The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานในโรงพยาบาล V.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwansijan, 2024-01-09 08:40:52

งานในโรงพยาบาล

งานในโรงพยาบาล V.1

2.1 การติดเช้ือที่ระบบทางเดินหายใจ(acute respiratory tract infections) ได้แก่croup, cold bronchitis และbronchiolitis จากเช้ือrespiratry syncitial virus, adenovirus, coronavirus Influenza virus, parainfluenza virus และrhinovirus 2.2 เยื่อบุตาอักเสบในทารก(gonococcal conjunctivitis) 2.3 เยื่อบุมดลูกอักเสบ (endometritis) จากเช้ือ group A streptococcus 2.4 เริม (herpes simplex) 2.5 โรคผิวหนังชนิดเป็นตุ่มพุพอง (impetigo) 2.6 ไข้หวัดใหญ่(influenza) ในทารกและเด็กเล็ก 2.7 การติดเช้ือแบคทีเรียทดี่ ้ือต่อยาตา้นจุลชีพหลายชนิด (multiple - resistant bacterial infections) เช่น การติดเช้ือstaphylococcus aureus ที่ด้ือต่อยา methicillin (MRSA) 2.8 ปอดบวมจากไวรัส (viral pneumonia) ในทารกและเด็กเล็ก 2.9 โรคพิษสุนัขบ้า (rabies) 2.10 หัดเยอรมันแต่ก าเนิด (congenital rubella) วิธีปฏิบัติ 1. ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่ วยควรสวมผ้าปิ ดปากและจมูก 2. ควรสวมถุงมือ หากตอ้งสัมผสักบัสารคดัหลงั่ของผูป้่วย ได้แก่น้า มูก น้า ลาย 3. ควรสวมเส้ือคลุม หากคาดว่าอาจมีการปนเป้ือนกบัสารคดัหลงั่ของผูป้่วย 4. ล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่ วย หรือสิ่งที่เป้ือนสารคดัหลงั่ของผูป้่วยควรใส่ถุงให้มิดชิด และเขียน บอกให้ชัดเจน ก่อนนา ไปทา ลายเช้ือหรือทา ให้ปราศจากเช้ือ 3. การแยกผู้ป่ วยโรคติดต่อทางอากาศ (respiratory isolation) เป็นวิธีการแยกผูป้่วยที่มีการติดเช้ือ ทางเดินหายใจสามารถแพร่กระจายโดยทางฝอยละอองอากาศเพื่อป้องกนัการแพร่กระจายเช้ือจากการ สัมผสักบัฝอยน้า มูก น้ าลายของผูป้่วย ส าหรับโรคที่ควรแยกผูป้่วยดว้ยวิธีน้ีได้แก่หัด (measles) คางทูม (mumps) ไอกรน (pertussis) ปอดอักเสบ (meningococcal pneumonia) วิธีปฏิบัติ 1. ผู้ป่ วยควรอยู่ห้องแยกผูป้่วยที่ตดิเช้ือชนิดเดียวกนั อาจอยู่ห้องเดียวกันได้ 2. ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควรสวมผ้าปิ ดปากและจมูกไม่จา เป็นตอ้งสวมเส้ือคลุม และถุงมือ 3. หลังสัมผัสผู้ป่ วย หรือสิ่งของเครื่องใชข้องผูป้่วย ตอ้งลา้งมือทุกคร้ังและล้างมือก่อนให้การ ดูแลผู้ป่ วยรายอื่น 4. อุปกรณ์เครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้กับผู้ป่ วยแลว้ตอ้งทา ลายเช้ือ 4. การแยกผู้ป่ วยวัณโรค (tuberculosis isolation หรือacid –fast bacilli [AFB] ) เป็นวิธีการแยก ผูป้่วยวณั โรคปอดที่อยู่ในระยะที่สามารถแพร่กระจายเช้ือไดง้่าย (active) คือมีผลการตรวจเสมหะเป็นบวก


(tuberculin test positive) หรือมีผลการตรวจทางรังสีวิทยาของทรวงอก พบว่า เพิ่งเป็นวณั โรคและยังไม่ได้ รับการรักษา วิธีปฏิบัติ 1. ผู้ป่ วยควรอยู่ในห้องแยกที่ประตูปิ ดอยู่เสมอ 2. ผู้ดูแลผู้ป่ วยควรสวมผ้าปิ ดปากและจมูก 3. ควรสวมเส้ือคลุม หากคาดว่าเส้ือผา้อาจเป้ือนสารคดัหลงั่ของผูป้่วย 4. ไม่จ าเป็นต้องสวมถุงมือ 5. หลังดูแลผู้ป่ วย หรือหยิบจบัสิ่งของเครื่องใชข้องผูป้่วย ต้องล้างมือและควรล้างมือก่อนดูแล ผู้ป่ วยรายใหม่ 6. แมว้่าสิ่งของ เครื่องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้กับผู้ป่ วยจะไม่สามารถแพร่กระจาย เช้ือวณั โรคแต่ ควรลา้งให้สะอาดและทา ลายเช้ือ 5. การแยกผู้ป่ วยโรคติดต่อทางเดินอาหาร (enteric precautions) เป็นวิธีปฏิบัติที่ใช้ในการป้องกัน การแพร่กระจายเช้ือจากการสัมผสักบั อุจจาระของผู้ป่ วย ไม่ว่าจะสัมผัสโดยตรง หรือโดยอ้อม โรคที่ควร แยกผูป้่วยดว้ยวิธีน้ีได้แก่บิด (amoebic dysentery) อหิวาตกโรค(cholera) อุจจาระร่วง (acute infectious diarrhea) ล าไส้อักเสบ (gastroenteritis) เยื่อบุผนังล าไส้ใหญ่อักเสบ (necrotizing enterocolitis) ไข้สันหลัง อักเสบ (poliomyelitis) ไข้ไทฟอยด์(typhoid fever) และไวรัสตับอักเสบชนิด เอ(viral hepatitis A) วิธีปฏิบัติ 1. ควรสวมเส้ือคลุม หากคาดว่าอาจเกิดการเป้ือนอุจจาระของผูป้่วยขณะให้การพยาบาลไม่ จ าเป็นต้องสวมผ้าปิ ดปากและจมูก 2. ควรสวมถุงมือ หากตอ้งสัมผสัอุปกรณ์เครื่องมือที่เป้ือนอุจจาระของผูป้่วย 3. ล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่ วย หรือเครื่องใช้ของผู้ป่ วยและก่อนดูแลผู้ป่ วยรายใหม่ 4. เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่เป้ือนอุจจาระของผูป้่วยควรใส่ถุงให้มิดชิดและเขียนก ากับไว้ก่อน นา สิ่งทา ลายเช้ือ 6. การแยกผู้ป่ วยโรคที่มีหนองและน ้าเหลือง (drainage / secretion precautions) เป็นวิธีการปฏิบัติ ที่ใชใ้นการป้องกนัการแพร่กระจายเช้ือจากการสัมผสัโดยตรง หรือโดยอ้อม (direct or indirect contact) กับ หนอง หรือสิ่งคดัหลงั่ของผูป้่วย โรคหรือการติดเช้ือที่ควรแยกผูป้่วยดว้ยวิธีน้ีได้แก่ฝี(abscess) แผลไฟ ไหมต้ิดเช้ือ(burn infection) ตาแดง (conjunctivitis) และแผลติดเช้ือ(wound infection) เป็นต้น วิธีการปฏิบัติ 1. ไม่จ าเป็นต้องแยกผู้ป่ วยไว้ห้องแยก 2. ไม่ต้องสวมผ้าปิ ดปากและจมูก 3. ควรสวมเส้ือคลุม และถุงมือ หากคาดว่าอาจมีการเป้ือนกบัสิ่งคดัหลงั่ของผูป้่วย 4. ล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่ วย หรืออุปกรณ์เครื่องใช้ที่ใช้กับผู้ป่ วยและก่อนดูแลผู้ป่ วยรายอื่น


5. อุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้กับผู้ป่ วยแล้วควรใส่ถุงให้มิดชิด และเขียนก ากับไว้ก่อนน าไป ทา ลายเช้ือ 7. การแยกผู้ป่ วยโรคที่ติดต่อทางเลือดและสารคัดหลั่ง (blood and body fluid precautions) เป็นวิธี ปฏิบตัิที่ใชใ้นการป้องกนัการติดเช้ือจากการสัมผสัโดยตรง หรือโดยอ้อมทางเลือด หรือสารคดัหลงั่ของ ผูป้่วย โรคที่ควรปฏิบตัติ่อผูป้่วยดว้ยวิธีน้ีไดแ้ก่ เอดส์(AIDs) ตับอักเสบบี(viral hepalitis B) ตับอักเสบซี (viral hepatitis C) มาลาเรีย (malaria) โรคฉี่หนู(leptospirosis) ซีฟิ ลิส (syphilis) เป็นต้น วิธีการปฏิบัติ 1. ควรสวมเส้ือคลุม หากคาดว่าอาจเกิดการเป้ือนเลือด หรือสารคดัหลงั่ของผูป้่วย 2. ควรสวมถุงมือ หากตอ้งสัมผสักบัเลือด หรือสารคดัหลงั่ ไม่จา เป็นตอ้งสวมผา้ปิดปากและจมูก 3. ลา้งมือดว้ยสบู่ทนัทีหากมือเป้ือนเลือด หรือสารคดัหลงั่ของผูป้่วยแล้วเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70 % หรือลา้งมือดว้ยน้า ยาทา ลายเช้ือ 4. อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใชท้ ี่เป้ือนเลือดหรือสารคดัหลงั่ของผูป้่วยควรใส่ถุงมิดชิดเขียนก ากับ ไว้ก่อน นา ส่งทา ลายเช้ือ หรือทา ให้ปราศจากเช้ือ 5. ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน (เช่น การถูกเข็มที่ใชก้บัผูป้่วยทิ่มตา การถูกของมี คมบาด) โดยไม่ควรสวมปลอกเข็มกลับคืน ไม่งอ หรือหักเข็ม ควรทิ้งเข็มในภาชนะเข็มไม่ สามารถทิ่มแทงออกมาได้ก่อนน าไปท าลาย 6. เมื่อเลือดหรือสารคดัหลงั่เป้ือนพ้ืน ควรเช็ดออกดว้ยกระดาษหรือผา้ก่อนแลว้ทา ลายเช้ือบริเวณ ที่เป้ือนดว้ย 0.5 % โซเดียมไฮโปคลอไรท์ทิ้งไวน้าน 30 นาที ภาวะผู้ป่ วย 1. มะเร็งเม็ดโลหิตขาว ผู้ป่ วยไขกระดูกล้มเหลว 2. ผู้ป่ วยเคมีบ าบัด 3. Burn 4. แพ้ยา Steven Johnson Syndrom. วิธีปฏิบัติ 1. ห้องแยกเป็นสัดส่วน 2. สวมอุปกรณ์ป้องกัน 3. ล้างมือ 4. แยกอุปกรณ์ 5. แยกทา ลายเช้ือ 6. แยกขยะ 7. น้า ดื่ม


8. การเปลี่ยนผ้าปู 9. แฟ้มผู้ป่ วย 10. การเก็บสิ่งส่งตรวจ 11. การดูแลต้องฉีดวัคซีน 12. การท าความสะอาด Unit 13. การให้ค าแนะน า ผู้ป่ วยภูมิต้านทานต ่า หมายถึง การแยกผูป้่วยที่มีความบกพร่องในระบบความตา้นทานต่อเช้ือโรคของร่างกาย เพื่อ ป้องกนัไม่ให้ผูป้่วยไดร้ับการแพร่เช้ือจากบุคคลที่เขา้ไปสัมผสัจากสิ่งแวดลอ้มต่าง ๆ ผูป้่วยอาจไดร้บัเช้ือที่ แพร่กระจายในอากาศ น้า อาหาร หรือจากการกา จดัสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ไม่ถูกวิธีรวมท้งัเครื่องมือเครื่องใช้ ต่าง ๆ วิธีปฏิบัติ 1. ห้องแยก 2. ทุกคนต้องสวม Mask 3. เส้ือกาวน์ 4. ล้างมือ 5. แยก BP , หูฟัง , ปรอท 6. รองเท้า 7. แยก , หม้อนอน กระบอกปัสสาวะ 8. น้า ดื่ม ( น้า ตม้ สุก) 9. จ ากัดผู้เยี่ยม 10. ผู้ป่ วยต้องสวม Mask เมื่อออกนอกห้องพัก 11. การท าความสะอาด Unit 12. เมื่อจ าหน่ายผู้ป่ วยต้องอบห้อง การป้องกันการติดเชื้อจากการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข (Universal precautions: Ups) Universal precautions หมายถึงแนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่ วย โดยให้ถือว่าผู้ป่ วย ทุกรายมีเช้ือเอช ไอวีเช้ือไวรัสตบัอกัเสบบีและเช้ืออื่น ๆ ที่มีอยู่ในเลือด แล้วสามารถแพร่กระจายสู่ บุคลากรได้หากไม่ระมัดระวัง ประเทศไทยได้น าวิธีUniversal precautions มาปฏิบัติในปี พ.ศ. 2534 หลักการป้องกันการติดเชื้อจากการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข การปฏิบัติตามหลัก Universal precaution มีหลกัส าคญัดงัน้ี


1. การป้องกันอุบัติเหตุ(accident prevention) คือการวางแนวทางปฏิบัติในการป้องกันอุบัติเหตุจาก การปฏิบัติงาน โดยเฉพาะเมื่อใช้ของแหลมหรือมีคม เช่น การทิ้งเข็มที่ใชแ้ลว้ลงในภาชนะชนิด โลหะ หรือพลาสติกอย่างหนา ซึ่งเข็มไม่สามารถแทงทะลุออกมาภายนอกได้ห้ามสวมปลอกเข็ม คืนโดยใช้สองมือการส่งเครื่องมือมีคมในห้องผ่าตัด โดยใช้วิธีnon touch technique เป็นต้น 2. การใช้อุปกรณ์ป้องกันอย่างเหมาะสม (use of appropriate protective barriers) คือการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม เช่น ถุงมือเส้ือคลุม แว่นตาผ้าปิ ดปาก–จมูกรองเท้าบู๊ท เป็นต้น การใชอุ้ปกรณ์ป้องกนัเหล่าน้ีจะช่วยลดความเสี่ยงจากการที่ร่างกายของบุคลากรสัมผัส เลือดและสารคดัหลงั่ของผูป้่วยโดยตรง 3. การมีสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ดี(hygiene and sanitation) คือการคา นึงถึงเทคนิคปราศจากเช้ือ (aseptic technique) การล้างมือที่ถูกต้องการจัดสถานที่และสภาพแวดล้อมในการท างานให้มี สุขลักษณะอนามัยที่ดีมีความสะอาด รวมท้งัการทา ลายเช้ือ(disinfection) การทา ให้ปราศจากเช้ือ (sterilization) และการก าจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง ความรู้เรื่องโรคเอดส์ เอดส์หรือโรคเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากเช้ือไวรัสไปทา ลายระบบภูมิคุม้กนัของร่างกายทา ให้ร่างกาย เสี่ยงต่อการติดเช้ือฉวยโอกาส การประเมินความรุนแรงของโรคเอดส์โดยอาศัยอาการหรือโรคแทรกซ้อน ความรุนแรงของโรคระดับ1 อาการของผู้ป่ วย ไม่มีอาการ Asymptomatic ต่อมน้า เหลืองโต Persistent generalized lymphadenopathy ต่อมน้า เหลืองโตมากว่า1 ซมโดยไม่พบสาเหตุ มากกว่า2แห่ง ความรุนแรงของโรคระดับ2 อาการของผู้ป่ วย น้า หนกัลดลง 10 %จากปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ มีการติดเช้ือทางเดินหายใจซ้า ๆ เช่นไซนสัอกัเสบ sinusitis,ต่อมทอนซิลอักเสบ tonsillitis, หูช้นักลาง อักเสบ otitis media และคออักเสบ pharyngitis) ผูป้่วยจะมีอาการปวดใบหนา้น้า มูกไหลขา้งเดียว เจ็บหู หรือเจ็บคอ งูสวัด Herpes zoster มีตุ่มข้ึนตามแนวเส้นประสาท ปากนกกระจอก Angular cheilitis มุมปากแตกตอบสนองต่อยารักษาเช้ือรา แผลในปากเป็นซ้า Recurrent oral ulceration เป็นแผลร้อนในมากกว่า2คร้ังในระยะเวลา 6 เดือน ผื่นที่ผิวหนัง Papular pruritic eruptions ผื่นคันเป็นตุ่มๆและมักจะเป็นจุดด าๆ


ผื่นแพ้ไขมัน Seborrhoeic dermatitis ผิวหนังคนและมีขุยมักเป็นบริเวณที่มีผมหรือขน เช่นศีรษะ รักแร ร่องจมูก เช้ือราที่เล็บ Fungal nail infections มีการอักเสบของเล็บหรือมีการติดเช้ือราที่เล็บ ความรุนแรงของโรคระดับ3 อาการของผู้ป่ วย น้า หนกัลดลงมากกว่าร้อยละ10โดยไม่ทราบสาเหตุ น้า หนกัลด แกม้ตอบ แขนขาลีบ ดชันีมวลกายน้อย กว่า18.5 ทอ้งร่วงเร้ือรังมากกว่า 1 เดือน ถ่ายอุจาระเหลวเป็นน้า มากกว่า 3 คร้ังต่อวนัเป็น เวลา 1เดือน ไขเ้ร้ือรัง(มากกว่า37.6องศา)นานกว่าหนึ่งเดือน ไข้หรือเหงื่อออกกลางคืนไข้อาจจะเป็นตลอดหรือ เป็นๆหายๆ ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ เช้ือราในปากPersistent oral candidiasis มีอาการเจ็บปากและมีคราบขาวๆในปากเป็นๆ หายๆ มะเร็งในช่องปาก Oral hairy leukoplakia ผื่นขาวๆขา้งลิ้น ความรุนแรงของโรคระดับ3 อาการของผู้ป่ วย เป็นวัณโรคปอด ไขไ้อเร้ือรังมากว่า 2 สัปดาห์ หรือตรวจเสมหะพบ เช้ือวณั โรค หรือตรวจทางรังสีเข้าได้กับวัณโรค ติดเช้ือแบททเีรียชนิดรุนแรง เช่น ปอดบวม หนอง ในปอด กลา้มเน้ืออกัเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มีไข้ร่วมกับอาการตามระบบ เช่นไอ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ ปากหรือเหงือกอักเสบ ปาดอกัเสบ มีแผล ฟันร่วงกลิ่นปากแรง ซีดโดยไม่ทราบสาเหตุ (<8 g/dl),เม็ดเลือดขาวต ่า neutropaenia (<0.5 × 109 per litre) หรือเกร็ดเลือดต ่า chronic thrombocytopaenia (<50 × 109 per litre) ความรุนแรงของโรคระดับ4 อาการของผู้ป่ วย กลา้มเน้ือรีบ HIV wasting syndrome น้า หนกัลดลงมากกว่า10%และหรือทอ้งร่วงเร้ือรัง หรือไขเ้ร้ือรัง ติดเช้ือPneumocystis pneumonia ไข้ เหนื่อยง่าย ไอ ตรวจทางรังสีพบปอดบวมและ ไม่พบว่ามีการติดเช้ือแบททีเรีย ปอดบวมรุนแรงซ้า Recurrent severe bacterial pneumonia มีปอดบวม 2คร้ังใน 6เดือน


ติดเช้ือเริม Chronic herpes simplex infectionเร้ือรัง นานมากกว่า 1 เดือน มีผื่นที่ริมฝี ปากหรืออวัยวะเพศนานกว่า1เดือนหรือ เป็นๆหายๆ ติดเช้ือราตามอวยัวะต่างๆ Oesophageal candidiasis (or candidiasis of trachea, bronchi or lungs) มีอาการกลืนอาหารล าบากและเจ็บหน้าอก เนื่องจากเช้ือราในหลอดอาหาร เป็นวัณโรคนอกปอด Extrapulmonary tuberculosis ไข้ ไอ เจ็บหน้าอก ตรวจมีหนองช่องปอดหรือ หัวใจ Kaposi’s sarcoma ก้อนสีออกแดงที่ผิวหนังและในปาก ติดเช้ือCytomegalovirus infection(retinitis or infection of other organs) รู้ได้โดยการตรวจของจักษุแพทย์ ติดเช้ือ Central nervous system toxoplasmosis มีอาการอ่อนแรงของแขนและขาท าcomputer พบ รอยโรคในสมอง HIV encephalopathy ความจ าไม่ดี การเรียนรู้หรือพฤติกรรมแย่ลง ติดเช้ือ Extrapulmonary cryptococcosis including meningitis ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็งเกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ติดเช้ือDisseminated non-tuberculous mycobacterial infection ไม่มีอาการเฉพาะ การดูแลผู้ที่ติดเชื้อ HเIV เมื่อสมัยก่อนใครที่มีญาติเป็นโรคเอดส์จะต้องปิ ดข้อมูลมิให้ใครรู้เพราะสังคมรังเกียจ ญาติใกล้ชิดก็ รังเกียจกลัวติดโรคท าให้ผู้ป่ วยหมดที่พึ่ง เป็นโรคก็น่าเห็นใจแล้วแต่สังคมยังรังเกียจท าให้ผู้ป่ วยหมดก าลังใจ ปัจจุบนัสังคมยอมรับมากข้ึนทา ให้ผูป้่วยมีกา ลงัใจที่จะมีชีวิตประกอบกบัความรู้เกี่ยวกบัโรคน้ีมีเพิ่ม การ คน้พบยาตา้นไวรัสเอดส์ใหม่ๆทา ให้ผูป้่วยมีอายุนานข้ึน หากท่านมีญาติหรือคนรู้จกัติดเช้ือ HIV ท่านต้อง อ่านเพื่อที่จะไปดูแลผูป้่วยให้มีสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนนานข้ึนการดูแลผูป้่วยที่ติดเช้ือ HIV เป็นความเครียด ท้งัผูที่เป็นและผู้ดูแล ้ท่านตอ้งเขา้ใจผูป้่วยและท่านตอ้งติดตามความรู้เกี่ยวกบัโรคน้ีเนื่องจากมีการ เปลี่ยนแปลงการรักษาและดูแล สิ่งที่ผู้ดูแลต้องรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อ HIV และโรคเอดส์ การดูแลผู้ป่ วย ผูป้่วยที่เป็นโรคเอดส์หรือตดิเช้ือ HIV ต้องการพึ่งตัวเอง ท่านต้องให้ผู้ป่ วยช่วยเหลือตัวเองให้มาก ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ผู้ป่ วยสามารถก าหนดตารางการท างาน การรับประทานอาหารการออกก าลังกายจะ


ทา ให้กลา้มเน้ือแข็งแรงและน้ าหนกัตวัอยู่ในเกณฑป์กติการผกัผ่อน หากผู้ป่ วยสามารถปฏิบัติได้อย่างเคร่ง คัดก็จะสามารถมีสุขภาพที่ดีต้องให้ผู้ป่ วยหยุดสุรา บุหรี่ และยาเสพติด 1. ต้องให้ผู้ป่ วยอยู่อย่างส่วนตัว 2. พยายามให้ผูป้่วยชว่ยตวัเองให้มากที่สุดโดยเฉพาะการอาบน้ าการรับประทานอาหาร 3. ห้องที่อยู่ควรจะสะอาด แสงเข้าถึง 4. ห้องที่อยู่ควรอยู่ใกลห้ ้องน้ า 5. จัดทิชชู่ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้าไว้ใกล้กับผู้ป่ วยเมื่อจะหยิบใช้ 6. หากผูป้่วยไม่เดินให้พยายามพลิกตวัผปู้่วยทุกสองชวั่โมง การออกก าลังกาย แม้ว่าผู้ป่ วยที่นอนบนเตียงก็สามารถออกก าลังกายได้ โดยการที่ผู้ดูแลขยับแขน ขาข้อทุกข้อให้ขยับ ให้มากที่สุดเพื่อป้องกันข้อติด และเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยงัเน้ือเยื่อป้องกนัแผลกดทับ การหายใจ หากผูป้่วยหายใจลา บากก็ให้ผูป้่วยนงั่เอาหมอนพิงหลงั(เตียงแบบของโรงพยาบาล)และหากมี เสมหะซึ่งไม่สามารถไอออกมาก็ช่วยโดยการเคาะปอดและดูดเสมหะ การป้องกันการติดเชื้อ เนื่องจากผูป้่วยมีภูมิคุม้กนัที่ไม่แข็งแรงติดเช้ือไดง้่ายผูดู้แลจา เป็นตอ้งป้องกนัผูป้่วยมิให้รับเช้ือโรคซ่ึงมี วิธีการดงัน้ี 1. การลา้งมือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการทา ลายเช้ือโรคให้ลา้งมือบ่อยๆ ลา้งมือหลงัจากเขา้ห้องน้ าลา้งมือ ก่อนทา อาหารก่อนป้อนอาหารก่อนอาบน้า ให้ผูป้่วย ตอ้งลา้งมือทุกคร้ังเมื่อจามหรือไอ หรือเอามือ จับจมูก ปาก อวัยวะเพศเมื่อคนดูแลเป้ือนเลือด น้า เหลือง น้า อสุจิจะตอ้งลา้งมือทนัทีวิธีการล้างให้ ลา้งดว้ยน้า อุ่นและสบู่15 วินาที 2. ปิ ดแผลของท่าน ถ้าท่านมีแผล หรือตุ่มน้า ที่ผิวหนงัหรือการอกัเสบที่ผิวหนงัตอ้งระวงัเป็นพิเศษที่ จะนา เช้ือไปติดผูป้่วยและอาจจะติดเช้ือจากผูป้่วย ท่านมีแผลต้องใช้พลาสเตอร์ปิ ดแผลสวมถุงมือ 3. แยกคนไม่สบายออกจากผูท้ ี่ติดเช้ือ หากมีสมาชิกในครอบครัวปวดเป็นไข้หวัดหรือโรคอื่นต้องแยก จากผูท้ ี่ติดเช้ือ HIV หากเลี่ยงไม่ได้ก็ต้องสวมหน้ากากปิ ดปากและจมูก 4. ห้ามคนไข้สุกใสเข้าใกล้ผู้ป่ วย ไข้สุกใสอาจจะท าให้ผู้ป่ วย HIV เสียชีวติไดด้งัน้นัผูท้ ี่เป็นไขสุ้กใส ตอ้งไม่อยู่ห้องเดียวกบัผูป้่วยจนกระทงั่ผื่นแห้ง ส าหรับผู้ที่สัมผัสผู้ป่ วยที่เป็นไข้สุกใสหากจะไป เยี่ยมผูท้ ี่ติดเช้ือ HIV ต้องหลัง 3 สัปดาห์ผทู้ี่เป็นงูสวดัก็ไม่ควรเยี่ยมผูป้่วยตดิเช้ือ HIV และถ้าท่าน อยู่ใกลช้ิดกบัผูท้ ี่เป็นโรคไขสุ้กใสและท่านตอ้งดูแลผูป้่วยติดเช้ือ HIV ท่านต้องสวมหน้ากากปิ ด


ปากปิ ดจมูก ล้างมือก่อนที่จะไปช่วยเหลือคนไข้และอยู่ในห้องคนไขใ้ห้นอ้ยที่สุด ถา้หากผูท้ ี่ติดเช้ือ HIV สัมผัสผู้ป่ วยไข้สุกใสหรือโรคงูสวัดต้องแจ้งแพทย์ทราบทันที 5. สมาชิกของผูท้ ี่ติดเช้ือ HIV ควรจะได้รับการฉีดวัคซีนให้ครบเพื่อป้องกันโรคติดต่อไปยังผู้ป่ วยและ เพื่อให้แน่ใจอาจจะตอ้งฉีดกระตุน้อีกคร้ังวคัซีนที่ตอ้งฉีดคือ หัด หัดเยอรมนัคางทูม ส าหรับวัคซีน ป้องกนัโปลิโอตอ้งใชช้นิดที่เช้ือตายแลว้เท่าน้นั 6. ระวงัสัตวเ์ล้ียงและการทา สวน แมว้่าการเล้ียงสัตวจ์ะให้ความสุขกบัผูป้่วยแต่สัตวก์ ็สามารถนา เช้ือ ไปสู่ผู้ป่ วยได้ผทู้ี่ติดเช้ือ HIV ไม่ควรจะสัมผัสกับกรง กระบะอาหาร อุจาระของสัตว์น้า ส าหรับ เล้ียงปลา หากผูป้่วยตอ้งสัมผสัสัตวต์อ้งลา้งมือดว้ยสบู่ทุกคร้ัง ส าหรับผู้ที่ท าความสะอาดกรงหรือ กระบะอาหารควรจะสวมถุงมือทุกคร้ังและลา้งมือทนัทีสัตวท์ ี่เล้ียงก็ตอ้งหมนั่ฉีดวคัซีนและตรวจ สุขภาพเป็นประจ า เช้ือโรคสามารถพบไดใ้นดินดงัน้นัตอ้งสวมถุงมือทุกคร้ังที่ทา สวน 7. การซักรีด เส้ือผา้ผา้ปูที่นอนสามารถซักร่วมกบัคนปกติไดโ้ดยใชผ้งซักฟอกธรรมดาแต่ผา้ที่เป้ือน เลือด อุจาระ ปัสสาวะ น้า อสุจิให้ใชถุ้งมือจบั ใส่ถุงพลาสติกแยกไวต้่างหากและลา้งดว้ยน้า ธรรมดา เพื่อล้างเลือดออกก่อน จึงค่อยซักธรรมดาไม่จา เป็นตอ้งใชย้าฆ่าเช้ือ HIV เพราะการซักธรรมดาก็ฆ่า เช้ือได้ส าหรับเครื่องเรือนที่เป้ือนเลือดให้สวมถุงมือแลว้ใชน้ ้า สบู่ลา้งออก 8. การท าความสะอาดบ้าน ท าความสะอาดอ่างล้างหน้า ฝักบัว บ่อยๆโดยใชน้ ้า ยาลา้งห้องน้ า พ้ืนบา้น ตอ้งลา้งอย่างนอ้ยสัปดาห์ละคร้ัง โถส้วมให้ลา้งบ่อยๆโดยใชน้ ้า ยาธรรมดาลา้งทา ความสะอาด 9. อาหารผูป้่วยที่ติดเช้ือ HIV สามารถรับประทานอาหารทุกชนิดยิ่งมากยิ่งดีและควรรับประทาน อาหารให้หลากหลาย แต่ก็มีข้อที่ต้องระวังคือ 9.1 ห้ามดื่มนมที่ไม่ไดฆ้ ่าเช้ือ 9.2 ห้ามรับประทานไข่ดิบ เช่น Mayonnaise, Hollandaise sauce, Ice cream, Fruit drinks 9.3 เน้ือสัตวต์อ้งทา ให้สุกโดยไม่พบเน้ือแดงในอาหาร 9.4 ไม่รับประทานปลาหรือหอยสุกๆดิบๆ 9.5 ส าหรับคนเตรียมอาหารให้ลา้งมือก่อนเตรียมอาหารทุกคร้ังและลา้งทุกคร้ังเมื่อทา อาหาร ชนิดใหม่ 9.6 อุปกรณ์ที่ใช้เตรียมอาหารต้องล้างให้สะอาดก่อนน ามาปรุงอาหารใหม่ 9.7 ห้ามใช้ช้อนที่ชิมอาหารคนอาหาร 9.8 อย่าให้อาหารที่เตรียมไว้ปนเลือดวัวหรือเลือดหมู 9.9 ให้ลา้งเขียงทุกคร้ังที่จะทา อาหารชนิดใหม่ 9.10 ให้ล้างผักสดให้สะอาดและท าให้สุก 9.11ไม่ต้องแยกช้อน จาน ให้ทา ความสะอาดดว้ยน้า สบู่ก็พอ 9.12 ผูป้่วยทตี่ิดเช้ือไม่ควรเลียน้า หรือจานระหว่างปรุงอาหาร 9.13 อาหารร้อนต้องรับประทานขณะร้อน อาหารเย็นต้องรับประทานขณะเย็น


การป้องกันตัวเอง ผูป้่วยที่ตดิเช้ือ HIV อาจจะนา เช้ือโรคมาติดผูดู้แลได้ท่านจะต้องรู้จักป้องกันตัวเอง ตัวอย่างเช่น หากผูป้่วยติดเช้ือ HIV มีอาการท้องร่วงผู้ดูแลต้องสวมถุงมือขณะท าความสะอาดและให้ล้างมือเมื่อท าความ สะอาดเสร็จถุงมือใชค้ร้ังเดียวแลว้ทิ้งผูท้ ี่ตดิเช้ือ HIV หากมีอาการไอเกินกว่า 1 สัปดาห์ต้องไปพบแพทย์ เพราะอาจจะเป็นวัณโรค หากผู้ป่ วยเป็นวัณโรคสมาชิกในครอบครัวควรได้รับการตรวจว่าเป็นวัณโรค หรือไม่แม้ว่าจะไม่มีอาการไอผู้ป่ วยที่มีตัวเหลืองตาเหลืองต้องไปพบแพทย์เพื่อตรวจว่าเป็นตับอักเสบ หรือไม่หากเป็นตับอักเสบผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ผู้ทีอยู่ในบ้านเดียวกันควรจะได้รับวัคซีน ถุงมือ เนื่องจากเช้ือ HIV มีอยู่ในเลือด น้า เหลือง ปัสสาวะและอุจาระของผู้ป่ วยผู้ดูแลต้องระวังการสัมผัส กบัสิ่งเหล่าน้ีโดยเฉพาะผูท้ ี่มีแผลการดูแลสิ่งเหล่าน้ีตอ้งสวมถุงมือทุกคร้ังถุงมือที่ใชม้ีสองชนิดคือถุงมือที่ ใชท้างการแพทยใ์ชใ้นกรณีตอ้งสัมผสักบัสิ่งที่มีเช้ืออยู่ใชแ้ลว้ทิ้งเลยอีกชนิดหนึ่งคือถุงมือที่ใช้ตามบ้านไว้ ใส่ส าหรับท าความสะอาดบ้าน การจัดการของเสีย ของเสียของผูต้ิดเช้ือ HIV ไดแ้ก่เลือด น้า เหลือง ปัสสาวะอุจาระอาเจียนควรจะเททิ้งในโถส้วม และกดล้างออกให้หมด แต่ต้องระวังอย่าให้มีการกระเด็นเข้าตาหรือปาก ส าหรับผ้าอ้อม ผ้าอนามัย ผ้าท า แผลควรจะใส่ถุงพลาสติกและปิดให้สนิทแลว้ทิ้งในช่องขยะมีพิษอย่าลืมสวมถุงมือ ผู้ป่ วยโรคเอดส์ระยะสุดท้าย เมื่อโรคด าเนินมาถึงระยะสุดท้ายก็คงหนีไม่พ่นการเสียชีวิต ผูดู้แลสามารถสังเกตสิ่งที่จะเกิดต่อไปน้ี 1. ผูป้่วยจะนอนท้งัวนั ปลูกไม่ค่อยตื่น ให้พยายามพูดคุยหรือดูแลขณะที่ตื่น 2. ผู้ป่ วยจะจ าตัวเองไม่ได้ ไม่รู้วันเดือน สถานที่ ให้บอกผู้ป่ วยถึงวัน เวลา และบุคคล 3. ผู้ป่ วยจะควบคุมปัสสาวะและอุจาระไม่ได้ ต้องท าความสะอาดโดยใส่ถุงมือ โรยแป้ง 4. ผิวจะเยน็และมีสีคล้า ข้ึนเนื่องจากการไหลเวียนของเลือดลดลง ตอ้งห่มผา้ให้อบอุ่น 5. ผู้ป่ วยจะมีปัญหาเรื่องการได้ยินและการมองเห็น 6. ผู้ป่ วยจะกระสับกระส่าย ดึงผ้าคลุมเตียง ตอ้งพดูปลอบและให้ความมนั่ใจว่ามีคนอยู่ดว้ยตลอดเวลา 7. ผูป้่วยจะไม่ดมื่น้า และรับประทานอาหาร ตอ้งให้ใชผ้า้เช็ดริมฝีปากเพื่อให้ปากช้ืน 8. ผู้ป่ วยอาจจะไม่ปัสสาวะ 9. หายใจเสียงดัง เนื่องจากมีเสมหะอยู่ในคอ การดูแลต้องให้ผู้ป่ วยนอนหัวสูง หรือนอนตะแคง ถ้า ผูป้่วยพอกลืนไดใ้ห้น้า แข็งชิ้นเล็กๆ การดูแลสุขภาพจิตใจ การฝึ กจิตใจให้เข้มแข็ง จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรงสามารถต้านทานโรคต่างๆได้ จึงควรสร้าง กา ลงัใจให้เกิดข้ึนแก่ตนเองโดยวิธี 1. พบแพทย์หรือผู้ให้ค าปรึกษาจากหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานเอกชนเป็นระยะ


2. ยึดศาสนาและสิ่งศกัด์ิสิทธ์ิเป็นที่พ่ึง 3. สวดมนต์ภาวนาและการฝึ กสมาธิ ลักษณะอาการที่บ่งชี้ว่าตนเองมีความเครียด มีดังนี้ นอนไม่หลับ ฝันร้าย ปวดหัวมาก ปวดหัวข้างเดียว ปวดท้อง/ท้องเสีย หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เศร้า วิธีแก้ไข 1. พักผ่อน นอนอย่างน้อยวันละ6-8 ชวั่โมง 2. ฝึ กให้เป็นคนอารมณ์ดีมองโลกในแง่ดี 3. หลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบกับคนอื่นที่ดีกว่า 4. มีน้า ใจ/ไม่ท าบาป สวดมนต์ไหว้พระ ท าสมาธิ การดูแลผู้ป่ วยและผู้ติดเชื้อเอดส์โดยครอบครัว ผูป้่วยและผูต้ิดเช้ือเอดส์ส่วนใหญ่ที่รู้ตวัว่าป่วยหรือไดร้บัเช้ือเอดส์จะ มีความรู้สึกท้อถอย หมดหวัง หมดก าลังใจคนในครอบครัวผู้อยู่ใกล้ชิดควรต้องช่วยดูแลให้การช่วยเหลือ ให้ก าลังใจ ให้ความเอ้ืออาทร มี ความเข้าใจและไม่รังเกียจ เพราะผูป้่วยหรือผูต้ิดเช้ือเอดส์ก็คือ สมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว การดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์โดยครอบครัว 1. สมาชิกในครอบ ครัวควรให้การดูแลช่วยเหลือเอ้ืออาทร เขา้ใจไม่รังเกียจยอมรับการเจ็บป่ วยของ เขา 2. จัดอาหารที่มีประโยชน์และสุกสะอาด 3. กระตุน้ ให้ผูต้ิดเช้ือไดม้ีการออกกา ลงักายสม่า เสมอเท่าที่จะทา ได้ 4. กระตุน้ ให้ผูต้ิดเช้ือไดม้ีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของครอบครัว ยกเว้นกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิด บาดแผล 5. ศึกษาเรื่องโรคเอดส์ให้เข้าใจ เพื่อนา ไปใชใ้นการดูแลผูต้ิดเช้ือเอดส์ 6. ปรับตวัให้ยอมรับปัญหาที่เกิดข้ึนในครอบครัว ทา ใจให้หนกัแน่นต่อคา พูดของเพื่อนบา้น พยายาม 7. หาวิธีที่จะเปลี่ยนความเข้า และความเชื่อของเพื่อนบ้านให้ถูกต้อง 8. สนบัสนุนให้ยึดมนั่ในศาสนา สิ่งศกัด์ิสิทธ์ิและการฝึกสมาธิ 9. วางแผนการใช้เงิน เพื่อเตรียมไว้ใช้จ่ายเมื่อเกิดการเจ็บป่ วย 10. ศึกษาแหล่งช่วยเหลือท้งัของรัฐบาลและเอกชน เพื่อจะได้ขอรับการช่วยเหลือเมื่อยามจ าเป็น


การดูแลผู้ป่ วยอาการหนัก ผู้ป่ วยก่อนและหลังถึงแก่กรรม การดูแลผู้ป่ วยก่อนและหลังถึงแก่กรรม ผู้ป่ วยที่เจ็บหนัก คือ ผู้ป่ วยที่อยู่ในสภาพซึ่งอวัยวะที่จ าเป็นแก่การด ารงชีวิตก าลังถูก กระทบกระเทือนอย่างรุนแรง โดยเฉพาะระบบประสาทส่วนกลาง (สมองและไขสันหลังส่วนต้น) ระบบไหลเวียนและระบบหายใจ อาการและอาการแสดงของผู้ป่ วยที่เจ็บหนัก ผูป้่วยที่เจ็บหนกัมาก จะมีอาการและอาการแสดงดงัน้ี 1. หมดสติและคล าชีพจรไม่ได้ 2. หอบเหนื่อยจนพูดไม่ได้ หรือหายใจช้าและล าบากมากหรือหยุดหายใจ 3. ชักตลอดเวลา 4. ตกเลือดอย่างรุนแรง ส าหรับผูป้่วยที่เจบ็หนกัรองลงไป จะมีอาการและอาการแสดงดงัน้ี 1. หมดสติ ชัก กระสับกระส่าย และ / หรือ ไม่ค่อยรู้สึกตัว 2. หายใจล าบาก หรือหายใจมากกว่า 30 – 40คร้ังต่อนาทีหรือนอ้ยกว่า 3 – 4คร้ังต่อนาที 3. มือเท้าเย็น และมีเหงื่อตามหน้าและมือเท้า 4. ชีพจรเต้น ๆ หยุด ๆ หรือเต้นเร็วมากกว่า 160 –180คร้ังต่อนาทีหรือชา้กว่า 30 – 40คร้ังต่อนาที ร่วมกับอาการหอบเหนื่อยหรือหน้ามืดเป็นลม 5. ความดันเลือดที่สูงมากหรือต ่ากว่า และ / หรือ 6. ไข้สูงมาก การดูแลผู้ป่ วยใกล้ถึงแก่กรรม ด้านร่างกาย 1. อาหาร 2. การดูแลปากฟัน จมูก และตา 3. การดูแลผิวหนัง 4. ส่งเสริมการขับถ่าย 5. การจัดท่านอนและป้องกันอันตรายให้ผู้ป่ วย 6. การดูแลสิ่งแวดลอ้ม 7. การดูแลผู้ป่ วยให้สุขสบาย ด้านจิตใจ 1. การสร้างบรรยากาศแห่งความสงบ


1.1 ควรให้ผูป้่วยไดอ้ยู่ในสถานที่หรือบา้นที่ตนรักในสิ่งแวดลอ้มที่สงบสบายและมีสิ่งรบกวน น้อยที่สุด ญาติมิตรรอบข้างผู้ป่ วยควรจะรักษาจิตใจ ของตนให้สงบ มีความเมตตากรุณาต่อผู้ป่ วย ต้องการ ให้ผู้ป่ วยสบายใจ ไม่กังวลในเรื่องใดๆ และเปล่ง (ปล่อย) กระแสจิตแห่งความเมตตาและความปรารถนาดี ให้อบอวลไปทวั่บรรยากาศโดยรอบตวัผูป้่วยจะช่วยให้เกิดบรรยากาศแห่งความสงบและเป็นคุณประโยชน์ ต่อการจากไปของผู้ป่ วยได้. 2. การตั้งสติและการ "ปล่อยวาง" 2.1 เมื่อผู้ป่ วยเจ็บหนัก/ใกล้ตาย ผู้ป่ วยและญาติมิตรตลอดจนผู้ที่ดูแลผู้ป่ วย จะรู้สึกตื่นเต้น กังวล มี อารมณ์อ่อนไหวและรุนแรงไดง้่าย โดยเฉพาะถา้ผูป้่วยเกิดอาการเจ็บหนกั/ใกลต้ายข้ึนอย่างฉับพลนัโดย ไม่ได้คาดหมายกันมาก่อน และไม่ได้เตรียมตัวเตรียมใจไว้ก่อน ผู้ดูแลผู้ป่วยจึงมีความส าคญัอย่างยิ่งในการ ช่วยให้ผูป้่วยและญาติมิตรของผูป้่วยต้งัสติให้ได้การจะทา เชน่น้นัได้ผูดู้แลผูป้่วยจะตอ้งสามารถต้งัสติของ ตนเองให้ไดก้่อน ผูดู้แลผูป้่วยที่ต้งัสติไดเ้ร็วจะช่วยประคบั ประคองและฟ้ืน "สติ" (ในที่น้ีหมายถึง ทา ให้ ตระหนักรู้ความจริงหรือทา ให้ระลึกถึงความจริง)ของผูป้่วยและญาติไดเ้ร็วข้ึน ทา ให้ผูป้่วยและญาติผ่อน คลายความตื่นเต้นตกใจ ความกลัว ความกังวล และอารมณ์รุนแรงอื่นๆ ลงได้ ด้วยการพูดปลอบขวัญ ให้ ก าลังใจ ให้ความหวังและความสบายทางใจแก่ผู้ป่ วยและญาติโดยเฉพาะในระยะแรกๆ 2.2 เมื่อผูป้่วยและญาติเริ่มต้งัสติไดแ้ลว้จึงค่อยๆ ชกันา ให้ผูป้่วยและญาติไดเ้ขา้ใจขอ้เท็จจริงของ การเจ็บป่ วยของผู้ป่ วย 2.3 เมื่อผูป้่วยและญาติเขา้ใจขอ้เท็จจริงของการเจ็บป่วยและยอมรับความจริงน้นัแลว้จึงอธิบายถึง กลไกแห่งการตายและความตายตามธรรมชาติของการเจ็บป่วยน้นัซ่ึงจะไม่น่ากลวัและไม่ทา ให้เกิดความ ทุกขท์รมานมากเท่ากบัการพยายามฝืนธรรมชาติหรือการ "ยื้อ" (ยืดเวลาแห่งการตาย) ให้ยาวนานออกไป 2.4 เมื่อผู้ป่ วยและญาติยอมรับความจริงของการเจ็บป่ วยและการตายแล้ว ผู้ป่ วยและญาติจะคลาย ความกังวลและจิตใจจะสงบลง ผู้ดูแลผู้ป่ วยควรจะแนะน าผู้ป่ วยและญาติถึงวิธีการบรรเทาอาการเจ็บปวด และอาการอื่นๆ ท้งัทางกายและทางใจดงัไดก้ล่าวไวข้า้งตน้แลว้ 2.5 ถ้าผู้ป่ วยและญาติต้องการกลับไปตายที่บ้าน ควรจะจัดการให้ผู้ป่ วยสามารถเดินทางกลับบ้าน โดยปลอดภัย เช่นให้รถพยาบาลพาผู้ป่ วยไปส่งที่บ้าน หรือแนะน าวิธีรักษาพยาบาลผู้ป่ วยระหว่างการ เดินทางโดยให้อุปกรณ์ที่จ าเป็นต่างๆ ไปด้วย เป็นต้น 2.6 ถ้าผู้ป่ วยต้องการกลับไปตายที่บ้าน แต่ญาติไม่ยอม ก็ควรจะพูดคุยกับญาติให้เข้าใจว่า นี่เป็นการ "ทา บุญ"คร้ังสุดทา้ยให้ผูป้่วยการฝืนเจตนารมณ์ของผูป้่วยจะเป็น "บาป"และจะติดตรึงอยู่ในใจของตน ตลอดไป 2.7 ถ้าผู้ป่ วยไม่ต้องการกลับไปตายที่บ้าน ก็ควรจะให้ผู้ป่ วยได้พักผ่อนและจากไปในสถานที่ที่ ผู้ป่ วยต้องการ เพื่อให้ผู้ป่ วยได้สมปรารถนาในวาระสุดท้าย 2.8 เมื่อผู้ป่ วยและญาติยอมรับวาระสุดท้ายของ ผู้ป่ วยแล้ว ผู้ที่ดูแลผู้ป่ วยหรือผู้ที่เชี่ยวชาญในทาง ศาสนาหรือลทัธิที่ผูป้่วยและญาติเชื่อถือศรัทธาควรจะพูดคุยให้ผูป้่วย"ปล่อยวาง" (ทิ้ง)ความห่วงกงัวล


ต่างๆ โดยระลึกถึงแต่พระผูเ้ป็นเจา้และสิ่งศกัด์ิสิทธ์ิที่ตนเคารพบูชา หรือ"ปล่อยวาง" ทุกสิ่งทุกอย่างแมแ้ต่ ความเป็น "ตัวเรา-ของเรา" เพื่อให้กาย ใจ และจิตวิญญาณได้กลับคืนสู่ธรรมชาติโดยสมบูรณ์ การกล่าวลาและการ "บอกทาง" 1. การ "กล่าวลา" คือ การพูดจาที่ท าให้ผู้ป่ วยใกล้ตายเกิดความสบายใจและสามารถจากไปด้วย ความสุข ไร้ความกังวลห่วงใย เช่น "แม่จ๋า...ผมรักแม่มาก ผมขอโทษส าหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ผมทา ให้แม่ ไม่สบายใจ...ผมอยากให้แม่อยู่กับผมนานๆ แต่แม่ล าบากมานานแล้ว เพื่อผมและน้องๆ ทุกคน...แม่ไม่ต้อง กังวลนะครับ ผมจะดูแลน้องๆทุกคนให้ดีเหมือนกับที่แม่ได้ดูแลพวกเรามา...ผมจะอยู่กับแม่ เฝ้าดูแลแม่ให้ หลับอย่างสบาย แม่หลับให้สบายนะครับ ผมรักแม่ครับ" เป็นต้น 2. แม้ผู้ป่ วยจะอยู่ในสภาพหมดสติหรือไม่รู้สึกตัว การ "กล่าวลา"ก็เป็นสิ่งส าคญัและจิตวิญญาณ ของผูป้่วยจะสามารถรับรู้ได้หรืออย่างนอ้ยก็ทา ให้จิตใจของผูก้ล่าวคา อา ลาน้นัเกิดความรู้สึกดีๆข้ึน เป็น กุศลแก่จิตใจของตนเองและแก่ผูอ้ื่นที่ไดย้ินคา กล่าวอา ลาน้นั 3. ผู้ที่กล่าวค าอ าลา ควรจะกล่าวด้วยเสียงและส าเนียงที่นุ่มนวล อ่อนโยน เต็มไปด้วยความรัก ความ เมตตา และความปรารถนาดี ที่จะให้ผู้ป่ วยได้จากไปอย่างสงบ ไร้ความห่วงกังวลใดๆ 4. ผู้ที่กล่าวค าอ าลา จึงตอ้งต้งัสติและซ้อมพูดให้ดีก่อนเขา้ไปพูดกบัผูป้่วยเพื่อที่จะไม่ไปร้องห่ม ร้องไห้คร าครวญ สะอึกสะอ้ืนในขณะที่เขา้ไปกล่าวคา อา ลา เพราะอาจทา ให้ผูป้่วยเศร้าเสียใจและไม่อาจ จากไปอย่างสงบได้ 5. ส่วนการ "บอกทาง"ในที่น้ีหมายถึงการพูด การสวดภาวนา หรือการกระทา อื่นๆ ที่ผูป้่วยหรือ สังคมน้ันๆ เชื่อถือศรัทธา เพื่อนา พาให้การจากไปของผูป้่วยไดไ้ปสู่สุคติซ่ึงจะแตกต่างกนั ในแต่ละศาสนา แต่ละนิกาย และแต่ละลัทธิ เช่น 5.1 ในศาสนาคริสต์ เมื่อผู้ป่ วยใกล้จะจากไปจะให้นักบวชหรือบาทหลวงมาไถ่บาปให้ ผู้ป่ วยและให้ศีลสุดท้าย แก่ผู้ป่ วยที่ก าลังจะจากไป โดยเชื่อว่าจะท าให้ผู้ป่ วยได้กลับคืนสู่อ้อมอกของ พระผู้ เป็นเจ้า บางแห่งจะมีการร้องเพลงสวดให้แก่ผู้ก าลังจะจากไปด้วย บางแห่งอาจมีการเจิม (ทา) น้า มนั ให้ผูป้่วย ในนามของพระผู้เป็นเจ้า เพื่อให้ผู้ป่ วยพ้นจากความทุกข์ทรมาน เป็นต้น 5.2 ในศาสนาอิสลาม เมื่อผู้ป่ วยใกล้จะจากไปจะให้ผู้ป่ วยกล่าวถ้อยค าปฏิญาณตนว่า ไม่มีพระเจ้า อื่นใดนอกจากอัลลอฮ์ และอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน ให้ผู้ป่ วยฟัง แล้วเป่ าบทกายของผู้ป่ วย แล้วจับมือของ ผู้ป่ วยลูบไปตามร่างกายของผู้ป่ วยด้วย ผินหน้า ผู้ป่ วยไปทางทิศกิบละฮ์ เมื่อผู้ป่ วยตายแล้ว ให้จัดสภาพให้ เรียบร้อย รีบอาบน้า ห่อศพ นา ศพไปละหมาด แลว้รีบนา ไปฝงั โดยตามไปส่งศพดว้ยเป็นตน้ 5.3 ในศาสนาพุทธการ "บอกทาง"ข้ึนอยู่กบันิกายและลทัธิต่างๆ บางนิกาย เช่น บางแห่งก็ให้เพียง ญาติมิตรเข้ากล่าวค าอ าลาผู้ป่ วย พร้อมกับให้ผู้ป่ วย "บอกอรหัง" อันหมายความว่า ให้ผู้ป่ วยมีจิตใจระลึกถึง พระพุทธเจา้และพระอรหันตห์รือสิ่งที่ดีงามอื่นๆ หรือถา้จะให้ดีกว่าน้นัอีกคือให้ผูป้่วยไดรู้้สึกว่า ทุกสิ่งทุก


อย่างที่เกิดข้ึน เปลี่ยนแปลงและดบัสลายไปน้ันเป็นธรรมชาติไม่มี"ตวัเรา-ของเรา" หรือ "ตัวกู-ของกู" อีก ต่อไป จะท าให้ผู้ป่ วยสามารถ "ตายดีที่สุด" ตามอัตภาพของตนได้ อย่างไรก็ตาม บางแห่งและบางคนอาจถือว่า การ "บอกทาง" เป็นการ "แช่ง" ผู้ป่ วย และท าให้ผู้ป่ วย เสียก าลังใจ จึงไม่ยอมให้มีการ "บอกทาง" หรือนิมนต์พระมาพบผู้ป่ วย จนเมื่อผู้ป่ วยใกล้ตายจริงๆ หรือไม่ สามารถรับรู้อะไรได้แล้ว จึงมีการ "บอกทาง" หรือนิมนต์พระมาสวดให้ศีลให้พรผู้ป่ วย ซึ่งผู้ป่ วยส่วนใหญ่ จะไม่สามารถรับรู้ และ "ท าใจ" ของตนให้พ้นจากทุกขเวทนาต่างๆได้ อาการของผู้ป่ วยที่ใกล้ถึงแก่กรรม 1. ความตึงตวัของกลา้มเน้ือหมดไป 2. ระบบการไหลเวียนเลือดจะช้าลง 3. การหายใจเร็วต้ืน ไม่สม่า เสมอหรือชา้กว่าปกติ 4. ความรู้สึกลดลง 5. ลดการท างานของระบบทางเดินอาหาร การถึงแก่กรรม จะเกิดข้ึนเมื่อพิจารณาแลว้ว่าการหายใจและหัวใจหยดุทา งานแลว้หลายนาทีไม่มีรีเฟล็กซ์และ คลื่นไฟฟ้าของสมองเป็นเส้นตรง การเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญหลังจากผู้ป่ วยถึงแก่กรรม 1. อาการที่ร่างกายแข็งภายหลังการตาย 2. อุณหภูมิในรางกายเริ่มลงลงเรื่อย ๆ 3. ทางเดินอาหารซ่ึงเป็นเน้ือเยื่อที่อ่อนจะเน่าเปื่อย


การแต่งศพ การแต่งศพ เป็นการดูแลศพให้อยู่ในสภาพที่สะอาดเรียบร้อย และเป็นธรรมชาติ เพื่อเป็นการให้เกียรติและ เคารพศพ รวมท้งัสนองตอบความตอ้งการดา้นจิตสังคมและจิตวิญญาณของผูเ้สียชีวิตและญาติและคา นึงถึง ศักดิ์ศรีของผู้เสียชีวิต เครื่องใช้ 1. อ่างน้า 1 ใบ 2. ผ้าเช็ดตัวผืนใหญ่ 1 ผืน 3. ผ้าเช็ดตัวผืนเล็ก 1-2 ผืน 4. ถาดแต่งศพ ประกอบด้วย 4.1 สบู่ 4.2 แป้ง 4.3 หวี 4.4 ปากคีบยาวสะอาด 4.5 ภาชนะใส่ส าลีชุบน้า หมาด 4.6 ชามรูปไตพร้อมถุงกระดาษ 5. เส้ือผา้สะอาด 1 ชุด 6. บัตรประจ าตัวศพ 7. ชุดเครื่องส าอาง 1 ชุด (กรณีผู้เสียชีวิตและญาติต้องการ) 8. ถุงมือสะอาด 9. ชุดท าแผล (ถ้าจ าเป็น) 10. ถงัใส่ผา้เป้ือน


วิธีปฏิบัติในการแต่งศพ วิธีปฏิบัติ เหตุผล 1. จัดสภาพแวดล้อมให้มิดชิด 2. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 3. จัดให้ผู้เสียชีวิตอยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะหนุนหมอน มือท้งั 2 ข้างวางข้างล าตัว 4. จัดเก็บอุปกรณ์ น าท่อหรือสายยางต่างๆที่ต่อจากตัว ผู้เสียชีวิตออก และปิ ดบาดแผลให้เรียบร้อยเปลี่ยนผ้าปิ ด แผลที่สกปรกหรือเป้ือนทา ความสะอาดบริเวณที่เป้ือนสิ่ง คดัหลงั่และใชย้าดบักลิ่น(กรณีที่มีกลิ่น) 5. ปิดตาท้งั 2 ขา้งให้สนิท ถา้จา เป็นใชส้ าลีชุบน้า อุ่น บิด ให้หมาดปิ ดบริเวณเปลือกตาสักครู่ ถ้าผู้เสียชีวิตใส่ฟัน ปลอม ดูแลใส่ฟันปลอมให้เรียบร้อยปิ ดปากให้สนิท ถ้า จ าเป็ นให้ใช้ผ้าม้วนวางไว้ใต้คางหรือใช้ผ้า 4 หาง ( 4tails binder) พันไว้ 6. ทา ความสะอาดร่างกายใส่ส าลีเขา้ช่องจมูกท้งั 2 ข้างและ ทวารหนัก ถ้าเป็ นหญิงใส่ส าลีก้อนเข้าทางช่องคลอด 7. สวมเส้ือผา้ที่สะอาด หวีผมให้เรียบร้อยอาจแต่งหน้าให้ ผู้เสียชีวิต คลุมบริเวณร่างกายผูเ้สียชีวิตต้งัแต่ไหล่ถึงปลาย เท้า 8. น าบัตรประจ าตัวศพผูกที่ข้อมือข้างใดข้างหนึ่งของ ผู้เสียชีวิต 9. เก็บอุปกรณ์ต่างๆออกจากเตียงและท าความสะอาด อุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆอย่างถูกต้อง 10. จัดเก็บของมีค่าคืนให้ญาติและให้เซ็นรับไว้เป็ น หลักฐาน 11. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 12. รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับการตาย สาเหตุการตาย ชื่อ แพทย์ผู้ประกาศการตาย และบันทึกการพยาบาลที่ให้อย่าง ละเอียด ลงเวลาถึงแก่กรรมด้วยหมึกสีแดง 13. เมื่อเจ้าหน้าที่ห้องพักศพมารับผู้เสียชีวิต ผู้ให้การ พยาบาลควรไปส่งศพและกางร่มให้(ถ้าจ าเป็ น) 1. มิให้ผู้อื่นเห็นภาพที่ไม่น่าดู และเป็ นการให้เกียรติแก่ ผู้เสียชีวิต 2. เพื่อลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ 3. ป้องกนัมิให้เลือดคงั่บริเวณใบหน้า 4. เพื่อให้ปฏิบัติงานได้สะดวก สภาพผู้เสียชีวิตเป็ น ธรรมชาติและป้องกนัการแพร่กระจายเชื้อ 5. ป้องกันมิให้รูปหน้าผิดปกติ และดูเป็ นธรรมชาติ 6. ป้องกันของเหลวไหลออกจากช่องทางเปิ ดต่างๆ เนื่องจากหูรูดคลายตัว 7. เป็ นการให้เกียรติแก่ผู้เสียชีวิต 8. เป็ นหลักฐานประจ าศพ 9. ป้องกนัการแพร่กระจายเชื้อจุลินทรีย์ 10. เป็ นหลักฐานทางกฎหมาย 11. เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายของเชื้อจุลินทรีย์ 12. เป็ นหลักฐานและข้อมูลที่เที่ยงตรงตามกฎหมาย 13. เป็ นการให้เกียรติแก่ผู้เสียชีวิต


หมายเหตุ 1. ในรายที่เป็นโรคติดต่อ ต้องแยกเครื่องใช้ทุกชนิด 2. ในรายที่ตอ้งการตรวจศพ ตอ้งให้ญาติเซ็นใบอนุญาตให้ตรวจศพแลว้ส่งใบน้ีพร้อมเวชระเบียนไป พร้อมกบัศพดว้ย แต่ถา้ไม่อนุญาตให้ตรวจศพ ตอ้งส่งใบน้ีไปที่แผนกเวชระเบียน 3. ใบแจ้งความมรณะบัตรส่งไปที่หน่วยรับผู้ป่ วยใน _____________________________________________________________________________________


Click to View FlipBook Version