15 BCNNV Research& Report Publication www.bcnnv.ac.th BCNNV R&R PUBLICATION วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ WWW.BCNNV.AC.TH 04/02/2567 วันที่เผยแพร่29 มกราคม 2567 ประเด็น เปรียบเทียบ กรณีศึกษา อภิปรายผล ประเมินซ้ำ หลังให้ความรู้กับผู้ป่วย โดยการ สอบถามประเด็นต่าง ๆเพื่อประเมินความรู้ความ เข้าใจ และเน้นย้ำในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตาม แผนการรักษา สรุปและข้อเสนอแนะ จากกรณีศึกษาผู้ป่วยชายไทย อายุ 48 ปี ป่วยเป็นโรคนิ่วในถุงน้ำดี มีการอักเสบของถุงน้ำดี ผู้ป่วยไม่มีโรค ประจำตัว เข้ารักษาอาการปวดท้องหลายโรงพยาบาล แพทย์แนะนำการผ่าตัด แต่ผู้ป่วยยังไม่พร้อม มีความกังวลเกี่ยวกับ การผ่าตัด ครั้งนี้ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้องวีดีทัศน์ ซึ่งเป็นการผ่าตัดที่เป็นทางเลือกอันดับแรกสำหรับการผ่าตัด ในปัจจุบัน พยาบาลประจำหอผู้ป่วยศัลยกรรมต้องมีสมรรถนะด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล ในระยะก่อนและ หลังผ่าตัด ในกรณีศึกษานี้มีภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด ซึ่งเป็นภาวะวิกฤต เสี่ยงต่อชีวิต ข้อเสนอแนะ พยาบาลผู้ดูแลต้องมี แนวทางการเฝ้าระวัง การสังเกตอาการเตือนที่รวดเร็ว ในกรณีที่การผ่าตัดใช้เวลายาวนาน การที่ผู้ป่วยได้รับยาต้านการ แข็งตัวของเลือด เพื่อรักษาภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นที่ปอด พยาบาลผู้ดูแลต้องมีความรู้เรื่องอาการข้างเคียงของยา มีแนวทางการ บริหารยา เมื่อจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้านหรือส่งต่อ ต้องมีการให้ข้อมูลที่เป็นระบบ เพื่อการดูแลรักษาที่ครอบคลุมทุกมิติ เอกสารอ้างอิง เกียรติภูมิ วงศ์รจิต. (2554). สุขภาพจิตกับภาวะวิกฤต. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 1(3), 247-249. ชัยสิทธิ์ ศรีสมบูรณ์ และคณะ. (2566). ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีโดยใช้กล้อง. Retrieved 15 January, 2023 from https://www.khonkaenram.com/th services /health-information/health-articles/surg/laparoscopiccholecystectomy ทศพล ลิ้มพิจารณ์กิจ. (2557). โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด (Pulmonary Embolism). Retrieved 15 January, 2023 https://rama.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/ Pulmonary%20embolism%20%E0%B8% นิตยา บุตรประเสริฐ. (2563). ผลของการจัดการความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีแบบส่องกล้อง โรงพยาบาลวานรนิวาส. วารสารการพยาบาลสุขภาพ และการศึกษา, 3(2), 67-75. บุปผา แสงท้าว. (2564). การติดตามการเฝ้าระวังในการบริหารยา และอาการไม่พึงประสงค์ในการใช้ยา Sedative Drugs และ Paralytic drugs ในไอซียูอายุรกรรม โรงพยาบาลตำรวจ. วชิรสารการพยาบาล, 23(2), 70-81. ปราณี ทู้ไพเราะ. (2566). คู่มือวินิจฉัยการพยาบาล. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น พี เพรส. มาณิกา อยู่สำราญ และ ปราณี ศรีพลแท่น. (2556). การรับรู้ระดับความวิตกกังวลและต้นเหตุความวิตกกังวล ของผู้ป่วยก่อนผ่าตัดในโรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประชุมวิชาการ
16 BCNNV Research& Report Publication www.bcnnv.ac.th BCNNV R&R PUBLICATION วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ WWW.BCNNV.AC.TH 04/02/2567 วันที่เผยแพร่29 มกราคม 2567 มหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 10, 419-428. รัชฎาภรณ์ จันทร์ธานี. (2559). ประสิทธิผลของการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติการลดภาวะท้องอืดในผู้ป่วยผ่าตัด นิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยนำโชค โรงพยาบาลนครพนม. วารสารโรงพยาบาลนครพนม, 4(1), 24-34. ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย. (2566). Gall Stone. Retrieved 12 January, 2023 from https://www.rcst.or.th/web-upload/filecenter/CPG/Gallstone%20.html. วิศิษฎ์ จันทร์คุณาภาส และสิทธิชา สิริอารีย์. (2560). Prevention of surgical infection. Retrieved 12 January, 2023 from https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/lecturestopics/topic-review/5794/ สนิทพงษ์ ฟองจันทร์สม. (2564). ระดับของโทรโปรนิน ไอ ที่ตรวจวิธีความไวสูงและความสำคัญต่ออาการ ทางคลินิกในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติอันเกิดจากหัวใจห้องบน. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 36(3), 485-493. Retrieved 12 January, 2023 from https://he02. tci-thaijo.org/index.php/MJSSBH/article/view/255594/173808 สมาคมแพทย์ส่องกล้องทางเดินอาหารไทย. (2557). แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร ส่วนต้นในประเทศไทย. Retrieved 12 January, 2023 from https://thaitage.org/source/content- file/content-file-id-6.pdf สัญญา โพธิ์งาน. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีเปรียบเทียบ 2 ราย. โรงพยาบาลสิงห์บุรี เวชสาร, 29(1), 100-108. อมรวรรณ มาแสง. (2557). การพยาบาลผู้ป่วยโรคเลือดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนบน (UGIH) ที่มีภาวะช็อก และหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน: กรณีศึกษา. ชัยภูมิเวชสาร, 34(1), 15-27. อัมพาภรณ์ เตชธนางกูร. (2563). คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะการณ์หายใจล้มเหลวที่ได้รับการรักษาด้วย การใช้เครื่องให้ออกซิเจนผสมอากาศอัตราการไหลสูงทางจมูก. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.