไมตองยาวเกนิ ครงึ่ นอ ง

๗. กระเปา นักเรียน กําหนดใหใชไ ด ๒ แบบ คือ
๗.๑ กระเปาสะพาย สาํ หรบั ใสช ุดพลศึกษาหรืออุปกรณก ารเรยี น ใหใ ช

ของทโี่ รงเรยี นจดั ทาํ ข้นึ ไมข ดี เขียนหรอื ตดิ รปู ใด ๆ บนกระเปา
๗.๒ กระเปา สะพาย (เป) ใหใ ชแบบของโรงเรียน (รุนใหม) เพ่ือใสหนังสอื

และสัมภาระอ่ืน ๆ ท่โี รงเรยี นจัดทาํ ข้ึน ไมขดี เขยี นหรือตดิ รปู ใด ๆ บนกระเปา
๘. บัตรประจําตัวนักเรียน โรงเรียนกําหนดใหนักเรียนทุกคนคลองบัตร

นักเรยี นพรอ มสายคลองบัตรของโรงเรียนทกุ คร้งั
๙. เครื่องสําอาง หามนักเรียนใชเคร่ืองสําอางหรือสิ่งแปลกปลอมเพื่อ

เสรมิ สวยหรอื ตกแตง ทรงผม และหนา ตา

คูมอื ครู ผูปกครอง และนกั เรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๒๓

๑๐. เครอื่ งประดบั หา มนกั เรยี นใชเ ครอ่ื งประดบั ทกุ ชนดิ เชน ตา งหู แหวน กาํ ไล
สรอ ย ทคี่ าดผม ลกู ประคํา หวสี บั เชือกถัก ฯลฯ สาํ หรบั สรอยคอ โรงเรยี นอนญุ าตเฉพาะ
สรอ ยเงนิ หรอื สแตนเลสแบบขอ เลก็ ทมี่ คี วามยาวพอสมควร เพอ่ื หอ ยสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ างศาสนา
โดยเกบ็ ไวใ นเสอื้ ใหเ รยี บรอ ย สาํ หรบั สายรดั ขอ มอื อนญุ าตใหใ ชข องโรงเรยี นแตใ สไ ดไ มเ กนิ
๒ เสน อยา งอืน่ หา มใช

๑๑. นาฬก าขอ มอื ใหใ ชแ บบสภุ าพ ตวั เรอื นไมม ลี วดลายหรอื สสี นั ฉดู ฉาด ขนาด
ไมใ หญห รอื เลก็ เกนิ ไปถา เปน สายหนงั ใหใ ชห นงั สดี าํ หรอื สนี าํ้ ตาล ถา เปน สายโลหะตอ งเปน
แบบธรรมดา

๑๒. หมวก หามสวมหมวกท่ีไมไดระบุวาเปนเคร่ืองแบบนักเรียน ลูกเสือ
หรอื นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร

๑๓. แวนตา ใหใชเฉพาะผูที่มีสายตาผิดปติหรือใชถนอมดวงตาตามแพทยส่ัง
แวนที่ใชตองมีรูปทรงสีและแบบท่ีสุภาพ (กรณีใสคอนแทคเลนสตองเปนสีใสหรือแบบ
ไมม สี เี ทา น้นั )

๑๔. เครื่องแบบพลศึกษา
๑๔.๑ เสื้อ
๑๔.๑.๑ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ใชเส้ือโปโลสีชมพูปกคอ
สีฟา ตามแบบท่โี รงเรยี นกําหนด
๑๔.๑.๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใชเส้ือโปโลสีฟาปกคอ
สีชมพตู ามแบบทีโ่ รงเรียนกาํ หนด
๑๔.๒ กางเกง ใชก างเกงวอรม ขายาวสกี รมทา ปลายขารดั มกี นุ สชี มพ-ู ฟา

ท่ีขากางเกง ซ่งึ โรงเรียนจดั จําหนา ยทร่ี า นสวสั ดกิ าร สวมทบั ชายเสอ้ื ใหเรยี บรอ ย
๑๕. เคร่ืองแบบลูกเสือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนทุกคน ตองแตง

เครอื่ งแบบลกู เสอื ตามระเบยี บคณะลกู เสอื แหง ชาตใิ นวนั ทม่ี กี จิ กรรมลกู เสอื และสวมรองเทา
หนังเกลี้ยง/รองเทา ผาใบสนี า้ํ ตาล ตามแบบท่โี รงเรยี นกาํ หนด ถาเปน วันเดียวกนั กบั วันที่
มกี ารเรยี นวชิ าพลศกึ ษาใหแ ตง เครอ่ื งแบบลกู เสอื มาจากบา นโดยนาํ ชดุ พลศกึ ษามาเปลยี่ น

๑๒๔ คมู ือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

๑๖. นักเรียนที่เปนนักศึกษาวิชาทหาร นักเรียนตองแตงเครื่องแบบที่ถูกตอง
ตามวนั ที่โรงเรียนกําหนด

๑๗. การแตงกายมาโรงเรียน นักเรียนตองแตงเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกตอง
ตามทกี่ าํ หนดมาโรงเรียนในวันทาํ การ แมเ ปนวนั ที่ไมม ีการเรียนการสอน

ในกรณีท่ีนักเรียนตองมาติดตอธุระกับทางโรงเรียนในวันหยุด ใหแตงชุด
เครื่องแบบนักเรียนใหเรียบรอย (การมาเรียนเสริมพิเศษในวันเสารใหแตงเคร่ืองแบบ
นักเรยี น)

นกั เรยี นหญิง

๑. เส้อื
๑.๑ นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน

- เส้ือแขนสั้น ใชผาโทเรสีขาวเกลี้ยง ไมบางหรือหนาเกินไป
หามใชผ า มัน ผาฝาย ผาดา ยดบิ หรือผาเน้อื หยาบ

- ปกเส้ือแบบคอพับในตัว คอลึกสวมศีรษะไดสะดวก สาบตลบเขา
ดานใน สวนบนของสาบเสื้อใหใหญ พอแบะคอแลวไมเปนตะเข็บ ขางในมีปกกวาง
๑๕ เซนตเิ มตร ใชผ า สองชน้ั เยบ็ แบบเขา ถา้ํ แขนยาวปลอ ยแลว พอดขี อ ศอก ปลายแขนจบี
เลก็ นอย ประกบดวยผา ๒ ชั้น กวา ง ๓ เซนติเมตร

- ชายเสื้อปลอย ไมรัดรูป อยูตํ่ากวาเอว ประมาณ ๒๐ – ๒๕
เซนติเมตร พับขอบ ๓ เซนติเมตร ขนาดของตัวเส้ือตั้งแตแขนถึงขอบลาง มีความกวาง
พอเหมาะกบั ตวั มีกระเปา (ไมมีฝา) ดานลางขวามือ ๑ ใบ

- ปกอักษรยอ “นมร.ส.ก.ส” ที่อกเส้ือดานขวาเหนือราวนม
ดวยดายหรือไหมสนี ํา้ เงิน

- คอซอง ใหใชคอซองชนิดสําเร็จรูป ผาสีเดียวกับกระโปรง
แบบหกู ระตา ย ขนาดกวา ง ๖ – ๘ เซนตเิ มตร ความยาวอยูในระดบั ปดกระดมุ เมด็ บน

คูม อื ครู ผูปกครอง และนักเรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๒๕

๑.๒ นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
- เสอ้ื ปกเชต้ิ ผา โทเรสขี าวเกลย้ี งไมบ างหรอื หนาเกนิ ไป หา มใชผ า มนั

ผาดายดบิ ผาฝา ย หรือผาเน้อื หยาบ
- ผา อกตลอด สาบเสอ้ื ทาํ เปน สายตลบเขา ขา งในกวา ง ๓ เซนตเิ มตร

ติดกระดุมกลมแบนสีขาวขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ เซนติเมตร แขนยาวปลอยแลว
พอดีขอศอก ปลายแขนจีบเลก็ นอยประกบดว ยผา ๒ ช้นั กวาง ๓ เซนตเิ มตร

- ตัวเสื้อไมรัดรูป หลวมพอประมาณ เวลาสวมสอดชายเส้ือไวใน
กระโปรงใหเ รียบรอยและสามารถมองเห็นเขม็ ขดั ได

- ปกตราเสมาดวยดายหรือไหมสีชมพู - ฟา และปกอักษรยอ
“ส.ก.ส.” ทอ่ี กเสอ้ื ดา นขวาเหนอื ราวนม ดว ยดา ยหรอื ไหมสนี าํ้ เงนิ เขม ตามขนาดและแบบ
ท่ีโรงเรียนกําหนด กลดั เขม็ เครอื่ งหมายโรงเรียนเหนืออักษรยอ

๒. เสอ้ื ช้ันใน
๒.๑ ตองสวมเสือ้ ช้ันในสีสุภาพ เชน สขี าว สคี รีม
๒.๒ ตอ งสวมเสอ้ื ทบั สขี าวแบบสภุ าพ เพอื่ สวมแลว ชว ยปกปด ไมใ หม อง

เห็นเสอ้ื ในไดอ ยา งชัดเจน
๓. กระโปรง
- ใชผ า โทเรสกี รมทา เนอ้ื เกลย้ี ง ไมม ลี วดลาย แบบนกั เรยี นดา นหนา และ

ดา นหลงั พบั เปน จบี ขางละ ๓ จบี หนั จีบออกดา นนอก จีบลึก ๓ เซนตเิ มตร ตเี กลด็ ทบั
จบี เอว ประมาณ ๖ – ๑๒ เซนตเิ มตร

- กระโปรงยาวเพียงใตเขาลงมา ๕ เซนติเมตร ชายกระโปรงพับขนาด
๔ – ๕ เซนติเมตร ปลายบานไมรัดรปู ไมเยบ็ ตะเขบ็ คู มีกระเปา ขางละ ๑ ใบ ไมม กี ระเปา
หลงั หรือกระเปาเจาะดา นหนา

๔. เข็มขัด
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใชเข็มขัดหนังสีดํา ไมมีลวดลาย

กวาง ๒ – ๓ เซนติเมตร หัวเข็มขัดรูปสี่เหล่ียมผืนผา หุมดวยหนังสีดําชนิดหัวกลัดท่ีมี

๑๒๖ คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

กลดั เดียว มีปลอกสําหรับรดั เขม็ ขดั ๑ ปลอก เปนหนงั สดี ําแบบเดียวกบั เข็มขดั หามใช
เขม็ ขัดทีม่ ีโลโกห รือลวดลายใดๆท้ังสิน้ รวมทง้ั เข็มขัดหนังแกว หรอื หนงั เงาวาว

๕. รองเทา
- ใชรองเทาหนังสีดําไมมีลวดลาย แบบหุมสน หุมปลายเทา หัวมน

มีสายรัดหลังเทา สน สงู ไมเกนิ ๒ เซนตเิ มตร หามใชร องเทา ทีท่ าํ ดวยหนังแกว
- รองเทาพลศึกษา ใชรองเทาผาใบสีขาวชนิดผูกเชือก ไมมีลวดลาย

ไมมเี สนทข่ี อบรองเทาเปนสีอืน่
๖. ถุงเทา ใชถุงเทาส้ันสีขาว ลายเสนเล็ก ไมเปนลูกฟูกหนา ไมมีลวดลาย

เวลาสวมพบั ขอบลงมา ๒ ครงั้ ใหข อบบนอยูเหนอื รองเทา ๔ เซนตเิ มตร
๗. กระเปานกั เรียน กาํ หนดใหใชไ ด ๒ แบบ คือ
๗.๑ กระเปาสะพาย สําหรับใสชุดพลศึกษาหรืออุปกรณการเรียน

ใหใชของที่โรงเรยี นจัดทําขนึ้ ไมขีดเขียนหรอื ตดิ รปู ใดๆ บนกระเปา
๗.๒ กระเปา สะพาย (เป) ใหใ ชแ บบของโรงเรยี น (รนุ ใหม) เพอ่ื ใสห นงั สอื

และสมั ภาระอืน่ ๆ ทโี่ รงเรยี นจัดทาํ ขึน้ ไมขีดเขียนหรือติดรปู ใดๆบนกระเปา
๘. บัตรประจําตัวนักเรียน โรงเรียนกําหนดใหนักเรียนทุกคนคลองบัตร

นักเรียนพรอมสายคลองบัตรของโรงเรยี นทุกครง้ั
๙. เครอื่ งสาํ อาง หา มนกั เรยี นใชเ ครอื่ งสาํ อางหรอื สง่ิ แปลกปลอมเพอื่ เสรมิ สวย

หรือตกแตงทรงผม หา มแตงหนา แตง เลบ็ หรอื ไวเลบ็ ยาว
๑๐. เคร่ืองประดับ หา มนกั เรยี นใชเคร่อื งประดบั ทกุ ชนิด เชน ตา งหู แหวน

กาํ ไล สรอ ย ท่ีคาดผม ลูกประคาํ หวสี บั เชือกถกั ฯลฯ สําหรบั สรอยคอ โรงเรียนอนุญาต
เฉพาะสรอยเงินหรือสแตนเลสแบบขอเล็กที่มีความยาวพอสมควร เพื่อหอยสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทางศาสนา โดยเก็บไวในเสอ้ื ใหเ รยี บรอย สาํ หรบั สายรัดขอมืออนุญาตใหใชข องโรงเรียน
แตใ สไ ดไมเกนิ ๒ เสน อยางอื่นหา มใช

คมู ือครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๒๗

๑๑. นาฬกาขอมือ ใหใชแบบสุภาพ ตัวเรือนไมมีลวดลายหรือสีสันฉูดฉาด
ขนาดไมใหญหรือเล็กเกินไปถาเปนสายหนังใหใชหนังสีดําหรือสีนํ้าตาล ถาเปนสายโลหะ
ตองเปนแบบธรรมดา

๑๒. หมวก หามสวมหมวกที่ไมไ ดร ะบวุ า เปน เคร่ืองแบบนักเรียน ลกู เสอื หรอื
นักศกึ ษาวิชาทหาร

๑๓. แวนตา ใหใชเฉพาะผูทีม่ สี ายตาผดิ ปตหิ รอื ใชถ นอมดวงตาตามแพทยส่ัง
แวน ทใ่ี ชต อ งมรี ปู ทรงสแี ละแบบทส่ี ภุ าพ (กรณใี สค อนแทคเลนสต อ งเปน สใี สหรอื แบบไมม ี
สีเทา น้นั )

๑๔. เครอ่ื งแบบพลศกึ ษา
๑๔.๑ เสอื้
๑๔.๑.๑ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน ใชเส้ือโปโลสีชมพปู กคอ
สีฟา ตามแบบทีโ่ รงเรียนกําหนด
๑๔.๑.๒ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใชเ สอื้ โปโลสฟี า ปกคอ
สีชมพูตามแบบทโ่ี รงเรยี นกาํ หนด
๑๔.๒ กางเกง ใชกางเกงวอรม ขายาวสกี รมทา ปลายขารัดมีกุนสชี มพู

ที่ขากางเกงขา งขวาและกนุ สฟี าที่ขากางเกงขา งซา ย สวมทบั ชายเส้อื ใหเรียบรอ ย
๑๕. เคร่ืองแบบเนตรนารี นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตนทุกคน ตองเรียน

เนตรนารี ใชเ คร่ืองแบบเนตรนารีตามระเบยี บคณะลูกเสือแหงชาติ ถาเปนวันเดียวกันกบั
วันท่ีมีการเรียนวิชาพลศึกษาใหแตงเคร่ืองแบบเนตรนารีมาจากบานโดยนําชุดพลศึกษา
มาเปล่ียน

๑๖. นกั เรยี นทเี่ ปน นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร นกั เรยี นตอ งแตง เครอ่ื งแบบทถี่ กู ตอ ง
ตามวันทโ่ี รงเรียนกําหนด

๑๒๘ คูมือครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

๑๗. การแตงกายมาโรงเรียน นักเรียนตองแตงเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกตอง
ตามทก่ี ําหนด มาโรงเรยี นในวนั ทาํ การ แมเ ปน วนั ทีไ่ มม กี ารเรียนการสอน

ในกรณีทนี่ กั เรยี นตอ งมาติดตอ ธุระกบั ทางโรงเรยี นในวันหยดุ ใหแ ตง ชดุ
เคร่ืองแบบนักเรียนใหเรียบรอย (การมาเรียนเสริมพิเศษในวันเสารใหแตงเครื่องแบบ
นกั เรยี น)

หลกั เกณฑการแตงเคร่อื งแบบนักเรียนตามหลักศาสนาของนกั เรยี นมุสลิม
นกั เรยี นชาย

๑. เสือ้ ผาสีขาว แบบคอเช้ติ แขนสนั้
๒. เครือ่ งหมาย ปก อักษรยอ “นมร.ส.ก.ส” ท่อี กเสอ้ื ดานขวาเหนือราวนม
ดวยดา ยหรือไหมสีน้าํ เงนิ
๓. กางเกง ใชผาสีเดียวกันกับสีผาของกางเกงนักเรียนท่ัวไปที่ใชในสถาน
ศกึ ษาน้ัน ขายาว ระดบั ตาตมุ ปลายขาพบั เขาดา นใน
๔. เข็มขดั หนงั สดี ํา หัวเข็มขัดเปน โลหะรูปสี่เหลีย่ มผนื ผา ชนิดหวั กลดั หรือ
หัวเข็มขัดเปนตราของสถานศึกษา
๕. รองเทา หนงั หรอื ผาใบสดี ํา แบบหุม สน ชนดิ ผูก
๖. ถงุ เทา ส้นั สขี าว ไมมีลวดลาย

นักเรยี นหญิง

๑. เสอ้ื ผา สขี าวคอปกบวั ผา ดา นหนา ตลอด แขนยาว ปลายแขนจบี รดู มสี าบ
กวางไมเกนิ ๕ เซนตเิ มตร ตวั ยาวคลมุ สะโพก ไมร ดั รูป

๒. เคร่อื งหมาย ปกอกั ษรยอ “นมร.ส.ก.ส” ที่อกเสื้อดา นขวาเหนือราวนม
และท่ีผา คลมุ ศรีษะ ดวยดา ยหรอื ไหมสนี า้ํ เงิน

๓. ผา คลุมศรีษะ ใชผ าสีขาวเกล้ียงไมมลี วดลาย หรือสเี ดียวกนั กับสีผา ของ
กระโปรง ส่ีเหล่ียมจตั ุรสั ความยาวดานละ ๑๐๐ – ๑๒๐ เซนตเิ มตร ขณะสวมใสเ ยบ็ ติด
ตลอดตัง้ แตใ ตคางจนถงึ ปลายมุมผา

คูม ือครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๒๙

๔. กระโปรง ใชผาสีเดียวกันกับสีของกระโปรงนักเรียนทั่วไปท่ีใชในสถาน
ศกึ ษานนั้ แบบสภุ าพ พบั เปน จบี ขา งละสามจบี ทง้ั ดา นหนา และดา นหลงั เมอื่ สวมแลว ชาย
กระโปรงคลมุ ขอเทา

๕. รองเทา หนังสีดาํ มีสายรัดหลังเทาหรอื แบบหุมสน มีสน สูงไมเกนิ ๒ น้วิ
ไมม ลี วดลาย

๖. ถุงเทา ส้นั สีขาว ไมม ีลวดลาย

๑๓๐ คูม ือครู ผูปกครอง และนกั เร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

งานพยาบาลและอนามยั โรงเรยี น

หองพยาบาล ชัน้ ๒ อาคาร ๑ (๑๒๐๑)
สถานทท่ี ําการ วนั จนั ทร -วนั ศุกร
วนั เวลาทําการ ๐๗.๓๐ น. - ๑๖.๓๐ น
ชื่อหวั หนาหนว ยงาน นางสาววาสนา สุดหนองบัว
นายสําเนยี ง คัมภีระ
การใหบ รกิ าร

งานรักษาพยาบาลเบอื้ งตน

๑. ใหบรกิ ารรกั ษาพยาบาลเบื้องตน ในกรณเี จบ็ ปว ย หรอื ประสบอบุ ัติเหตุ
๒. ในกรณที นี่ กั เรยี นประสบอบุ ตั เิ หตรุ นุ แรง ปว ยหนกั หรอื ตอ งไดร บั การรกั ษา
จากแพทย ครพู ยาบาลจะตดิ ตอ แจง ผปู กครอง และครทู ปี่ รกึ ษาทราบ พรอ มทง้ั นาํ นกั เรยี น
สงโรงพยาบาลทีอ่ ยใู กลโ รงเรยี น

ขอ ควรปฏบิ ัติในการรับบริการ

๑. นักเรียนท่ีเขารับบริการแจงอาการปวยแกครูพยาบาล พรอมลงรายชื่อ
ในแบบฟอรม ทจี่ ดั เก็บเปน สถิตกิ ารเจ็บปว ย

๒. การบริการจายยารักษาพยาบาลเบื้องตน จะจายใหเฉพาะม้ือตามอาการ
ของโรค เปนการบรรเทาอาการปว ยเทา นน้ั

๓. นักเรียนที่มีโรคประจําตัวอะไร แพยาอะไร และรักษาประจําอยูท่ีใด
ควรแจง ใหค รพู ยาบาลทราบ

๔. นักเรียนท่ีมีโรคประจําตัว ควรนํายาเฉพาะโรคของตนเองมาดวย เชน
โรคหอบหดื โรคลมชัก โรคไมเกรน เปน ตน

คมู ือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๓๑

๕. ในการใชบ รกิ ารหอ งพยาบาล นกั เรยี นควรแตง กายสภุ าพเรยี บรอ ย ถอดรองเทา
กอ นเขาหอ ง ไมส งเสยี งดัง ไมนาํ อาหารและเครอ่ื งด่มื ขน้ึ มารับประทานในหอ งพยาบาล

๖. ในกรณนี กั เรยี นปว ยไมส ามารถเขา เรยี นไดต อ งนอนพกั นกั เรยี นตอ งแจง ครู
ผูสอนใหทราบกอนและไดรับอนุญาตจากครูพยาบาล เวลาในการนอนพัก ครูพยาบาล
จะพจิ ารณาตามอาการ ถา นอนพกั ๒ - ๓ คาบเรยี นแลว อาการไมด ขี น้ึ จะแจง ใหผ ปู กครอง
มารบั นักเรียนไปพบแพทย

๗. ของมีคา เชน เงิน หรือเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด ตองเก็บใหเรียบรอย
ถา สญู หาย ทางโรงเรียนจะไมรับผิดชอบ

๘. งานพยาบาลและอนามัยโรงเรียนจะไมอนุญาตใหนักเรียนท่ีเจ็บปวย
กลับบานเอง โดยไมมีผูปกครองมารับ กรณีผูปกครองมารับนักเรียนกลับบาน หรือไป
พบแพทยต อ งปฏิบตั ิดงั น้ี

๘.๑ ตอ งเปนบิดา มารดา หรอื ผปู กครองที่บิดามารดา อนุญาต
และอยบู า นเดียวกนั บรรลนุ ิติภาวะแลวเทา น้ัน

๘.๒ ตองนําบตั รประชาชนหรือบตั รทที่ างราชการออกใหที่มีรูปถาย
มารบั นกั เรยี น

๘.๓ ลงลายมือชอื่ (ตวั บรรจง) พรอมเบอรโทรศัพท ในแบบฟอรม
ท่งี านพยาบาลจดั ไว

งานตรวจสุขภาพนักเรยี น

๑. ใหบ รกิ ารตรวจสขุ ภาพประจาํ ปก บั นกั เรยี นทกุ คน โดยโรงพยาบาลทใี่ หบ รกิ าร
จะไดจากการคัดเลือกของคณะกรรมการงานอนามัยโรงเรียน เพื่อใหไดโรงพยาบาลท่ีมี
มาตรฐานและครอบคลมุ การตรวจโรคมากท่ีสดุ โดยมกี ารตรวจรางกายตามระบบ ไดแก
ตรวจวัดสายตา ตรวจสุขภาพฟน ตรวจปสสาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตและชีพจร
ตรวจเอ็กซเรยทรวงอก ตรวจหาเช้ือไวรัสตับอักเสบ บี และประเมินการเจริญเติบโต
จากการชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูงพรอมสงผลการตรวจรางกายใหกับนักเรียนทุกคน

๑๓๒ คมู อื ครู ผูป กครอง และนกั เร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕

เพอ่ื นาํ ไปใหผปู กครองตรวจสอบ หากพบความผดิ ปกติ เชน มคี วามดันโลหิตสูง หวั ใจเตน
ผิดปกติ กระดูกสันหลังคด หรือฟนผุทางโรงพยาบาลจะแนะนําใหผูปกครองพานักเรียน
ไปพบแพทย เพื่อดําเนินการรกั ษา/แกไขตอไป กรณีที่ประเมินการเจริญเตบิ โตจากการชั่ง
น้ําหนักและวดั สว นสงู แลว พบวา นักเรยี นมภี าวะนํ้าหนกั เกนิ เกณฑม าตรฐาน (โรคอว น)
นักเรียนจะไดรับคําแนะนําเรื่องการปฏิบัติตัวเพ่ือแกปญหาภาวะนํ้าหนักเกินเกณฑ
ของนักเรียนตอไป

ขอ ควรปฏบิ ัติ
๑. ใหนักเรยี นนาํ บตั รประจําตัวนกั เรยี นมายน่ื ในวันตรวจสขุ ภาพ
๒. กรอกขอมลู ของตนเองในแบบฟอรม ตรวจสุขภาพท่ีเจา หนา ท่ีแจกให
๓. เร่ิมตรวจสุขภาพตามจุดทคี่ รพู ยาบาลกาํ หนดให
๔. ขนึ้ เรยี นตามปกติ (การตรวจสขุ ภาพใชเ วลาในการตรวจประมาณ ๕๐ นาท)ี
๕. รบั ผลการตรวจสุขภาพจากงานพยาบาลและอนามัยโรงเรียน

ประมาณ ๑ เดือน

งานประกนั อบุ ตั ิเหตุ

๑. นักเรียนสามารถนําบัตรท่ีไดจากบริษัทประกันอุบัติเหตุเขารับการรักษา
พยาบาลไดตามโรงพยาบาลเอกชนท่ีกําหนดไว (โรงเรียนจะแจงใหนักเรียนทราบ)
เขารบั การรกั ษาพยาบาลไดฟรตี ลอด ๒๔ ชวั่ โมง ไมเ กินวงเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท ตอประเภท
การบาดเจ็บ

๒. กรณีเขารับการรักษาโดยไมไดนําบัตรประกันอุบัติเหตุไป ผูปกครองตอง
สาํ รองเงนิ จา ยคา รกั ษาพยาบาลไปกอ น จากนนั้ ใหน าํ เอกสารดงั ตอ ไปนมี้ ายน่ื ขอรบั เงนิ คา
รกั ษาพยาบาลกบั บริษทั ประกนั อบุ ัตเิ หตุ โดยยื่นเอกสารผา นทางหอ งพยาบาลโรงเรยี น

คูม ือครู ผูปกครอง และนักเรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๓๓

ข้นั ตอนการยนื รับเงินประกันอุบตั ิเหตุคนื
๑. นาํ ใบเสร็จรบั เงิน (ตอ งเปนตัวจรงิ เทาน้นั )
๒. ใบรับรองแพทยท ี่ระบวุ าเกดิ จากอุบัติเหตุ (ตองเปนตวั จรงิ เทานัน้ )
๓. กรณีบริษัทประกันอุบัติเหตุจายเงินคืนใหกับผูปกครอง ทางงานพยาบาล
และอนามยั โรงเรียนจะติดตอกลบั ถงึ ผูป กครองใหรบั เงนิ คืน โดยการโอนผานธนาคาร
ระเบียบการคุมครองการประกนั ภยั อบุ ัตเิ หตุ ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๖๕
๑. วนั ทเ่ี รมิ่ ประกนั ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ สน้ิ สดุ วนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖
๒. ชําระคา เบยี้ ประกนั รายป จํานวน ๒๕๐ บาทถว น
๓. การคมุ ครองจะคุมครองเฉพาะกรณอี บุ ตั เิ หตุเทาน้ัน โดยจํากัดความรับผิด
ชอบตามกรมธรรมป ระกันอุบตั เิ หตทุ ่ีโรงเรยี นไดท ําสัญญากับบรษิ ทั ประกนั ในแตละป

๑๓๔ คูม อื ครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

แนวทางปฏบิ ัตเิ มื่อพบผปู ว ยยืนยันโรคโควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา

ให ปดหอ งเรียน/ช้ันเรยี น/สถานศกึ ษากรณพี บผูปว ยยนื ยนั โรคโควิด ๑๙
๑. เมอื่ พบผปู วยยนื ยนั โรคโควิด ๑๙ จํานวน ๑ รายข้ึนไป ใหปด หอ งเรียน

เปน เวลา ๓ วัน เพือ่ ทาํ ความสะอาด
๒. เมือ่ พบผปู ว ยยนื ยนั โรคโควดิ ๑๙ มากกวา ๑ หองเรยี น ใหปดชนั้ เรียน

เปนเวลา ๓ วันเพื่อทาํ ความสะอาด
๓. หากมหี ลกั ฐานและความจําเปนตอ งปด สถานศึกษา ใหข อความเหน็ ชอบ

จากคณะกรรมการโรคติดตอจังหวดั
ไมตองปด หองเรียน/ชั้นเรียน/สถานศึกษา กรณีท่ีไมพบผูปวยยืนยันโรคโควิด ๑๙
ในสถานศึกษา โดยมแี นวทางดาํ เนนิ การ ดังน้ี

๑. ผสู มั ผสั ทมี่ คี วามเสย่ี งตอ การตดิ เชอื้ สงู (High risk contact) ในสถานศกึ ษา
ดังนี้

• ผสู ัมผัสทม่ี คี วามเส่ียงตอ การตดิ เชอื้ สูง(High risk contact) ใหส งั เกต
อาการที่บานเปนเวลาอยางนอ ย ๑๔ วัน หากพบอาการผิดปกติใหไปพบแพทยเพ่อื ตรวจ
วินจิ ฉัย ระหวา งรอผลใหกักตัวที่บาน

• สถานศึกษา ดําเนินกิจกรรมไดตามปกติและสื่อสารใหผูท่ีเก่ียวของ
เขา ใจความเสี่ยงและแนวทางการดําเนินการในระยะตอ ไป

๒. ผูสัมผัสท่ีมีความเส่ียงตอการติดเชื้อตํ่า (Low risk contact) ใหสังเกต
อาการ เปนเวลา ๑๔ วันไมจําเปน ตอ งหยดุ เรียน และไมจาํ เปน ตองปดสถานศึกษา (รักษา
ตามอาการหายปวยแลว เรยี นตอ ได)

๓. ผใู กลชดิ
• ผูใกลชดิ กบั ผูส มั ผสั เสี่ยงสูงจดั วา มีความเสีย่ งตํา่ ไมจําเปนตองหยุด

เรียนแตใหสังเกตอาการเปนเวลา ๑๔ วัน
• ผูใกลชิดกับผูสัมผัสเสี่ยงต่ํา จัดวาไมมีความเสี่ยงไมจําเปนตอง

หยดุ เรียน แตใหส งั เกตอาการเปนเวลา ๑๔ วัน

หมายเหตุ ท้ังน้ีในทุกกรณี ขอใหดําเนินการบนพ้ืนฐานของขอมูลการสอบสวนทาง
ระบาดวิทยาและสถานการณโรคในพื้นที่

คูมือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๓๕

๑๓๖ คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

หองสมุด

โรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ สวนกหุ ลาบวิทยาลัย สมทุ รปราการ

สถานท่ีตงั้ อาคาร ๒ ชั้น ๒ หอง ๒๒๐๑
ผูรบั ผิดชอบ
๑. นางสาวอุไรวรรณ อทุ ธารนชิ (บรรณารักษ)
๒. นางสาวสภุ าภรณ เขียวหวาน (บรรณารักษ)
๓. นางสาววิไลวรรณ หมอ จาบ (ครูชว ยงานหองสมดุ )
๔. นายสนิท ไทยพริ ัด (ครูชวยงานหองสมดุ )
๕. นางสาวปน ประภา คงทน (เจา หนา ท่)ี

การเปด ใหบ ริการ ทกุ วันจันทร – วันศุกร
เชา ๐๘.๓๐ – ๑๑.๐๐ น.
กลางวัน ๑๑.๐๐ – ๑๒.๔๐ น.
เย็น ๑๕.๑๐ – ๑๗.๐๐ น.

ปรชั ญาหองสมุด อา นดี มคี วามรู มงุ สเู ทคโนโลยีทที่ ันสมัย

คูมือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ๑๓๗

ระเบียบการเขา ใชหองสมดุ

๑. แตง กายใหสภุ าพเรยี บรอ ย
๒. หา มนํากระเปาหรือสิง่ ของเขา หอ งสมุด ใหว างกระเปา หรอื สิ่งของไว

ท่ีช้ันวางของ
๓. หา มนําอาหาร เครือ่ งดืม่ และขนม เขามารบั ประทานในหองสมดุ
๔. หา มพดู คุย หรอื สง เสยี งดังรบกวนผูอืน่
๕. ทุกคร้งั ท่ีลกุ จากเกา อ้ี ควรเล่ือนเกา อีเ้ ขาทใ่ี หเ รยี บรอย
๖. เมอื่ อา นหนงั สอื เสร็จแลว ใหนําหนงั สือเกบ็ เขา ทีใ่ หเ รียบรอ ย
๗. ยมื หนงั สือตอ งแสดงบัตรนกั เรยี นในการยืมทุกคร้ัง
๘. หามฉีก ขดี เขียน หรือ ทาํ ลายหนงั สือ
๙. ไมนําหนงั สอื เอกสาร และสิง่ พมิ พต าง ๆ ออกจากหองสมดุ

โดยไมไดย มื อยา งถกู ตองตามระเบียบ
๑๐. กรณีหนงั สอื ท่ียมื สญู หาย ใหน ักเรียนตดิ ตอ ครบู รรณารักษ

การใหบ รกิ ารทรพั ยากรในหอ งสมุด

๑. หนังสือทั่วไป
* นักเรียน ม.ตน ยมื ได ๕ เลม เปน เวลา ๗ วัน
* นักเรยี น ม.ปลาย ยืมได ๕ เลม เปน เวลา ๗ วัน

๒. หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส (E-Book) จาก แอปพลิเคชนั SKS Library
๓. หนงั สอื อา งอิง และหนังสอื จอง ยืมได ๓ วนั
๔. วารสารยมื ได ๑ ฉบับ ตอ ๑ วัน
๕. ซีดี ดวี ีดี ยมื ได ๓ แผน ตอ ๓ วัน
๖. บรกิ ารสบื คนขอมูลทางอนิ เทอรเน็ต

๑๓๘ คูมือครู ผูปกครอง และนกั เร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

คา ปรบั หอ งสมดุ
๑. หนงั สือท่วั ไป ปรับวันละ ๑ บาท ตอ ๑ เลม
๒. หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส (E-Book) ไมเสียคา ปรับ
๒. หนงั สอื อางองิ ปรบั วันละ ๕ บาท ตอ ๑ เลม
๓. วารสาร นิตยสาร ปรับวนั ละ ๑ บาท ตอ ๑ เลม
๔. ซดี ี ดีวีดี ปรบั วนั ละ ๕ บาท ตอ แผน / เร่อื ง

***กรณที ่ีหนงั สือหรอื ส่ิงทยี่ ืมจากทางหองสมุด ชํารุด หรอื สญู หาย ผยู มื ตอ งซื้อหนังสอื หรือ
สื่อทดแทนและจายคา ปรับ***

ผมู ีสิทธใ์ิ นการใชบ รกิ ารหอ งสมดุ
๑. นักเรยี น ครู และบุคลากรของโรงเรียน
๒. ผูปกครองและผทู ่สี นใจภายนอก สามารถเขามาใชบ รกิ ารได

Facebook : หองสมุดโรงเรยี นนวมินทราชนิ ทู ิศ สวนกุหลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ

คมู อื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๓๙

๑๔๐ คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

งานแนะแนว

สถานท่ีทาํ การ : อาคาร ๒ ชั้น ๓
วันเวลาทาํ การ : วนั จนั ทร – วนั ศกุ ร เวลา ๐๗.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ครูแนะแนว : นางอรวรรณ ฝอดสูงเนนิ
นายสนทิ ไทยพริ ดั
นางสาวศศนิ า ชอ เพชร
นายสรวชิ ญ พรหมคง
นางสาวเรืองระวี สินธนาววิ ัฒน

บรกิ ารของงานแนะแนว

งานแนะแนว เปนกระบวนการอยางหนึ่งท่ีจะชวยใหนักเรียนสํารวจตนเอง
ในดานความสามารถ ความถนัดความสนใจ บุคลิกภาพเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง
รูจักเลือก และตัดสินใจได มีเหตุผล สามารถเผชิญกับปญหา และแกปญหาได
อยา งเหมาะสม เปนคนดี เกง และสามารถปรับตวั อยูใ นสังคมไดอยางมคี วามสุข

๑. จัดบริการ รวบรวม วิเคราะหขอมูลนักเรียน โดยสํารวจนักเรียน
เปนรายบุคคล จากการตอบแบบสอบถาม แบบทดสอบ การสัมภาษณ การทําระเบียน
สะสม การตดิ ตอ กบั ผปู กครองและครทู ป่ี รกึ ษา เพอ่ื ใหค รไู ดร จู กั นกั เรยี นในดา นประวตั สิ ว น
ตัว ขอมูลครอบครัว ปญ หาและความตองการของนักเรยี น

๒. การจัดบริการสารสนเทศ ใหขอมูลความรูดานการศึกษา การปรับตัว
การเลอื กอาชีพ หรือเรอื่ งราวท่ีเปน ประโยชนแกนกั เรียนดว ยการประชาสัมพันธ จัดปาย
นิเทศเชิญวิทยากร ศิษยเกา เขามาแนะแนวการศึกษาตอแกนักเรียน และมีกิจกรรม
แนะแนวสัญจรการศึกษาแกน ักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

คมู อื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๔๑

๓. การจัดบริการใหคําปรึกษาแกนักเรียนเปนรายบุคคลและรายกลุม
เพอื่ ชวยเหลือ และใหค ําแนะนําในดา นการเรียน การศกึ ษาตอ การปรับตวั ฯลฯ

๔. บรกิ ารจดั วางตวั บคุ คล ทนุ การศกึ ษา ทนุ ปจ จยั พนื้ ฐาน ทนุ กสค. ทนุ กยศ.
ใหแกนักเรยี นทขี่ าดแคลนทนุ ทรัพย

๕. ตดิ ตามผลนกั เรยี นทจี่ บการศกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ และชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปที่ ๖ เพ่อื จัดทําสถิติขอมูลการศกึ ษาตอ ของนักเรยี นทกุ ปก ารศึกษา

๖. การรับ การสงตอนักเรียนที่มีความเส่ียงจากครูที่ปรึกษา ครูระดับช้ัน
ในระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนจากกลุมบริหารท่ัวไป (ฝายกิจการนักเรียน) ดําเนินการ
ติดตามนักเรียนทม่ี ารบั บริการเพือ่ ชวยเหลือสง ตอผูเชยี่ วชาญ

งานธนาคารโรงเรยี น

สถานทท่ี ําการ : หอ งธนาคารโรงเรยี น อาคาร ๔ ชั้น ๑
วันเวลาทาํ การ : วนั จันทร – วันพฤหสั บดี
เวลา ๐๗.๐๐ – ๐๗.๓๐ น. / ๑๑.๐๐ – ๑๒.๓๐ น.
ผูใหบ รกิ าร : นางสาวถนอมทรัพย อปุ รี
นายพิพฒั น ทัพเจริญ
นางสาวปวีนา จรี ะเสถียร
นางอารรี ักษ แกวขุนทอง
นายจีระ ใหมอ ินทร
นางสาวสุพรรณี ซอ นกล่ิน

๑๔๒ คมู ือครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

การใหบรกิ าร
๑. เปดบัญชใี หม/ ปด บัญชีจบการศกึ ษา
๒. ฝาก - ถอน

ขอ ควรปฏิบตั ิ
๑. เปด บญั ชใี หมก รอกรายละเอยี ดใหค รบถว นตามแบบฟอรม ของธนาคารโรงเรยี น
- เปดบญั ชขี ั้นต่าํ ๒๐ บาท
- ฝากเงินขน้ั ตํา่ ๑๐ บาท/ครัง้
- ถอนเงินขน้ั ตํา่ ๕๐ บาท/ครัง้
- ฝาก - ถอน ไมเกนิ วันละ ๕,๐๐๐ บาท/บัญชี
๒. การฝากเงิน ตองนําสมุดบัญชีธนาคารโรงเรียนของตนเองพรอมบัตร

ประจําตัวนักเรียน/บตั รประจําตวั ประชาชนมาดวยทกุ ครง้ั
๓. การถอนเงิน ตองนําสมุดบัญชีธนาคารโรงเรียนของตนเองพรอมบัตร

ประจําตัวนักเรียน/บัตรประจําตัวประชาชน กรอกรายละเอียดในใบถอนเงินใหถูกตอง
ครบถวน และเซ็นช่ือรับเงินทุกครั้ง เมื่อรับสมุดบัญชีคืนใหตรวจสอบขอมูลการบันทึก
รายการใหถ ูกตอง

๔. การถอนเงิน กรณีท่ีผูเปดบัญชีเปนเงินหองหรือเงินกลุมตองมีลายเซ็น
อยางนอย ๒ ใน ๓ หรือถามีแค ๒ คน ก็ตองมีลายเซ็นครบท้ัง ๒ คน จึงจะสามารถ
เซ็นอนมุ ัติการถอนเงินได

๕. กรณีทําสมุดบัญชีธนาคารใหมเน่ืองจากสมุดหายหรือชํารุด ตองย่ืน
ความจํานงทาํ สมุดใหมพรอมเสยี คาปรบั จํานวน ๓๐ บาท ตอ เจาหนา ทธี่ นาคารโรงเรยี น

คูมือครู ผูปกครอง และนกั เร�ยน ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๔๓

เพลงมารชโรงเรียน

นวมนิ ทราชนิ ทู ิศ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย สมุทรปราการ (นมร.ส.ก.ส)

คาํ รอง : จงรกั จันทรค ณา

สีงามอรามหรูชมพฟู า
สแี หงศรัทธาบชู ายึดม่ัน
กุหลาบนํ้าเค็มเขม ขนทุกดอกรวมกัน
โยงสัมพันธข นั เกลียวเปนหนง่ึ ใจ
สถาบันท่เี ราทกุ คนเชดิ ชู
สวนสมทุ รสุดหรูคณุ ธรรมย่ิงใหญ
สวุ ิชาโน ภวํ โหติ นําไป
พบโชคชัยอนาคตเบง บาน
** น่ีคอื นวมินทราชินูทิศ
สวนกุหลาบสมุทรปราการ
ศักดแิ์ ละศรีเรามมี าเน่นิ นาน
สงวนเกยี รตสิ ืบสานวิชาการกาวไกล
สงี ามอรามหรูชมพฟู า
กลาแกรง ศกั ด์ิดาสมนามยิ่งใหญ
กหุ ลาบนํา้ เค็มเขมขน ทกุ ดอกไป
กา วเกรยี งไกรเทิดไทยใหร ุงเรอื ง (ซ้ํา) **

๑๔๔ คูมือครู ผปู กครอง และนกั เรย� น ปการศกึ ษา ๒๕๖๕

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

Nawaminthrachinuthit Suankularbwi ayalai Samutprakarn School

เครือ่ งแบบนกั เรียนชาย เคร่อื งแบบนกั เรียนหญิง

เครื่องแบบการแต‹งกายชุดนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนตŒน

คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๔๕

เคร่ืองแบบการแต‹งกายชุดพลศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาตอนตŒน

เคร่ืองแบบชุดพลศึกษาชาย เครื่องแบบชุดพลศกึ ษาหญิง

เครื่องแบบการแต‹งกายชุดกีฬาสี ช้ันมัธยมศึกษาตอนตŒน

เคร่ืองแบบชุดกฬี าสชี าย เคร่ืองแบบชุดกีฬาสหี ญิง
๑๔๖ คูมอื ครู ผปู กครอง และนักเรย� น ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

เครื่องแบบการแต‹งกายชุดนักเรียนชาย (กรณีไวŒผมยาว)
เครื่องแบบการแต‹งกายชุดนักเรียนหญิง (กรณีไวŒผมยาว)

คูมือครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑๔๗

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

Nawaminthrachinuthit Suankularbwi ayalai Samutprakarn School

เคร่ืองแบบการแต‹งกาย
ชุดลูกเสือ

๑๔๘ คูมอื ครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

Nawaminthrachinuthit Suankularbwi ayalai Samutprakarn School

เคร่ืองแบบการแต‹งกาย
ชุดเนตรนารี

คูม อื ครู ผูปกครอง และนักเร�ยน ปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ๑๔๙

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

Nawaminthrachinuthit Suankularbwi ayalai Samutprakarn School

เคร่อื งแบบนักเรยี นชาย เคร่ืองแบบนักเรยี นหญิง

เครื่องแบบการแต‹งกายชุดนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

๑๕๐ คูม ือครู ผปู กครอง และนกั เร�ยน ปการศกึ ษา ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version