The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sudarat Penmongkhol, 2021-11-25 02:37:04

Handbook-sksp-64

คู่มือนักเรียน 2564

Keywords: sksp

๖.๕ จ�ำนวนรปู ถา่ ยที่ใช้ ขึ้นอยู่กบั เอกสารทีต่ อ้ งการ
- สำ� เนา ปพ.๑ ใช้ ๑ รปู ตอ่ เอกสาร ๑ ฉบบั
- ใบรับรองการเป็นนักเรียน ใช้ ๑ รปู ต่อเอกสาร ๑ ฉบบั
- ใบแสดงผลการเรยี นเปน็ ภาษาองั กฤษ (Transcript)
ใช้ ๒ รูปตอ่ เอกสาร ๑ ชดุ
- ปพ.๑ ฉบับจรงิ กรณนี ักเรยี นลาออก ใช้ ๒ รปู
- ปพ.๑ ฉบบั จบหลกั สตู ร ใช้ ๒ รปู

๗. เวลาติดต่อหอ้ งทะเบียน

เวลาติดต่อห้องทะเบียน หมายถึง เวลาที่นักเรียนของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ สามารถยน่ื คำ� รอ้ งเพอ่ื ขอเอกสาร ขอรบั เอกสารทดี่ ำ� เนนิ การ
ขอไวแ้ ล้ว ย่ืนคำ� ร้องขอเปลยี่ นแปลงประวตั ิ ข้อก�ำหนดดงั น้ี

๗.๑ ช่วงเวลาพกั ของนกั เรียน
- ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๑.๕๐ น.
- ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เวลา ๑๑.๕๐ – ๑๒.๔๐ น.
๗.๒ หลงั โรงเรียนเลิก ๑๕.๑๐ – ๑๖.๐๐ น.

๘. การแต่งกายเพ่ือติดต่อห้องทะเบียน

การแต่งกาย หมายถึง การสวมเคร่ืองแบบนักเรียนท่ีถูกต้องตามประเภท เช่น
ชดุ นักเรยี นปกติ ชุดพลศึกษา ชุดลูกเสอื -เนตรนารี รวมถึงองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั
สภาพการเปน็ นกั เรยี น ขอ้ กำ� หนดดังน้ี

๘.๑ เคร่ืองแตง่ กาย
- ชุดนกั เรยี นปกติ ต้องเป็นไปตามข้อก�ำหนดของเครือ่ งแบบทีถ่ กู ตอ้ ง
- ชุดพลศึกษา ท้งั นักเรียนหญิงและนักเรียนชายตอ้ งสอดชายเส้อื
ไวใ้ นกางเกงพละ
- ชดุ ลกู เสือ - เนตรนารี ต้องมีผ้าผกู คอและวอกเก้ิล ตามระเบียบ
ของการแตง่ กาย

100 คมู่ ือครู ผู้ปกครอง และนกั เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๘.๒ องคป์ ระกอบอน่ื ๆ
- นักเรียนทกุ คนตอ้ งคล้องบัตรประจำ� ตัวนักเรยี น เพอ่ื ยืนยนั ตัวตน
- นกั เรยี นหญงิ ไม่แต่งหนา้ ทาสีเลบ็
- นกั เรยี นทุกคนไม่สวมเครื่องประดับ เชน่ แหวน สร้อยข้อมอื เชือกสี
- นกั เรยี น ม.ปลาย ทง้ั ชายและหญงิ ตอ้ งติดเขม็ สก. ทอ่ี กด้านขวาเหนอื
ตราเสมาชมพู - ฟ้า

คูม่ ือครู ผปู้ กครอง และนักเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 101

กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ

การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาในยุคปัจจุบันเน้นความเป็นอิสระ
ในการบรหิ ารใหม้ คี วามคลอ่ งตวั โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ การบรหิ ารงบประมาณเปน็ สง่ิ จำ� เปน็
อยา่ งยงิ่ ในการบรหิ ารงานทกุ ชนดิ ซงึ่ จะตอ้ งมกี ารวางแผนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมคี วามสมั พนั ธ์
เกยี่ วขอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ นโยบาย วิธีดำ� เนินงานและโครงสร้างขององค์กร

กลุ่มบริหารงบประมาณมีภารกิจส�ำคัญที่มุ่งส่งเสริมให้บุคลากรสามารถปฏิบัติ
งานเพ่ือตอบสนองภารกิจของโรงเรียน โดยยึดหลักการบริหารแบบมุ่งเน้นผลงาน
การด�ำเนินงานโปร่งใส ตรวจสอบได้ เพ่ือประโยชน์ทางการบริหารจัดการภายในองค์กร
ส่งผลใหเ้ กดิ คุณภาพท่ีดตี อ่ ผเู้ รียน

102 คู่มอื ครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ระเบยี บการเกบ็ เงินบำ� รุงการศกึ ษาและเงนิ บ�ำรุงสมาคมผู้ปกครองและครู
โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ิศ สวนกหุ ลาบวิทยาลยั สมุทรปราการ

..........................................................

๑. เงนิ บำ� รงุ การศึกษา โรงเรยี นฯ จะเรยี กเกบ็ จากนักเรยี นทกุ คน ภาคเรียนละ
๑ ครั้ง โดยมีหนังสือแจ้งไปยังผู้ปกครองผ่านช่องทางการส่ือสารต่างๆ ได้แก่ ฝากไปกับ
นักเรยี น ครูท่ปี รกึ ษา เวบ็ ไซตโ์ รงเรียน ยอดเงินท่เี รียกเก็บเป็นไปตามระเบยี บท่สี �ำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานก�ำหนด

๒. เงินบ�ำรุงสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบ
วิทยาลยั สมทุ รปราการ โรงเรยี นฯ จะเรยี กเก็บจากนกั เรยี นทกุ คน ปีการศกึ ษาละ ๑ ครัง้
ซง่ึ เปน็ ไปตามระเบยี บของสมาคมผปู้ กครองและครโู รงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบ
วทิ ยาลยั สมทุ รปราการ

๓. โรงเรียนฯ จะออกหลักฐานใบเสร็จรับเงินตรงตามยอดเงินและประเภทเงิน
ท่ไี ด้รับทกุ ครัง้ ให้ผ้จู ่ายเงินตรวจสอบความถูกต้อง หากเกิดความผิดพลาดให้แจง้ ในทันที

๔. การขอยกเว้นค่าเล่าเรยี นให้เปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนดของคณะกรรมการบริหาร
โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย สมทุ รปราการ

๕. การขอรับทุนการศึกษาให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการบริหาร
โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลยั สมุทรปราการ

๖. การไม่ช�ำระเงินตามก�ำหนดจะทบยอดเงินไปจนกวา่ จะมีการช�ำระเงินให้ถูก
ต้องครบถว้ น

๗. การรบั เอกสารการจบหลกั สตู รในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หรอื ๖ หรอื การ
รบั เอกสารรบั รองผลการเรยี นกรณลี าออก/ยา้ ยโรงเรยี น นกั เรยี นจะตอ้ งไมม่ ภี าระตดิ คา้ ง
ทางด้านการเงินใดๆ กับทางโรงเรยี น

คู่มือครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 103

การช�ำระเงินบำ� รงุ การศกึ ษา / เงินสมาคมผปู้ กครองและครูฯ

ขน้ั ตอนการช�ำระเงินบำ� รงุ การศกึ ษา / เงินสมาคมผู้ปกครองและครู ฯ
๑. โรงเรยี นจะมหี นงั สอื แจ้งผู้ปกครอง เรื่องก�ำหนดการชำ� ระเงินในแต่ละ
ภาคเรียน
๒. การชำ� ระเงนิ หลังวันทก่ี ำ� หนด ให้ติดตอ่ ทง่ี านการเงิน ส�ำนกั งานกลุ่ม
บรหิ ารงบประมาณ อาคาร ๑ ช้นั ๑
๓. ผู้มสี ิทธ์เิ บิกคา่ การศึกษาบตุ ร ติดต่อเพ่ือขอหนังสือรบั รองทีง่ านการเงนิ
ส�ำนกั งานกลมุ่ บริหารงบประมาณ อาคาร ๑ ช้นั ๑
๔. นกั เรยี นที่มปี ญั หาเรอื่ งการชำ� ระเงนิ /ตรวจสอบสถานะการคา้ งชำ� ระ
ให้ติดต่องานการเงนิ สำ� นกั งานกลุ่มบริหารงบประมาณ อาคาร ๑ ช้ัน ๑
๕. ผปู้ กครองทม่ี คี วามประสงค์ขอผอ่ นผันการช�ำระเงนิ ใหต้ ดิ ตอ่ ย่นื คำ� รอ้ ง
ไดท้ ง่ี านการเงนิ สำ� นกั งานกลุ่มบรหิ ารงบประมาณ อาคาร ๑ ชน้ั ๑
๖. สอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่เี บอรโ์ ทรศพั ท์ ๐๒ ๓๓๐๑๐๕๗ หรือ
ครูที่ปรึกษาของนกั เรียนทกุ หอ้ ง

104 คมู่ ือครู ผู้ปกครอง และนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

คา่ บ�ำรุงการศกึ ษา / เงนิ สมาคมผูป้ กครองและครู ฯ
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ระดบั ช้ัน ยอดเงินท่เี รียกเกบ็ ยอดเงินท่เี รียกเกบ็
ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

เงนิ บำ� รงุ การศึกษา เงินสมาคม ฯ เงินบำ� รงุ การศึกษา
๗,๒๐๐
ม.๑/๑ – ม.๑/๒ ๗,๘๐๐ ๑,๓๐๐ ๑๕,๗๐๐
๓,๒๐๐
ม.๑ ม.๑/๓ (MEP) ๑๖,๓๐๐ ๑,๓๐๐ ๗,๒๐๐
๑๕,๗๐๐
ม.๑/๔ – ม.๑/๑๔ ๓,๘๐๐ ๑,๓๐๐ ๓,๒๐๐
๗,๒๐๐
ม.๒/๑ – ม.๒/๒ ๗,๖๐๐ ๕๐๐ ๑๕,๗๐๐
๓,๒๐๐
ม.๒ ม.๒/๓ (MEP) ๑๖,๑๐๐ ๕๐๐ ๓,๒๐๐
๗,๗๐๐
ม.๒/๔ – ม.๒/๑๔ ๓,๖๐๐ ๕๐๐ ๓,๒๐๐
๗,๗๐๐
ม.๓/๑ – ม.๓/๒ ๗,๖๐๐ ๕๐๐ ๓,๒๐๐
๗,๗๐๐
ม.๓ ม.๓/๓ (MEP) ๑๖,๑๐๐ ๕๐๐
ม.๓/๔ – ม.๓/๑๔ ๓,๖๐๐ ๕๐๐

ม.๔/๑ – ม.๔/๙ ๓,๘๐๐ ๑,๓๐๐
ม.๔ ม.๔/๑๐ ๘,๓๐๐ ๑,๓๐๐

ม.๕/๑ – ม.๕/๙ ๓,๖๐๐ ๕๐๐
ม.๕ ม.๕/๑๐ ๘,๑๐๐ ๕๐๐

ม.๖/๑ – ม.๖/๙ ๓,๖๐๐ ๕๐๐
ม.๖ ม.๖/๑๐ ๘,๑๐๐ ๕๐๐

หมายเหตุ ผูม้ ีสิทธ์เิ บิกคา่ การศกึ ษาบตุ ร สามารถน�ำหลกั ฐานการรับเงนิ ของสถานศึกษาทางราชการ
เบิกได้ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดว่ นทสี่ ดุ ท่ี ก.ค. ๐๔๒๒๓/ว๒๕๗ ลงวันที่ ๒๘
มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ยอดเงินเบกิ ได้ปีการศึกษาละ ๔,๘๐๐ บาท

คมู่ ือครู ผ้ปู กครอง และนักเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 105

กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรยี น

106 คู่มอื ครู ผ้ปู กครอง และนกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ว่าดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘

..........................................................

อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง
เด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ วางระเบียบว่าด้วยการลงโทษ
นักเรยี นและนักศกึ ษาไวด้ ังตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ ระเบยี บน้เี รยี กวา่ “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ด้วยการลงโทษ
นกั เรียนและนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘”

ข้อ ๒ ระเบยี บนใี้ ห้ใชบ้ ังคบั ตง้ั แตว่ ันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป
ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรยี น หรอื
นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
ขอ้ ๔ ในระเบยี บน้ี “ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา” หมายความวา่ ครใู หญ่
อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�ำนวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือ
ตำ� แหนง่ ทเ่ี รียกชอื่ อย่างอืน่ ของโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษานน้ั
“กระทำ� ความผดิ ” หมายความวา่ การทน่ี กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาประพฤติ
ฝา่ ฝนื ระเบียบ ข้อบังคับของสถานศกึ ษา หรอื ของกระทรวงศึกษาธกิ าร หรือกฎกระทรวง
ว่าด้วยความประพฤตขิ องนักเรียนและนกั ศกึ ษา
“การลงโทษ” หมายความวา่ การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทก่ี ระทำ�
ความผดิ โดยมีความมงุ่ หมายเพอ่ื การอบรมสง่ั สอน

คู่มือครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 107

ข้อ ๕ โทษทีจ่ ะลงโทษแกน่ ักเรยี นหรือนักศึกษาทก่ี ระท�ำความผดิ มี ๕ สถาน
ดงั นี้

๕.๑ วา่ กล่าวตักเตือน
๕.๒ ทำ� ทัณฑบ์ น
๕.๓ ทำ� กจิ กรรมเพ่อื ให้ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม
๕.๔ พกั การเรยี น
๕.๕ ย้ายสถานศกึ ษา
ข้อ ๖ ห้ามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกล่ันแกล้ง
หรือลงโทษด้วยความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยค�ำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือ
นักศึกษา และความร้ายแรงของพฤตกิ ารณป์ ระกอบการลงโทษดว้ ย
การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไป เพอ่ื เจตนาทจ่ี ะแกน้ สิ ยั และ
ความประพฤตไิ มด่ ขี องนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา ใหร้ สู้ ำ� นกึ ในความผดิ และกลบั ประพฤตติ น
ในทางท่ดี ตี อ่ ไป ใหผ้ ้บู ริหารโรงเรยี นหรอื สถานศึกษา หรอื ผทู้ ี่ผู้บริหารโรงเรยี นหรือสถาน
ศกึ ษามอบหมายเป็นผมู้ ีอำ� นาจในการลงโทษนกั เรียน นักศกึ ษา
ขอ้ ๗ การว่ากล่าวตักเตือนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิด
ไมร่ า้ ยแรง
ข้อ ๘ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีประพฤติตน
ไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติ
นกั เรยี นและนักศกึ ษา หรือได้รับโทษว่ากลา่ วตกั เตอื นแล้ว แตย่ งั ไมเ่ ขด็ หลาบ
การท�ำทัณฑ์บนให้ท�ำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
มาบันทกึ รบั ทราบความผดิ และรบั รองการทำ� ทัณฑบ์ นด้วย
ขอ้ ๙ ทำ� กจิ กรรมเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ใชใ้ นกรณที นี่ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา
กระทำ� ความผดิ ทสี่ มควรตอ้ งปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม การจดั กจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทาง
ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำหนด

108 คมู่ อื ครู ผ้ปู กครอง และนกั เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ข้อท่ี ๑๐ พักการเรียน ใช้ในกรณีท่ีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิดและ
ไดร้ บั การลงโทษตามขนั้ ตอนเบอ้ื งตน้ มาแลว้ และยงั มพี ฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสมอกี จงึ ทำ� การ
พกั การเรียนตามเวลาทีโ่ รงเรียนกำ� หนด

ข้อท่ี ๑๑ ย้ายสถานศึกษา ใช้ในกรณีท่ีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิด
ข้นั รุนแรงซ่งึ ทางโรงเรียนไม่สามารถควบคมุ ได้



ระเบยี บการปกครองนกั เรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมุทรปราการ
หมวดท่ี ๑
บทท่วั ไป

ขอ้ ท่ี ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา่ ระเบยี บการปกครองนกั เรยี นโรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมุทรปราการ ตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ดว้ ยการลงโทษ
นักเรียนหรอื นักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘

ข้อที่ ๒ ระเบียบน้ีใช้บงั คบั ต้ังแต่ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป
ข้อท่ี ๓ บทลงโทษ แบ่งเป็น ๕ สถานคือ
๓.๑ ว่ากล่าวตักเตือน
๓.๒ ทำ� ทณั ฑบ์ น
๓.๓ ท�ำกจิ กรรมเพือ่ ให้ปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม
๓.๔ พักการเรียน
๓.๕ ย้ายสถานศกึ ษา
ขอ้ ท่ี ๔ การวา่ กล่าวตักเตอื น ใช้ในกรณนี ักเรียนกระทำ� ความผิดท่ัวไป โดยครู
ทกุ คนมีหนา้ ทใ่ี นการวา่ กลา่ วตกั เตอื นนกั เรยี น เมอ่ื พบเห็นนักเรียนกระทำ� ความผดิ

คมู่ อื ครู ผูป้ กครอง และนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 109

ขอ้ ท่ี ๕ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้ว
แต่ยังไม่เข็ดหลาบ การท�ำทัณฑ์บนให้ท�ำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
มาบันทึกรับทราบความผิดและรับรองการท�ำทัณฑ์บนโดยครูที่ปรึกษา หัวหน้าระดับช้ัน
หัวหน้างานฝ่ายกิจการนักเรียน และรองผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารท่ัวไป (ฝ่ายกิจการ
นกั เรยี น) ในการด�ำเนนิ การทำ� ทณั ฑบ์ น

ขอ้ ที่ ๖ การท�ำกิจกรรมเพ่ือให้ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใช้ในกรณีท่ีนักเรียน
กระทำ� ความผดิ ร้ายแรง โดยเชญิ บิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบนั ทึกรับทราบ

กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะได้รับการฝึกระเบียบวินัย
ส่งเสริมความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ โดยการปฏิบัติกิจกรรมสาธารณะ
ประโยชน์ ตามทีโ่ รงเรียนกำ� หนด

ข้อที่ ๗ พักการเรียน ใช้ในกรณีที่นักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิดและ
ไดร้ บั การลงโทษตามขน้ั ตอนเบอ้ื งตน้ มาแลว้ และยงั มพี ฤตกิ รรมทไ่ี มเ่ หมาะสมอกี จงึ ทำ� การ
พกั การเรียนตามเวลาท่ีโรงเรยี นกำ� หนด

ข้อท่ี ๘ ย้ายสถานศึกษา ใช้ในกรณีท่ีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิด
ขนั้ รนุ แรงซง่ึ ทางโรงเรียนไมส่ ามารถควบคมุ ได้

หมวดท่ี ๒
ลักษณะความผดิ ของนักเรียน

ขอ้ ที่ ๙ ความผิดทั่วไป คอื ความผดิ ทม่ี ีลักษณะ ดงั น้ี
๙.๑ มาสาย
๙.๒ ขาดเรยี นโดยไม่มเี หตุผลอนั สมควร
๙.๓ แตง่ กายผดิ ระเบยี บ
๙.๔ ทรงผมผดิ ระเบยี บ
๙.๕ ไว้เลบ็ ยาว ตกแต่งเล็บด้วยสีสนั

110 คู่มือครู ผู้ปกครอง และนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๙.๖ ไมร่ ักษาความสะอาดในหอ้ งเรียนและบรเิ วณโรงเรียน
๙.๗ ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมของโรงเรียนโดยไม่มีเหตผุ ลอันควร
๙.๘ ไมส่ นใจเรียนขณะคณุ ครูก�ำลงั ทำ� การสอน
๙.๙ รบกวน / กอ่ กวน การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครู
๙.๑๐ หนีเรยี น
๙.๑๑ พดู จาไมส่ ุภาพ ก้าวร้าวต่อครู
๙.๑๒ โฆษณาหรอื จำ� หนา่ ยสงิ่ ของภายในโรงเรยี นโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
๙.๑๓ ใช้โทรศัพท์มือถอื ในห้องเรยี นโดยครผู สู้ อนไมไ่ ด้อนญุ าต
๙.๑๔ สวมเครอ่ื งประดบั ทที่ างโรงเรียนไมไ่ ดอ้ นุญาต
๙.๑๕ ใชเ้ ครื่องส�ำอางท่ีไม่เหมาะสมกบั สภาพนักเรียน
๙.๑๖ อ่นื ๆทไ่ี มเ่ ปน็ ความผดิ ร้ายแรง
ขอ้ ที่ ๑๐ ความผดิ รา้ ยแรง คือ ความผดิ ทมี่ ีลักษณะ ดังนี้
๑๐.๑ ยาเสพตดิ (เสพ / จำ� หนา่ ย) หรอื ดม่ื สรุ าของมนึ เมา หรอื สบู บหุ ร่ี
๑๐.๒ ลักทรัพย์ หรอื ขดู รีดทรัพย์
๑๐.๓ พกอาวธุ วตั ถุระเบิด ในและนอกโรงเรยี น
๑๐.๔ พฤตกิ รรมชูส้ าวในและนอกโรงเรียน
๑๐.๕ มสี อื่ ลามกในครอบครอง
๑๐.๖ ก่อการทะเลาะวิวาทในและนอกโรงเรยี น
๑๐.๗ ปลอมลายเซ็นผูป้ กครองและครู
๑๐.๘ ปลอมเอกสารเพื่อผลประโยชนข์ องตนเอง
๑๐.๙ ทุจริตในการสอบ
๑๐.๑๐ เลน่ การพนัน หรอื เล่นเกมส์พนนั ออนไลนท์ ุกประเภท
๑๐.๑๑ กระทำ� ความผิดทางคดอี าญา
๑๐.๑๒ ออกนอกบริเวณโรงเรยี นโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต (ทุกกรณ)ี
๑๐.๑๓ น�ำยานพาหนะเข้ามาในโรงเรยี นโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
๑๐.๑๔ จงใจฝ่าฝนื กฎระเบียบของโรงเรียน

คมู่ ือครู ผ้ปู กครอง และนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 111

๑๐.๑๕ ท�ำลายทรพั ยส์ ินของโรงเรียนและของผ้อู ่นื
๑๐.๑๖ กระทำ� การใด ๆ ทน่ี ำ� มาซง่ึ ความเสอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี งของโรงเรยี น
๑๐.๑๗ อื่น ๆ ทีเ่ ขา้ ข่ายความผิดรา้ ยแรง


หมวดที่ ๓
การควบคุมความประพฤตนิ ักเรียน

ขอ้ ที่ ๑๑ ระเบยี บการลงโทษนักเรยี นทท่ี ำ� ผิดระเบียบวนิ ัย
๑๑.๑ การว่ากล่าวตกั เตือน โดยครทู กุ ท่านมอี ำ� นาจในการวา่ กลา่ ว
ตักเตือนนักเรียน เม่อื พบเหน็ นกั เรยี นประพฤตปิ ฏิบตั ิไม่เหมาะสม
๑๑.๒ การทำ� ทณั ฑบ์ น นกั เรยี นทที่ ำ� ความผดิ ระเบยี บวนิ ยั หลงั จาก
ครูท่ีปรึกษา หรือครูทุกท่านว่ากล่าวตักเตือนแล้ว ให้ครูท่ีปรึกษาส่งต่อหัวหน้าระดับชั้น
แต่ละระดบั ชน้ั เชญิ ผู้ปกครองรบั ทราบและทำ� ทณั ฑบ์ น
๑๑.๓ การทำ� กจิ กรรมเพอ่ื ใหป้ รบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม นกั เรยี นทที่ ำ� ผดิ
ระเบียบวินัย หลังจากท�ำทัณฑ์บน หัวหน้าระเบียบวินัยด�ำเนินการให้เข้าร่วมกิจกรรม
ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมตามทโี่ รงเรียนกำ� หนด
๑๑.๔ พักการเรียน นักเรียนท่ีกระท�ำความผิดระเบียบวินัยหลัง
การท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หัวหน้าระดับเชิญผู้ปกครองรับทราบพร้อม
ลงลายมือช่ือเพื่อท�ำการพักการเรียนกับนักเรียนที่กระท�ำผิด โดยแจ้งหัวหน้างานกิจการ
นักเรยี นเพือ่ ท�ำหนงั สือพักการเรยี นแกน่ ักเรยี นผู้กระทำ� ผดิ
๑๑.๕ ยา้ ยสถานศกึ ษา นกั เรยี นทก่ี ระทำ� ความผดิ หรอื ฝา่ ฝนื ระเบยี บ
ขอ้ บงั คบั ของสถานศกึ ษาหรอื ประพฤตผิ ดิ ศลี ธรรม จนเปน็ ทเี่ หน็ ไดว้ า่ ถา้ ใหอ้ ยใู่ นสถานศกึ ษา
ต่อไป จะท�ำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงเกียรติศักด์ิของสถานศึกษาหรือเป็นเหตุให้ระเบียบวินัย
หรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องนกั เรยี นอน่ื ไดร้ บั ความเสอ่ื มเสยี ดว้ ย ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาเชญิ บดิ า
มารดา หรือผปู้ กครองรบั ทราบเหตผุ ล แลว้ ใหน้ ักเรียนหรอื นักศึกษาผนู้ นั้ ออก ในกรณนี ้ี
ใหส้ ถานศกึ ษาออกหลักฐานแสดงผลการเรียนให้นักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษาน้ันดว้ ย

112 คมู่ ือครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ข้อท่ี ๑๒ แนวทางปฏบิ ตั วิ า่ ดว้ ยการลงโทษ
เพ่ือให้สอดคล้องและสะดวกกับการปฏิบัติของครู ในการพิจารณา
ลงโทษ นกั เรยี นโรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั สมทุ รปราการ มแี นวปฏบิ ตั ิ
ดงั นี้
๑๒.๑ นักเรียนท่ีกระท�ำผิดระเบียบวินัย ครั้งที่ ๑ ถึงครั้งท่ี ๓
ใหค้ รทู ป่ี รกึ ษามอี ำ� นาจวา่ กลา่ วตกั เตอื น และเชญิ ผปู้ กครองมารบั ทราบพรอ้ มลงลายมอื ชอ่ื
๑๒.๒ นักเรียนท่ีกระท�ำผิดระเบียบวินัย ครั้งท่ี ๔ ให้ครูที่ปรึกษา
ส่งตอ่ ใหห้ ัวหนา้ ระดบั ท�ำทณั ฑ์บน และเชญิ ผปู้ กครองมารับทราบพรอ้ มลงลายมือชื่อ
๑๒.๓ นักเรียนท่ีกระท�ำผิดระเบียบวินัย หลังจากหัวหน้าระดับ
ทำ� ทณั ฑบ์ นแลว้ ใหห้ วั หนา้ ระดบั สง่ ตอ่ หวั หนา้ งานระเบยี บวนิ ยั ดำ� เนนิ การทำ� กจิ กรรมเพอ่ื
ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม และเชิญผ้ปู กครองมารบั ทราบ พรอ้ มลงลายมอื ช่อื
ข้อที่ ๑๓ นกั เรียนทก่ี ระทำ� ความผิดตามหมวดท่ี ๒ ขอ้ ที่ ๙ ใหด้ �ำเนนิ การตาม
หมวดท่ี ๓ ว่าด้วยการควบคมุ ความประพฤตนิ ักเรียน ข้อท่ี ๑๒
ขอ้ ท่ี ๑๔ นกั เรยี นทก่ี ระทำ� ความผดิ ตามหมวดท่ี ๒ ขอ้ ท่ี ๑๐ ใหด้ ำ� เนนิ การ ดงั นี้
๑๔.๑ นักเรียนท่เี สพสารเสพตดิ ให้ครทู ปี่ รกึ ษา / หัวหนา้ ระดับชนั้
/ สารวัตรนักเรยี น น�ำตวั นักเรยี นมาดำ� เนินการตรวจสารเสพตดิ ในเบื้องตน้ ทห่ี อ้ งกจิ การ
นกั เรยี นโดยหวั หนา้ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ ถา้ พบสารเสพตดิ
แจ้งครูที่ปรึกษาติดต่อผู้ปกครอง พบหัวหน้างานฝ่ายกิจการนักเรียน ด�ำเนินการ
รว่ มแก้ไขปญั หากบั โรงเรยี น และสง่ ต่อให้หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งเพ่ือร่วมแก้ไขปัญหา
๑๔.๒ นกั เรยี นทจ่ี ำ� หนา่ ยสารเสพตดิ ใหค้ รทู ปี่ รกึ ษา / หวั หนา้ ระดบั ชนั้
/ สารวัตรนักเรียน / หัวหน้างานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด / หัวหน้างาน
ฝ่ายกจิ การนกั เรยี นด�ำเนินการสอบสวน แล้วแจง้ ผบู้ ังคับบญั ชา ตามลำ� ดับขั้น พร้อมแจ้ง
ครูท่ีปรึกษาติดต่อผู้ปกครองทราบเพ่ือด�ำเนินการร่วมกันแก้ไขปัญหากับโรงเรียน
และส่งตอ่ ใหห้ นว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องเพือ่ รว่ มแก้ไขปัญหาต่อไป

คู่มือครู ผ้ปู กครอง และนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 113

๑๔.๓ นกั เรยี นทกี่ อ่ เหตทุ ะเลาะววิ าท นอกบรเิ วณโรงเรยี นใหห้ วั หนา้
งานฝา่ ยกิจการนักเรยี นแจง้ ผ้ปู กครองทราบ เพ่ือใหเ้ จ้าหน้าท่ีต�ำรวจด�ำเนนิ การต่อไป

๑๔.๔ ความผดิ อนื่ ๆ ตามหมวดที่ ๒ ขอ้ ท่ี ๑๐ ทไ่ี มเ่ กยี่ วกบั ยาเสพตดิ
ใหห้ วั หนา้ งานฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น ดำ� เนนิ การสอบสวน แลว้ แจง้ ครทู ปี่ รกึ ษา เชญิ ผปู้ กครอง
มารบั ทราบ แล้วดำ� เนนิ การตามขั้นตอนตอ่ ไป

ขอ้ ท่ี ๑๕ นักเรียนที่กระท�ำความผิดระเบียบวินัย ตามหมวดท่ี ๒ ข้อท่ี ๙
และ ๑๐ ที่ต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรมคร้ังที่ ๑ แต่ยังไม่ได้รับการปรับเปล่ียนพฤติกรรม
แต่ยังกระท�ำความผิดระเบียบวินัยท่ีร้ายแรง ตามข้อท่ี ๑๐ อีก ให้ยกมาปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรมครั้งท่ี ๒ ซงึ่ ถอื เปน็ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคร้ังสุดท้าย

ขอ้ ท่ี ๑๖ นกั เรยี นทไี่ ดร้ บั การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม ครงั้ ท่ี ๒ แลว้ ยงั มพี ฤตกิ รรม
ไม่ดีขึ้น กระท�ำผิดระเบียบวินัยใด ๆ อีก ตามข้อที่ ๙ และข้อที่ ๑๐ ให้คณะกรรมการ
กลุม่ บริหารกจิ การนกั เรียน พิจารณาด�ำเนินการแล้วน�ำเสนอผอู้ ำ� นวยการพจิ ารณาต่อไป

ระเบยี บต่าง ๆ ของโรงเรยี นท่นี ักเรยี นและผ้ปู กครองควรทราบ
ระเบียบการแต่งกายของนกั เรียน
นักเรยี นชาย

๑. ทรงผม
๑.๑ นักเรียนชายระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
- ทรงผมนักเรียนจะไว้ส้ันหรือยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง
ด้านหลงั ต้องยาวไมเ่ ลยตนี ผม ด้านหนา้ และกลางศรี ษะให้เป็นไปตามความเหมาะสมและ
มคี วามเรยี บรอ้ ย ไมใ่ สน่ ำ้� หรอื เจล ไมย่ อ้ มผมหรอื กระทำ� ดว้ ยวธิ กี ารอนั ใดใหผ้ มมสี ผี ดิ จาก
ธรรมชาติ
- ไมไ่ วห้ นวดเครา
- ไมต่ ัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรงสญั ลักษณห์ รอื เป็นลวดลาย

114 คู่มอื ครู ผู้ปกครอง และนักเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๑.๒ นักเรยี นชายระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
- ทรงผมนักเรียนจะไว้ส้ันหรือยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง
ด้านหลังตอ้ งยาวไมเ่ ลยตีนผม ดา้ นหน้าและกลางศีรษะใหเ้ ป็นไปตามความเหมาะสมและ
มีความเรียบร้อย ไมใ่ สน่ ้�ำหรือเจล ไม่ยอ้ มผมหรอื กระทำ� ดว้ ยวิธีการอันใดใหผ้ มมสี ผี ิดจาก
ธรรมชาติ
- ไม่ไว้หนวดเครา
- ไม่ตัดแต่งทรงผมเป็นรปู ทรงสัญลกั ษณ์หรอื เป็นลวดลาย
- ยกเว้น นักศึกษาวิชาทหารชายจะต้องตัดผมตามที่หน่วย
บัญชาการรักษาดนิ แดนหรือโรงเรียนรักษาดนิ แดนกำ� หนด
๒. เส้ือ
๒.๑ นกั เรยี นชายระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
- เส้ือเชิต้ แขนสน้ั คอตัง้ ใช้ผา้ โทเร สขี าวเกลีย้ ง ไม่บางหรือหนา
จนเกนิ ไป ไม่ใชผ้ า้ มัน ผา้ ฝ้าย ผา้ ด้ายดบิ หรือผ้าเนอื้ หยาบ
- ตัวปล่อย ไม่รัดรูป ไม่ตีเกร็ดหลัง ผ่าอกตลอดมีสาบนอกท่ี
หน้าอกกวา้ ง ๒.๕ – ๓ เซนตเิ มตร
- ติดกระดุมสีขาว กลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ เซนติเมตร
จ�ำนวน ๕ เมด็ แขนสั้น เหนือศอก ประมาณ ๕ เซนติเมตร ความกวา้ งของแขนพอเหมาะ
กบั รอบแขนของนักเรียน ไหลไ่ มต่ ก
- มกี ระเปา๋ (ไมม่ ฝี า) ทอ่ี กเสอ้ื เบอ้ื งซา้ ย ๑ ใบ ขนาดกวา้ ง ๘ - ๑๒
เซนติเมตร พอเหมาะกบั ขนาดของเสอ้ื
- ปกั อกั ษร “ส.ก.ส” ทอี่ กเสอื้ เบอ้ื งขวาเหนอื ราวนมดว้ ยดา้ ยหรอื
ไหมสนี �้ำเงินเขม้ ตามขนาด และแบบท่ีโรงเรียนกำ� หนด
- ชายเสอื้ สอดไวใ้ นกางเกงใหเ้ รยี บรอ้ ย ใหส้ ามารถมองเหน็ เขม็ ขดั ได้

คูม่ อื ครู ผู้ปกครอง และนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 115

๒.๒ นักเรียนชายระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
- เส้ือเหมือนกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ยกเวน้ ตวั อกั ษรที่ปกั อกเส้อื ให้เปลยี่ นเป็นตราเสมาและอกั ษรยอ่ ส.ก.ส. ตามขนาดและ
แบบทโี่ รงเรยี นก�ำหนด กลดั เขม็ เครื่องหมายโรงเรยี นเหนอื อกั ษรย่อ
๓. เสือ้ ด้านใน
ให้นักเรยี นสวมเส้ือกล้ามหรอื เสื้อคอกลมสีขาวเกลยี้ ง
๔. กางเกง
- กางเกงทรงนกั เรยี นขาสน้ั ใชผ้ า้ โทเรหรอื ผา้ เสริ ท์ สดี ำ� สนทิ เนอื้ ผา้ เกลย้ี ง
ไม่มันหรือด้าน ไม่บางหรือหนาเกินไป ไม่ใช้ผ้ายีนส์ ผ้าเวสปอยท์หรือผ้าเนื้อหยาบ
เมื่อใชแ้ ล้วไมซ่ ีด หรอื ดา่ ง
- ขนาดความยาวของขากางเกงสงู จากกงึ่ กลางลกู สะบา้ หวั เขา่ ขนึ้ มา ๖-๘
เซนติเมตร ความกว้างของปลายขอบขากางเกงเม่ือยืนตรงวัดโดยรอบห่างจากขา ๔-๖
เซนติเมตร ปลายขาพบั ชายเข้าข้างในกวา้ ง ๕ เซนตเิ มตร
- ผา่ ตรงสว่ นหนา้ ใชซ้ ปิ ซอ่ นไวด้ า้ นใน มตี ะขอตดิ เรยี บรอ้ ย มกี ระเปา๋ ตาม
แนวตะเข็บข้าง ข้างละ ๑ ใบ จีบด้านหน้า ข้างละ ๒ จีบ จีบออกไม่มีกระเป๋าหลัง
มีหูกางเกงรอบเอว ส�ำหรับสอด เข็มขัดชนิดหัวเดี่ยว ใช้ผ้าและสีชนิดเดียวกับกางเกง
ขนาดกว้าง ๑ เซนติเมตร จำ� นวน ๗ หู ระยะหา่ ง ระหว่างหเู ท่ากนั เวลาสวมขอบกางเกง
อย่รู ะดับสะดอื ทบั ชายเส้ือไวใ้ หเ้ รยี บรอ้ ย
๕. เข็มขดั
ใช้เข็มขัดหนังสีด�ำ ขนาดกว้าง ๓ – ๓.๕ เซนติเมตร ไม่มีลวดลายหรือ
ตัวอักษรผิวด้านนอก หัวเข็มขัดเป็นโลหะสีทองรูปสี่เหล่ียมผืนผ้ามุมมน ชนิดหัวกลัด
ไมม่ ลี วดลาย มปี อกหนงั สเี ดยี วกบั เขม็ ขดั ขนาดกวา้ ง ๑ เซนตเิ มตร สำ� หรบั สอดปลายเขม็ ขดั
เพียงให้ร้อยหูกางเกงหูท่ี ๑ ได้ เม่ือกลัดหัวแล้วปลายเข็มขัดเป็นรูปโค้งมนไม่เขียนหรือ
ตดิ สิ่งใด ๆ ลงบนเข็มขัด

116 คู่มอื ครู ผปู้ กครอง และนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔

๖. รองเท้า
- ใช้รองเท้าห้มุ ส้น สน้ เต้ยี ชนดิ ผูกเชือก เปน็ ผา้ ใบหรอื หนงั เกลี้ยง สดี �ำ
แบบสภุ าพ ไมม่ ลี วดลายและไม่มขี อบเปน็ สีอ่นื มรี ูร้อยเชอื ก ๕ – ๖ รู สดี �ำทั้งเชือกและ
ตาไก่ การผกู เชอื กต้องดงึ เชอื กใหต้ ึงและผูกเชือกใหเ้ รียบร้อย ไมใ่ ส่เหยียบสน้ รองเท้า
- รองเทา้ ลกู เสอื ใชร้ องเทา้ หนงั เกลยี้ งสนี ำ้� ตาล/รองเทา้ ผา้ ใบสนี ำ้� ตาลแบบ
สุภาพมรี รู อ้ ยเชอื ก ๕ – ๖ รู ตามแบบทโ่ี รงเรยี นกำ� หนด
๗. ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าแบบธรรมดาสีขาว ชนิดลายเส้นใหญ่ ไม่มีลวดลาย
เวลาสวมดงึ ใหต้ งึ ไมม่ ว้ นหรือพบั ขอบลงมา และไม่ตอ้ งยาวเกินครงึ่ น่อง
๘. กระเปา๋ นกั เรยี น กำ� หนดให้ใช้ได้ ๒ แบบ คือ
๘.๑ กระเป๋าสะพาย ส�ำหรับใส่ชดุ พลศกึ ษาหรืออุปกรณ์การเรยี น ใหใ้ ช้
ของท่ีโรงเรียนจัดท�ำขนึ้ ไมข่ ีดเขยี นหรือติดรปู ใด ๆ บนกระเป๋า
๘.๒ กระเป๋าสะพาย (เป)้ ให้ใช้แบบของโรงเรียน (รุ่นใหม่) เพื่อใสห่ นงั สอื
และสัมภาระอนื่ ๆ ทีโ่ รงเรยี นจดั ทำ� ขึน้ ไม่ขีดเขียนหรือตดิ รูปใด ๆ บนกระเปา๋
๙. บัตรประจ�ำตัวนักเรียน โรงเรียนก�ำหนดให้นักเรียนทุกคนคล้องบัตร
นกั เรียนพรอ้ มสายคลอ้ งบัตรของโรงเรียนทกุ คร้งั
๑๐. เครื่องส�ำอาง ห้ามนักเรียนใช้เคร่ืองส�ำอางหรือส่ิงแปลกปลอมเพ่ือ
เสริมสวยหรือตกแตง่ ทรงผม และหน้าตา
๑๑. เครอ่ื งประดบั หา้ มนกั เรยี นใชเ้ ครอื่ งประดบั ทกุ ชนดิ เชน่ ตา่ งหู แหวน กำ� ไล
สรอ้ ย ท่คี าดผม ลกู ประค�ำ หวีสับ เชอื กถกั ฯลฯ ส�ำหรบั สร้อยคอ โรงเรยี นอนญุ าตเฉพาะ
สรอ้ ยเงนิ หรอื สแตนเลสแบบขอ้ เลก็ ทมี่ คี วามยาวพอสมควร เพอื่ หอ้ ยสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ างศาสนา
โดยเกบ็ ไวใ้ นเสอ้ื ใหเ้ รยี บรอ้ ย สำ� หรบั สายรดั ขอ้ มอื อนญุ าตใหใ้ ชข้ องโรงเรยี นแตใ่ สไ่ ดไ้ มเ่ กนิ
๒ เสน้ อย่างอื่นห้ามใช้

คมู่ ือครู ผู้ปกครอง และนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 117

๑๒. นาฬกิ าขอ้ มอื ใหใ้ ชแ้ บบสภุ าพ ตวั เรอื นไมม่ ลี วดลายหรอื สสี นั ฉดู ฉาด ขนาด
ไมใ่ หญห่ รอื เลก็ เกนิ ไปถา้ เปน็ สายหนงั ใหใ้ ชห้ นงั สดี ำ� หรอื สนี ำ้� ตาล ถา้ เปน็ สายโลหะตอ้ งเปน็
แบบธรรมดา

๑๓. หมวก ห้ามสวมหมวกท่ีไม่ได้ระบุว่าเป็นเครื่องแบบนักเรียน ลูกเสือ
หรือนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร

๑๔. แว่นตา ให้ใช้เฉพาะผู้ที่มีสายตาผิดปติหรือใช้ถนอมดวงตาตามแพทย์ส่ัง
แว่นท่ีใช้ต้องมีรูปทรงสีและแบบที่สุภาพ (กรณีใส่คอนแทคเลนส์ต้องเป็นสีใสหรือแบบ
ไม่มสี ีเทา่ นั้น)

๑๕. เครือ่ งแบบพลศึกษา
๑๕.๑ เส้ือ

๑๕.๑.๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ใช้เส้ือโปโลสีชมพูปกคอ
สฟี า้ ตามแบบท่ีโรงเรยี นก�ำหนด

๑๕.๑.๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้เสื้อโปโลสีฟ้าปกคอ
สีชมพตู ามแบบที่โรงเรยี นกำ� หนด

๑๕.๒ กางเกง ใชก้ างเกงวอรม์ ขายาวสกี รมทา่ ปลายขารดั มกี นุ๊ สชี มพ-ู ฟา้
ทขี่ ากางเกง ซง่ึ โรงเรยี นจดั จำ� หนา่ ยทร่ี ้านสวสั ดกิ าร สวมทบั ชายเสือ้ ให้เรยี บรอ้ ย

๑๖. เครื่องแบบลูกเสือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคน ต้องแต่ง
เครอื่ งแบบลกู เสอื ตามระเบยี บคณะลกู เสอื แหง่ ชาตใิ นวนั ทมี่ กี จิ กรรมลกู เสอื และสวมรองเทา้
หนังเกล้ียง/รองเท้าผา้ ใบสนี ้ำ� ตาล ตามแบบท่โี รงเรียนก�ำหนด ถ้าเป็นวันเดยี วกันกับวนั ท่ี
มกี ารเรยี นวชิ าพลศกึ ษาใหแ้ ตง่ เครอื่ งแบบลกู เสอื มาจากบา้ นโดยนำ� ชดุ พลศกึ ษามาเปลยี่ น

๑๗. นักเรียนท่ีเป็นนักศึกษาวิชาทหาร นักเรียนต้องแต่งเครื่องแบบที่ถูกต้อง
ตามวนั ที่โรงเรียนก�ำหนด

๑๘. การแต่งกายมาโรงเรียน นักเรียนต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียนท่ีถูกต้อง
ตามทก่ี �ำหนดมาโรงเรยี นในวันท�ำการ แม้เป็นวันที่ไมม่ กี ารเรียนการสอน

118 คู่มอื ครู ผปู้ กครอง และนักเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ในกรณีที่นักเรียนต้องมาธุระติดต่อกับทางโรงเรียนในวันหยุด ให้แต่งชุด
เครื่องแบบนักเรียนให้เรียบร้อย (การมาเรียนเสริมพิเศษในวันเสาร์ให้แต่งเครื่องแบบ
นกั เรยี น)

นกั เรียนหญิง

๑. ทรงผม
๑.๑ นกั เรียนหญงิ ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น
- ใหไ้ วผ้ มสน้ั หรอื ยาวกไ็ ด้ กรณไี วผ้ มยาวใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสม
และรวบให้เรียบรอ้ ยตามที่โรงเรียนก�ำหนด
- ห้ามซอยหรือดัดผม
- ห้ามไว้จอนเปิดหู
- หา้ มยอ้ มผม หรือกระทำ� ด้วยวิธีการอนื่ ใดใหผ้ มมสี ีผดิ ธรรมชาติ
- หา้ มใชเ้ คร่ืองประดับผมทุกชนดิ
- หา้ มไวผ้ มหนา้ ม้า
๑.๒ นกั เรียนหญิงระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
- ใหไ้ วผ้ มสนั้ หรอื ยาวกไ็ ด้ กรณไี วผ้ มยาวใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสม
และรวบใหเ้ รียบร้อยตามท่โี รงเรียนก�ำหนด
- หา้ มซอยหรอื ดัดผม
- หา้ มไวจ้ อนเปดิ หู
- ห้ามย้อมผม หรอื กระท�ำด้วยวธิ ีการอนื่ ใดให้ผมมสี ผี ิดธรรมชาติ
- หา้ มใช้เครื่องประดับผมทกุ ชนิด
- หา้ มไวผ้ มหนา้ มา้
๒. เสื้อ
๒.๑ นกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้
- เส้ือแขนส้ัน ใช้ผ้าโทเรสีขาวเกลี้ยง ไม่บางหรือหนาเกินไป
หา้ มใช้ผ้ามัน ผา้ ฝ้าย ผา้ ดา้ ยดบิ หรอื ผ้าเน้ือหยาบ

คูม่ อื ครู ผูป้ กครอง และนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 119

- ปกเสื้อแบบคอพับในตัว คอลึกสวมศีรษะได้สะดวก สาบตลบเข้า
ด้านใน ส่วนบนของสาบเสื้อให้ใหญ่ พอแบะคอแล้วไม่เป็นตะเข็บ ข้างในมีปกกว้าง
๑๕ เซนตเิ มตร ใชผ้ า้ สองชน้ั เยบ็ แบบเขา้ ถำ�้ แขนยาวปลอ่ ยแลว้ พอดขี อ้ ศอก ปลายแขนจบี
เลก็ นอ้ ย ประกบด้วยผา้ ๒ ชัน้ กวา้ ง ๓ เซนตเิ มตร

- ชายเสื้อปล่อย ไม่รัดรูป อยู่ต�่ำกว่าเอว ประมาณ ๒๐ – ๒๕
เซนติเมตร พับขอบ ๓ เซนติเมตร ขนาดของตัวเสื้อตั้งแต่แขนถึงขอบล่าง มีความกว้าง
พอเหมะกับตัว มีกระเป๋า (ไม่มีฝา) ดา้ นล่างขวามือ ๑ ใบ

- ปกั อกั ษรย่อ “ส.ก.ส” ท่ีอกเส้ือด้านขวาเหนือราวนมดว้ ยด้ายหรือ
ไหมสนี ้ำ� เงนิ

- คอซอง ให้ใช้คอซองชนิดส�ำเร็จรูป ผ้าสีเดียวกับกระโปรง
แบบหูกระต่าย ขนาดกวา้ ง ๖ – ๘ เซนติเมตร ความยาวอยใู่ นระดับปดิ กระดมุ เม็ดบน

๒.๒ นักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย
- เสอื้ ปกเชต้ิ ผา้ โทเรสขี าวเกลยี้ งไมบ่ างหรอื หนาเกนิ ไป หา้ มใชผ้ า้ มนั
ผ้าด้ายดบิ ผ้าฝา้ ย หรือผ้าเนอ้ื หยาบ
- ผา่ อกตลอด สาบเสอื้ ทำ� เปน็ สายตลบเขา้ ขา้ งในกวา้ ง ๓ เซนตเิ มตร
ติดกระดุมกลมแบนสีขาวขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ เซนติเมตร แขนยาวปล่อยแล้ว
พอดีข้อศอก ปลายแขนจบี เลก็ น้อยประกบด้วยผา้ ๒ ชั้น กวา้ ง ๓ เซนติเมตร
- ตัวเสื้อไม่รัดรูป หลวมพอประมาณ เวลาสวมสอดชายเส้ือไว้ใน
กระโปรงให้เรยี บร้อยและสามารถมองเหน็ เขม็ ขดั ได้
- ปักตราเสมาด้วยด้ายหรือไหมสีชมพู - ฟ้า และปักอักษรย่อ
“ส.ก.ส.” ทอี่ กเสอ้ื ดา้ นขวาเหนอื ราวนม ดว้ ยดา้ ยหรอื ไหมสนี ำ�้ เงนิ เขม้ ตามขนาดและแบบ
ทีโ่ รงเรยี นกำ� หนด กลดั เขม็ เคร่ืองหมายโรงเรียนเหนอื อักษรย่อ
๓. เสอ้ื ชน้ั ใน
๓.๑ ตอ้ งสวมเสอ้ื ช้ันในสีสภุ าพ เช่น สขี าว สคี รมี

120 คู่มือครู ผปู้ กครอง และนักเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๓.๒ ตอ้ งสวมเสอ้ื ทบั สขี าวแบบสภุ าพ เพอื่ สวมแลว้ ชว่ ยปกปดิ ไมใ่ หม้ อง
เหน็ เสอื้ ในไดอ้ ย่างชดั เจน

๔. กระโปรง
- ใชผ้ า้ โทเรสกี รมทา่ เนอ้ื เกลยี้ ง ไมม่ ลี วดลาย แบบนกั เรยี นดา้ นหนา้ และ
ดา้ นหลงั พับเป็นจีบขา้ งละ ๓ จีบ หนั จบี ออกด้านนอก จบี ลึก ๓ เซนตเิ มตร ตีเกลด็ ทับ
จีบเอว ประมาณ ๖ – ๑๒ เซนตเิ มตร
- กระโปรงยาวเพียงใต้เข่าลงมา ๕ เซนติเมตร ชายกระโปรงพับขนาด
๔ – ๕ เซนติเมตร ปลายบานไม่รดั รปู ไมเ่ ย็บตะเข็บคู่ มีกระเปา๋ ขา้ งละ ๑ ใบ ไม่มีกระเป๋า
หลังหรอื กระเป๋าเจาะด้านหนา้
๕. เขม็ ขัด
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายใช้เข็มขัดหนังสีด�ำ ไม่มีลวดลาย
กวา้ ง ๒ – ๓ เซนตเิ มตร หวั เขม็ ขดั รปู ส่ีเหล่ียมผืนผ้า ห้มุ ดว้ ยหนังสีดำ� ชนิดหัวกลดั ท่มี กี ลัด
เดยี ว มปี ลอกสำ� หรับรัดเข็มขัด ๑ ปลอก เปน็ หนงั สดี �ำแบบเดยี วกบั เขม็ ขัด หา้ มใช้เข็มขดั
ทีม่ โี ลโก้หรือลวดลายใดๆท้งั ส้นิ รวมทั้งเขม็ ขดั หนังแก้วหรอื หนังเงาวาว
๖. รองเทา้
- ใช้รองเท้าหนังสีด�ำไม่มีลวดลาย แบบหุ้มส้น หุ้มปลายเท้า หัวมน
มสี ายรัดหลงั เท้า สน้ สงู ไมเ่ กนิ ๒ เซนติเมตร ห้ามใชร้ องเท้าที่ท�ำดว้ ยหนังแก้ว
- รองเท้าพลศึกษา ใช้รองเท้าผ้าใบสีขาวชนิดผูกเชือก ไม่มีลวดลาย
ไมม่ เี สน้ ท่ีขอบรองเทา้ เป็นสีอืน่
๗. ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าส้ันสีขาว ลายเส้นเล็ก ไม่เป็นลูกฟูกหนา ไม่มีลวดลาย
เวลาสวมพบั ขอบลงมา ๒ ครั้ง ใหข้ อบบนอยู่เหนือรองเท้า ๔ เซนตเิ มตร
๘. กระเปา๋ นักเรยี น ก�ำหนดให้ใช้ได้ ๒ แบบ คอื
๘.๑ กระเป๋าสะพาย ส�ำหรับใส่ชุดพลศึกษาหรืออุปกรณ์การเรียน
ให้ใชข้ องท่โี รงเรียนจัดท�ำข้ึน ไม่ขีดเขียนหรอื ตดิ รูปใดๆ บนกระเป๋า

คู่มือครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 121

๘.๒ กระเปา๋ สะพาย (เป)้ ใหใ้ ชแ้ บบของโรงเรยี น (รนุ่ ใหม)่ เพอ่ื ใสห่ นงั สอื
และสัมภาระอ่ืนๆ ทโ่ี รงเรียนจดั ท�ำข้นึ ไมข่ ีดเขยี นหรอื ติดรปู ใดๆบนกระเปา๋

๙. บัตรประจ�ำตัวนักเรียน โรงเรียนก�ำหนดให้นักเรียนทุกคนคล้องบัตร
นักเรียนพร้อมสายคลอ้ งบตั รของโรงเรียนทกุ คร้ัง

๑๐. เครอื่ งสำ� อาง หา้ มนกั เรยี นใชเ้ ครอื่ งสำ� อางหรอื สง่ิ แปลกปลอมเพอื่ เสรมิ สวย
หรอื ตกแต่งทรงผม ห้ามแต่งหน้า แต่งเลบ็ หรือไว้เล็บยาว

๑๑. เครื่องประดับ หา้ มนกั เรียนใช้เครอ่ื งประดับทุกชนิด เชน่ ตา่ งหู แหวน
กำ� ไล สรอ้ ย ท่ีคาดผม ลกู ประค�ำ หวีสับ เชือกถกั ฯลฯ สำ� หรบั สรอ้ ยคอ โรงเรียนอนญุ าต
เฉพาะสร้อยเงินหรือสแตนเลสแบบข้อเล็กท่ีมีความยาวพอสมควร เพ่ือห้อยสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทางศาสนา โดยเก็บไวใ้ นเสือ้ ใหเ้ รียบร้อย ส�ำหรับสายรดั ขอ้ มอื อนญุ าตให้ใชข้ องโรงเรยี น
แตใ่ สไ่ ด้ไมเ่ กิน ๒ เสน้ อยา่ งอนื่ ห้ามใช้

๑๒. นาฬิกาข้อมือ ให้ใช้แบบสุภาพ ตัวเรือนไม่มีลวดลายหรือสีสันฉูดฉาด
ขนาดไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไปถ้าเป็นสายหนังให้ใช้หนังสีด�ำหรือสีน�้ำตาล ถ้าเป็นสายโลหะ
ต้องเปน็ แบบธรรมดา

๑๓. หมวก ห้ามสวมหมวกทไี่ ม่ไดร้ ะบวุ ่าเป็นเคร่อื งแบบนกั เรยี น ลูกเสอื หรือ
นักศกึ ษาวชิ าทหาร

๑๔. แว่นตา ให้ใช้เฉพาะผทู้ ่ีมสี ายตาผิดปติหรือใช้ถนอมดวงตาตามแพทยส์ ่ัง
แวน่ ทใี่ ชต้ อ้ งมรี ปู ทรงสแี ละแบบทส่ี ภุ าพ (กรณใี สค่ อนแทคเลนสต์ อ้ งเปน็ สใี สหรอื แบบไมม่ ี
สีเทา่ น้ัน)

๑๕. เคร่ืองแบบพลศึกษา
๑๕.๑ เสือ้

๑๕.๑.๑ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ใชเ้ สอื้ โปโลสีชมพูปกคอ
สีฟา้ ตามแบบที่โรงเรียนก�ำหนด

122 คูม่ อื ครู ผู้ปกครอง และนกั เรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๑๕.๑.๒ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใชเ้ สอื้ โปโลสฟี า้ ปกคอ
สชี มพตู ามแบบทโ่ี รงเรียนกำ� หนด

๑๕.๒ กางเกง ใชก้ างเกงวอรม์ ขายาวสีกรมท่า ปลายขารัดมกี ๊นุ สชี มพู
ทข่ี ากางเกงขา้ งขวาและกนุ๊ สฟี า้ ทข่ี ากางเกงขา้ งซ้าย สวมทบั ชายเส้อื ใหเ้ รยี บร้อย

๑๖. เครื่องแบบเนตรนารี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคน ต้องเรียน
เนตรนารี ใช้เครือ่ งแบบเนตรนารีตามระเบยี บคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ถ้าเปน็ วันเดยี วกันกับ
วันท่ีมีการเรียนวิชาพลศึกษาให้แต่งเครื่องแบบเนตรนารีมาจากบ้านโดยน�ำชุดพลศึกษา
มาเปลยี่ น

๑๗. นกั เรยี นทเี่ ปน็ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร นกั เรยี นตอ้ งแตง่ เครอื่ งแบบทถ่ี กู ตอ้ ง
ตามวนั ท่โี รงเรียนกำ� หนด

๑๘. การแต่งกายมาโรงเรียน นักเรียนต้องแต่งเคร่ืองแบบนักเรียนที่ถูกต้อง
ตามท่ีก�ำหนด มาโรงเรียนในวันท�ำการ แม้เปน็ วนั ท่ีไม่มีการเรยี นการสอน

ในกรณที ี่นกั เรยี นต้องมาธรุ ะตดิ ตอ่ กบั ทางโรงเรียนในวนั หยุด ใหแ้ ต่งชุด
เคร่ืองแบบนักเรียนให้เรียบร้อย (การมาเรียนเสริมพิเศษในวันเสาร์ให้แต่งเคร่ืองแบบ
นกั เรยี น)

คู่มอื ครู ผปู้ กครอง และนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 123

หลกั เกณฑ์การแต่งเครือ่ งแบบนักเรยี นตามหลักศาสนาของนกั เรยี นมุสลมิ
นักเรียนชาย

๑. เสอ้ื ผ้าสีขาว แบบคอเชิ้ต แขนสัน้
๒. เคร่ืองหมาย ปักอักษรยอ่ “ส.ก.ส” ที่อกเสือ้ ดา้ นขวาเหนอื ราวนมดว้ ย
ดา้ ยหรอื ไหมสีนำ้� เงนิ
๓. กางเกง ใช้ผ้าสีเดียวกันกับสีผ้าของกางเกงนักเรียนทั่วไปที่ใช้ในสถาน
ศกึ ษาน้นั ขายาว ระดบั ตาตมุ่ ปลายขาพบั เขา้ ดา้ นใน
๔. เขม็ ขัด หนังสีดำ� หวั เขม็ ขัดเปน็ โลหะรปู ส่ีเหลย่ี มผนื ผา้ ชนดิ หวั กลัดหรือ
หัวเข็มขดั เป็นตราของสถานศึกษา
๕. รองเทา้ หนงั หรอื ผา้ ใบสดี ำ� แบบหุม้ สน้ ชนิดผูก
๖. ถงุ เทา้ ส้ันสีขาว

นกั เรยี นหญงิ

๑. เสอื้ ผา้ สขี าวคอปกบวั ผา่ ดา้ นหนา้ ตลอด แขนยาว ปลายแขนจบี รดู มสี าบ
กวา้ งไมเ่ กนิ ๕ เซนตเิ มตร ตวั ยาวคลมุ สะโพก ไมร่ ดั รูป

๒. เคร่ืองหมาย ปกั อักษรยอ่ “ส.ก.ส” ทอ่ี กเสื้อด้านขวาเหนือราวนมและ
ท่ีผา้ คลุมศรีษะ ดว้ ยดา้ ยหรือไหมสีน้�ำเงิน

๓. ผ้าคลมุ ศรีษะ ใช้ผา้ สขี าวเกลย้ี งไมม่ ลี วดลาย หรือสีเดยี วกนั กบั สีผา้ ของ
กระโปรง สีเ่ หลยี่ มจตั ุรัส ความยาวดา้ นละ ๑๐๐ – ๑๒๐ เซนตเิ มตร ขณะสวมใสเ่ ยบ็ ติด
ตลอดต้ังแตใ่ ต้คางจนถึงปลายมมุ ผ้า

๔. กระโปรง ใช้ผ้าสีเดียวกันกับสีของกระโปรงนักเรียนท่ัวไปท่ีใช้ในสถาน
ศกึ ษานนั้ แบบสภุ าพ พบั เปน็ จบี ขา้ งละสามจบี ทงั้ ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั เมอื่ สวมแลว้ ชาย
กระโปรงคลุมขอ้ เท้า

๕. รองเทา้ หนังสดี �ำ มสี ายรัดหลังเท้าหรอื แบบหุ้มส้น มีส้นสูงไม่เกนิ ๒ นวิ้
ไม่มีลวดลาย

๖. ถงุ เทา้ สน้ั สขี าว ไมม่ ลี วดลาย

124 คมู่ ือครู ผปู้ กครอง และนกั เรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔

งานพยาบาลและอนามยั โรงเรยี น
ห้องพยาบาล ช้นั ๑ อาคาร ๑ (๑๒๐๑)
สถานทที่ �ำการ วนั จันทร์ -วันศกุ ร์
วันเวลาท�ำการ ๐๗.๓๐ น. - ๑๖.๓๐ น
ช่อื หวั หนา้ หน่วยงาน นางสาววาสนา สุดหนองบวั
นายส�ำเนียง คัมภรี ะ
การใหบ้ ริการ

งานรักษาพยาบาลเบ้อื งตน้

๑. ใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลเบ้อื งต้นในกรณเี จ็บปว่ ย หรอื ประสบอบุ ัติเหตุ
๒. ในกรณที น่ี กั เรยี นประสบอบุ ตั เิ หตรุ นุ แรง ปว่ ยหนกั หรอื ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษา
จากแพทย์ ครพู ยาบาลจะตดิ ตอ่ แจง้ ผปู้ กครอง และครทู ป่ี รกึ ษาทราบ พรอ้ มทงั้ นำ� นกั เรยี น
สง่ โรงพยาบาลทอี่ ยใู่ กลโ้ รงเรยี น

ขอ้ ควรปฏบิ ัติในการรบั บรกิ าร

๑. นักเรียนท่ีเข้ารับบริการแจ้งอาการป่วยแก่ครูพยาบาล พร้อมลงรายช่ือ
ในแบบฟอรม์ ที่จดั เกบ็ เปน็ สถติ กิ ารเจ็บป่วย

๒. การบริการจ่ายยารักษาพยาบาลเบื้องต้น จะจ่ายให้เฉพาะม้ือตามอาการ
ของโรค เป็นการบรรเทาอาการป่วยเท่านั้น

๓. นักเรียนที่มีโรคประจ�ำตัวอะไร แพ้ยาอะไร และรักษาประจ�ำอยู่ท่ีใด
ควรแจ้งให้ครูพยาบาลทราบ

๔. นักเรียนที่มีโรคประจ�ำตัว ควรน�ำยาเฉพาะโรคของตนเองมาด้วย เช่น
โรคหอบหดื โรคลมชัก โรคไมเกรน เปน็ ต้น

ค่มู ือครู ผปู้ กครอง และนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 125

๕. ในการใชบ้ รกิ ารหอ้ งพยาบาล นกั เรยี นควรแตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย ถอดรองเทา้
ก่อนเขา้ ห้อง ไมส่ ่งเสียงดัง ไม่น�ำอาหารและเครื่องดื่มข้นึ มารบั ประทานในหอ้ งพยาบาล

๖. ในกรณนี กั เรยี นปว่ ยไมส่ ามารถเขา้ เรยี นไดต้ อ้ งนอนพกั นกั เรยี นตอ้ งแจง้ ครู
ผู้สอนให้ทราบก่อนและได้รับอนุญาตจากครูพยาบาล เวลาในการนอนพัก ครูพยาบาล
จะพจิ ารณาตามอาการ ถา้ นอนพกั ๒ - ๓ คาบเรยี นแลว้ อาการไมด่ ขี น้ึ จะแจง้ ใหผ้ ปู้ กครอง
มารับนกั เรยี นไปพบแพทย์

๗. ของมีค่า เช่น เงิน หรือเครื่องมือสื่อสารทุกชนิด ต้องเก็บให้เรียบร้อย
ถ้าสูญหาย ทางโรงเรยี นจะไม่รับผดิ ชอบ

๘. งานพยาบาลและอนามัยโรงเรียนจะไม่อนุญาตให้นักเรียนท่ีเจ็บป่วย
กลับบ้านเอง โดยไม่มีผู้ปกครองมารับ กรณีผู้ปกครองมารับนักเรียนกลับบ้าน หรือไป
พบแพทย์ต้องปฏิบตั ิดงั นี้

๘.๑ ตอ้ งเปน็ บดิ า มารดา หรอื ผู้ปกครองท่บี ดิ ามารดา อนุญาต
และอยบู่ ้านเดยี วกนั บรรลุนติ ภิ าวะแลว้ เท่าน้นั
๘.๒ ตอ้ งน�ำบตั รประชาชนหรอื บัตรทท่ี างราชการออกใหท้ ่ีมรี ูปถ่าย

มารับนกั เรียน
๘.๓ ลงลายมอื ชอ่ื (ตัวบรรจง) พรอ้ มเบอรโ์ ทรศพั ท์ ในแบบฟอร์ม
ทง่ี านพยาบาลจัดไว้

งานตรวจสขุ ภาพนกั เรียน

๑. ใหบ้ รกิ ารตรวจสขุ ภาพประจำ� ปกี บั นกั เรยี นทกุ คน โดยโรงพยาบาลทใี่ หบ้ รกิ าร
จะได้จากการคัดเลือกของคณะกรรมการงานอนามัยโรงเรียน เพ่ือให้ได้โรงพยาบาลที่มี
มาตรฐานและครอบคลมุ การตรวจโรคมากทีส่ ดุ โดยมกี ารตรวจรา่ งกายตามระบบ ได้แก่
ตรวจวัดสายตา ตรวจสุขภาพฟัน ตรวจปัสสาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตและชีพจร
ตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก ตรวจหาเช้ือไวรัสตับอักเสบ บี และประเมินการเจริญเติบโต
จากการช่ังน�้ำหนักและวัดส่วนสูงพร้อมส่งผลการตรวจร่างกายให้กับนักเรียนทุกคน

126 คมู่ อื ครู ผู้ปกครอง และนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

เพอื่ นำ� ไปให้ผ้ปู กครองตรวจสอบ หากพบความผดิ ปกติ เช่น มีความดันโลหติ สงู หัวใจเตน้
ผิดปกติ กระดูกสันหลังคด หรือฟันผุทางโรงพยาบาลจะแนะน�ำให้ผู้ปกครองพานักเรียน
ไปพบแพทย์ เพือ่ ด�ำเนินการรักษา/แก้ไขต่อไป กรณีท่ีประเมินการเจรญิ เตบิ โตจากการช่งั
นำ้� หนกั และวัดส่วนสูง แลว้ พบวา่ นกั เรยี นมภี าวะน้ำ� หนักเกนิ เกณฑม์ าตรฐาน (โรคอ้วน)
นักเรียนจะได้รับค�ำแนะน�ำเรื่องการปฏิบัติตัวเพ่ือแก้ปัญหาภาวะน�้ำหนักเกินเกณฑ์
ของนักเรยี นตอ่ ไป

ข้อควรปฏิบตั ิ
๑. ให้นกั เรียนน�ำบัตรประจำ� ตวั นักเรยี นมายน่ื ในวนั ตรวจสขุ ภาพ
๒. กรอกข้อมูลของตนเองในแบบฟอร์มตรวจสุขภาพทเี่ จา้ หน้าท่แี จกให้
๓. เรม่ิ ตรวจสขุ ภาพตามจดุ ที่ครูพยาบาลกำ� หนดให้
๔. ขนึ้ เรยี นตามปกติ (การตรวจสขุ ภาพใชเ้ วลาในการตรวจประมาณ ๕๐ นาท)ี
๕. รับผลการตรวจสขุ ภาพจากงานพยาบาลและอนามัยโรงเรยี น
ประมาณ ๑ เดอื น

งานประกันอบุ ัติเหตุ

๑. นักเรียนสามารถน�ำบัตรที่ได้จากบริษัทประกันอุบัติเหตุเข้ารับการรักษา
พยาบาลได้ตามโรงพยาบาลเอกชนท่ีก�ำหนดไว้ (โรงเรียนจะแจ้งให้นักเรียนทราบ)
เขา้ รับการรกั ษาพยาบาลไดฟ้ รตี ลอด ๒๔ ชว่ั โมง ไม่เกนิ วงเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท ต่อประเภท
การบาดเจบ็

๒. กรณีเข้ารับการรักษาโดยไม่ได้น�ำบัตรประกันอุบัติเหตุไป ผู้ปกครองต้อง
สำ� รองเงนิ จา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาลไปกอ่ น จากนน้ั ใหน้ ำ� เอกสารดงั ตอ่ ไปนมี้ ายนื่ ขอรบั เงนิ คา่
รกั ษาพยาบาลกบั บรษิ ทั ประกนั อุบัตเิ หตุ โดยยนื่ เอกสารผา่ นทางหอ้ งพยาบาลโรงเรยี น

คมู่ อื ครู ผ้ปู กครอง และนกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 127

ขน้ั ตอนการยืนรับเงินประกนั อบุ ตั เิ หตุคืน
๑. นำ� ใบเสรจ็ รบั เงนิ (ต้องเป็นตัวจริงเท่าน้ัน)
๒. ใบรบั รองแพทยท์ ร่ี ะบวุ า่ เกดิ จากอบุ ตั ิเหตุ (ตอ้ งเป็นตัวจริงเทา่ นน้ั )
๓. กรณีบริษัทประกันอุบัติเหตุจ่ายเงินคืนให้กับผู้ปกครอง ทางงานพยาบาล
และอนามยั โรงเรียนจะตดิ ตอ่ กลบั ถงึ ผูป้ กครองใหร้ บั เงนิ คนื โดยการโอนผ่านธนาคาร
ระเบยี บการคุม้ ครองการประกนั ภยั อบุ ตั ิเหตุ ประจำ� ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๑. วนั ทเี่ รมิ่ ประกนั ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ สนิ้ สดุ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒. ช�ำระค่าเบย้ี ประกันรายปี จำ� นวน ๒๕๐ บาทถ้วน
๓. การคุ้มครองจะคมุ้ ครองเฉพาะกรณีอุบัติเหตเุ ท่านัน้ โดยจำ� กดั ความรบั ผิด
ชอบตามกรมธรรมป์ ระกนั อบุ ัติเหตทุ โี่ รงเรยี นได้ท�ำสัญญากับบริษัทประกันในแต่ละปี

128 คมู่ ือครู ผ้ปู กครอง และนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

หอ้ งสมุด

โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สวนกุหลาบวทิ ยาลัย สมทุ รปราการ

สถานที่ตงั้ อาคาร ๒ ชน้ั ๒ หอ้ ง ๒๒๐๑
ผรู้ ับผดิ ชอบ
๑. นางสาวอไุ รวรรณ อทุ ธารนชิ (บรรณารกั ษ์)
๒. นางสาวสภุ าภรณ์ เขยี วหวาน (บรรณารกั ษ)์
๓. นางสาววไิ ลวรรณ หม้อจาบ (ครูช่วยงานห้องสมุด)
๔. นายสนิท ไทยพิรดั (ครูชว่ ยงานห้องสมุด)
๕. นางสาวปน่ิ ประภา คงทน (เจ้าหน้าท่ี)

การเปิดให้บรกิ าร ทกุ วนั จันทร์ – วันศกุ ร์
เชา้ ๐๘.๓๐ – ๑๑.๐๐ น.
กลางวนั ๑๑.๐๐ – ๑๒.๔๐ น.
เย็น ๑๕.๑๐ – ๑๗.๐๐ น.

ปรชั ญาหอ้ งสมุด อา่ นดี มีความรู้ มงุ่ สู่เทคโนโลยที ่ีทนั สมยั

คมู่ อื ครู ผปู้ กครอง และนักเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 129

ระเบียบการเขา้ ใชห้ ้องสมดุ

๑. แตง่ กายให้สุภาพเรยี บร้อย
๒. ห้ามน�ำกระเปา๋ หรือสงิ่ ของเขา้ หอ้ งสมุด ให้วางกระเป๋าหรอื สง่ิ ของไว้
ที่ชน้ั วางของ
๓. ห้ามนำ� อาหาร เครื่องดม่ื และขนม เขา้ มารับประทานในห้องสมุด
๔. ห้ามพดู คยุ หรอื ส่งเสยี งดงั รบกวนผู้อื่น
๕. ทกุ ครัง้ ที่ลุกจากเก้าอ้ี ควรเล่ือนเกา้ อ้ีเขา้ ทใี่ หเ้ รยี บร้อย
๖. เมอื่ อ่านหนงั สือเสรจ็ แล้ว ใหน้ �ำหนังสือเก็บเขา้ ทใ่ี ห้เรียบรอ้ ย
๗. ยมื หนงั สอื ตอ้ งแสดงบตั รนกั เรียนในการยมื ทกุ ครัง้
๘. หา้ มฉกี ขดี เขียน หรือ ท�ำลายหนังสอื
๙. ไมน่ �ำหนังสือ เอกสาร และสง่ิ พมิ พต์ า่ ง ๆ ออกจากหอ้ งสมดุ
โดยไมไ่ ด้ยมื อย่างถกู ต้องตามระเบยี บ
๑๐. กรณีหนงั สือทยี่ ืมสูญหาย ให้นักเรียนติดต่อครบู รรณารกั ษ์

การใหบ้ ริการทรัพยากรในห้องสมุด

๑. หนงั สอื ทวั่ ไป
* นกั เรียน ม.ตน้ ยืมได้ ๕ เลม่ เปน็ เวลา ๗ วัน
* นักเรยี น ม.ปลาย ยืมได้ ๕ เล่ม เปน็ เวลา ๗ วนั
๒. หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) จาก แอปพลิเคชนั SKS Library
๓. หนงั สืออ้างองิ และหนงั สือจอง ยมื ได้ ๓ วัน
๔. วารสารยมื ได้ ๑ ฉบบั ต่อ ๑ วนั
๕. ซีดี ดีวดี ี ยืมได้ ๓ แผน่ ตอ่ ๓ วนั
๖. บรกิ ารสบื คน้ ขอ้ มูลทางอินเทอรเ์ นต็

130 คมู่ อื ครู ผปู้ กครอง และนักเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ค่าปรับห้องสมุด
๑. หนงั สือท่ัวไป ปรบั วนั ละ ๑ บาท ต่อ ๑ เล่ม
๒. หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) ไมเ่ สียคา่ ปรับ
๒. หนงั สืออ้างองิ ปรบั วนั ละ ๕ บาท ต่อ ๑ เลม่
๓. วารสาร นิตยสาร ปรบั วันละ ๑ บาท ต่อ ๑ เล่ม
๔. ซดี ี ดีวีดี ปรบั วันละ ๕ บาท ต่อแผน่ / เรื่อง

***กรณีที่หนังสอื หรือสิง่ ทย่ี มื จากทางหอ้ งสมุด ชำ� รุด หรอื สญู หาย ผยู้ ืมต้องซื้อหนงั สือหรอื
สอื่ ทดแทนและจ่ายค่าปรบั ***

ผ้มู สี ทิ ธิ์ในการใช้บรกิ ารหอ้ งสมดุ
๑. นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรของโรงเรียน
๒. ผปู้ กครองและผู้ท่สี นใจภายนอก สามารถเข้ามาใชบ้ รกิ ารได้

Facebook : ห้องสมุดโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สวนกุหลาบวิทยาลยั สมุทรปราการ

คมู่ ือครู ผู้ปกครอง และนกั เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 131

งานแนะแนว

สถานทีท่ ำ� การ : อาคาร ๒ ชั้น ๓
วันเวลาทำ� การ : วันจนั ทร์ – วนั ศุกร์ เวลา ๐๗.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ครูแนะแนว : นางอรวรรณ ฝอดสงู เนนิ
นายสนทิ ไทยพริ ัด
นางสาวศศินา ช่อเพชร
นายสรวิชญ ์ พรหมคง
นางสาวเรอื งระว ี สนิ ธนาววิ ฒั น์

บรกิ ารของงานแนะแนว

งานแนะแนว เป็นกระบวนการอย่างหน่ึงท่ีจะช่วยให้นักเรียนส�ำรวจตนเอง
ในด้านความสามารถ ความถนัดความสนใจ บุคลิกภาพเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง
รู้จักเลือก และตัดสินใจได้ มีเหตุผล สามารถเผชิญกับปัญหา และแก้ปัญหาได้
อยา่ งเหมาะสม เป็นคนดี เกง่ และสามารถปรับตวั อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข

๑. จัดบริการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลนักเรียน โดยส�ำรวจนักเรียน
เป็นรายบุคคล จากการตอบแบบสอบถาม แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การท�ำระเบียน
สะสม การตดิ ตอ่ กบั ผปู้ กครองและครทู ป่ี รกึ ษา เพอ่ื ใหค้ รไู ดร้ จู้ กั นกั เรยี นในดา้ นประวตั สิ ว่ น
ตัว ข้อมลู ครอบครวั ปัญหาและความตอ้ งการของนักเรียน

๒. การจัดบริการสารสนเทศ ให้ข้อมูลความรู้ด้านการศึกษา การปรับตัว
การเลอื กอาชีพ หรอื เรอื่ งราวทีเ่ ปน็ ประโยชน์แกน่ กั เรียนด้วยการประชาสมั พนั ธ์ จัดปา้ ย
นิเทศเชิญวิทยากร ศิษย์เก่า เข้ามาแนะแนวการศึกษาต่อแก่นักเรียน และมีกิจกรรม
แนะแนวสญั จรการศึกษาแก่นกั เรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

132 ค่มู ือครู ผู้ปกครอง และนักเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๓. การจัดบริการให้ค�ำปรึกษาแก่นักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
เพ่อื ชว่ ยเหลอื และใหค้ ำ� แนะน�ำในด้านการเรียน การศึกษาต่อ การปรับตวั ฯลฯ

๔. บรกิ ารจดั วางตวั บคุ คล ทนุ การศกึ ษา ทนุ ปจั จยั พน้ื ฐาน ทนุ กสค. ทนุ กยศ.
ใหแ้ กน่ กั เรียนทขี่ าดแคลนทุนทรัพย์

๕. ตดิ ตามผลนกั เรยี นทจ่ี บการศกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปที ่ี ๖ เพื่อจดั ท�ำสถติ ขิ ้อมลู การศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนทุกปีการศึกษา

๖. การรับ การส่งต่อนักเรียนท่ีมีความเสี่ยงจากครูที่ปรึกษา ครูระดับช้ัน
ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากกลุ่มบริหารทั่วไป (ฝ่ายกิจการนักเรียน) ด�ำเนินการ
ตดิ ตามนกั เรียนทีม่ ารับบริการเพอื่ ช่วยเหลอื ส่งตอ่ ผู้เช่ยี วชาญ

งานธนาคารโรงเรยี น

สถานที่ทำ� การ : ห้องธนาคารโรงเรียน อาคาร ๔ ช้ัน ๑
วนั เวลาท�ำการ : วนั จันทร์ – วันพฤหัสบดี
เวลา ๐๗.๐๐ – ๐๗.๓๐ น. / ๑๑.๐๐ – ๑๒.๓๐ น.
ผ้ใู หบ้ ริการ : นางสาวถนอมทรพั ย์ อปุ รี
นายพพิ ัฒน์ ทพั เจริญ
นางสาวปวีนา จรี ะเสถยี ร
นางอารรี กั ษ์ แก้วขนุ ทอง
นายจรี ะ ใหม่อินทร์
นางสาวสพุ รรณี ซอ่ นกล่นิ

คมู่ อื ครู ผปู้ กครอง และนักเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 133

การให้บริการ
๑. เปิดบัญชีใหม/่ ปดิ บญั ชจี บการศึกษา
๒. ฝาก - ถอน

ข้อควรปฏบิ ตั ิ
๑. เปดิ บญั ชใี หมก่ รอกรายละเอยี ดใหค้ รบถว้ นตามแบบฟอรม์ ของธนาคารโรงเรยี น
- เปดิ บัญชีขัน้ ต�ำ่ ๒๐ บาท
- ฝากเงินขน้ั ต่ำ� ๑๐ บาท/ครง้ั
- ถอนเงนิ ขน้ั ตำ�่ ๕๐ บาท/ครงั้
- ฝาก - ถอน ไม่เกนิ วนั ละ ๕,๐๐๐ บาท/บัญชี
๒. การฝากเงิน ต้องน�ำสมุดบัญชีธนาคารโรงเรียนของตนเองพร้อมบัตร

ประจำ� ตัวนักเรียน/บัตรประจ�ำตัวประชาชนมาดว้ ยทุกครง้ั
๓. การถอนเงิน ต้องน�ำสมุดบัญชีธนาคารโรงเรียนของตนเองพร้อมบัตร

ประจ�ำตัวนักเรียน/บัตรประจ�ำตัวประชาชน กรอกรายละเอียดในใบถอนเงินให้ถูกต้อง
ครบถ้วน และเซ็นช่ือรับเงินทุกคร้ัง เม่ือรับสมุดบัญชีคืนให้ตรวจสอบข้อมูลการบันทึก
รายการใหถ้ ูกต้อง

๔. การถอนเงิน กรณีที่ผู้เปิดบัญชีเป็นเงินห้องหรือเงินกลุ่มต้องมีลายเซ็น
อย่างน้อย ๒ ใน ๓ หรือถ้ามีแค่ ๒ คน ก็ต้องมีลายเซ็นครบท้ัง ๒ คน จึงจะสามารถ
เซน็ อนมุ ตั กิ ารถอนเงนิ ได้

๕. กรณีท�ำสมุดบัญชีธนาคารใหม่เน่ืองจากสมุดหายหรือช�ำรุด ต้องย่ืน
ความจ�ำนงท�ำสมุดใหมพ่ ร้อมเสียค่าปรับ จำ� นวน ๓๐ บาท ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีธนาคารโรงเรยี น

134 คู่มือครู ผูป้ กครอง และนกั เรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

Note

คมู่ ือครู ผูป้ กครอง และนกั เรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 135

เพลงมารช์ โรงเรียน

นวมินทราชินทู ศิ สวนกหุ ลาบวิทยาลยั สมทุ รปราการ (นมร.ส.ก.ส)

คำ� ร้อง : จงรกั จนั ทร์คณา

สีงามอรา่ มหรชู มพฟู ้า
สีแห่งศรัทธาบชู ายดึ ม่นั
กหุ ลาบนำ�้ เคม็ เข้มข้นทกุ ดอกรวมกัน
โยงสัมพนั ธข์ นั เกลยี วเปน็ หนงึ่ ใจ
สถาบนั ท่ีเราทกุ คนเชดิ ชู
สวนสมุทรสุดหรูคณุ ธรรมย่ิงใหญ่
สวุ ชิ าโน ภวํ โหติ นำ� ไป
พบโชคชยั อนาคตเบง่ บาน
** น่คี ือนวมินทราชนิ ูทศิ
สวนกหุ ลาบสมทุ รปราการ
ศกั ดิแ์ ละศรเี รามมี าเนนิ่ นาน
สงวนเกยี รติสบื สานวิชาการก้าวไกล
สงี ามอร่ามหรชู มพูฟา้
กล้าแกร่งศักด์ดิ าสมนามยง่ิ ใหญ่
กหุ ลาบนำ้� เคม็ เข้มขน้ ทกุ ดอกไป
ก้าวเกรียงไกรเทดิ ไทยให้รุง่ เรือง (ซ�ำ้ ) **

136 คู่มือครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

เคร่อื งแต่งกายชดุ นกั เรยี น
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น

เครือ่ งแบบนักเรียนชาย เครอื่ งแบบนกั เรยี นหญงิ

คมู่ อื ครู ผปู้ กครอง และนักเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 137

เคร่ืองแต่งกายชดุ พลศึกษาและชดุ กฬี าสี
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

เคร่ืองแบบชุดพลศกึ ษาชาย เคร่ืองแบบชดุ พลศึกษาหญิง

เครื่องแบบชุดกฬี าสีชาย เครื่องแบบชดุ กฬี าสหี ญิง

138 คู่มอื ครู ผูป้ กครอง และนักเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

เคร่ืองแบบนกั เรยี นชายและทรงผม
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ( กรณีไว้ผมยาว )
คู่มอื ครู ผู้ปกครอง และนกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ 139

เคร่อื งแบบนักเรียนหญิงและทรงผม
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ( กรณีไวผ้ มยาว )

140 คู่มอื ครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

เครื่องแต่งกายชุดกิจกรรม

ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้

เครื่องแบบลกู เสือ เครือ่ งแบบเนตรนารี

คมู่ ือครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ 141

เคร่ืองแต่งกายชดุ นักเรยี น
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

เครื่องแบบนักเรยี นชาย เครื่องแบบนกั เรยี นหญงิ

142 คู่มอื ครู ผู้ปกครอง และนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

เครื่องแต่งกายชดุ พลศกึ ษา
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

เคร่ืองแบบชดุ พลศกึ ษาชาย เครื่องแบบชดุ พลศึกษาหญงิ

ค่มู ือครู ผู้ปกครอง และนักเรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ 143

เครอ่ื งแตง่ กายชดุ นกั ศกึ ษาวิชาทหาร
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

เคร่ืองแบบนักศึกษาวชิ าทหารชาย เครอ่ื งแบบนกั ศึกษาวิชาทหารหญงิ

พมิ พท์ ่ี บริษัทจามจรุ โี ปรดักส์ จำ�กดั
๒๖ ถนนพระรามทโี่ ท๒รซ. อ๐ย๘๑๘๓๘๑แข๒วง๓แ๖ส๗ม๔ดำ�, เ๐ข๒ตบ๔า๑งข๕ุน๘เท๓ีย๒น๑กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐

144 คูม่ ือครู ผ้ปู กครอง และนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

www.sks.ac.th ๐๒ ๓๓๐ ๑๐๕๗ เลขที่ ๒๖๑ หมู่ ๓ ถนนสขุ ุมวทิ ตำ� บลบางปู
อ�ำเภอเมืองสมทุ รปราการ จังหวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๘๐


Click to View FlipBook Version