The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานในโรงพยาบาล V.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwansijan, 2024-01-09 08:40:52

งานในโรงพยาบาล

งานในโรงพยาบาล V.1

งานในโรงพยาบาล


บทบาทบุคลากรทางสาธารณสุข งานด้านสาธารณสุขประกอบด้วย 1. การส่งเสริมสุขภาพ 2. การป้องกันโรค 3. การรักษาพยาบาลเบ้ื องตน ้ 4. การฟ้ื นฟูและดา รงไวซ ้่ึ งสุขภาพอนามยัดีท้งัดา ้ นร่างกายจิตใจและสังคม หน้าที่รับผิดชอบของ Nurse – Aide (Job Description) 1. ดูแลผูป้่วยให ้ไดร ้ับความสุขสบายท้งัดา ้ นร่างกายและจิตใจ 1.1. ดูแลให้ผู้ป่ วยทุกคนได้รับการช าระร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ 1.2. ดูแลให ้ ผูป้่วยทุกคนไดร ้ับอาหารถูกตอ ้ งตามคา สั่งแพทย ์ และช่วยป้ อนอาหารให ้ กบั ผู้ป่ วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 1.3. ดูแลให้ความสะดวกและช่วยเหลือผู้ป่ วยในด้านการขับถ่าย 1.4. ร่วมวางแผนในการให ้ ความปลอดภยัแก่ผูป้่วย 2. ท าความสะอาดเตียงและ Unit หรือห้องพักผู้ป่ วยให้สะอาด จัดของเครื่องใช้ของผู้ป่ วย เตียง ตู้ และโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย


3. ช่วยเตรียมผู้ป่ วยในการตรวจต่างๆ วัดสัญญาณชีพตาม Routine Ward ทุก 4แกว ้ แลว ้ แต่คา สั่ง แพทย์และอาการของผู้ป่ วย ถ้าผู้ป่ วยมีไข้ T > 38C ให้เช็ดตัวลดไข้ 4. จดัเตรียมของเครื่องใชท ุ้กชนิดสา หรับใชป้ ระจา ของใชป้ ลอดเช้ือต่างๆภายในแผนกรวมท้งั ต้องมีการตรวจนับจ านวนให้ครบและจัดเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อยทุกเวร 5. จัดเก็บอุปกรณ์ของใช้และเครื่องมือต่างๆที่น าไปใช้แล้วมาท าความสะอาดเก็บเข้าที่ให้ เรียบร ้ อย พร ้ อมท้งัตรวจสอบดูดว ้ ยว่ามีการชา รุดหรือเสื่อมสภาพหรือไม่ถา ้ มีให ้ แยกออกและ เขียนป้ายติดไว้รายงานให้หัวหน้าแผนกทราบเพื่อส่งซ่อมหรือส่งคืนแลกเปลี่ยน 6. แนะน าและขอความร่วมมือผู้ป่ วยและญาติในการช่วยรักษาความสะอาด การจัดวางของใช้ ส่วนตวัให ้ เหมาะสม ตลอดจนการใชห ้ ้ องน้า ห ้ องส้ วมอยา่งถูกวิธี 7. ท า Chart ผู้ป่ วยที่รับใหม่หรือจ าหน่ายแล้วลงบันทึกในสมุดทะเบียนให้เรียบร้อย 8. น าส่งใบ Request ของการตรวจ Specimen และ X –ray ต่างๆของผูป้่วยรวมท้งัการติดตามผล 9. ช่วยลงบันทึก I/O เติมน้า ดื่มและเทปัสสาวะให ้ เรียบร ้ อย 10. ก่อนลงเวรตอ ้ งตรวจสอบงานที่ไดร ้ับมอบหมายให ้ปฏิบตัิอยา่งครบถว ้ นบนัทึกปัญหา อุปสรรคใน การปฏิบัติงานและรายงานพยาบาลทราบ 11. ในแต่ละเวรถ้ามีเวลาว่างให้จัดเตรียมของส่งนึ่งหรือส่งแลก Supply 12. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย กฎระเบียบทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล


1. ข้ึนรับเวรก่อนเวลาเริ่มปฏิบตัิงานจริง 15 นาที 2. แต่งกายให้ถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงพยาบาลที่ก าหนดไว้ เช่น การสวมถุงเท้าขาว สวม รองเท้าหุ้มส้น ติดป้ายชื่อที่หน้าอก เป็นต้น 3. ไม่สวมเครื่องประดบันอกจากสิ่งจา เป็ นที่ตอ ้ งใชใ้ นเวลาปฏิบตัิงาน เช่น นาฬิกา 4. ควรรวบผมให้เรียบร้อยไม่ปล่อยผมสยายหรือเป็นกระเซิง 5. ไม่น าญาติหรือบุคคลอื่นเข้าไปคุยในขณะปฏิบัติงาน 6. ไม่นา อาหารไปรับประทานให ้ ห ้ องปฏิบตัิงาน รวมท้งัผลไมแ ้ ละของขบเค้ียว 7. ไม่ทา การฝีมืออ่านหนงัสืออ่านเล่น เค้ียวหมากฝรั่งหรือสูบบุหรี่ขณะปฏิบตัิงาน 8. ไม่เปิ ดเผยความลับของผู้ป่ วยและญาติ 9. ระเบียบการแลกเปลี่ยนเวรและการลา 9.1 การแลกเวร - ต้องแลกกับบุคคลที่ท าหน้าที่ในต าแหน่งเดียวกัน - ตอ ้ งเขียนใบแลกเวรและตอ ้ งไดร ้ับอนุมตัิจากผูม ้ีอา นาจก่อน จงึจะ แลกเปลี่ยนเวร น้นั ได ้ 9.2 การลาป่ วย -ลาป่ วย 1วันให้โทรแจ้งหัวหน้า Ward หรือ Supervisor ก่อนเวลาปฏิบตัิงานอยา่งนอ ้ ย 2 ชม. และต้องเขียนใบลาส่งทันทีที่กลับไปปฏิบัติงาน -ลาป่วยคร้ังละต้งัแต่2วนัข้ึนไปตอ ้ งมีใบรับรองแพทยแ ์ นบใบลาทุกคร้ังและ ตอ ้ งส่งใบลาให ้ หัวหน้า Ward หรือ Supervisor ทันทีเมื่อกลับไปปฏิบัติงาน การลากิจ ลาพักผ่อน - ต้องส่งใบลาให้หัวหน้า Ward ก่อนล่วงหนา ้ อยา่งนอ ้ ย 7วนัและตอ ้ งไดร ้ับ อนุมตัิก่อนจึงจะ หยุดได้ 9.3 การลาออก - ต้องส่งใบลาให้หัวหน้า Ward ก่อนล่วงหนา ้ 30 วัน หมายเหตุ : กฏระเบียบต่างๆเป็ นไปตามแต่ละโรงพยาบาลก าหนด


การรับและส่งเวร 1. ข้ึนรับเวรก่อนเวลาเริ่มปฏิบตัิงานจริง 15 นาที 2. ต้องดู Assignment ว่าได้รับมอบหมายงานให้รับผิดชอบดูแลผู้ป่ วยห้องใดบ้าง และมีงาน พิเศษอะไรที่ตอ ้ งดูแลรับผิดชอบเพิ่มเติม 3. ตรวจนับหรือ OK ของใช้ประจ า Ward 4. ร่วมฟังรายงานการส่งเวรพร้อมทีมปฏิบัติงาน และควรมีการจดบันทึกไว้ด้วยเพื่อป้องกัน ความ ผิดพลาด หลงลืม 5. ก่อนลงเวรจะตอ ้ งทา งานของตนเองให ้ เรียบร ้ อยไมท่ ิ้งงานไวใ้ ห ้ เวรต่อไป นอกจากมีเหตุผลที่ จา เป็ นเท่าน้นั 6. ก่อนลงเวรถา ้ มีงานคงั่คา ้ งไม่สามารถทา ให ้ เสร ็ จไดห ้ รือยงัไม่ครบตามกา หนดเวลาตอ ้ งส่งเวร ให้ผู้ที่มาปฏิบัติงานต่อทราบเพื่อสามารถด าเนินการต่อได้อย่างถูกต้อง หน้าที่ของ NA เวรเช้า เวลา กิจกรรมการพยาบาล 07.15 น. - 07.30 น. 07.30 น. - 08.30 น. 08.30 น. - 09.30 น.


09.30 น. –10.00 น 10.00 น. –12.00 น. - 0k ของใช ้ในเวรไดแ ้ ก่ของปราศจากเช้ื ออุปกรณ์ทางการแพทย์ - เติมของใช้ใน ward เช่น Syring หัวเข็มขนาดต่างๆในรถ IV -รับเวร -กิจกรรมการพยาบาลไดแ ้ ก่bed bath, ท าเตียง ผู้ป่ วย, จัด Unit - v/s & record -กิจกรรมพยาบาลต่างๆ เช่น ส่ง Lab, ช่วยแพทย์ พยาบาลท าหัตถการ เป็ นต้น การรับผู้ป่ วยใหม่ การย้าย และการจ าหน่ายผู้ป่ วย Hospital Number หรือ HN หรือ OPD.NO หมายถึง หมายเลขประจ าตัวผู้ป่ วยนอกซึ่งจะเรียงล าดับของ ผู้ป่ วย. ใหม่ ที่ยังไม่เคยมา ตรวจรักษา หรือไม่มีบตัรผูป้่วย. เก่าภายในแต่ละปีโดยเริ่มต้งัแต่00.01 น. วันที่ 1 ม.ค. จนถึง 21.00 น. คืนวันที่ 31ธ.ค. เช่น วันที่ 1 ม.ค. 50 เวลา 00.01 น. นายก. ผูป้่วย. เก่ามาตรวจ(ใช ้ HN เดิม) HN 4783/47 วันที่ 1 ม.ค. 50 เวลา 00.05 น. นาง ข. ผู้ป่ วย. ใหม่มาตรวจ จะได้ HN 0001/50 วันที่ 1 ม.ค. 50 เวลา 00.37 น. น.ส. ค. ผู้ป่ วย. ใหม่มาตรวจ จะได้ HN 0002/50 วันที่ 1 ม.ค. 50 เวลา 01.25 น. นางง. ผูป้่วย. เก่ามาตรวจ(ใช ้ HN เดิม) HN 1872/48


วันที่ 1 ม.ค. 50 เวลา 02.30 น. นาย จ. ผู้ป่ วย. ใหม่มาตรวจ จะได้ HN 0003/50 Admission Number หรือ AN หรือ IPD.NO หมายถึง หมายเลขประจ าตัวผู้ป่ วยในซึ่งจะเรียงล าดับของ ผู้ป่ วย. ใหม่ ที่ตรวจแล้วแพทย์ สั่งให ้ นอนพกัในโรงพยาบาลภายในแต่ละปีโดยเริ่มต้งัแต่00.01 น. วันที่ 1 ม.ค. จนถึง 31ธ.ค. เช่น นาย ก. มาตรวจ 1 ม.ค. 50 (00.01 น.) HN. 4783/74 ตรวจแล้ว Admit AN 0001/50 นาย ข. มาตรวจ 1 ม.ค. 50 (00.05 น.) HN. 0001/50 ตรวจแล้ว Admit AN 0002/50 น.ส ค. มาตรวจ 1 ม.ค. 50 (00.37 น.) HN. 0002/50 ตรวจแล้ว ไม่Admit ไม่มีAN นาง ง. มาตรวจ 1 ม.ค. 50 (01.25 น.) HN. 1872/48 ตรวจแล้ว Admit AN 0003/50 นาย จ. มาตรวจ 1 ม.ค. 50 (02.30 น.) HN. 0003/50 ตรวจแล้ว Admit AN 0004/50 การรับผู้ป่ วยใหม่ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตอ้นรับแนะนา ผูป้่วยให้คุน้เคยกบัสิ่งแวดลอ้มภายใน Ward และในโรงพยาบาล 2. เพื่อให้ผู้ป่ วยคลายความวิตกกังวล ข้นัตอนการรับผูป้่วยใหม่ 1. วิธีการรับผู้ป่ วยที่แผนก OPD


1.1. ปฏิบัติตามกฎระเบียบการรับผู้ป่ วยใหม่ของแผนก Admission 1.1.1 สอบถามและบันทึกข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่ วย 1.1.2 ให้ผู้ป่ วยเซ็นใบยินยอมเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเพื่อเป็นการ ยินยอมด้านกฎหมาย 1.1.3 โทรแจ้งพยาบาล ward ทราบเพื่อจัดเตรียมห้องให้พร้อม 1.1.4 แจ้งพนักงานเปลเพื่อน าผู้ป่ วยไปส่งที่ ward 1.2. การเตรียมห้องผู้ป่ วย 1.2.1 เปิ ดผ้าคลุมเตียงออก จัดเตียงให้อยู่แนวราบ 1.2.2 เตรียมอุปกรณ์ประจา เตียงไดแ้ก่ขวดน้า ดื่ม แกว้น้า ดื่ม 1.2.3 อุปกรณ์บางอย่างที่จ าเป็นส าหรับผู้ป่ วยแต่ละราย เช่น กระบอกออกซิเจน สายออกซิเจน Suction 1.3. ข้นัตอนการรับผูป้่วยใหม่ใน Ward 1.3.1 ต้อนรับผู้ป่ วยเรียกชื่อ ผู้ป่ วย. แนะน าตนเอง 1.3.2 นา ผูป้่วยไปที่เตียง เปลี่ยนเส้ือผา้ให้ 1.3.3 วดัสัญญาณชีพเพื่อเป็นขอ้มูลพ้ืนฐานของผูป้่วย 1.3.4 ทักทายญาติ แนะน าให้เก็บของมีค่า เงินทอง 1.3.5 แนะน าผู้ป่ วยเรื่องการใช้สัญญาณเรียก 1.3.6 แนะน าผู้ป่ วยเรื่องการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในห้อง 1.3.7ประเมินความพร้อมที่จะเรียนรู้ของ ผู้ป่ วย และญาติ ระดับกิจกรรมที่ ผู้ป่ วยท าได้ 1.3.8 สอบถามประวัติการแพ้ยาและแพ้อาหารต่าง ๆ 1.3.9 เขียน Chart ผู้ป่ วยให้เรียบร้อย 1.3.10 เซ็นใบยินยอมรับการรักษา 1.3.11 แจ้งผู้ป่ วยหรือญาติ เกี่ยวกับแนวทางการรักษา 1.3.12 เขียนรายชื่อผู้ป่ วยบนกระดานรายชื่อประจ า Ward และสมุดทะเบียน 1.3.13 กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงการรักษาต้องแจ้งให้ผู้ป่ วยและญาติทราบ


การย้ายผู้ป่ วย (Refer) การย้ายผู้ป่ วย แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ย้ายจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งภายในโรงพยาบาลเดียวกัน 2. ย้ายไปยังโรงพยาบาลอื่น การย้ายภายในโรงพยาบาลเดียวกัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่ วยได้ย้ายไปอยู่ในสถานที่ ที่ให้การพยาบาลได้เหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้ป่ วยได้รับความปลอดภัยและสุขสบายตามความต้องการของ ผู้ป่ วย. และญาติ การย้ายไปยังโรงพยาบาลอื่น (Refer)


การ Refer คือการที่ผู้ป่ วยหรือญาติ หรือผู้รับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลแจ้งความ ประสงค ์ ขอนา ผูป้่วยไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่น ซ่ึงอาจจะมีสาเหตุต่าง ๆ ดงัน้ี 1. ไปโรงพยาบาลที่มีศักยภาพในการรักษาสูงกว่า 2. เจาะจงแพทย์ที่ต้องการให้ดูแลรักษา 3. ต้องการไปอยู่โรงพยาบาลใกล้บ้าน 4. ไม่พอใจวิธีการรักษาของแพทย์ 5. ไม่พอใจการบริการของพนักงานโรงพยาบาล 6. ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล วิธีการปฏิบัติ 1. ตอ ้ งมีคา สงั่แพทยอ ์ นุญาตให ้ ยา ้ ยผูป้่วย 2. แจ้งให้ Ward ที่จะย้ายไปทราบรายละเอียดของผู้ป่ วย 3. อธิบายให้ผู้ป่ วยทราบถึงเหตุผลของการย้ายเพื่อลดความกังวลใจของผู้ป่ วยและญาติ 4. เตรียมเอกสารประจ าตัวและของใช้ส่วนตัวของผู้ป่ วย 5. โทรศัพท์ตามเวรเปลหรือรถนงั่มารับผูป้่วย โดยมีเจา ้ หนา ้ ที่พยาบาลไปกบัผูป้่วยดว ้ ย 6. ต้องรายงานให้แพทย์ที่เกี่ยวข้องในการรักษาผู้ป่ วยทุกคนทราบด้วยว่า ผู้ป่ วยย้ายไป อยู่ ward ใดห้องใด 7. ไม่ย้ายผู้ป่ วยในขณะก าลังให้การพยาบาลในเวลาอาหาร หรือใกล้เวลาอาหาร 8. ถ้ามีขวดท่อระบาย (Chest drain) หรือสายสวนปัสสาวะที่ติดตัวต้องระมัดระวังใน การเคลื่อนย้าย การจ าหน่ายผู้ป่ วย (Discharge) การวางแผน Discharge Planning เริ่มวางแผนต้งัแตก่ารรับผูป้่วย admit ในโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดความวิตกกังวล และรู้สึกปลอดภัยในชีวิต 2. เพื่อให้ผู้ป่ วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อออกจากโรงพยาบาล 3. ผู้ป่ วยและครอบครัวพร้อมที่จะดูแลสุขภาพตนเอง 4. ผู้ป่ วยและญาติผู้ดูแล ได้รับค าแนะน าการฝึ กทักษะในการดูแลสุขภาพ


5. ทราบแหล่งช่วยเหลือ สนับสนุน ให้ค าปรึกษาด้านสุขภาพที่เหมาะสม วิธีปฏิบัติ 1. ตรวจดูคา สงั่แพทยว ์่าไดส้ ั่ง “Discharge” แล้ว 2. แพทยส ์ ั่งยาให ้ ผูป้่วยไปรับประทานต่อที่บา ้ นและกา หนดวนันดั (Follow up) ไว้แล้ว 3. พยาบาลเบิกยากลบับา ้ นให ้ ผูป้่วย พร ้ อมท้งัเขียนใบนดั Follow up และส่ง chart ไป แผนกการเงิน 4. ให้ญาติหรือผู้ป่ วยช าระเงินค่ารักษาพยาบาลให้เรียบร้อย 5. พยาบาลแนะนา ขอ ้ มูลที่จา เป็ นต่าง ๆ ให ้ ผูป้่วยและญาติทราบ ไดแ ้ ก่ -อาหาร บางปัญหาสุขภาพ ควรได้รับค าแนะน าเรื่องอาหารเป็นพิเศษ -ยาที่ผู้ป่ วยได้รับกลับบ้าน -การออกก าลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่ วย -การมาตรวจตามแพทย์นัด -ค าแนะน า การดูแลตนเองเป็นพิเศษ เช่น การให้อาหารทางสายยาง การท าแผล 6. นา เส้ือผา ้ และของที่รับฝากไว ้คืนให้กับผู้ป่ วยหรือญาติ 7. โทรศพัทต ์ ามเปลหรือรถนงั่มารับผูป้่วย 8. เก็บข้าวของเครื่องใช้และเตียง ท าความสะอาดให้เรียบร้อย 9. ถ้าผู้ป่ วยไม่สมัครใจอยู่ต้องรายงานแพทย์และเซ็นเอกสารไว้ 10.ถ้าผู้ป่ วยต้องการ ย้ายโรงพยาบาล(refer) ต้องแจ้งแพทย์เพื่อขอรับใบ refer เพื่อน าไป ติดต่อ โรงพยาบาลที่จะย้ายไป การช่วยแพทย์ตรวจและท าหัตถการ การเตรียม ผู้ป่ วย x-ray การช่วยแพทย์ตรวจร่างกาย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ ผู้ป่ วยได้รับการตรวจและการวินิจฉัยจากแพทย์ 2. เพื่อให้ตรวจด าเนินการไปด้วยความสะดวก ปลอดภัยและรวดเร็ว


เครื่องใช้ 1. ไฟฉาย 2. เหล ็ กกดลิ้นไร ้ เช้ือ 3. Stethoscope 4. Sphygmomanometer 5. ปรอททางปาก และทางทวารหนัก 6. Knee Jerk 7. เทปวัดตัว 8. เครื่องมือส่องอวัยวะต่าง ๆ เช่น Ophthalmoscope , Otoscope , Proctoscope ฯลฯ 9. ผ้าคลุมตัว ผู้ป่ วย 10. เข็มฉีดยาหรือเข็มหมุด,ไมจ ้ิ้มฟันปลายแหลม 11. สารหล่อลื่น K-Y Jelly หรือ Vaseline 12. ชามรูปไต,กระดาษช าระ 13. ถุงมือ sterile, non sterile วิธีปฏิบัติ ก่อนแพทยต ์ รวจ 1. บอกให้ผู้ป่ วยทราบ อธิบายให้ผู้ป่ วยเข้าใจ 2. เตรียมเครื่องใช้ให้พร้อม จัดวางของให้เหมาะสม 3. ก้นัม่านให ้ มิดชิด


4. ขยายเส้ือให ้ หลวม ใช้ผ้าคลุมไว้ 5. ให ้ ผูป้่วยถ่ายปัสสาวะอุจจาระก่อน ตามความจา เป็ นก่อนตรวจ 6. ผูช ้่วยแพทยย ์ืนขา ้ งเตียงผูป้่วยเพื่อคอยให ้ ความช่วยเหลือแก่แพทยแ ์ ละผูป้่วย 7. การตรวจปากและคอ ส่งไฟฉายให ้ แพทยพ ์ ร ้ อมเหล ็ กกดลิ้น แพทย์ตรวจเสร็จให้ใส่ เหล ็ กกดลิ้นที่ใชแ ้ ลว ้ ลงในชามรูปไตหรือใส่ลงในซองกระดาษเหล ็ กกดลิ้นที่ใส่มา 8. การตรวจหนา ้ อก (ปอดและหัวใจ) ให ้ ผูป้่วยอยูใ่นท่านงั่หรือนอนหงายราบ วาง แขนไวข ้ า ้ งลา ตวัขยายเส้ือให ้ หลวม ตรวจดา ้ นหนา ้ เสร ็ จให ้ ผูป้่วย พลิกตะแคงตวัหันหลงัให ้ แพทยห ์ รือลุกข้ึนนงั่หันหลงัให ้ แพทยเ ์ พื่อตรวจฟังปอดดา ้ นหลงั


9. การตรวจช่องท้อง ให้ผู้ป่ วย นอนหงายราบหรือนอนหงายชันเข่าเล็กน้อย วางแขน ไวข ้ า ้ งลา ตวัใชผ ้ า ้ คลุมตวัผูป้่วยเปิดชายเส้ือข้ึนเหนือบริเวณลิ้นปี่เลื่อนขอบกางเกงหรือ กระโปรงลงมาที่บริเวณเหนือหัวเหน่า หรือเปิ ดเฉพาะบริเวณที่แพทย์จะตรวจ 10. การตรวจขา ให ้ ผูป้่วยนอนหงายราบบนเตียงหรือนงั่ห ้ อยเทา ้ ลงขา ้ งเตียง เลื่อนผา ้ นุ่ง หรือขากางเกงข้ึน เปิดบริเวณที่ตอ ้ งการตรวจ หรือถอดกางเกงออกแลว ้ใชผ ้ า ้ คลุม ขณะแพทย์ตรวจ 11. อยู่กับผู้ป่ วยตลอดเวลา โดยเฉพาะผู้ป่ วยและแพทย์ต่างเพศกัน 12. สังเกตสีหน้า การเคลื่อนไหวร่างกาย ถ้าผู้ป่ วยมีอาการผิดปกติ บอกให้แพทย์หยุด ตรวจเพื่อความปลอดภัย 13. พูดคุยใหก ้ า ลงัใจแก่ผูป้่วย ปฏิบตัิต่อผูป้่วยอยา่งนุ่มนวลเพื่อให ้ ผูป้่วยผ่อนคลายลด ความวิตกกังวล 14. ช่วยแพทย์หยิบ ส่ง เครื่องมือพิเศษบางอย่าง 15. เก็บ specimen ส่งตรวจ หลังแพทย์ตรวจ 16. สอบถามความรู้สึกผู้ป่ วย 17. ทา ความสะอาดร่างกายบริเวณที่เป้ือนภายหลงัตรวจ 18. เมื่อแพทย์ตรวจเสร็จ จดัเส้ือผา ้ ผูป้่วยให ้ เรียบร ้ อยจัดท่านอนให้สบาย รูดม่าน น า เครื่องใช้ไปท าความสะอาดจัดเก็บเข้าที่ ข้อควรระวัง 1. จัดให้ผู้ป่ วยหันหน้าไปทางตรงข้ามกับแพทย์ขณะท าการตรวจตลอดเวลา ถ้าผู้ป่ วย อยากไอหรือจามบอกให ้ปิดปากทุกคร้ัง 2. ไม่เปิ ดเผยผู้ป่ วยเกินความจ าเป็น


การเจาะปอด ( Thoracentesis) การเจาะปอด หมายถึง การแทงเข็มเพื่อดูดของเหลวหรืออากาศออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด ต าแหน่งที่ใช้เจาะ ถ้าเป็นอากาศจะเจาะบริเวณทรวงอกด้านหน้าส่วนบน (Upper anterior chest) ระหว่างกระดูกซี่โครงที่ 2และ 3ถ้าเป็นของเหลวเจาะบริเวณทรวงอกด้านหลังส่วนล่าง (Lower posterior chest) ต ่ากว่าระดับของของเหลวซึ่งอาจอยู่ระหว่างซี่โครงที่ 6และ 7 หรือ 7และ 8 การเจาะปอดมีวตัถุประสงคเ ์ พื่อการวินิจฉัยโรคเช่น ตดัชิ้นเน้ือปอดส่งตรวจหาเช้ือโรค ส่วนประกอบทางเคมีและเซลล์มะเร็ง เป็นต้น และเพื่อการรักษา เช่น ลดแรงดันในเยื่อหุ้มปอด ให ้ ยาเขา ้ในช้นัเยื่อหุ้ มปอด ลดอาการปวดและอาการหายใจลา บากเป็ นตน ้ เครื่องใช้ 1. ชุดเจาะปอดสะอาดปราศจากเช้ือ ประกอบดว ้ ย 1.1 กระบอกฉีดยาส าหรับฉีดยาชา ขนาด 3-5 มล. 1.2 หัวเข็ม ขนาด 18-19 G และขนาด 23-25 G 1.3 กระบอกฉีดยาขนาด 50 มล. 1.4 หัวเข็มส าหรับเจาะปอดขนาด 15-17 G ยาว 2-3 นิ้ว 1.5 ถว ้ ยใส่น้า ยาทา ลายเช้ือและสา ลีพร ้ อมปากคีบ 1.6 ผ้ากอซขนาด 2 X 2 นิ้ว2 ชิ้น 1.7 ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิ ด


1.8 ที่ปิ ดเปิ ด 3 ทาง (Three way stopcock) 1.9 ปากคีบจับหลอดเลือด 1.10ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1.11 ท่อพลาสติกหรือท่อยาง 2. ยาชาตามที่แพทย์ต้องการ เช่น ไซโลเคน (Xylocain) 1% 3. น้า ยาทา ลายเช้ือเช่น ทิงเจอร์เมอร์ไธโอเลท โพลิโดไอโอดนีและแอลกอฮอล์70% 4. ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ 5. ปากคีบยาวสะอาดปราศจากเช้ือ 6. ผ้าปิ ดแผลชนิดเหนียว (Tensoplast) 7. ขวดสะอาดปราศจากเช้ือขนาด 1,000 มล. ส าหรับใส่ของเหลวที่ดูดออก(ถ้าจ าเป็น) 8. ชามรูปไต 9. ภาพถ่ายรังสีทรวงอก 10. เกา้อ้ีนงั่ส าหรับแพทย์ วิธีท า แพทย์เป็นผู้เจาะ วิธีปฏิบัติในการช่วยแพทย์เจาะปอด วิธีปฏิบัติ เหตุผล ก่อนเจาะ 1. ตรวจสอบรายชื่อผู้รับบริการโดยสอบถามชื่อและดูจากป้ายชื่อผู้รับบริการ 2. บอกให ้ ผูร ้ับบริการทราบ อธิบายข้นัตอนการปฏิบตัิพร ้ อมเหตุผล ตลอดจนตอบขอ ้ ซักถามของผู้รับบริการ บอกผู้รับบริการห้ามไอ ห้ามหายใจลึกๆ และเคลื่อนไหวขณะเจาะ ถ้าจะ ไอให้ส่งสัญญาณให้ทราบ ถ้าผู้รับบริการมีอาการไอมาก แพทย์อาจให้ยาระงับไอ 1 ชวั่โมงก่อน เจาะ 3. ตรวจสอบสัญญาณชีพ 4. เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะเจาะให้สะอาด อาจต้องโกนขน (ถ้าจ าเป็น) 5. น าเครื่องมือเครื่องใช้ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้รับบริการ 6. จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วนมิดชิด มีบริเวณพอเหมาะ ในการจัดวางเครื่องมือ เครื่องใช้ สะดวกต่อการจัดท่าผู้รับบริการ และช่วยเหลือแพทย์


เตรียมผู้ป่ วย 1. งดน้า และอาหารทางปากอย่างต่า 6 - 8 ชม. 2. สอนให้ผู้ป่ วยหายใจเข้า -ออกยาว ๆ สูดหายใจเขา้เต็มที่และกล้นัไว้ 3. ส่งตรวจพิเศษตามคา สั่งแพทย์ 4. ให้ผู้ป่ วยถ่ายปัสสาวะก่อนท า เครื่องใช้ 1. ชุดเจาะไตสะอาดปราศจากเช้ือ ประกอบดว้ย 1.1 กระบอกฉีดยาขนาด 2 มิลลิลิตร 1.2 กระบอกฉีดยาขนาด 10 มิลลิลิตร 1.3 เข็มดูดยาขนาด 18-19 gauze 1.4 เข็มฉีดยาขนาด 23-24 gauze 1.5 เข็ม BD ขนาด 20 gauze พร้อมแกนใน 1.6 เข็มเจาะไต พร้อม Stylet 1.7 ถว้ยใส่น้า ยาทา ลายเช้ือและส าลีพร้อมปากคีบ 1.8 ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1.9 ผ้ากอซขนาด 2 X 2 นิ้ว 1.10ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจ พร้อมฝาปิ ด 2. ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ 3. ปากคีบยาวสะอาดปราศจากเช้ือ 4. พลาสเตอร์ชนิดเหนียว (Tensoplast) 5. ชามรูปไต 6. ยาชาตามที่แพทย์ต้องการ เช่น ไซโลเคน 1% 7. น้า ยาทา ลายเช้ือเช่น ทิงเจอร์เมอร์ไธโอเลท โพวิโดนไอโอดิน ไอโอดิน และแอลกอฮอล์70% 8. หมอนทรายห่อด้วยผ้าหรือผ้าห่มพับให้หนา 9. เกา้อ้ีนงั่ส าหรับแพทย์


การเจาะหลัง (Lumbar Puncture) การเจาะหลัง หมายถึง การแทงเข็มเข้าช่องว่างของไขสันหลังระหว่างกระดูกเอว (Lumber vetebrae) ที่ 3-4 หรือ 4-5และดูดเอาน้า ไขสันหลงัส่งตรวจวดัความดนัของน้า ไขสันหลงัฉีดสีเพื่อถ่ายภาพ ทางรังสีและเพื่อการรักษา เครื่องใช้ 1. ชุดเจาะหลงัสะอาดปราศจากเช้ือ ประกอบดว้ย 1.1 หลอดแกว้วดัความดนัน้า ไขสันหลงั (Manometer) พร้อมที่ปิ ดเปิ ด 3 ทาง (Three way stop-cock) 1.2 เข็มเจาหลังขนาด 18-19 G ยาว 4-5 นิ้ว หรือ5-12.5 ซม. 1.3 ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1.4 ผ้ากอซขนาด 2 X 2 นิ้วจา นวน 2 ชิ้น 1.5 กระบอกฉีดยาส าหรับฉีดยาชาขนาด 3-5 ซีซี 1.6 หัวเข็มขนาด 18-19 G และ 23-25 G 1.7 ถว้ยน้า ยาและส าลี 1.8 ปากคีบ 1.9 ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิ ด 2. ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ 3. ยาชาเฉพาะที่ตามการรักษาของแพทย์ เช่น ไซโลเคน 1 % เป็นต้น 4. น้า ยาทา ลายเช้ือเช่น ทิงเจอร์เมอร์ไธโอเลท โพวิโดไอโอดนิแอลกอฮอล์70% เป็นต้น 5. พลาสเตอร์


6. ชามรูปไต 7. ปากคีบยาวสะอาดปราศจากเช้ือ 8. เกา้อ้ีนงั่ส าหรับแพทย์ วิธีท า แพทย์เป็นผู้เจาะ การปฏิบัติพยาบาลในการช่วยแพทย์เจาะหลัง วิธีปฏิบัติ เหตุผล ก่อนเจาะ 1. ตรวจสอบชื่อผู้รับบริการโดยสอบถามชื่อและดูจากป้ายชื่อผู้รับบริการ 2. บอกให้ผูร้ับบริการทราบอธิบายข้นัตอนการปฏิบตัิและเหตุผล ตลอดจนตอบขอ้ซักถามของ ผู้รับบริการ 3. แนะน าหรือช่วยเหลือให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะ 4. เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะเจาะให้สะอาด อาจโกนขน(ถ้าจ าเป็น) 5. น าเครื่องมือเครื่องใช้ที่เตรียมพร้อมไปที่เตียงผู้รับบริการ 6. จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วน แสงสว่างเพียงพอ มีบริเวณพอเหมาะในการจัดวางเครื่องมือ เครื่องใช้สะดวกต่อการจดัท่าผูร้ับบริการและช่วยแพทย์รวมท้งัมีเกา้อ้ีให้แพทยน์งั่ขณะทา การเจาะหลงั 7. จดัท่าผูร้ับบริการ โดยจดัท่าให้ผูร้ับบริการนอนตะแคงหลงัชิดริมเตียง งอเข่าท้งั 2ข้าง ก้มศีรษะ และไหล่ลงให้มากที่สุดจนคางชิดอก ระวังไม่ให้เข่ากดท้อง อาจมีหมอนรองใต้ศีรษะและคอให้อยู่ระดับ เดียวกับกระดูกสันหลัง ห่มผ้าให้ เปิ ดเฉพาะบริเวณที่เจาะ 8. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 9. จดัวางเครื่องใชใ้ห้สะดวกต่อการปฏิบตัิเปิดชุดเจาะหลงัและเทน้า ยาทา ลายเช้ือโดยใชห้ลกั สะอาดปราศจากเช้ือ 10. ใช้ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดจุกขวดยาชา ส่งขวดยาให้แพทย์เห็นสลากยาชัดเจนก่อนดูดยา 11. ใช้พลาสเตอร์ยึดมุมผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางที่แพทย์คลุมบริเวณที่เจาะไว้ให้อยู่กับที่ ขณะเจาะ 12. ดูแลให้ผูร้ับบริการอยู่ในท่าเดิมตลอดเวลาแนะนา ให้นอนนิ่งๆ หายใจชา้ๆ และลึกๆ เตือน ไม่ให้ไอ 13. ตรวจสอบชีพจร สังเกตการหายใจและความรู้สึกของผู้รับบริการ 14. ช่วยแพทย์จับปลายหลอดแก้ววัดความดันส่วนบน (ถ้าจ าเป็น) โดยระวังอย่าสัมผัสถูกมือแพทย์ หรือหลอดแก้วส่วนล่าง 15. แพทย์อาจให้ช่วยกดที่หลอดเลือดบริเวณคอ (Internal Jugular Vein) ท้งั 2ข้าง นานประมาณ 10วินาที และพัก 10 นาทีเรียกการปฏิบตัิน้ีว่า Queckensted’s test 16. ช่วยแพทยใ์นการเก็บตวัอย่างส่งตรวจโดยระวงัการปนเป้ือนเช้ือ


หลังเจาะ 17. ดูแลบริเวณที่เจาะได้รับการปิ ดผ้ากอซ 18. จัดให้ผู้รับบริการอยู่ในท่านอนหงายราบหนุนหมอนเสมอไหล่ หรือนอนตะแคงแต่ห้ามยก ศีรษะข้ึนหรือลุกนงั่ 19. ตรวจสอบสัญญาณชีพ สังเกตสีผิวหนงัระดบัความรู้สึกตวัการมีน้า ไขสันหลงัรั่วซึม หรือการมี เลือดออกตรงบริเวณต าแหน่งที่เจาะ และตรวจสอบอาการทางประสาท เช่น ความรู้สึกและชาบริเวณขา ความสามารถในการขับถ่ายปัสสาวะได้เองภายหลังการเจาะ 20. แนะนา และช่วยเหลือให้ผูร้ับบริการดื่มน้า มากๆ 2-3ลิตร ใน 24 ชวั่โมง(ถา้ไม่มีขอ้ห้าม) 21. น าเครื่องใช้ไปท าความสะอาดและเก็บเข้าที่ 22. บนัทึกวนัเวลา ชื่อแพทย์ชื่อของยาชา สีลกัษณะจา นวนของน้ าไขสันหลงัอาการและอาการ แสดงของผู้รับบริการก่อนเจาะ ขณะเจาะ และหลังเจาะ ของน้ าไขสันหลงัและทา ให้การอ่านค่าความ ดันผิดพลาดได้ หมายเหตุ อาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดข้ึนภายหลงัการเจาะหลงัเช่น งุนงงอาเจียน ชีพจรชา้ ให้รายงานแพทย์ ในกรณีมีอาการปวดศีรษะหลังการเจาะหลัง ควรจัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ จัดให้ผู้รับบริการนอนพัก ใชก้ระเป๋าน้า แข็งวางบนศีรษะและให้ยาแกป้วด ซ่ึงยาแกป้วดอาจถูกจา กดัในผูร้ับบริการบางรายและดื่มน้า มากๆ การเจาะไขกระดูก (Bone Marrow Aspiration and Biopsy)


การเจาะไขกระดูก หมายถึง การดูดหรือการเจาะไขกระดูกหรือกระดูกออกมาเพื่อการวินิจฉัยโรค บริเวณที่ใช้เจาะคือ กระดูก Sternum อยู่ระหว่างซี่โครงที่ 2-3 หรือสันกระดูกสะโพก (lliac Crest) บริเวณ ด้านหน้าและด้านหลัง เครื่องใช้ 1. ชุดเจาะไขกระดูกสะอาดปราศจากเช้ือ ประกอบดว้ย 1.1 กระบอกฉีดยาขนาด 2 มิลลิลิตร 1.2 กระบอกฉีดยาขนาด 10 มิลลิลิตร 1.3 เข็มดูดขนาด 23-25 G ยาว 1.5 นิ้ว 1.4 เข็มเจาะไขกระดูกพร้อม Stylet 1.5 ถว้ยใส่น้า ยาฆ่าเช้ือ ส าลีพร้อมปากคีบ 1.6 ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1.7 ผ้ากอซ ขนาด 2X2 นิ้ว 1.8 ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิ ด 2. ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ 3. ปากคีบยาวสะอาดปราศจากเช้ือ 4. หลอดทดลอง (Test tube) ที่มี Heparin และชนิดธรรมดา 5. แผ่นสไลด์ 6. พลาสเตอร์ 7. ชามรูปไต 8. ยาชาเฉพาะที่ตามแผนการรักษาของแพทย์ เช่น ไซโลเคน 1% 9. น้า ยาทา ลายเช้ือเช่น แอลกอฮอล์70% โพลิโดไอโอดิน 10. หมอนใบเล็ก การเก็บสิ่งตรวจ การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ 1. Routine Urinalysis (UA)


จุดประสงค์ เพื่อค้นหาพยาธิสภาพทีผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดส าหรับเก็บปัสสาวะ เช่น ชามกลม หม้อนอน กระบอกปัสสาวะ 2. ภาชนะสะอาดส าหรับใส่ปัสสาวะส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อ-สกุลผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่าง และวัน-เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ภาชนะ 3. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่ปัสสาวะส่งตรวจ วิธีปฏิบัติในการเก็บปัสสาวะส่งตรวจวิเคราะห์ วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. เตรียมเครื่องใช้ในการเก็บตัวอย่างให้พร้อมและ น าไปที่เตียง 3. ท าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้า ผู้รับบริการช่วยเหลือตัวเองได้ ให้ผู้รับบริการท า ความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยตนเอง ใน กรณีที่ผู้รับบริการช่วยเหลือตนเองได้น้อย ผู้ให้การ พยาบาลจะคอยดูแลให้ความช่วยเหลือ 4. ให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะ ถ้าผู้รับบริการเดินได้ ให้ถ่ายปัสสาวะในห้องน้า โดยให้ถ่ายลงในหมอ้ นอนหรือกระบอกปัสสาวะที่สะอาด แล้วจึงเท ปัสสาวะ จ านวน 10-30 มิลลิลิตรลงในภาชนะเก็บ ตัวอย่าง 5. เมื่อได้ปัสสาวะแล้วน าส่งตรวจทันที ถ้าส่งไม่ได้ เก็บไว้ในตู้เย็น 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. ความสะดวกและประหยัดแรงงาน 3. ป้องกนัการปนเป้ือนของตวัอย่าง เมื่อปัสสาวะ ผ่านส่วนนอกของท่อปัสสาวะ และเพื่อให้การเก็บ ตัวอย่างเป็นไปตามวัตถุประสงค์ 4. ตรวจได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการตรวจ 5. ได้ค่าตรงตามความเป็นจริงที่สุด หรือ ส่วนประกอบใกล้เคียงที่สุด 2. การส่งปัสสาวะเพาะเชื้อ (Urine for Culture) จุดประสงค์ 1. เพื่อตอ้งการทราบชนิดของเช้ือโรคในปัสสาวะและนบัจา นวนโคโลนี


2. ตรวจดูความไวของเช้ือต่อยา (Sensitivity Test) วิธีเก็บ มีหลายวิธีขึ้นอยู่กับสภาพของผู้ป่ วยคือ 1. เก็บจากผู้ป่ วยที่ถ่ายปัสสาวะได้เอง 2. เก็บจากผู้ป่ วยที่ก าลังคาสายสวนปัสสาวะอยู่ 3. เก็บโดยการสวนปัสสาวะผู้ป่ วย พยาบาลจะเป็นผู้เก็บ การเก็บปัสสาวะส่งเพาะเชื้อ เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือ 2. ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือสา หรับใส่ปัสสาวะส่งตรวจ มีสลากเขยีนชื่อ-สกุล ผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่าง และวัน-เวลาที่เก็บตัวอย่าง ติดอยู่ที่ ภาชนะ 3. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่ปัสสาวะส่ง ตรวจ 4. สา ลีสะอาดปราศจากเช้ือ 5. น้า ยาทา ลายเช้ือ 6. ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ1 คู่ วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะเพาะเชื้อ วิธีปฏิบัติ เหตุผล


1. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. เตรียมเครื่องใช้ในการเก็บตัวอย่างให้พร้อมและ น าไปที่เตียง 3. ท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าผู้รับบริการ ช่วยเหลือตนเองได้ ให้ผู้รับบริการไปท าความ สะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยตนเอง ในกรณีที่ ผู้รับบริการช่วยเหลือตนเองได้น้อยผู้ให้การ พยาบาลจะคอยดูแลให้ความช่วยเหลือ 4. ทา ความสะอาดบริเวณอวยัวะสืบพนัธุ์อีกคร้ัง ดว้ยน้า ยาทา ลายเช้ือโดย 4.1 ในผู้รับบริการชายท าความสะอาดช่องทาง ออกของปัสสาวะโดยเริ่มจากช่องทางออก ปัสสาวะไปยังรอบข้าง ในรายที่ผู้รับบริการไม่ได้ ขลิบหนังหุ้มปลายในรูดหนังหุ้มปลายองคชาตไว้ 4.2 ในผู้รับบริการหญิงท าความสะอาดบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ จนสะอาดแล้วใช้มือแยกแคมในไว้ 5. ให้ผูร้บับริการถ่ายปัสสาวะทิ้งไปก่อนประมาณ 30-60 มิลลิลิตร 6. นา ภาชนะที่สะอาดปราศจากเช้ือรองรับปัสสาวะ ส่วนกลางประมาณ 30 มิลลิลิตร ขณะปัสสาวะมือ ยังแยกแคมในออกหรือมือยังรูดหนังหุ้มปลายอยู่ เมื่อปัสสาวะเสร็จจึงปล่อยมือออกแล้วเทปัสสาวะ ใส่ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือส าหรับใส่ปัสสาวะ ส่งตรวจ ปิ ดฝาภาชนะให้มิดชิด 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. ความสะดวกและประหยัดพลังงาน 3. ป้องกนัการปนเป้ือนของตวัอย่าง เมื่อปัสสาวะ ผ่านส่วนนอกของท่อปัสสาวะ 4.1 เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 4.2 ลดจา นวนเช้ือจุลินทรียแ์ละป้องกนัมิให้แคม ในสัมผัสกับช่องทางออกของปัสสาวะ ท าให้เกิด การปนเป้ือนเช้ือ 5. ใหเ้ช้ือจุลินทรียท์ ี่อยู่บริเวณช่องทางออกของ ปัสสาวะได้ถูกชะล้างออกไป 6. ให้ไดป้ ัสสาวะที่ไม่ปนเป้ือนเช้ือจุลินทรียแ์ละมี ส่วนประกอบใกล้เคียงกับความจริงที่สุด การเก็บปัสสาวะเพาะเชื้อในผู้ป่ วยที่คาสายสวนปัสสาวะ (พยาบาลเป็ นผู้ปฏิบัติ) เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือส าหรับใส่ปัสสาวะส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อ-สกุลผู้รับบริการ ชื่อตึก รักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่าง และวัน เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ภาชนะ 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่ปัสสาวะส่งตรวจ 3. ส าลีสะอาดปราศจากเช้ือ


4. น้า ยาทา ลายเช้ือเช่น แอลกอฮอล์70% 5. กระบอกฉีดยาขนาด 2-5 มิลลิลิตร ที่สะอาดปราศจากเช้ือ พรอ้มหัวเข็มขนาด 23-25 G ที่สะอาด ปราศจากเช้ือ 6. ที่ควบคุมอัตราการไหลถุงมือสะอาด วิธีท าปฏิบัติในการเก็บปัสสาวะจากสายสวนคา วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. ปิดก้นัการไหลของปัสสาวะบริเวณสายสวนคา ปัสสาวะเป็นเวลา 10-30 นาทีก่อนการเก็บตัวอย่าง และประเมินความรู้สึกปวดปัสสาวะเป็นระยะ 3. เตรียมเครื่องใช้ในการเก็บตัวอย่างไปที่เตียง 4. ล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้งและสวมถุงมือ สะอาด 5. ต่อหัวเข็มเข้ากับกระบอกฉีดยาด้วยเทคนิค สะอาดปราศจากเช้ือ 6. ใชส้ าลีชุบน้า ยาฆ่าเช้ือทา ความสะอาดสายยาง สวนคาบริเวณที่จะแทงเข็ม (บริเวณสายสวนคา ส่วนที่ต่อเขา้กบัถุงรองรับน้ าปัสสาวะ) 7. วางสายให้ราบกบัพ้ืนเตียงระวงับริเวณที่จะเจาะ แทงเข็มปนเป้ือนเช้ือ 8. แทงเข็มบริเวณสายสวนคาส่วนที่ต่อเข้ากับถุง รองรับน้า ปัสสาวะโดยแทงเข็มทา มุมเฉียง ประมาณ 30 องศา 9. ปลดที่ควบคุมการไหลพร้อมกับหักสายบริเวณที่ ต่า กว่าแทงเข็ม ดูดน้า ปัสสาวะทิ้งทนัทีตามจา นวน ที่ต้องการแล้วดึงเข็มออกเช็ดท าความสะอาด บริเวณที่แทงเข็มดว้ยส าลีชุบน้า ยาฆ่าเช้ืออีกกอ้น หนึ่ง 10. ใส่ปัสสาวะจ านวน 3-5 มิลลิลิตร ลงในภาชนะ ที่เตรียมไว้ ปิ ดฝาให้มิดชิดและน าส่งตรวจทันที 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. ให้ได้ปัสสาวะใหม่และจ านวนเพียงพอ 3. ความสะดวกและประหยัดพลังงาน 4. เพื่อลดจา นวนและป้องกนัการปนเป้ือน เช้ือจุลินทรีย์ 5. เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมและป้องกนัการปนเป้ือน เช้ือจุลินทรีย์ 6. ลดจา นวนเช้ือจุลินทรียแ์ละป้องกนัการปนเป้ือน ของเช้ือเขา้สู่ตวัอย่างปัสสาวะ 7. ป้องกนัไม่ให้น้า ปัสสาวะไหลลงสู่ถุงรองรับ ปัสสาวะเร็วเกินไป 8. ป้องกนัการรั่วซึมของปัสสาวะออกจากสายสวน คา 9. สามารถดูดน้า ปัสสาวะตามจา นวนที่ตอ้งการ และเพื่อป้องกนัเช้ือจุลินทรียจ์ากภายนอกเขา้สู่สาย สวนคาปัสสาวะ 10. ให้ได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง


หรือภายใน 1 ชวั่โมง พร้อมใบส่งตรวจถา้ส่งทนัที ไม่ได้ ให้เก็บในตู้เย็นไม่เกิน 3 ชวั่โมง การเก็บอุจจาระส่งตรวจ จุดประสงค์ 1. เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคของระบบทางเดินอาหาร 2. ตรวจหา พยาธิ ไข่พยาธิ โปรโตซัว เลือด และอื่นๆ ในอุจจาระ การเก็บอุจจาระเพื่อตรวจหาเลือดในอุจจาระ (Occult Blood)ควรให้ผูป้่วยงดยาอาหารประเภทเน้ือสัตวท์ ี่มี เลือดปน เช่น อาหารปรุงสุก ๆ ดิบ ๆ เพราะจะท าให้ผลการตรวจคาดเคลื่อนได้ เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปากกว้างพร้อมฝาปิ ดส าหรับใส่อุจจาระส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อ-สกุลผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่างและวันเวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ภาชนะ 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่อุจจาระส่งตรวจ


3. ไม้พายหรือช้อนสะอาดส าหรับตักอุจจาระ 4. หม้อนอนแห้งสะอาด 5. ถุงมือสะอาด วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างอุจจาระตรวจวิเคราะห์ วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. ให้ผู้รับบริการถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอน 2. สวมถุงมือสะอาด 3. ใช้ไม้พายหรือช้อนตักอุจจาระส่วนบนหรือส่วน ที่ผิดปกติใส่ลงในภาชนะเก็บตัวอย่างประมาณ 1 ชอ้นโต๊ะหรือน้า อุจจาระประมาณ 15-30 มิลลิลิตร ปิ ดฝาให้มิดชิด ถ้าตรวจหาพยาธิ ตักอุจจาระส่วนที่ เป็น ของเหลวหรือออกมาตอนจะสุด หรือเลือกอุจจาระ ที่มีมูกหนอง ถ้าตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระเก็บ ส่วนที่ไม่มีเลือดปน 4. ส่งตรวจทันทีหรือภายใน 30 นาที 1. สะดวกในการเก็บตัวอย่างอุจจาระ 2. ป้องกนัการปนเป้ือนเช้ือจุลินทรีย์ 3. ป้องกนัเช้ือจากอุจจาระสัมผสัมือหรือส่วนอื่น ของร่างกายและได้ตัวอย่างอุจจาระตรงตาม วัตถุประสงค์ 4. ให้ได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง การเก็บอุจจาระส่งเพาะเชื้อ เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือปากกวา้ง พร้อมฝาปิด ส าหรับใส่อุจจาระส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อสกุลของผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่าง และวัน เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ ภาชนะ 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูล สอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่อุจจาระส่งตรวจ 3. ไมพ้ายหรือชอ้นสะอาดปราศจากเช้ือส าหรับตกัอุจจาระ 4. หม้อนอนแห้งสะอาด 5. ถุงมือสะอาด วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างอุจจาระเพาะเชื้อโดยวิธีเก็บจากเนื้ออุจจาระ วิธีปฏิบัติ เหตุผล


1. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. ให้ผู้รับบริการถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอน 3. สวมถุงมือสะอาด 4. ใช้ไม้พายหรือช้อนตักอุจจาระส่วนบนสุดที่อยู่ ในหมอ้นอน หรือ ตกัส่วนที่นิ่มเหลว มีมูกเลือดใส่ ในกระปุกปากกวา้งสะอาดปราศจากเช้ือปิดฝา กระปุกให้มิดชิด 5. ส่งตรวจทันที ถ้าส่งทันทีไม่ได้ ให้ใช้ไม้พันส าลี ป้ายอุจจาระแล้วใส่ลงในหลอดทดลองสะอาด ปราศจากเช้ือที่มีTransport media แล้วเก็บไว้ใน ตู้เย็น 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. สะดวกในการเก็บตัวอย่างอุจจาระ 3. ป้องกนัการปนเป้ือนเช้ือจุลินทรีย์ 4. ป้องกนัอุจจาระปนเป้ือนกบัเช้ือโรคและได้ ตัวอย่างอุจจาระตรงตามวัตถุประสงค์ 5. ให้ได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง การเก็บตัวอย่างอุจจาระจากช่องทวารหนัก (Rectal Swab) เครื่องใช้ 1. หลอดทดลองสะอาดปราศจากเช้ือที่มีน้า หล่อเล้ียงเช้ือส าหรับใส่อุจจาระส่งตรวจ มีสลากเขียน ชื่อ-สกุลผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาการพยาบาล ชนิดของตัวอย่าง และวัน-เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ข้างหลอด ทดลอง 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดหลอดทดลอง 3. ไมพ้นัส าลีสะอาดปราศจากเช้ือ วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างอุจจาระเพาะเชื้อ โดยเก็บจากช่องทวารหนัก วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. จัดท่าให้ผู้รับบริการนอนตะแคงคลุมผ้าให้มิดชิด 3. ใช้มือยกแก้มก้นผู้รับบริการให้เห็น ช่องทวารหนัก ชัดเจน บอกให้ผู้รับบริการเบ่งก้น เล็กน้อย แล้วสอดไม้พันส าลีเข้าไปในทวารหนัก จนส าลีพน้ ปากทวารหนัก ป้ายอุจจาระหรือน้า อุจจาระภายในทวารหนัก 4. ใส่ไม้พันส าลีที่ได้อุจจาระแล้วลงในหลอด ทดลองสะอาดปราศจากเช้ือโดยให้ส่วนที่สัมผสั กบัอุจจาระแช่อยู่ในน้า เล้ียงเช้ือ 5. ส่งตรวจทันที ถ้าส่งทันทีไม่ได้ให้เก็บไว้ในตู้เย็น 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. สะดวกในการสอดไม้พันส าลี 3. ให้ได้อุจจาระตามที่ต้องการ 4. ใหเ้ช้ือเจริญอยู่ไดใ้นน้า เล้ียงเช้ือ 5. ให้ได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง


การเก็บเสมหะส่งตรวจ เป็นการน าตัวอย่างของเสมหะของผู้รับบริการไปตรวจเพื่อวิเคราะห์หาพยาธิ สภาพของ เช้ือจุลินทรียใ์นหลอดลมและเลือกใชย้ารักษาให้เหมาะสมกับเช้ือ ตรวจหาเซลลท์ ี่มีความผิดปกติหรือ เซลล์มะเร็งในหลอดลมหรือปอด 1. การตรวจวิเคราะห์เสมหะ (Sputum Examination) เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปากกว้างพร้อมฝาปิ ดส าหรับใส่เสมหะส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อ-สกุลของ ผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่างและวัน เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ภาชนะ 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่เสมหะส่งตรวจ วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างเสมหะส่งตรวจวิเคราะห์ วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. น าภาชนะที่ใช้ในการเก็บตัวอย่างไปที่เตียงและแนะน า ผู้รับบริการไม่ให้สัมผัสด้านในของภาชนะเก็บตัวอย่าง 2. บอกให้ผู้รับบริการปิ ดปากไอให้ได้เสมหะลงในภาชนะ ที่ส่งตรวจ จ านวน 2-10 มิลลิลิตร ปิ ดฝาให้มิดชิด 3. ถ้าผู้รับบริการไม่สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้ สอน ผู้รับบริการให้หายใจเข้าช้าๆลึกๆ และหายใจออกเต็มที่ โดยท าติดต่อกัน 3-4 คร้ังแลว้หายใจเขา้เต็มที่กล้นั ไว้ สักครู่จึงไอออกมาแรงๆจนได้เสมหะ 1. ป้องกนัเสมหะปนเป้ือนกบัเชื้อจุลินทรียจ์ากภายนอก 2. ป้องกนัการแพร่กระจายของเชื้อโรคเพราะเสมหะเป็น สิ่งที่สะสมจากหลอดลมเล็กและหลอดลมใหญ่ 3. การหายใจเข้าเต็มที่และไอออกมาแรงๆท าให้เสมหะ ออกจากปอดโดยตรง 2. การตรวจเพาะเชื้อเสมหะ (Sputum Culture) สามารถเก็บตัวอย่างได้ 2 วิธี คือ การเก็บเสมหะโดยผู้รับบริการไอออกมา (Coughing) เครื่องใช้ 1. ภาชนะสะอาดปราศจากเช้ือปากกวา้งพร้อมฝาปิด ส าหรับใส่เสมหะส่งตรวจ มีสลากเขียนชื่อ-สกุล ผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่างและวัน เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่ภาชนะ 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่เสมหะส่งตรวจ วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่าง ปฏิบัติเช่นเดียวกับการเก็บเสมหะส่งตรวจวิเคราะห์ การเก็บเสมหะจากในคอ (Throat swab) วิธีน้ีใชเ้ก็บเสมหะในกรณีที่ผูร้ับบริการไม่สามารถไอเอาเสมหะออกมาได้ เครื่องใช้


1. หลอดทดลองสะอาดปราศจากเช้ือที่มีAmies’s Transport Media ที่มีสลากเขียนชื่อ-สกุลผู้รับบริการ ชื่อตึกรักษาพยาบาล ชนิดของตัวอย่างและวัน เวลาที่เก็บตัวอย่างติดอยู่ที่หลอดทดลอง 2. ใบส่งตรวจซึ่งกรอกข้อมูลสอดคล้องกับข้อมูลในสลากปิ ดภาชนะส าหรับใส่เสมหะส่งตรวจ 3. ไมพ้นัส าลีสะอาดปราศจากเช้ือ วิธีปฏิบัติในการเก็บตัวอย่างเสมหะเพาะเชื้อโดยวิธีเก็บเสมหะจากในคอ วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1.ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 2. บอกให้ผู้รับบริการอ้าปาก แล้วสอดไม้พันส าลี เขา้ไปในคอบริเวณทอนซิลท้งั 2 ข้างหรือหลังคอ ใตล้ิ้นไก่ขณะป้ายไมพ้นัส าลีให้ผูร้ับบริการร้อง “อา” หมุนปลายไม้พันส าลีให้ติดเสมหะตัวอย่างที่ จะส่งตรวจประมาณ 2 มิลลิลิตร 3. .ใส่ไม้พันส าลีที่ป้ายตัวอย่างเสมหะแล้วลงใน หลอดทดลองสะอาดปราศจากเช้ือที่มีAmies’s Transport Media 4. ส่งตรวจทันที ถ้าส่งทันทีไม่ได้ให้เก็บไว้ในตู้เย็น 1. เพื่อลดจา นวนเช้ือจุลินทรีย์ 2. ให้ได้เสมหะตามที่ต้องการ 3. ใหเ้ช้ือเจริญอยู่ไดใ้นน้า เล้ียงเช้ือ 4. ให้ได้ผลการตรวจที่ถูกต้อง การดูแลผู้ป่ วยก่อนและหลังผ่าตัด ความหมาย การดูแลผู้ป่ วยก่อนและหลังผ่าตัด หมายถึง การพยาบาลผู้ป่ วยที่รับไว้ในโรงพยาบาล เพื่อให้การ รักษาด้วยการผ่าตัดในระยะก่อนและหลังผ่าตัด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดความกลัวและความวิตกกังวลของผู้ป่ วยต่อการผ่าตัด 2. เพื่อให้เกิดความร่วมมือจากผูป้่วยต่อการดูแลท้งัในระยะก่อนและหลงัผ่าตดั 3. เพื่อช่วยให้ผูป้่วยฟ้ืนฟูสมรรถภาพไดด้ีป้องกนัโรคแทรกซ้อน การดูแลผู้ป่ วยก่อนผ่าตัด ผู้ป่ วยที่ตอ้งเขา้รับการผ่าตดัทุกรายควรไดร้ับการเตรียมท้งัดา้นร่างกายและจิตใจพร้อมก่อนเขา้รับ การผ่าตัด 1. การเตรียมผู้ป่ วยด้านจิตใจ 1.1 ไต่ถามปัญหาความวิตกกังวลและไม่สุขสบายของผู้ป่ วย และเปิ ดโอกาสให้ผู้ป่ วยได้พูด ระบายปัญหา รับฟังและให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม


1.2 สังเกตและประเมินพฤติกรรมที่ผิดปกติ เช่น นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ซึมเศร้า ระแวง ไม่ร่วมมือต่อการดูแล รายงานให้พยาบาลผู้ดูแลทราบ 1.3 ช้ีแจงอธิบายเหตุผลความจา เป็นของการเตรียมตวัเพื่อรับการผ่าตดัเช่น การเตรียมทา ความ สะอาดผิวหนงัการงดน้า งดอาหารการเก็บสิ่งส่งตรวจการตรวจพิเศษก่อนผ่าตดัวนัและ เวลาที่ผ่าตัด 1.4 การพลิกตะแคงตวับอกให้ผูป้่วยทราบว่าหลงัผ่าตดัสามารถพลิกตะแคงตวัได้ซ่ึงข้ึนอยู่ กับลักษณะของการผ่าตัด ถ้าไม่สามารถพลิกตัวได้เองหรือท าได้ไม่เต็มที่หลังผ่าตัดให้ขอ ความช่วยเหลือจากเจา้หนา้ที่พยาบาลทุกคนที่ปฏิบตัิงานอยู่ในขณะน้ัน 1.5 สอนการหายใจเข้า –ออกลึก ๆ เพื่อให้ปอดขยายตัวและหดตัวเต็มที่ ป้องกันปอดแฟบ แนะนา ให้ฝึกตามข้นัตอน ดงัน้ี ก. ให้นอนหงายหรือนงั่บนเตียงศีรษะสูง 60 องศา ข. ให้วางมือท้งั2ข้างลงบริเวณหน้าอกตอนล่างตรงต าแหน่งที่อยู่ของกระเพาะ อาหาร ค. ให้สูดหายใจเอาลมผ่านเข้าทางจมูกยาว ๆ ให้เต็มที่ โดยให้กระดูกซี่โครงเคลื่อน ขยายออกไปข้างหน้าและหน้าท้องโป่ งตึงเต็มที่ ง. ให้หายใจออกโดยเป่ าลมออกทางปากอย่างช้า ๆ ในลักษณะคล้ายคนผิวปาก ให้ลมออกให้มากที่สุด จนกระทงั่หนา้ทอ้งแบนราบ แนะนา ให้ผูป้่วยถือปฏิบตัิ ได้ทันทีหลังผ่าตัดวันแรก ปฏิบตัิคร้ังละ10 หน วนัละ2-3คร้ังและเพิ่มจา นวน ข้ึนเรื่อย ๆ ในวนัต่อ ๆ ไป จนกระทงั่กลบับา้น 1.6 การไอที่ถูกวิธี แนะน าให้ผู้ป่ วยทราบว่าการไอที่ดีสามารถก าจัดเสมหะออกจากปอดแล หลอดลมไดด้ีการไอในระยะหลงัผ่าตดัอาจทา ให้เพิ่มอาการปวดแผลผูป้่วยสามารถขอยา บรรเทาอาการเจ็บปวดได้และให้ฝึกปฏิบตัดิงัน้ี ก. จดัให้ผูป้่วยนงั่บนเตียงเอนไปทางดา้นหนา้เล็กนอ้ย ข. เตรียมชามรูปไตพร้อมกระดาษเช็ดปากวางไว้ในต าแหน่งที่ผู้ป่ วยบ้วนเสมหะได้ สะดวกและหยิบง่าย ค. ให้ผู้ป่ วยวางมือ 2 ข้างซ้อนกันลงบริเวณต าแหน่งบาดแผลผ่าตัดพยุงกดลง เล็กน้อย ง. ให้ผู้ป่ วยหายใจเข้าทางจมูกยาวเต็มที่ แลว้กล้นัหายใจเล็กนอ้ยพร้อมท้งัไอแรงทา เช่นน้ี2-3คร้ัง อาจให้น้า อุ่นอมบว้นปากกล้วัคอลึก ๆ ก่อนทา จะทา ให้เสมหะ ออกดีข้ึน


2. การเตรียมผู้ป่ วยด้านร่างกาย 2.1 เตรียมและส่งตรวจต่าง ๆ ตามคา สั่งแพทยใ์ห้ครบถว้น เช่น การตรวจเลือด ตรวจหาหมู่ เลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจหัวใจด้วยไฟฟ้า (Electrocardiogram) เอ็กซเรย์ปอด และอื่น ๆ ติดตามผลตรวจให้พร้อมก่อนส่งผู้ป่ วยเข้าห้องผ่าตัด 2.2 งดอาหารและน้า ดื่มเพื่อให้กระเพาะอาหารว่าง ป้องกนัการอาเจียน และส าลกัระหว่างการ ท าตดัและหลงัผ่าตดัควรงดอาหารอย่างนอ้ย 6 ชวั่โมงก่อนผ่าตดัหรือแลว้แต่แพทยจ์ะ พิจารณา 2.3 ท าความสะอาดและโกนขนหรือผมบริเวณผิวหนัง เพื่อให้ผิวหนังบริเวณที่ท าการผ่าตัด สะอาด สะดวกในการผ่าตดัและลดการติดเช้ือการโกนขนหรือผมมกัจะเตรียมเป็นบริเวณ กว้าง สุดแล้วแต่ศัลยแพทย์จะเห็นสมควร 2.4 สวนอุจจาระแพทยม์กัจะมีคา สั่งให้สวนอุจจาระผูป้่วยที่ตอ้งรับการผ่าตดับางระบบเท่าน้นั บางรายแพทยก์ ็จะสั่งสวนอุจจาระดว้ยน้า เกลือแทนน้ าสบู่แลว้แต่ความเหมาะสม 2.5 ท าความสะอาดปากฟัน ให้ผู้ป่ วยท าความสะอาดปากฟัน หรือท าความสะอาดปากฟันให้ ผู้ป่ วยก่อนส่งไปห้องผ่าตัด 2.6 ของมีค่า เช่น แหวน สร้อยคอ นาฬิกา เงิน ให้ผูป้่วยถอดออกให้ญาติเก็บรักษาไว้ต้งัแต่วนั แรกที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่ วยต้องเข้ารับการผ่าตัดฉุกเฉิน ไม่มีญาติ หรือไม่ทราบชื่อมีของมีค่าติดตัวมา รายงานให้หัวหน้าเวรทราบ พิจารณาฝากของไว้กับ 2.7 คอนแท็คเลนซ์หรือแว่นตาให้ผู้ป่ วยถอดออกให้ญาติเก็บรักษาไว้หรือรายงานหัวหน้าเวร เก็บรักษาไว้ และน ากลับมาให้ผู้ป่ วยทันทีที่ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดีแล้ว 2.8 เอกสารแสดงความยินยอมต่าง ๆ เช่น ยินยอมรับการรักษา ยินยอมรับการผ่าตัด หรือท า หัตถการ ยินยอมรับการตรวจ HIV ยินยอมรับการให้เลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด ผู้ป่ วยที่ มีอายุ20 ปีบริบูรณ์ข้ึนไปและสติสัมปชญัญะสมบูรณ์สามารถเซนต์ยินยอมการตรวจรักษา ได้แต่ผู้ป่ วยที่มีอายุต ่ากว่า 20 ปีให้ผู้ปกครอง บิดา มารดา หรือญาติที่มีความสัมพันธ์ ถูกตอ้งตามกฎหมาย เช่น สามีภรรยา ที่มีอายุ20 ปีบริบูรณ์ข้ึนไป และสติสัมปชญัญะ สมบูรณ์ แสดงความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรได้ โดยจัดให้มีการเซ็นยินยอมไว้ก่อนส่ง ผู้ป่ วยไปห้องผ่าตัด


การเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด ผ่าตัดบริเวณศีรษะ ตดัผมให้ส้ันชิดหนงัศีรษะมากที่สุดดว้ยกรรไกรหรือปัตตาเลี่ยน แล้วโกนผมที่เหลือด้วยใบมีดโกน ตามแนวนอน ของเส้นผม (ห้ามโกนสวนแนวผม) เช็ดใบหู และท าความสะอาดช่องหูภายนอกด้วยไม้พันส าลี เตรียมบริเวณผ่าตัดลงมาถึง แนวกระดูกไหปลาร้าท้งัดา้นหน้าและดา้นหลงัควรเตรียมไวก้่อนผ่าตัดไม่เกิด 6 ชวั่โมง ผ่าตัดบริเวณหูและกระดูกมาสตอยด์ ให้โกนขนอ่อนที่บริเวณใบหู โกนผม และเตรียมบริเวณกว้างเป็ นวงรอบออกไปจากหูประมาณ 1-2 นิ้วฟุต


ผ่าตัดบริเวณล าคอ ให้เตรียมบริเวณจากใต้คางลงมาถึงระดับราวหัวนม และจากหัวไหล่ขวาถึงหัวไหล่ซ้าย ผ่าตัดบริเวณหน้าอก ให้เตรียมบริเวณด้านหน้าจากต้นคอจนถึงระดับสะดือจากแนวยาวของหัวนมข้างที่ไม่ได้ท าผ่าตัด จนถึงกึ่งกลาง หลงัของขา้งที่ไม่ไดท้า ผ่าตดัโกนขนรักแร้ท้งั2ขา้งและขนอ่อนของตน้แขนลงไปจนถึงระดบัต่า กว่าขอ้ศอก1 นิ้วฟุต ผ่าตัดบริเวณช่องท้อง ให้เตรียมผิวหนงับริเวณลา ตวัดา้นหน้าต้งัแต่ระดับหัวนมลงมาจนถงึตน้ขาต่า กว่าขาหนีบ 2-3 นิ้วฟุต รวมท้งั บริเวณอวัยวะสืบพันธ์และฝี เย็บด้วย ผ่าตัดไต


ให้เตรียมบริเวณผิวหนงัดา้นหน้าลา ตวัจากบริเวณรักแร้จนถึงบริเวณอวยัวะสืบพนัธ์และตน้ขาท้งั2ขา้ง ดา้นขา้ง จากรักแร้ถึงสะโพก ด้านหลังถึงกึ่งกลางล าตัวบริเวณแนวกระดูกสันหลัง ซีกของข้างที่จะท าผ่าตัดไต ผ่าตัดบริเวณฝี เย็บ ให้เตรียมบริเวณผิวหนงัที่จะผ่าตดัดา้นหน้าต้งัแต่ระดบัสะดือลงมาถึงหน้าขาต่า กว่าขาหนีบ 2 นิ้วฟุต บริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์และฝี เย็บ บริเวณด้านในของต้นขา ก้น ผ่าตัดบริเวณ แขน ข้อศอก และมือ ให้เตรียมบริเวณแขนขา้งที่จะทา ผ่าตัดท้งัดา้นหน้าและดา้นหลงัจากหัวไหล่ถึงปลายนิ้วมือรวมท้งัโกนขนรักแร้ ตดัเล็บให้ส้ัน ทา ความสะอาดมือและเล็บดว้ย ผ่าตัดบริเวณไหล่


ให้เตรียมผิวหนังบริเวณคอลงมาถึงหน้าท้องระดับสะดือ โดยให้ห่างจากแนวเส้นกึ่งกลางล าตัวด้านหน้าออกไป 2 นิ้วฟุต และดา้นหลงัจากตน้คอลงมาถึงระดบัเอวกลางหลงั โดยให้ห่างจากแนวกระดูกสันหลงัออกไป 2 นิ้วฟุต และเตรียม ผิวหนงับริเวณแขนขา้งที่จะผ่าตดัต้งัแต่คอลงมาถึงระดบัต่า กว่าขอ้ศอก2 นิ้วฟุตรวมท้งัโกนขนรักแร้ดว้ย ผ่าตัดบริเวณสะโพกและต้นขา ให้เตรียมผิวหนงับริเวณจากระดบัเอวลงมาถึงระดบัต่า กว่าหัวเข่าขา้งที่จะทา 6 นิ้วฟุต ท้งัดา้นหน้า ดา้นหลงัและ ดา้นขา้งรวมท้งับริเวณอวยัวะสืบพนัธ์และฝีเยบ็ดว้ย ผ่าตัดบริเวณหัวเข่า ให้เตรียมจากบริเวณขาหนีบถึงขอ้เทา้ขา้งที่จะทา ผ่าตัดโดยรอบท้งัดา้นหน้าดา้นหลงั และด้านข้างของขา ผ่าตัดบริเวณปลายขา


ให้เตรียมผิวหนงัจากเหนือหัวเข่าประมาณ 8 นิ้วฟุต ลงมาถึงเทา้ขา้งที่จะทา ผ่าตดัตับเล็บเทา้ให้ส้ันทา ความสะอาด ด้วย ผ่าตัดบริเวณเท้า ให้เตรียมผ่าตดับริเวณผิวหนงัต้งัแต่ใตห้ ัวเข่าลงไปถึงเทา้ขา้งที่จะทา ผ่าตดัตดัเล็บเทา้ให้ส้ันและทา ความสะอาดเล็บด้วย วิธีการโกน 1. ให้ใช้สบู่ หรือน้า ยาระงบัเช้ือที่มีส่วนผสมของสบู่และน้า ฟอกบริเวณที่ตอ้งการโกนขนก่อน แล้วจึงโกนขน 2. การโกนผมหรือขนเพื่อเตรียมผ่าตดัควรเตรียมไวก้่อนผ่าตดัไม่เกิน 6 ชวั่โมง 2.1 ชงั่น้า หนกัส่วนสูงและบนัทึกไวใ้นใบรายงานผูป้่วยก่อนส่งผูป้่วยเขา้ห้องผ่าตดัเพื่อวิสัญญี แพทย์ใช้ค านวณส าหรับให้ยาระงับความรู้สึก 2.2 วัดสัญญาณชีพ และบันทึกในใบรายงานหากผิดปกติรายงานพยาบาลผู้ดูแลก่อนส่งห้อง ผ่าตัด 2.3 ผูป้่วยทปี่ัสสาวะไดเ้องให้ผูป้่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อนเขา้ห้องผ่าตดัทุกรายเพื่อให้กระเพาะ ปัสสาวะว่าง ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บต่อกระเพราะปัสสาวะ ผู้ป่ วยที่คาสาย ปัสสาวะต้องเทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะให้หมดก่อนส่งห้องผ่าตัด 2.4 จัดเตรียมฟิ ล์มเอ็กซเรย์ เวชระเบียนและรวบรวมผลการตรวจต่าง ๆ ส่งไปห้องผ่าตัด พร้อมผู้ป่ วย การส่งผู้ป่ วยไปห้องผ่าตัด เมื่อห้องผ่าตัดพร้อมแจ้งให้ส่งผู้ป่ วยไปห้องผ่าตัดปฏิบัติ ดังนี้ 1. แจ้งให้ผู้ป่ วยทราบว่าจะส่งผู้ป่ วยไปห้องผ่าตัด 2. ดูแลให้ผู้ป่ วยปัสสาวะหรือในรายที่คาสายสวนปัสสาวะให้เทปัสสาวะในถุงออกให้หมด 3. ตรวจสอบและบันทึกว่ามีการปฏิบัติต่อผู้ป่ วยถูกต้องครบถ้วนตามรายการในใบรายงานการ ตรวจสอบผู้ป่ วยก่อนผ่าตัด ได้แก่


3.1 งดน้า งดอาหารตามเวลาที่กา หนด 3.2 โกนขนหรือผมและท าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด 3.3 สวนอุจจาระจนลา ไส้สะอาดแลว้ (ถา้มีคา สั่งให้สวนอุจจาระ) 3.4 มีผลตรวจเลือด ปัสสาวะ เอ็กซเรย์ และผลตรวจพิเศษอื่น ๆ 3.5 มีลายเซ็นอนุญาตเรียบร้อย 3.6 ไม่มีฟันปลอมชนิดถอดได้ คอนแท็คเลนซ์ และของมีค่าติดตัวผู้ป่ วยไปห้องผ่าตัด 3.7 ท าความสะอาดร่างกาย ปากฟัน อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเรียบร้อยแล้ว 3.8 เล็บมือเล็บเท้าสะอาด เช็ดล้างสีที่ทาไว้แล้ว 3.9 ผู้ป่ วยสวมชุดเข้าห้องผ่าตัดตามระเบียบของโรงพยาบาล 3.10 สัญญาณชีพปกติ 3.11 เครื่องมือใช้ส าหรับผู้ป่ วยครบถ้วนตามที่แพทย์ก าหนด 4. จัดให้ผู้ป่ วยนอนบนรถนอนคลุมผ้าให้เรียบร้อยและยกราวกันเตียงข้ึนท้งัสองขา้ง ส่งผูป้่วยพร้อม เอกสารและอุปกรณ์(ถ้ามี)ไปห้องผ่าตัด การให้ยาระงับความรู้สึก มี 4 วิธีคือ 1. การให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ (Local anesthesia) 1.1 การฉีดยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ คือ การฉีดยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนที่ต้องการผ่าตัด หรือท าหัตถการ เช่น ถอนฟัน เย็บแผล 1.2 การพ่นยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ เช่น การพ่นยาในคอก่อนส่องกล้องเพื่อดูกระเพาะ อาหาร


2. การฉีดยาระงับความรู้สึกหรือการ Block ด้วยยาระงับความรู้สึก 2.1 การฉีดยาระงับความรู้สึกเข้าไขสันหลัง (Spinal anesthesia) ผู้ป่ วยต้องนอนตะแคง วิสัญญี แพทย์จะฉีดยาระงับความรู้สึกเข้าที่หลัง หลังฉีดผู้ป่ วยจะรู้สึกชาแพทย์สามารถท าการผ่าตัด ในส่วนที่ต่า กว่าบริเวณที่ฉีดยาระงบัความรู้สึกได้โดยผูป้่วยไม่รู้สึกเจ็บ บางคร้ังวิสัญญี แพทยจ์ะผสมยาแกป้วดลงในยาระงบัความรู้สึกดว้ยในกรณีเช่นน้ีผูป้่วยจะปวดแผล น้อยลงการให้ยาระงบัความรู้สึกวิธีน้ีอาจทา ให้ผูป้่วยรู้สึกปวดหลงัเล็กนอ้ยอยู่1-2 วัน 2.2 การฉีดยาระงับความรู้สึกบริเวณเหนือหัวไหล่ (Brachial Block) เพื่อให้ชาเฉพาะที่บริเวณ แขนที่ท าการผ่าตัดการออกฤทธิ์ ของยาคล้ายการฉีดยาระงับความรู้สึกเข้าไขสันหลังได้โดย ไม่รู้สึกเจ็บ 3. การฉีดยาสลบทางน้า เกลือ วิสัญญีแพทยจ์ะฉีดยาทางน้า เกลือเพื่อให้ผูป้่วยสลบลึกพอที่จะทา การ ผ่าตัด 4. การให้ยาระงบัความรู้สึกทวั่ร่างกาย (General anesthesia) หรือเรียกทวั่ ไปว่าการดมยาสลบ วิสัญญีแพทย์จะใช้ วิธีฉีดยาเขา้ทางน้า เกลือเพื่อให้ผูป้่วยหลบัหลงัจากน้นัจึงให้ยาสลบต่อผูป้่วย จะหลับไม่รู้สึก ไม่เจ็บ ไม่ฝัน ไม่เห็น และไม่ได้ยินอะไรเลยในระหว่างการผ่าตัดการเลือกวิธีให้ยา ระงบัความรู้สึกข้ึนอยู่กบัชนิดของการผ่าตดัและความเหมาะสมของผูป้่วย


การดูแลผู้ป่ วยหลังผ่าตัด การดูแลผูป้่วยหลงัผ่าตดัข้ึนอยู่กบัชนิดของยาระงบัความรู้สึกที่ผูป้่วยไดร้ับ ชนิดของการผ่าตดัเวลา ที่ใชใ้นการผ่าตดัและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดข้ึนระหว่างและหลงัผ่าตดั หลักการดูแลผู้ป่ วย หลังผ่าตัดชนิดได้รับยาระงับความรู้สึกฉีดเข้าไขสันหลัง (Spinal anesthesia) 1. ให้นอนราบไม่หนุนหมอน อย่างนอ้ย 6 ชวั่โมง เพื่อลดอาการปวดศีรษะและปวดหลงัหลงัจากน้นั จัดให้ผู้ป่ วยหนุนหมอน ไขเตียงให้ศีรษะสูง 15 องศา นาน 15 นาที ถ้าผู้ป่ วยไม่บนปวดศีรษะมึนงง ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน จดัให้ผูป้่วยนงั่บนเตียงได้แต่ถา้ผูป้่วยมีอาการปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน จัดให้ผู้ป่ วยนอนราบต่อไปจนกว่าอาการปวดศีรษะจะหายไป การจัดให้ผู้ป่ วยอยู่ในท่า ศีรษะสูงหรือนงั่ตอ้งเฝ้าดูแลอย่างใกลช้ิด เพราะถา้มีอาการผิดปกติจะไดช้ว่ยเหลือทนัทีและลด ความวิตกกังวลของผู้ป่ วย 2. วัดและบันทึกสัญญาณชีพ (Vital Sign) เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือระบบการท างานของ ร่างกายผิดปกติโดยวดัและบนัทึกทุกคร่ึง ชวั่โมง= 4คร้ัง ตอ่มาทุก1 ชวั่โมง= 2 คร้ัง ต่อมาทุก2 ชวั่โมง= 2คร้ังถา้ค่าคงที่เปลี่ยนเป็นวดัทุก4 ชวั่โมงถา้ยงัไม่ปกติวดัทุก1-2 ชวั่โมง 3. จดบนัทึกจา นวนสารน้า เขา้ที่ให้ทางหลอดเลือดดา และจา นวนปัสสาวะทุก8 ชวั่โมงผูป้่วยมกัมี ปัญหาปวดและถ่ายปัสสาวะไม่ออก ซึ่งเป็นผลจากการฉีดยาระงับความรู้สึกเข้าไขสันหลัง ควร รายงานพยาบาลผูดู้แลเมื่อครบ 8 ชวั่โมงตรวจว่ากระเพาะปัสสาวะเต็มให้กระตุน้ ให้ผปู้่วยปัสสาวะ 4. งดอาหารและน้า ดื่ม ตามคา สั่งแพทยห์ากแพทยพ์ ิจารณาสั่งอาหารให้ผูป้่วยอาหารที่เริ่มควรจดัเป็น อาหารที่อ่อนและย่อยง่าย เมื่อเป็นปกติดีจึงจัดอาหารธรรมดาให้ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและของ หมักดอง


5. ถา้ผูป้่วยอาเจียน จดัหาภาชนะรองรับอาเจียน ช่วยเหลือจดัหาน้า อุ่นให้บว้นปากเช็ดหนา้และ เปลี่ยนเส้ือผา้ถา้เลอะอาเจียน รายงานพยาบาลผูดู้แลผูป้่วย หลักการดูแลผู้ป่ วยหลังผ่าตัดได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย (General anesthesia) การดูแลระยะหลังผ่าตัดใหม่ ๆ ใน 2 ชั่วโมงแรก ปฏิบัติดังนี้ 1. ดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดท่าให้นอนราบไม่หนุนหมอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้าน หนึ่ง เตรียมชามรูปไตและกระดาษเช็ดปากไว้ใกล้ผู้ป่ วย เพื่อรองรับอาเจียน และเช็ดปากผู้ป่ วย 2. ประเมินอาการเลือดออกผิดปกติโดยวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที รายงานพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่ วยทันทีที่ พบความผิดปกติ 3. ระวงัอนัตรายจากการตกเตียงยกราวก้นัเตียงข้ึนท้งั2ขา้งและระวงัผูป้่วยยกแขนขาฟาดกบัราวก้นั เตียง บางรายอาจจ าเป็นต้องผูกรัดแขนขาหรือล าตัวไว้และเฝ้าดูตลอดเวลา การดูแลผู้ป่ วย 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด 1. ย้ายผู้ป่ วยจากรถนอนที่มาจากห้องผ่าตัดไว้ยังเตียงที่จัดเตรียมไว้ด้วยความระมัดระวังและนุ่มนวล ควรใช้เจ้าหน้าที่อย่างน้อย 3 คน ในการยกผู้ป่ วย ก่อนท าการยกผู้ป่ วยจะต้องท าการเคลื่อนย้ายขวด น้า เกลือถุงเลือด ขวดรองรับสารเหลวต่าง ๆ ไปไวย้งัที่จดัเตรียมไวก้่อนหรือวางไว้บนผ้าที่ใช้ยกตัว ผูป้่วยและจดัสายยางต่าง ๆ ที่ใส่ตดิตวัผูป้่วยไม่ให้ถูกดึงร้ังหรือถูกกดทบัจากเจา้หนา้ที่หรือตวั


ผู้ป่ วยเองจนท าให้เลื่อนหลุดออกจากต าแหน่งที่ใส่ไว้ขณะท าการเคลื่อนย้าย ควรตรวจสอบและจัด วางในต าแหน่งที่ท าการยกผู้ป่ วยได้สะดวก 2. ตรวจสอบและบนัทึกสัญญาณชีพและระดบัความรู้สึกตวัของผูป้่วยทุกคร่ึง ชวั่โมง = 4 คร้ัง ต่อมาทุก1 ชวั่โมง = 2 คร้ัง ต่อมาทุก 2 ชวั่โมง=2 คร้ัง ถา้ค่าคงที่เปลี่ยนเป็นวดัทุก4 ชวั่โมง ถ้ายังไม่ปกติวัดทุก 1- 2 ชวั่โมง 3. ตรวจสอบเวชระเบียนผูป้่วยเกี่ยวกบัชนิดของการผ่าตดัคา สั่งเรื่องอาหารขอ้ห้าม หรือคา สั่งพิเศษ อื่น ๆ และบันทึกเวลาที่รับผู้ป่ วยกลับจากห้องผ่าตัด 4. เปลี่ยนเส้ือผา้ชุดใหม่และจดัให้นอนราบไม่หนุนหมอน ศีรษะตะแคงไปดา้นใดดา้นหน่ึง ห่มผา้เก็บ ตวัผูป้่วยให้อุ่น ถา้ผูป้่วยบ่นหนาวหรือแสดงอาการหนาวสั่นให้เพิ่มผา้ห่มและใชก้ระเป๋าน้า ร้อนวาง บริเวณปลายเท้าโดยมีเจ้าหน้าที่คอยดูแลเปลี่ยนต าแหน่งใหม่ทุก 15 นาที กรณีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ เพียงพอให้ใชผ้า้ห่มหลายช้นัแทน 5. จัดท่านอนให้ศีรษะผู้ป่ วยตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อป้องกันผู้ป่ วยส าลัก จัดภาชนะรองรับ อาเจียน หากผูป้่วยอาเจียนให้น้า อุ่นบว้นปากจนสะอาด จดัท่าให้นอนราบต่อจนกว่าอาการจะดีข้ึน จดบันทึกจ านวน ลักษณะ สี ของอาเจียน รายงานพยาบาลผู้ดูแลทราบ 6. งดอาหารและน้า ทางปากจนกว่าแพทยอ์นุญาต 7. ผูป้่วยอาจจะมีอาการกระหายน้า ริมฝีปากแห้งเป็นผลมาจากฤทธ์ิยาระงบัความรู้สึก ช่วยเหลือได้ โดยให้บว้นปากหรือใชส้ าลีชุบน้า เยน็เช็ดบริเวณริมฝีปาก ผปู้่วยที่งดอาหารและน้า ทางปากตอ้ง ระวงัไม่ให้ผูป้่วยกลืนน้า เขา้ไป 8. ปัสสาวะล าบากเป็นผลจากการรบกวนระบบประสาทที่ควบคุมการขับถ่ายระหว่างการผ่าตัดหรือ จากความไม่เคยชินต่อการนอนถ่ายบนเตียงให้ใช้ วิธีกระตุ้นให้ปัสสาวะเช่น วางผ้าเย็นบริเวณ กระเพาะปัสสาวะ ราดน้า บริเวณอวยัวะเพศ เปิดน้า ให้ไดย้ินเสียง หากยงัไม่ปัสสาวะรายงานให้ พยาบาลทราบ 9. จดัท่าให้ผูป้่วยไดพ้กัหลบัเต็มที่หลงัผ่าตดั ไม่ควรรบกวนผูป้่วยจดัสิ่งแวดลอ้มให้เงียบสงบ ไม่มี แสงรบกวน บรรยากาศไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป จัดท่านอนที่สุขสบาย ที่บรรเทาอาการเจ็บปวดแผล


การออกก าลังกายหลังผ่าตัด (Early ambulation) หลังผ่าตัด เมื่อผู้ป่ วยรู้สึกตัวดีให้หายใจเข้าออกลึก ๆ เพื่อป้องกันปอดแฟบและพลิกตะแคงตัวบน เตียงโดยได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่พยาบาล วันแรกหลังผ่าตัด ให้ลุกนงั่บนเตียงโดยไขเตียงให้ศีรษะสูง45องศา ปลายเทา้สูง 10 - 15 องศา (ยกเวน้ผูป้่วยที่แพทยม์ ีคา สั่งให้นอนราบ) วันที่สองหลังผ่าตัด ลุกนงั่ห้อยเทา้ขา้งเตียงโดยจดัท่าให้ผปู้่วยตะแคงมาทางร่างกายดา้นที่เจ็บนอ้ย แลว้ค่อย ๆ ลุกนงั่ห้อยเทา้ลงขา้งเตียง หากไม่มีอาการ เวียนศีรษะ ให้ลงยืนขา้งเตียงและนงั่เกา้อ้ีขา้งเตียง (ยกเว้นผู้ป่ วยที่แพทย์ยังไม่อนุญาตให้ลุกจากเตียง) วันที่สามหลังผ่าตัด เริ่มให้ผปู้่วยเดินรอบ ๆ เตียงหลงัจากผูป้่วยแข็งแรงไม่มีโรคแทรกซ้อนอนุญาต ให้เดินไปห้องน้า ไดเ้อง


การดูแลผู้ป่ วยโรคติดเชื้อ (Infection disease) 1. เป็นโรคติดต่อ ซึ่งสมารถติดต่อไปยังบุคคลอื่น 2. เป็นโรคซ่ึงเกิดจาก การมีเช้ือจุลชีพ เช่น ไวรัส แบคทีเรียราโปรโทรซัว ปรสิท ที่ก่อให้เกิดโรค การติดต่อ 1. สัมผัสโดยตรง 2. อาหาร 3. น้า 4. วตัถุมีเช้ือปนเป้ือน 5. สารน้า ในร่างกาย 6. ลมหายใจ 7. พาหะ การดูแลผู้ป่ วย 1. ด้านร่างกาย 2. ด้านจิตใจ สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับหลักส าคัญการดูแลผู้ป่ วยติดเชื้อ 1. เป็นเช้ือชนิดใด 2. เช้ือจะแพร่ทางใด 3. เช้ือเขา้สู่ร่างกายอย่างไร 4. สิ่งใดบา้งที่จะนา เช้ือเขา้ไป 5. เช้ือมีชีวิตในสิ่งแวดลอ้ม 6. ภูมิคุม้กนัเกี่ยวกบัเช้ือโรค 7. การป้องกนัการแพร่หรือติดเช้ือ การแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล โดยทวั่ ไปการแพร่กระจายเช้ือ หมายถึงการที่เช้ือโรคเคลื่อนที่จากแหล่งที่อยู่ไปสู่คน สัตว์หรือ สิ่งของอื่นๆ แล้วท าให้เกิดโรค เช้ือก่อโรคแต่ละชนิดมีวิถีทางการแพร่กระจายเช้ือสู่บุคคลไดแ้ตกต่างกนั ในขณะที่พบชนิดที่มีวิถีทางการแพร่กระจายได้มากกว่าหนึ่งวิถีทาง วิถีทางการแพร่กระจายเช้ือมีดงัน้ี 1. การแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (contact transmission) หมายถึงการแพร่กระจายเช้ือดว้ย วิธีการสัมผสัระหว่างเช้ือก่อโรคกบับุคคลที่ไวต่อการติดเช้ือการแพร่กระจายเช้ือโดยวิธีน้ีสามารถพบได้ บ่อยและมีความส าคญัที่สุดของการติดเช้ือในโรงพยาบาลแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ


1.1 การแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสโดยตรง (direct –contact transmission) เป็นการ แพร่กระจายเช้ือที่มีการสัมผสักนัโดยตรงระหว่างคนต่อคน ระหว่างคนที่ไวต่อการติดเช้ือกบัคนที่ติดเช้ือ หรือคนที่มีเช้ือก่อโรคอาศยัอยู่ เช่น การพลิกตะแคงตัวผู้ป่ วย การอาบน้า เช็ดตวัผูป้่วย การท าแผลเป็นต้น หรือเกิดจากผูป้่วยดว้ยกนัโดยที่มือของผูป้่วยคนหน่ึงเป็นแหล่งเช้ือไปสัมผสักบัผูป้่วยอีกคนหน่ึง เช้ือก่อ โรคที่สามารถแพร่กระจายโดยวิธีน้ีเช่น เช้ือไวรัสสุกใส เช้ือสะแตปฟิโลคอคคสัออเรียสที่ด้ือต่อยาเมธิ ซิลลิน (methicillin resistant staphylococcus aureus [MRSA] ) และเช้ือราชนิดต่าง ๆ เป็นต้น 1.2 การแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสโดยอ้อม (indirect –contact transmission) เป็น การแพร่กระจายเช้ือทางออ้ม โดยการสัมผสักบัสิ่งของหรืออุปกรณ์ทางการแพทยท์ ี่มีการปนเป้ือนเช้ือก่อ โรคเช่น สายสวนปัสสาวะหรือท่อระบายประเภทต่าง ๆ เครื่องช่วยหายใจเป็นต้น โดยที่เช้ือก่อโรคอาศยั เป็นตัวกลางผ่านเข้าสู่ร่างกายของผู้ป่ วย ตวัอย่างเช้ือก่อโรคที่สามารถแพร่กระจายเช้ือจากการสัมผสัโดยวิธี น้ีเช่น ซูโดโมแนส ออร์รูจิโนซา (pseudomonas aeuruginosa) ซาลโมเนลลา (salmonella) เอนเตอ โรแบคเตอร์ (enterobacter) เป็นต้น 2. การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง (droplet transmission) หมายถึงการแพร่กระจายเช้ือที่เช้ือ ก่อโรคเกาะติดไปกับฝอยละอองที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน เกิดข้ึนขณะที่ผูป้่วยหรือผูท้ ี่มีเช้ือโรคเกาะอยู่ ไอจาม พูด และร้องเพลง รวมท้งัการให้กิจกรรมการรักษาพยาบาลได้แก่การดูดเสมหะการตรวจหลอดลม เกิดข้ึนในระยะใกล้ๆ ไม่เกิน 3 ฟุต โดยฝอยละอองอาจไปสัมผัสกับเยื่อบุต่าง ๆ เช่น ตา จมูกแผลเป็นต้น ตวัอย่างเช้ือก่อโรคที่พบการแพร่กระจายดว้ยวิธีน้ีเช่น เช้ือแบคทีเรียที่ก่อโรคปอดอกัเสบ หลอดลมอักเสบ ไอกรน เช้ือไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคหวดั ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น 3. การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (airborne transmission) หมายถึงการแพร่กระจายที่เช้ือ เกาะติดไปกับฝุ่ น หรือไอน้า ที่ระเหยจนแห้งล่องลอยในอากาศที่มีขนาดเล็กกว่า หรือเท่ากับ 5 ไมครอน หรือผงฝุ่ น (dust particles) ที่มเีช้ือก่อโรคเกาะอยู่ทา ให้สามารถกระจายไปไดไ้กล โดยอาศยัอากาศเมื่อเช้ือ ก่อโรคเกาะติดกบัสิ่งเหล่าน้ีจึงสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ เช้ือก่อโรคที่แพร่กระจายเช้ือดว้ยวิธีน้ี เช่น เช้ือไมโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คิวโลซิส (mycobacterium tuberculosis) ก่อโรควัณโรค เช้ือก่อโรคหัด และไวรัสสุกใส เป็นต้น 4. การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อน า (common vehicle transmission) หมายถึงการ แพร่กระจายเช้ือก่อโรคโดยผ่านสื่อน า เช่น อาหาร น้า ยา สารน้า ที่ให้ทางหลอดเลือดดา หรือเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด เป็นต้น การแพร่กระจายเช้ือจะพบการตดิเช้ือไดใ้นผูป้่วยจา นวนมาก เนื่องจากผู้ป่ วย ไดร้ับสิ่งที่เช้ือก่อโรคปนเป้ือนอยู่คร้ังละหลายราย ดงัมีรายงานการปนเป้ือนเช้ือ ซูโดโมแนส ซีพาเซียร์ (pseudomonas cepacia) ในยาขยายหลอดลม ซึ่งบรรจุในขวดและใช้ร่วมกันในหอผู้ป่ วยหนักโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา สามารถตรวจพบเช้ือ ซูโดโมแนส ซีพาเซียร์ ได้ในเสมหะของผู้ป่ วย จ านวน 44 ราย พบว่าผูป้่วยมีอาการของการติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ 16 รายและผูป้่วยติดเช้ือใน


เช้ือก่อโรค กระแสเลือดร่วมกับปอดอักเสบอีก1 ราย ภายหลังได้มีการก าหนดมาตรการในการเตรียมยา การล้างมือของ บุคลากร การลา้งและทา ลายเช้ือของเครื่องพ่นยา หลงัจากน้นัไม่พบว่ามีผูต้ิดเช้ือดงักล่าว 5. การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์เป็ นพาหะ (vector –borne transmission) หมายถึงการ แพร่กระจายเช้ือโดยอาศยัสัตวเ์ป็นตวักลางในการนา เช้ือ ตัวอย่างของพาหะน าโรคเช่น ยุงแมลงต่างๆ เป็น ต้น โดยที่ผูร้ับเช้ือจากแมลง หรือยุงกัด ซ่ึงเช้ือก่อโรคที่มีอยู่ในตวัยุง หรือแมลงจะถูกถ่ายทอดสู่คน ท าให้ คนไดร้ับเช้ือก่อโรคและป่วยเป็นโรคที่เกิดจากเช้ือน้นัๆ เช่น การถูกยุงที่มีเช้ือไวรัสเด็งกีหรือเช้ือ มาลาเรีย กัด ท าให้คนที่ถูกกัดป่ วยเป็นไข้เด็งกีหรือไข้มาลาเรีย เป็นต้น การติดเช้ือในโรงพยาบาลเกิดจากองคป์ระกอบ 3 องค์ประกอบคือคน เช้ือก่อโรคและสิ่งแวดลอ้ม โดย อาศยัวิถีทางการแพร่กระจายเช้ือเป็นตวัเชื่อมโยงใหเ้กิดวงจรการเกิดโรคติดเช้ือ ดังแผนภูมิที่1 ดงัน้นั เพื่อ ป้องกนัการติดเช้ือในโรงพยาบาลจะกระทา ไดโ้ดยวิธีการตดัวิถีทางการแพร่กระจายเช้ือถือว่าเป็นการตัด วงจรการติดเช้ือเรียกวิธีการน้ีว่าการแยกผู้ป่ วย ซึ่งเป็นวิธีการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง แผนภูมิที่ 1 แสดงวงจรการเกิดโรคติดเชื้อ หลักส าคัญในการป้องกันการแพร่เชื้อ 1. ใช้เทคนิคการแยกโรค แหล่งแพร่กระจายเช้ือ ทางออกของเช้ือ วิถีทางการแพร่กระจายเช้ือ ทางเข้าของเชื้อ บุคคลที่ไวต่อการติดเช้ือ


2. ใช้ เครื่องป้องกันถูกวิธี (Mask , กาวน์ , ถุงมือ ) 3. การล้างมือ การลา้งมือเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการลดการแพร่กระจายเช้ือจากคนหน่ึงสู่อีกคนหน่ึง หรือสู่คนอื่น ๆ การ ล้างมืออย่างถูกวิธีก่อนให้การพยาบาลผู้ป่ วย ก่อนสัมผัสผู้ป่ วยแต่ละราย หลังการสัมผัสเลือด หรือสารคัด หลงั่หรืออุปกรณ์ที่เป้ือนเช้ือโรค 3.1 ก่อนล้างมือให้ถอดเครื่องประดับ เช่น แหวน นาฬิกาออกให้หมด 3.2 เปิดน้า จากก๊อกลา้งให้เปียกทวั่มือและข้อศอก 3.3 ลา้งมือดว้ยน้า ยาทา ลายเช้ือ ฟอกมือให้ทวั่นานอย่างนอ้ย 30 วินาทีตามข้นัตอนดงัน้ี


4. การทา ลายสิ่งปนเป้ือน 5. การควบคุมการแพร่กระจาย 6. การถ่ายเทอากาศ 7. การท าความสะอาดเครื่องใช้ 8. การใชย้าระงบัเช้ือ, ยาฆ่าเช้ือ การแบ่งประเภทการแยกผู้ป่ วย 1.การแยกผู้ป่ วยแบบเข้มงวด (strict isolation) เป็นวิธีการแยกผูป้่วยที่มีการติดเช้ือรุนแรงและ สามารถแพร่กระจายเช้ือไดง้่าย ทา โดยการสัมผสั (contact transmission) และโดยการแพร่เช้ือทางอากาศ (airborne transmission) โรคที่ควรแยกผูป้่วยดว้ยวิธีน้ีไดแ้ก่ คอตีบ สุกใส งูสวัสในผู้ป่ วยที่มีภูมิคุ้มกัน บกพร่อง เป็นต้น วิธีการปฏิบัติ 1. ผู้ป่ วยต้องอยู่ในห้องแยก ผูป้่วยที่ติดเช้ือชนิดเดียวกนัอาจอยู่ห้องเดียวกนัได้ประตูห้องผู้ป่ วย ควรปิ ดเสมอ 2. ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่ วยทุกคนจะต้องสวมผ้าปิ ดปากและจมูกเส้ือคลุมและถุงมือ 3. หลงัสัมผสัผูป้่วยหรือสิ่งของเครื่องใชใ้นห้องผูป้่วย ตอ้งลา้งมือทุกคร้ังรวมท้งัก่อนให้การ พยาบาลผู้ป่ วยรายอื่น อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใชท้ ี่เป้ือนเช้ือควรบรรจุลงในถุงปิ ดมิดชิด และ เขียนบอกให้ทราบก่อนส่งไปทา ลายเช้ือ หรือทา ให้ปราศจากเช้ือ 2. การแยกผู้ป่ วยโรคที่ติดต่อโดยการสัมผัส (contact isolation) เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจาย เช้ือจากการสัมผสัโดยตรง หรือการใกลช้ิดกบัผูป้่วยที่ตดิเช้ือ หรือผูป้่วยที่มีเช้ืออยู่แต่ไม่แสดงอาการ ส าหรับโรคที่ควรแยกดว้ยวิธีน้ีไดแ้ก่


Click to View FlipBook Version