The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 2 เมษายน 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jettanai_p, 2021-11-04 04:27:00

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 2

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 2 เมษายน 2560

Keywords: จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 2 เมษายน 2560

พระราชดำ� รสั เศรษฐกิจพอเพยี ง

“เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นเสมือนรากฐานของชวี ติ
รากฐานความมั่นคงของแผน่ ดิน

เปรยี บเสมอื นเสาเขม็ ทถ่ี ูกตอกรองรบั บา้ นเรือนด้วยอาคารไว้นน่ั เอง
ส่ิงกอ่ สรา้ งจะมนั่ คงไดก้ อ็ ยทู่ ีเ่ สาเข็ม

แต่คนส่วนมากมองไม่เหน็ เสาเขม็ และลืมเสาเขม็ เสยี ด้วยซ้ำ� ไป”

พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ
จากวารสารชยั พฒั นา ประจำ� เดอื นสิงหาคม 2542

สารบญั Contents

5 10 หมบู่ า้ นเตินตามรอยพ่อ...เพอ่ื พอเพียง
8 ต�ำรวจตระเวนชายแดน กับพันธกิจพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เดก็ ไทยในถิ่นทุรกนั ดาร

11 ชาวไทยทรงดำ� วฒั นธรรมน�ำการพฒั นาพ้ืนท่ี
และปกปกั รักษท์ รพั ยากร
13 ชมุ ชนท่าทอง ทอ่ งเท่ียวประวตั ิศาสตร์และธรรมชาตินเิ วศน์ คณะผจู้ ัดท�ำ
15 เกาะพะลวย เกาะพลังงานสะอาดต้นแบบหนงึ่ เดียวของไทย
17 สนุ ัขจรจดั และพิษสุนัขบ้า เราร่วมด้วยชว่ ยกนั ที่ปรกึ ษากองบรรณาธิการ
19 นางกำ� การพฒั นาผลติ ภัณฑ์สรา้ งสรรคอ์ ัตลักษณช์ ุมชน
21 โครงการพี่เลี้ยง สรา้ งโรงเรยี นน�ำรอ่ งไทยแลนด์ 4.0 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สมทรง นมุ่ นวล

23 เส้นทางท่องเที่ยวเมืองโบราณเวียงสระ กองบรรณาธิการ
25 อตั ลักษณช์ ุมชนบนพื้นฐานวถิ ชี วี ติ และประเพณี
27 English outside the book การอ่านนอกหนงั สอื 1. ดร.กฤษณะ ทองแก้ว
29 คลนิ ิกกฎหมาย ศนู ยช์ ่วยเหลอื ประชาชนในชมุ ชนทอ้ งถ่นิ 2. ดร.เสนห่ ์ บุญกำ� เนิด
31 นำ้� ท่วม......ท่ีเอ่อล้นด้วยนำ�้ ใจ 3. นางสาวกฤษณา สังขมุณีจินดา
33 โรงเรียนผสู้ ูงอายุประเด็นทีท่ ้าทาย 4. ดร.สุพรรณิการ์ ศรบี วั ทอง
35 เมอื่ สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน สรา้ ง Plan ดี มีชัยไปเกนิ ครง่ึ 5. นางสาวเบญจมาศ นากทองแกว้
37 eDLTV การเรยี นการสอน สศู่ ตวรรษท่ี 21 6. นางสาวอัญชลพี ร มัน่ คง
39 ระบบวชริ วชิ าการสรุ าษฎร์ธานี 7. นายสิปปภาส พรมโชติ
41 การจดั การความรู้สารสนเทศ โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน 8. นางสาวจุฑารัตน์ ธาราทิศ
43 อนาคตของอดีต วัดโพธารามกับการอนรุ กั ษใ์ บลานคมั ภีร์ 9. นายเจตนัยธ์ เพชรศรี
46 ASEAN : กญุ แจไขรหัสสู่การปฏิบตั งิ านในสังคมอาเซยี น 10. นางวรรณา กมุ ารจนั ทร์

48 ครูสอนครู เพ่ือใหค้ รูไปสอนเด็ก 11. นายอภิชาต โกศล

50 สรา้ งแนวคิดเชิงบวกตามวิถีพทุ ธทาส 12. นางกติ ติกร ไสยรินทร์
53 ชมรมTO BE NUMBER ONE กับชุมชนภูธรอทุ ิศ
56 รอ้ ยถ�้ำโบราณ ณ บ้านเขานพิ นั ธ์ 13. นางสาวเทพนิ ทร์ ภพทวี

14. นางสาวพิมพช์ นก มีเดช

15. นายอรณุ หนขู าว

16. นางสาวจนั ทิมา องอาจ

17. นางนันทพร รตั นพันธ ์

18. ว่าที่ ร.ต.อาซดี ท้งิ ปากถ�้ำ

19. นางสาวนชุ นาถ หนหู ีต

20. นางสาวทศภิญญา หอมหวล

21. ว่าที่ ร.ต.หญิงอัจฉราวรรณ บุญมาก

22. นางสาววันวนทั ธ์ วรภู

ค�ำน�ำ

จุลสารบริการวิชาการท้องถ่ิน นับเป็นกลไก นานาชาตกิ ารทอ่ งเทย่ี ว คณะวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี คณะ
ส�ำคัญของการขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยเพ่ือให้เป็นไปตาม วิทยาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย ส�ำนักวิทยบริการและ
พันธกิจ 4 ดา้ น คือ การบริการวิชาการ การวิจัย การผลติ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม สถาบนั
บัณฑิต และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ในส่วน ภาษา และงานบริการวิชาการ โดยมีบทความจ�ำนวน
ของการบริการวิชาการถือเป็นก้าวแรกๆ ที่ส�ำคัญในการ 28บทความในการเผยแพรใ่ นจุลสารครัง้ น้ี
เช่อื มโยงบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัยกับชมุ ชนท้องถิ่น และ จลุ สารฉบบั นค้ี รอบคลมุ การบรกิ ารวชิ าการของ
ถือเป็นก้าวท่ีวางหมุดหมายให้เกิดการวิจัย และการท�ำนุ มหาวิทยาลัยราชภัฎต่อชุมชนท้องถ่ิน ตั้งแต่เดือนตุลาคม
บ�ำรงุ ศิลปวัฒนธรรมต่อไป ดังนัน้ ก้าวแรกจึงถือเปน็ กา้ วที่ พ.ศ.2559 จวบจนเดือนเมษายน พ.ศ.2560 ครอบคลุม
สำ� คญั ในการทจ่ี ะนำ� พาสรรพสงิ่ ทจ่ี ะเกดิ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั พน้ื ทใ่ี นตำ� บลขนุ ทะเลซง่ึ เปน็ ทตี่ งั้ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั
ของมหาวิทยาลัยที่จะรับใช้สังคม เม่ือมหาวิทยาลัยได้ สุราษฎร์ธานีกับชุมชนท้องถิ่น และพ้ืนที่ คณะ สถาบัน
ประสานกับชุมชนโครงการท่ีจะน�ำกิจกรรมต่างๆ ให้เกิด ส�ำนัก ได้ท�ำหน้าท่ีในการบริการวิชาการให้กับชุมชน
ขน้ึ กต็ ามมา ดงั นน้ั จลุ สารฉบบั นเ้ี ปน็ สารทจี่ ะสอ่ื ออกไปตอ่ ท้องถนิ่ ผลงานเหล่าน้มี กี ารสมานพลังของแผน่ ดินทีน่ �ำไป
สงั คมเพอื่ ใหเ้ ปน็ ทป่ี ระจกั ษต์ อ่ ชมุ ชนวา่ งานบรกิ ารวชิ าการ สู่การขับเคลื่อนการท�ำงานทั้งปัจจุบันและอนาคตของ
พฒั นาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สรุ าษฎรธ์ านี ไดเ้ ขา้ ไป ชมุ ชนทเี่ ราเชอื่ รว่ มกนั วา่ การรบั ใชส้ งั คมคอื อดุ มการณข์ อง
รบั ใชช้ มุ ชนทอ้ งถนิ่ อยา่ งเขม้ แขง็ โดยมโี ครงการทไี่ ดร้ บั การ การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยอันเป็นพลงั ของแผ่นดนิ ตอ่ ไป
คดั เลอื กใหม้ าเผยแ่ พรจ่ ากการดำ� เนนิ งานของคณะ สถาบนั
ส�ำนัก คือ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรและ กองบรรณาธิการ
สงั คมศาสตร์ คณะพยาบาล คณะนติ ศิ าสตร์ คณะวทิ ยาลยั จุลสารบริการวชิ าการทอ้ งถิ่น

ค�ำนิยม

การบริการวิชาการแก่ชมุ ชนท้องถ่ินเป็นพันธกจิ หนง่ึ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี ในฐานะ
สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ทด่ี ำ� เนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั หนว่ ย
งานและองคก์ รตา่ ง ๆ ภายนอกมหาวทิ ยาลยั และการนำ� ผลงานวจิ ยั นวตั กรรมและองคค์ วามรขู้ องมหาวทิ ยาลยั
ไปเผยแพร่ หรือน�ำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์กบั ชมุ ชนท้องถน่ิ เพอื่ แก้ปัญหาและเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชุมชน
ท้องถ่นิ ใหส้ ามารถเรยี นรู้และพ่ึงตนเองได้อย่างยง่ั ยืน
นอกจากน้ีการบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นยังมีบทบาทส�ำคัญย่ิงในการสนองโครงการตามแนว
พระราชด�ำริ ด�ำเนินงานตามรอยเบ้อื งพระยุคลบาท สืบสานพระราชปณธิ าน รวมทั้งสรา้ งสรรค์งานอันเกิดจาก
แรงบันดาลใจในพระราชด�ำรสั มาอย่างตอ่ เนอื่ งยาวนาน
โดยได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนท่ีเข้มแข็งจากหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัย เกิดโครงการและกิจกรรมบริการวิชาการข้ึนมาจ�ำนวนมาก เพ่ือใช้เป็นกลไกในการตอบโจทย์
ความต้องการของทอ้ งถิน่ และเพอ่ื พฒั นาทอ้ งถนิ่ ชุมชนในมิติต่าง ๆ
เอกสารเลม่ นไี้ ดร้ วบรวมเนอ้ื งานบางสว่ นทดี่ ำ� เนนิ การในรอบปี 2559 มารอ้ ยเรยี งเปน็ บทความสน้ั ๆ
พร้อมภาพประกอบ เพื่อให้เป็นแนวทางและกรณีศึกษาทัง้ แกค่ ณะทำ� งาน คนในชุมชน และผอู้ า่ นทว่ั ไป
ซง่ึ จะท�ำใหผ้ อู้ า่ นมองเห็นภาพการบริการวชิ าการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ท่ีได้ทำ� มา เพื่อจะได้มองเห็นภาพใน
อนาคตชดั เจนขึน้ ตลอดจนการปรับปรุงพัฒนาให้งานบริการวิชาการมีประสิทธภิ าพเพ่มิ ข้ึน
ขอช่ืนชมคณะท�ำงานทุกท่านที่มุ่งม่ันทุ่มเทสรรพก�ำลัง ร่วมแรงร่วมใจโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย
เพอ่ื ให้พันธกิจดา้ นการบริการวิชาการมหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานเี กดิ ดอกออกผล

(ผ้ชู ่วยศาสตราจารยส์ มทรง นุ่มนวล)
รักษาการแทน

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี

5 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

10 หมู่บา้ นเดินตามรอยพอ่ ...เพอื่ พอเพยี ง

อรุณ หนูขาว
งานบรกิ ารวชิ าการพัฒนาท้องถ่นิ

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการ ขุนทะเลเกดิ วิกฤตเิ ศรษฐกิจตามกระแสโลกไปดว้ ย น�ำมา
ด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ซงึ่ ความเดอื ดรอ้ นในการดำ� รงชวี ติ ครอบครวั เรม่ิ สน่ั คลอน
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการ จากภาวะดังกลา่ ว
พัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง ดว้ ยเหตผุ ลขา้ งตน้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุค จงึ ร่วมกบั ประชาชน ผ้นู ำ� ในต�ำบลขนุ ทะเล พัฒนาแกนนำ�
โลกาภิวตั น์ เรยี นรเู้ พอ่ื สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั จากกระแสภายนอกทโี่ หมกระหนำ�่
ต�ำบลขุนทะเลเป็นหน่ึงในต�ำบลของอ�ำเภอเมือง ตกลงใจร่วมจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง น้อมน�ำหลัก
จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ปกครองโดยแบง่ ออกเปน็ 10 หมบู่ า้ น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามค�ำพ่อสอนสู่การปฏิบัติ
โดยมีเทศบาลต�ำบลขุนทะเลเป็นองค์กรปกครองส่วน เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ทอ้ งถ่นิ ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมใน ท้ัง 10 หมู่บ้าน ตามความต้องการบนฐานทรัพยากร
การด�ำรงชีวิต ซ่ึงจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ ท่ีมีอยู่ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผ่านกิจกรรมเวที
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้ประชาชนในต�ำบล เรยี นรู้

จากฉันทามติของประชาชนชาวขุนทะเลจึงน�ำไปสู่ บา้ นทา่ อู่ : ถักกระเปา๋ จากไหมเชือกร่ม
กิจกรรมเพอื่ ลดรายจา่ ย เพ่มิ รายไดท้ ้งั 10 หมบู่ ้าน ดงั น้ี
การรวมกลมุ่ ของสมาชกิ ในครอบครวั ทงั้ วยั หนมุ่ สาว
บ้านนิคม : ขนมหวานสรา้ งอาชพี และวัยชราท่ีว่างเว้นจากภารกิจหลัก มาฝึกอาชีพถักไหม
เชือกร่มเป็นกระเป๋าและตะกร้า การใช้เวลาว่างให้เป็น
ชุมชนบ้านนิคมเป็นชุมชนท่ีมีประชาชนท่ีจากภาค ประโยชนเ์ พอื่ สรา้ งรายได้ ลดรายจา่ ยในครอบครัว
กลางมาอยู่อาศัยเป็นจ�ำนวนมาก และน�ำเอาวัฒนธรรม
อาหารคาวหวานมาปรงุ เพอื่ บรโิ ภค ชาวชมุ ชนเหน็ พอ้ งตอ้ ง บ้านดอนเกลี้ยง บา้ นควนยงู บา้ นซอยสบิ
กันว่าควรจะรักษาและถ่ายทอดภูมิปัญญาการท�ำขนม บา้ นหว้ ยเสยี น : ปลกู ผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้
หวานสู่เยาวชนรุ่นหลังและนำ� มาซ่งึ รายได้ สร้างงานสร้าง
อาชีพในชุมชน ประกอบกับการหนุนเสริมและพัฒนา ด้วยพื้นท่ีในหมู่บ้านเหมาะแก่การปลูกพืชผัก
ต่อยอดจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จึงเกิด สวนครัว รวมทั้งความต้องการในการดูแลสุขภาพของ
การรวมกลุ่มสตรีเพื่อสร้างอาชีพการท�ำขนมหวาน เช่น สมาชิกในครอบครัวจากการรับประทานอาหารปลอด
ทองหยิบ ทองหยอดจ�ำหนา่ ย สร้างรายไดแ้ กค่ รอบครวั ใน สารพิษ จึงร่วมกันปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได้ เช่น ชะอม
ชมุ ชน พรกิ ไทย ขมน้ิ มะกรดู ทงั้ ภายในบรเิ วณบา้ นและรมิ รวั้ ขา้ ง
ถนนภายในหมบู่ า้ นเพอื่ ไวร้ บั ประทานเอง ทเี่ หลอื จำ� หนา่ ย
เพ่ือสรา้ งรายได้ในครอบครัว

บา้ นใหมพ่ ฒั นา : วเิ คราะหป์ ยุ๋ ผลิตเอง
ใชเ้ อง ลดตน้ ทนุ การผลิต

ด้วยวิถีชีวิตชาวบ้านใหม่พัฒนา ส่วนใหญ่จะเป็น
เกษตรกรชาวสวนยาง ประกอบกบั ราคายางในปจั จบุ นั ลด
ลง ตน้ ทุนในการผลติ สงู ข้นึ ประชาชนจึงแสวงหาแนวทาง
ในการลดต้นทุนการผลิต โดยการรวมกลุ่มเพื่อผลิตปุ๋ยใช้
เอง โดยการวิเคราะห์ดินเพื่อผสมปุ๋ยให้ตรงตามความ
ต้องการของยางพารา ลดต้นทุนการผลิตได้มากกว่าไร่ละ
2,000 บาท

6

บา้ นคลองเรอื : ผลิตนำ�้ ยาเอนกประสงค์ จากความมุ่งมั่นท่ีจะผลักดันพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
และผลติ เคร่ืองแกง ตามศักยภาพและความต้องการของชุมชน จนเกิดผลผลิต
ที่เป็นผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม อันจะก่อให้เกิดรายได้
ชาวบ้านต้องการที่จะลดรายจ่ายเพ่ิมรายได้ให้กับ สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับประชาชนในต�ำบลขุนทะเล
สมาชิกในครอบครวั จึงรวมกลมุ่ การผลติ ผลติ ภัณฑ์ของใช้ เพื่อด�ำเนินรอยตามรอยเท้าพ่อเพ่ือความพอเพียง น�ำมา
ในครวั เรอื น เชน่ นำ้� ยาลา้ งจาน สบเู่ หลว นำ้� ยาซกั ผา้ นำ้� ยา ซง่ึ ความเปน็ สขุ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนดขี นึ้ อยา่ งยง่ั ยนื
ปรับผ้านุ่ม และผลิตภัณฑ์เครื่องแกง ลดรายจ่าย สร้าง ทีแ่ ทจ้ จรงิ
รายได้ สร้างงานสร้างอาชพี ในชมุ ชน

บ้านภูธรอุทิศ : ผลิตพวงหรดี และอปุ กรณข์ องใช้
ในพธิ ีงานศพ

การผลิตพวงหรีดของบ้านภูธรอุทิศสามารถสร้าง
รายได้ สร้างอาชีพและเวลาว่างให้เป็นประโยชน์ของ
สมาชกิ กลมุ่ ทงั้ ยงั ชว่ ยลดปญั หาครอบครวั เนอ่ื งจากสมาชกิ
ไดท้ �ำงานเสรมิ อยู่กับบ้าน

บา้ นใหม่จัตวา : ผลิตน�ำ้ มันเหลืองสมุนไพร

ชาวบ้านใหม่จัตวาได้ใช้พืชสมุนไพรซ่ึงเป็น
ทรพั ยากรทม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถนิ่ มาใชป้ ระโยชนใ์ หม้ ากทส่ี ดุ โดย
ผลิตน�้ำมันเหลืองมาใช้ในชุมชน และสร้างรายได้จากการ
จำ� หนา่ ยเป็นของที่ระลกึ ในงานพธิ ตี า่ ง ๆ

7

8 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ต�ำรวจตระเวนชายแดน

กบั พันธกิจพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เด็กไทยในถิ่นทุรกันดาร

อรณุ หนูขาว
งานบริการวชิ าการพฒั นาท้องถ่นิ

ต�ำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) เป็นต�ำรวจหนว่ ยหนง่ึ ใน
สังกัดส�ำนักงานต�ำรวจแหง่ ชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีในฐานะสถาบัน
อุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น จึงร่วมสนองงานในโครงการ
ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาร่วมกับกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวน
ชายแดนท่ี 41 ในพื้นท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดชุมพร
จำ� นวน 11 โรงเรยี น โดยมอบหมายให้งานบรกิ ารวิชาการพัฒนา
ทอ้ งถนิ่ เปน็ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ และมกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
ดำ� เนนิ งานโครงการ ประกอบดว้ ย คณะครศุ าสตร์ รบั ผดิ ชอบงาน
ด้านการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวัยและระดับประถม
ศึกษา ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ รับผิดชอบ
งานการส่งเสริมและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน งานข้อมูล
สารสนเทศและฐานข้อมลู เพื่อการบรกิ าร เป็นตน้

ภารกิจท่ีส�ำคัญของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบดังกล่าว จะเสด็จฯ เพ่ือติดตามผลการด�ำเนินงานของโรงเรียน
ขา้ งต้น ประกอบดว้ ย ตำ� รวจตระเวนชายแดน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
งานนิเทศตรวจเย่ียม โดยก�ำหนดแผนการนิเทศ ในฐานะหนว่ ยงานสนองงาน จึงต้องด�ำเนนิ การเตรียมการ
ตรวจเยีย่ มโรงเรียนท้งั 11 โรงเรียน ปีละ 2 ครั้ง เน้ือหาที่ และรบั เสดจ็ ในส่วนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ประกอบด้วย จุดห้องสมุด
นเิ ทศประกอบดว้ ย การนเิ ทศงานการจดั การเรยี นการสอน โรงเรยี น จดุ สาธติ การสอน และจดุ หอ้ งเรยี นปฐมวยั เปน็ ตน้
ระดับปฐมวัย โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานการจัดการศึกษา โดยในแตล่ ะจดุ จะตอ้ งดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑแ์ ละ
ระดับปฐมวัยเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดและวางแผน มาตรฐานทีส่ �ำนกั พระราชวังก�ำหนดไว้
การพัฒนา การนิเทศงานการจัดการเรียนการสอนระดับ จากการด�ำเนินงานดังกล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัย
ประถมศึกษา โดยเคร่ืองมือที่มหาวิทยาลัยก�ำหนดขึ้น ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านซี งึ่ มบี คุ ลากรทเี่ ชย่ี วชาญในการผลติ ครู
แล้วน�ำผลการนิเทศมาพัฒนาต่อยอดงานการจัดการเรียน ของคณะครุศาสตร์ ได้น�ำคณาจารย์ท่ีเช่ียวชาญในสาขา
การสอนใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ ำ� หนด การนเิ ทศตรวจ ต่างๆ เช่น หลักการสอน การจัดการศึกษาปฐมวัย หรือ
เย่ียมงานการส่งเสริมและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
โดยใช้มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนระดับประถมศึกษา
เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการวัดและน�ำผลมาพัฒนาต่อ
ยอดงานห้องสมดุ โรงเรยี น
งานอบรมครูประจ�ำปี มหาวิทยาลัยด�ำเนินงาน
ส�ำรวจความต้องการในการพัฒนาตนเองของครู เพ่ือ
พฒั นาครใู หม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการจดั การเรยี นการสอน
งานเตรียมการและรับเสด็จ เป็นประจ�ำเกือบทุกปี
ท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

9

การน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่ของส�ำนักวิทยบริการและ ระดับชาติเกือบทุกสาระวิชา อันจะเป็นสิ่งบ่งบอกได้ว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าประยุกต์ใช้ในงานการจัดการ นกั เรยี นมคี ณุ ภาพดขี น้ึ สามารถแขง่ ขนั กบั โรงเรยี นอนื่ ๆ ได้
เรยี นการสอน เชน่ ระบบการใชส้ อ่ื EDLTV การพฒั นาหอ้ ง อยา่ งมีคุณภาพต่อไป
สมดุ โดยใชร้ ะบบฐานขอ้ มลู หนงั สอื และทรพั ยากรสารนเิ ทศ
เป็นต้น มาพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพและก้าวทัน
เทคโนโลยี
กว่า 20 ปี ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีใช้
บคุ ลากรทมี่ คี ณุ ภาพรว่ มหนนุ เสรมิ การดำ� เนนิ งานโครงการ
ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนต�ำรวจตระเวน
ชายแดน ท�ำให้ในปัจจุบันบุคลากรครูต�ำรวจตระเวน
ชายแดนกว่าร้อยคนท่ีท�ำหน้าท่ีในการสอนในโรงเรียนมี
ความรู้ ทักษะและเจตคติท่ีดีต่อการพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนสามารถสอบวัดผล
O-NET มีคะแนนอยู่ในระดับสูงทั้งในระดับเขตและใน

10

11 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ชาวไทยทรงด�ำ

วัฒนธรรมนำ� การพฒั นาพื้นทแ่ี ละปกปักรักษท์ รัพยากร

กฤษณะ ทองแก้ว
สาขาวิชาสงั คมศึกษา คณะครศุ าสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีเปิดพื้นที่บริการ จากการลงพื้นท่ีสนามวิจัยของ ดร.กฤษณะ
วชิ าการใหช้ าวไทยทรงดำ� ทเี่ ขา้ มาตง้ั หลกั แหลง่ ใน 5 อำ� เภอ ทองแก้ว อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะ
ของจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี คือ หมูท่ ่ี 1 และหมูท่ ่ี 4 ตำ� บล ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ผซู้ งึ่ ควำ�่ หวอด
ทรัพย์ทวี อ�ำเภอบ้านนาเดิม หมู่ที่ 2 ต�ำบลกรูด อยู่กับชาวไทยทรงด�ำในพื้นท่ีอ�ำเภอพุนพิน บ้านนาสาร
หมทู่ ่ี 5 ตำ� บลทา่ สะทอ้ น และหมทู่ ี่ 7 ตำ� บลทา่ ขา้ ม อำ� เภอ และเคียนซา พบว่าชาวไทยทรงด�ำบ้านดอนมะลิ อ�ำเภอ
พนุ พนิ นอกจากนกี้ ม็ ชี าวไทยทรงดำ� อพยพออกจากชมุ ชน พุนพิน ประสบปัญหาเก่ียวกับการถือครองที่ดินเกือบ
ดอนมะลิไปอยู่ที่ย่านถนนพูลศิริ เทศบาลเมืองนาสาร 2,000 ไร่ด้วยเหตุน้ี ดร.กฤษณะจึงประสานงานกับงาน
อ�ำเภอบ้านนาสาร บ้านดอนกระทุ่ม หมู่ท่ี 7 ตำ� บลมะลวน บริการวิชาการพัฒนาท้องถ่ิน จัดโครงการประชุมเชิง
อ�ำเภอพุนพิน บ้านแหลมยูงหมู่ท่ี 6 ต�ำบลเขาตอก ปฏบิ ตั กิ ารกลมุ่ ชาตพิ นั ธก์ุ บั การจดั การพนื้ ทแ่ี ละทรพั ยากร
อ�ำเภอเคียนซา และชุมชนหน้าถ้�ำเสือขบ หมู่ท่ี 4 ทางสังคม ขึ้นเม่ือวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้อง
บ้านน�ำ้ ราด ต�ำบลบา้ นท�ำเนยี บ อำ� เภอครี รี ัฐนิคม จงั หวัด ประชุมลีลาวดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สรุ าษฎร์ธานี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี โดยไดเ้ ชญิ ศาสตราจารย์

เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ ผู้เชี่ยวชาญจาก
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ มาบรรยายและทำ� ความเข้าใจรว่ ม
กันกับชาวไทยทรงด�ำในการต่อสู้ต่อรองเพื่อการถือครอง
กรรมสทิ ธิท์ ี่ดนิ โดยมนี กั วิชาการ องคก์ รเอกชน อาจารย์
และนักศกึ ษา เข้ารว่ ม 130 คนดว้ ย
ผลจากการประชุมสรุปได้ว่า
หนึ่ง - ชาวไทยทรงด�ำจะน�ำเอาวัฒนธรรมของ
ชาวไทยทรงด�ำมาเป็นแนวทางหลักในการปกปักรักษา
ทรัพยากรทีด่ นิ ที่มีปญั หาการถือครองอยู่ โดยจะมียทุ ธวธิ ี
ในการเรยี กรอ้ งสทิ ธผิ า่ นหนว่ ยงานราชการในพนื้ ทใี่ หส้ อบ
วัดเขตแดนการถอื ครอง
สอง - กลบั ไปเรยี กรอ้ งการถอื ครองทด่ี นิ ในรปู แบบ
ของโฉนดชุมชน ซึ่งมีกลไกในการขับเคลื่อนคือกลุ่มสัจจะ
ออมทรัพย์ ท่ีชาวไทยทรงด�ำร่วมก่อต้ังข้ึนมาตั้งแต่
พ.ศ. 2552 และปจั จุบันกลายเปน็ กลไกที่ส�ำคญั นนั้ เอง

12

13 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ชุมชนท่าทอง
ท่องเทยี่ วประวตั ิศาสตรแ์ ละธรรมชาตนิ ิเวศน์

ปานเผด็จ นวนหนู
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

ในปี 2559 ที่ผ่านมา คณะมนุษยศาสตร์และ ชุมชนชายฝั่งทะเล ยิ่งไปกว่านน้ั กิจกรรมตา่ ง ๆ เหลา่ นีย้ งั
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ได้จัดเวที ท�ำให้พืชและสัตว์หลายชนิดในป่าชายเลนลดจ�ำนวนและ
ประชาคมเพื่อส�ำรวจสภาพปัญหาและความต้องการของ สูญพันธุ์ไปเปน็ จ�ำนวนมาก
ชุมชนต�ำบลท่าทอง อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัด ในส่วนของการท่องเที่ยงเชิงประวัติศาสตร์น้ัน
สรุ าษฎรธ์ านี เพอ่ื สง่ เสริมและสนับสนุนใหเ้ กิดการบรกิ าร เนอื่ งจากตำ� บลทา่ ทองอดตี เคยเปน็ เมอื งทา่ มโี บราณสถาน
วิชาการท่ีตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน และเกิด วัดเขาพระนิ่มอยู่ที่ภูเขาใกล้กับปากน้�ำท่าทอง ภูเขาน้ีอยู่
การพัฒนาทอ้ งถนิ่ อย่างแท้จรงิ ในบริเวณวัดเขาพระนิ่ม หมู่ท่ี 1 ต�ำบลท่าทอง อ�ำเภอ
ผลจากการจัดเวทีวิเคราะห์ความต้องการพบว่า กาญจนดิษฐ์ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นประเด็นท่ีมี เมอ่ื ทางองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ได้
ความตอ้ งการแกไ้ ขเปน็ อนั ดบั แรก เพราะกจิ กรรมการแปร สรา้ งพพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งทา่ ทอง ในพน้ื ทบ่ี รเิ วณดงั กลา่ ว ชมุ ชน
สภาพปา่ และใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ชายเลนทม่ี ากเกนิ ไปนก้ี อ่ จึงต้องการให้มีการพัฒนาต�ำบลท่าทองเป็นสถานที่ท่อง
ให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อเศรษฐกิจและสังคมส�ำหรับ เที่ยวเชิงนิเวศน์และเชิงประวัติศาสตร์ โดยทางองค์การ

บริหารส่วนต�ำบลท่าทอง ได้มีนโยบายในการจัดต้ังศูนย์ ประวัตศิ าสตร์ควบคูก่ นั ไป โดยใช้ “ทนุ ” ของชุมชนอย่าง
เรียนรู้และการท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์ สร้างสวนสมุนไพรป่า คุ้มค่าและรู้ค่าอันจะน�ำไปสู่การสร้างประโยชน์แก่ชุมชน
ชายเลนและอนุรักษ์ต้นล�ำพูเพ่ือเป็นที่อยู่ของห่ิงห้อยใน อย่างสงู สุดบนความยั่งยนื ตอ่ ไป
ปีงบประมาณ 2558 - 2559 คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ร่วมกับชุมชนได้ขยายพ้ืนท่ีการปลูกป่าชาย
เลนในพนื้ ท่ี หมทู่ ี่ 5 บา้ นถนนใหม่ และหมทู่ ี่ 2 บา้ นทา่ โพธ์ิ
ต�ำบลทา่ ทอง ในปงี บประมาณ 2560 จงึ ขยายพ้นื ทใี่ นการ
ปลูกป่าชายเลนท่ีหมู่ท่ี 1 บ้านปากน�้ำท่าทองและจัด
กิจกรรมพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณทางเข้าถ้�ำวัดเขาพระนิ่มเพื่อ
เป็นการฟื้นฟูพ้ืนที่ป่าชายเลนควบคู่กับการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โดยได้จัดโครงการฟื้นฟูพ้ืนท่ี
ป่าชายเลนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนต�ำบลท่า
ทอง อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีตามแนว
พระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
ระหว่างวันท่ี 10-11 ธันวาคม 2559 ณ พิพิธภัณฑ์
ประวัติศาสตร์เมอื งท่าทอง อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จังหวดั
สรุ าษฎร์ธานี
จากความร่วมแรงร่วมใจ ของชุมชน ผู้น�ำชุมชน
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ กอ่ ใหเ้ กดิ กจิ กรรมดๆี ในชมุ ชน
ชาวท่าทองเกิดความตระหนักถึงความส�ำคัญต่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวเชิง

14

15 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

เกาะพะลวย

เกาะพลงั งานสะอาดตน้ แบบหนง่ึ เดียวของไทย

เสน่ห์ บญุ ก�ำเนิด
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

เกาะพะลวยเป็นเกาะขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในบริเวณ เมอื่ พนื้ ทถี่ กู กำ� หนดใหเ้ ปน็ เกาะพลงั งานสะอาดหนงึ่
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง จัดเป็นส่วนหน่ึงของ เดยี วของไทย กม็ หี นว่ ยงานของรฐั เขา้ ไปดำ� เนนิ การ แตต่ อ่
อำ� เภอเกาะสมยุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี มปี ระชากรประมาณ มาการขบั เคลอื่ นโครงการดงั กลา่ วไมไ่ ดร้ บั การพฒั นาอยา่ ง
200 ครัวเรือน อาชีพหลักของชุมชนคือการประมง ต่อเน่ือง จึงท�ำให้คนในชุมชนมีความคิดเห็นแตกต่างกัน
การเดนิ ทางไปเกาะพะลวย สามารถลงเรอื ทที่ า่ เรอื ดอนสกั ระหว่างเห็นด้วยกับไม่เห็นด้วยที่จะเป็นเกาะพลังงาน
อำ� เภอดอนสกั จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี โดยเรือจะออกทุกวนั สะอาด
คู่ แตจ่ ะมีอีกทา่ เรอื ใกล้ ๆ ทีอ่ อกสลับวนั กนั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านเี ปน็ มหาวทิ ยาลยั
ความส�ำคัญของเกาะพะลวยแห่งนี้ คือการได้รับ ที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน ได้จัดโครงการ
เลือกจากกระทรวงพลังงานให้เป็นเกาะต้นแบบแห่งแรก พฒั นาเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วขนึ้ ดว้ ยความมงุ่ หวงั ทจ่ี ะยกระดบั
ของประเทศไทยท่ีใช้พลังงานสะอาดเป็นหลัก โดยเฉพาะ ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีข้ึน โดยท�ำการศึกษา
พลังงานจากแสงอาทติ ย์ เสน้ ทางและพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วบนชายฝง่ั ทะเลอา่ วไทย

ประชาชนในพ้ืนที่เพ่ือพัฒนารูปแบบการ
จัดการชุมชน เมื่อได้รูปแบบแผนการ
จัดการชุมชน ชุมชนก็เร่ิมขับเคล่ือนแผน
พฒั นารว่ มกนั
เราได้ยินค�ำพูดจากชาวบ้านเกาะ
พะลวยว่า “การด�ำเนินงานแบบน้ีพวก
เราสามารถจับต้องได้น�ำไปใช้ได้จริงกับ
พ้ืนท่ี ไม่ใช่มาแค่ปักป้ายถ่ายรูปเสร็จ
แล้วก็กลบั ไป”
นคี่ อื คำ� พดู ทที่ ำ� ใหน้ กั พฒั นามกี ำ� ลงั
ใจในการขับเคลื่อนชุมชนต่อไป จนกว่า
เป้าหมายการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทงั้ 6

เร่ิมจากป่าต้นน้�ำหัวคลอง บ้านเขากลอย หาดนางก�ำ แหง่ บนเสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วทช่ี มุ ชน นกั ทอ่ งเทย่ี ว ผู้ประกอบ
บา้ นเกาะแรต ชมุ ชนบา้ นปากดอนสกั เกาะนกเภา มาจนถงึ การทงั้ ภาครฐั และเอกชน จะเกดิ ผลสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายบน
และเกาะพะลวย ฐานวฒั นธรรม ชุมชนตอ่ ไป
เกาะพะลวยมีทรัพยากรท่ีหลากหลาย เหมาะต่อ
การพัฒนาเป็นพ้ืนที่ท่องเท่ียว ไม่ว่าด้านทรัพยากรทาง
ธรรมชาตหิ รือวัฒนธรรมชุมชน แต่ขาดการประสานเช่อื ม
โยงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเท่ียวจับต้องได้ ทาง
มหาวิทยาลัยจึงได้เข้าไปพูดคุยแลกเปลี่ยนโดยใช้รูปแบบ
ประชาคมเพอื่ ใหท้ กุ คนไดม้ โี อกาสรว่ มกนั คดิ มองศกั ยภาพ
ของตนเอง ร่วมกนั วางแผน ร่วมกนั ปฏบิ ตั ดิ ำ� เนนิ งาน รว่ ม
แกป้ ัญหาและสรา้ งทางเลอื กใหม่ใหก้ ับชุมชน
กระบวนการดงั กลา่ วมขี น้ั ตอนเรม่ิ จากการวเิ คราะห์
ปญั หา หาสาเหตขุ องปรากฏการณท์ ชี่ าวบา้ นไดส้ มั ผสั จาก
นน้ั กร็ ว่ มกนั คดิ รว่ มกนั วเิ คราะห์ โดยอาศยั ความรเู้ ดมิ และ
ทนุ เดมิ ฐานทรพั ยากรเดมิ เพอื่ รว่ มกนั กำ� หนดแผนงาน โดย
มีโจทย์ค�ำถาม คือ ถ้าทุกคนอยากเห็นเกาะพะลวยเป็น
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในอนาคตเราจะตอ้ งรว่ มกนั พฒั นาอยา่ งไร
จนไดป้ ระเดน็ จากการแลกเปลย่ี นในเวทปี ระชาคมมากมาย
เช่น การมีส่วนร่วมของคนในพ้ืนที่ การจัดการท่องเท่ียว
อาหารทอ้ งถนิ่ การร่วมอนรุ ักษน์ กแกก๊ (นกเงือก) เป็นต้น
เมื่อได้ข้อมูลจากเวทีประชาคมแล้ว เราได้ระดม
อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานีท่ีมีความ
เชยี่ วชาญในดา้ นตา่ ง ๆ มารว่ มกนั พจิ ารณา รบั ทราบสภาพ
ปัญหาที่ชุมชนต้องการเพื่อจะน�ำปัญหาไปออกแบบการ
พัฒนา โดยร่วมกันวเิ คราะห์ค้นหาเหตุ ปจั จัย และเฟ้นหา
ทางเลอื กในการจดั การ รวมทง้ั รว่ มวเิ คราะหก์ ารพฒั นากบั

16

17 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

MSET : ปฏวิ ตั คิ วามรหู้ อ้ งแลป
พชิ ิตห้องเรยี นเดก็ วิทย์

จริ วัฒน์ มาลา / อตกิ านต์ วิชติ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทส�ำคัญยิ่งใน ดว้ ยเหตนุ ้ี ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
สงั คมปจั จบุ นั เพราะวทิ ยาศาสตรเ์ กยี่ วเนอื่ งและเกยี่ วขอ้ ง เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี จงึ รว่ มมอื กบั
กับชีวิตทุกคน ทั้งในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันและ โรงเรียนสุราษฎร์ธานี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้าน
การประยุกต์ใช้ในสายอาชีพต่าง ๆ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ใหก้ ับนกั เรียนระดบั มัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 3 ใน
วิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน ทุกโรงเรียนมักจะเน้นทักษะ โ ค ร ง ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด ้ า น ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์
กระบวนการเรยี นการสอนทางวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ มงุ่ เนน้ ให้ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษและเทคโนโลยี (MSET) จำ� นวน
นักเรียนเข้าใจในทฤษฎีและการปฏิบัติในเน้ือหาทาง 78 คน และครผู ูค้ วบคมุ จำ� นวน 5 คน เมอื่ วันที่ 26 – 27
วิทยาศาสตร์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองไปสู่ พฤศจิกายน 2559 ทผ่ี ่านมา โดยมคี ณาจารยผ์ ทู้ รงคณุ วฒุ ิ
กระบวนการคิดท่ีซับซ้อนย่ิงขึ้น เพื่อค้นหาความรู้และ จากสาขาวิชาฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา เป็นวิทยากร
การแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน บรรยายให้ความรู้เก่ียวกับการสกัดสารพันธุกรรม (DNA)
พน้ื ฐาน การเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ การเตรียมสารละลาย การหักเห
ของแสง เปน็ ตน้

รายละเอยี ดของกจิ กรรมนแ้ี บง่ เปน็ 3 กจิ กรรมหลกั อนึ่ง โครงการนี้เป็นโครงการตามค�ำร้องขอ
ประกอบด้วย ที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ด�ำเนินการเป็น
กจิ กรรมที่ 1 “การสกดั สารพนั ธกุ รรมและการเพาะ ประจำ� ทกุ ปี ใหแ้ กโ่ รงเรยี นทแี่ จง้ ความประสงคข์ อรบั การ
เลี้ยงเน้ือเย่ือ” น�ำโดย ดร.เบญจมาศ หนูแป้น และ บรกิ ารวิชาการด้านวทิ ยาศาสตร์
ดร.กติ ติมา คงทน จากหลักสตู รวชิ าชวี วทิ ยา
กจิ กรรมที่ 2 “การเตรยี มสารละลายทคี่ วามเขม้ ขน้
ตา่ ง ๆ” โดย ดร.ลกั ษมี ชยั เจรญิ วมิ ลกลุ และนายณฐั พนั ธ์
สงวนศกั ดบ์ิ ารมี หลกั สูตรวิชาเคมี
กิจกรรมท่ี 3 “กระจก เลนส์ การสะทอ้ น และการ
หกั เห” โดย ผศ.ดร.กนกกานต์ ฐติ ภิ รณพ์ นั ธ์ และ อาจารย์
สิรพิ ร อุยสยุ หลกั สูตรวิชาฟิสกิ ส์
จากผลการด�ำเนินโครงการ ไดร้ ับเสยี งตอบรบั จาก
นกั เรยี นทมี่ คี วามสนใจเขา้ รว่ มโครงการเปน็ อยา่ งดี จงึ ทำ� ให้
ต้องเพ่มิ รอบการอบรมเป็น 3 รอบ เพราะมนี ักเรียนสนใจ
เขา้ รว่ มโครงการเปน็ จำ� นวนมาก นอกจากนย้ี งั มเี สยี งเรยี ก
รอ้ งให้มกี ารจัดกจิ กรรมแบบนี้ในทุก ๆ ปี
เด็กชายธนดล โสรัจจาภินันท์ นักเรียน ม. 3/4
โรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี กลา่ ววา่ การสกดั ดเี อน็ เอเปน็ กจิ กรรม
ที่ดีมาก ช่วยให้เขาเข้าใจมากขึ้น อยากให้มีโครงการดี ๆ
แบบนี้ทกุ ๆ ปี

18

19 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

สนุ ขั จรจดั และพิษสนุ ัขบ้า
เรารว่ มด้วยช่วยกนั
จริ วัฒน์ มาลา / อตกิ านต์ วิชิต
คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) เป็นโรคติดต่อรุนแรง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านมี จี ำ� นวนสนุ ขั และ
ตาม พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 และเป็นโรคสตั ว์ แมวจรจดั ภายในมหาวทิ ยาลยั จำ� นวนมาก ซง่ึ สนุ ขั และแมว
ติดคน (Zoonosis) ในแต่ละปีรัฐบาลไทยต้องสนับสนุน กลุ่มน้ีจัดเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการติดต่อและแพร่เชื้อโรคพิษ
งบประมาณจ�ำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการป้องกันและ สุนัขบ้า ด้วยตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว คณาจารย์และ
ควบคมุ โรคน้ี ไมว่ า่ จะเปน็ การจดั ซอื้ วคั ซนี ยาและเวชภณั ฑ์ นักศึกษาหลักสูตรวิชาสัตวศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ
สำ� หรบั ปอ้ งกนั รกั ษาทงั้ ในคนและสตั ว์ สถานการณก์ ารพบ เทคโนโลยี ชมรมจติ อาสารกั ษส์ ตั วช์ มุ ชน และประชาชนที่
โรคพิษสุนัขบ้าเชิงประจักษ์ ในประเทศไทยทั้งในคนและ มจี ติ อาสา ไดจ้ ดั ทำ� โครงการนำ� รอ่ งเพอ่ื เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการ
สัตว์ ยังมีรายงานการพบโรคอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูล ดำ� เนินงานในเขตมหาวิทยาลัยและเขตชมุ ชน วัด โรงเรยี น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การเกดิ โรคในคนตั้งแต่ ที่มีพื้นที่ติดต่อกับมหาวิทยาลัย ให้เข้าถึงการบริการ
ปี 2552 – 2558 พบผู้เสยี ชีวติ จำ� นวน 24, 15, 5, 6, 7 วิชาการต่อสังคม โดยการส�ำรวจประชากรสัตว์เร่ร่อน
และ 5 ราย ตามล�ำดับ และมีการตรวจพบที่จังหวัด การให้วัคซีนสุนัขบ้า และการวางแผนเพ่ือการคุมก�ำเนิด
สรุ าษฎรธ์ านอี กี ด้วย โดยการท�ำหมันถาวรในอนาคต รวมถึงการเผยแพร่ทาง

วชิ าการและใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การเลยี้ งสตั ว์ ใหค้ วามเขา้ ใจ
ในปัญหาเร่ืองโรคติดคน และปัญหาทางด้านสัตวแพทย์
สาธารณสุข
นอกจากนหี้ ลกั สตู รสตั วศาสตรย์ งั ไดจ้ ดั กจิ กรรมฉดี
วัคซีนสุนัขและแมวจรจัดท้ังภายในและบริเวณรอบ ๆ
มหาวิทยาลยั ในชว่ งเดือนกมุ ภาพันธ์ – มนี าคม ณ อาคาร
สัตวบาล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย
นายสัตวแพทย์พุทธิพงศ์ ขาวนวล จากโรงพยาบาลสัตว์
สุราษฎร์ อนิ เตอร์
จากการด�ำเนนิ โครงการพบว่า สนุ ัขและแมวจรจัด
ภายในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านไี ดร้ บั การฉดี วคั ซนี
ปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้
นอกจากนี้ยังมีผู้น�ำสุนัขและแมวในชุมชนโดยรอบ
มาขอรับบริการเป็นจ�ำนวนมาก ซ่ึงคาดว่าโครงการน้ีจะ
ดำ� เนินการต่อเน่อื งเป็นประจำ� ทกุ ปี

20

21 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

นางกำ�

การพัฒนาผลิตภณั ฑส์ รา้ งสรรคอ์ ตั ลักษณ์ชุมชน

เตชธรรม สังข์คร
คณะวทิ ยาการจดั การ

ชุมชนนางก�ำ อ�ำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี อนั ดบั ตน้ ๆ เมอื่ เดนิ ทางมาทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
เป็นชุมชนชาวเลที่มีวิถีชีวิตตามธรรมชาติ ผู้คนส่วนใหญ่ โดยเริ่มแรกได้มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นขึ้นใน
ประกอบอาชีพประมงเนื่องจากอยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติ วนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2559 ณ องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล
หมู่เกาะทะเลใต้ อีกทั้งความสมบูรณ์ของทรัพยากรทาง ดอนสักร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ทะเลและทิวทัศน์ท่ีสวยงาม ท�ำให้หาดนางก�ำกลายเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนสัก และประชาชนในพ้ืนที่
แหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ที่ก�ำลังได้รับความสนใจจากนัก หาดนางก�ำ อ�ำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยพบ
ท่องเท่ยี วทงั้ ในและนอกพื้นที่ ปัญหาส�ำคัญหลายประการ และหน่ึงในปัญหาส�ำคัญน้ัน
แต่การเร่ิมต้นเปิดพื้นท่ีเป็นแหล่งท่องเท่ียวในช่วง สอดคลอ้ งกบั เศรษฐกจิ และรายไดข้ องชมุ ชน ทพี่ บวา่ ชมุ ชน
แรกยงั คงเปน็ ปญั หาสำ� คญั ตอ่ ชมุ ชน เนอื่ งจากชมุ ชนยงั ขาด มีความคาดหวังต่อรายได้ที่เกิดจากการจ�ำหน่ายอาหาร
ประสบการณ์ ขาดองค์ความรู้ และการประชาสัมพันธ์ที่ และการเข้าพักในสถานท่ีพักแรม และคาดหวังต่อรายได้
เหมาะสม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีในฐานะ จากการจำ� หนา่ ยของฝากและของทรี่ ะลกึ แตป่ จั จบุ นั กลบั
สถาบันการศึกษาท่ีมีพันธกิจส�ำคัญต่อการรับใช้ชุมชน พบว่าชุมชนมียอดขายจากการจ�ำหน่ายของฝากของท่ี
ท้องถิ่น จึงได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ เพ่ือหาแนวทาง ระลึกนอ้ ยมาก
การส่งเสริมและแก้ปัญหาพ้ืนที่ โดยมีจุดมุ่งหมายให้หาด ด้วยเหตุน้ี หน่วยบริการวิชาการ คณะวิทยาการ
นางก�ำกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีนักท่องเที่ยวนึกถึงเป็น จัดการจึงได้ลงพ้ืนที่ส�ำรวจผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อศึกษา

ความน่าสนใจและความเป็นไปได้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาแล้วไปทดลองกับกลุ่มนักท่องเที่ยว จนกระท่ังได้
ชุมชนพบว่าส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนจ�ำหน่ายในแหล่ง รสชาติท่ีถูกปากนักท่องเที่ยวมากท่ีสุด ขั้นตอนท่ีส่ีเป็น
ท่องเท่ียวจะเป็นสินค้าแปรรูปจากอาหารทะเล ได้แก่ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ โดยหน่วยบริการวิชาการ คณะ
ปลาหลังขาว ปลาลิ้นหมา ปลาจ้องม่อง ปลาไลกอ และ วิทยาการจัดการจะท�ำการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เป็นถุงซีล
กะปิ ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดล้วนเกิดจากพื้นฐานทางอาชีพ พรอ้ มออกแบบตราสนิ ค้าใหม้ คี วามทนั สมยั แต่ยงั คงรักษา
ดั้งเดิมของชุมชนแล้วน�ำไปสู่การแปรรูปจ�ำหน่ายเพื่อการ อัตลักษณ์ของหาดนางก�ำไว้ และขั้นตอนสุดท้ายคือการ
ท่องเทยี่ ว ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ในทุกขั้นตอนสู่ชุมชน
จากการวเิ คราะหผ์ ลติ ภณั ฑช์ มุ ชนในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ให้ชุมชนสามารถน�ำไปใช้ได้จริงและพึ่งพาตนเองได้ใน
ยังคงมสี งิ่ ท่พี ัฒนาหลายประการไม่วา่ จะเป็นบรรจุภณั ฑ์ท่ี กระบวนการพฒั นาผลิตภัณฑป์ ลาไลกอทอดกรอบคาดวา่
ยงั ไมส่ ะดดุ ตาและเหมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑ์ ไมส่ อดคลอ้ งกบั จะใชร้ ะยะเวลาดำ� เนนิ การไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี และใชเ้ วลาไมเ่ กนิ
ความต้องการของนักท่องเที่ยวบางกลุ่มที่มีความต้องการ สองปีส�ำหรับทกุ ๆ ผลิตภัณฑ์
ผลติ ภัณฑ์ท่ีสามารถใช้งานหรอื รบั ประทานไดท้ ันที และท่ี แนวทางดงั กลา่ วน้ี จะเปน็ แนวทางในการปรบั ใชใ้ น
ส�ำคัญคือขาดอัตลักษณ์ความเป็นเฉพาะถ่ินท่ีแสดงถึงตัว ทุกพ้ืนที่แหล่งท่องเที่ยวภายใต้เส้นทางการท่องเที่ยวที่
ตนของพ้นื ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีร่วมกับส่วนงานต่าง ๆ
หน่วยบรกิ ารวิชาการ คณะวิทยาการจดั การ จงึ ได้ รบั ผดิ ชอบ เพอื่ ใหท้ กุ ชมุ ชน ทกุ ทอ้ งถนิ่ มสี นิ คา้ ของตนเอง
ร่วมมือกับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร คณะ ที่สะท้อนอัตลักษณ์และภูมิปัญญา ในขณะเดียวกันก็
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดเปน็ การเพม่ิ มลู คา่ ให้
สรุ าษฎรธ์ านี และชมุ ชนในพน้ื ทหี่ าดนางกำ� อำ� เภอดอนสกั กบั สนิ ค้าในแหล่งทอ่ งเที่ยวได้อยา่ งดี
ร่วมกันออกแบบแนวคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ข้ึนเพ่ือให้สามารถ
ตอบโจทกป์ ญั หาของชมุ ชนได้ ซงึ่ ในขน้ั ตอนแรกจะเปน็ การ
คัดเลือกผลิตภัณฑ์น�ำร่องมีความน่าสนใจมากที่สุดนั่นคือ
“ปลาไลกอ” เน่ืองจากเห็นว่าปลาไลกอเป็นปลาที่พบได้
มากทส่ี ดุ ในพน้ื ท่ี มคี วามเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ ขน้ั ตอน
ท่ีสองทีมงานจากสาขาวิทยาศาสตร์การอาหารจะท�ำการ
ทดลองพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาไลกอให้กลายเป็นปลาอบ
กรอบพร้อมรบั ประทาน เพ่ือให้ง่ายและสะดวกตอ่ การรบั
ประทานของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ขน้ั ตอนทสี่ ามเปน็ กระบวนการ
ทดสอบตลาดโดยการทดลองน�ำปลาไลกอทอดกรอบที่

22

23 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

โครงการพี่เลี้ยง

สรา้ งโรงเรียนน�ำรอ่ งไทยแลนด์ 4.0
เตชธรรม สังข์คร
คณะวทิ ยาการจัดการ

จากกระแสแหง่ ยคุ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทำ� ให้
ประเทศไทยกลายเป็นไทยแลนด์ 4.0 ที่หลายส่วนงานเริม่
เดินตามนโยบายของรัฐบาล และคงหนีไม่พ้นหน่วย
ราชการด้านการศกึ ษาท่จี �ำเปน็ อย่างย่ิงทจี่ ะตอ้ งมบี ทบาท
ในการเปน็ ผนู้ ำ� เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ นโยบาย
ดังกล่าว อีกท้ังยังต้องเป็นแรงสนับสนุนและผลักดันให้
หน่วยงานอ่ืนๆ หันมาพัฒนาองค์กรของตนเองให้รองรับ
ยคุ แหง่ นวตั กรรมนี้ได้
ภายใตย้ คุ สมยั ใหมน่ ี้ มเี ครอื่ งสำ� คญั ทเี่ ปน็ ปจั จยั เรมิ่
ต้นในการเรียนรู้ นั่นคือการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรม
ตา่ ง ๆ เนอ่ื งจากคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ มนษุ ย์
มากขนึ้ ทุกวงการตา่ งกน็ �ำเอาประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
มาประยุกต์ใช้ ไม่ว่าจะใช้เพ่ือความสะดวกสบายในชีวิต
ประจำ� วนั เพอ่ื การศกึ ษาเรยี นรู้ หรอื เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการทำ� งาน การเรยี นรู้การใช้งานคอมพวิ เตอร์ทีถ่ ูกต้อง
จึงเป็นสิ่งสำ� คัญอยา่ งย่งิ ของคนในยุคไทยแลนด์ 4.0
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี เป็นหน่วยงานในการสร้างองค์ความรู้ด้าน
เทคโนโลยี ไมว่ ่าจะเป็นการจดั การเรยี นการสอน การวิจัย
การบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และการให้บริการวิชาการแก่
ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จงึ ได้ด�ำเนนิ การจัดโครงการโรงเรียนพ่เี ลยี้ ง
ขึ้น เพ่ือเป็นที่ปรึกษา ให้ความรู้ และจัดอบรมให้กับ
โรงเรียนตา่ ง ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียงทสี่ นใจพฒั นาองคค์ วามรู้
ดา้ นเทคโนโลยี
โดยเริ่มแรกได้น�ำร่องโครงการ ด้วยการร่วมมือกับ
โรงเรยี นกาญจนดษิ ฐว์ ทิ ยาคม อำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวัด
สุราษฎร์ธานี จัดโครงการเสริมสร้างทักษะคอมพิวเตอร์

สู่ชุมชนข้ึน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนในโรงเรียนมี นกั เรียนแบ่งออกเปน็ 3 รอบ รอบละ 20 คน รวมท้งั สน้ิ
ความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์และโปรแกรม 60 คน
ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพโครงการดังกล่าว ผลจากโครงการนำ� รอ่ งดงั กลา่ ว ไดส้ รา้ งความสำ� เรจ็
โดยไดร้ ับเกียรตจิ าก ดร.เกวลนิ องั คณานนท์ และ เกินความคาดหมาย นักเรียนมีความรู้มากข้ึนและมีความ
ทมี งาน วิทยากรผู้เช่ยี วชาญด้านคอมพิวเตอรม์ าใหค้ วามรู้ สุขจากได้การเรียนรสู้ ่งิ ใหม่ ๆ โครงการนี้จงึ เป็นโครงการ
เกย่ี วกบั การใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟออฟฟิต (Micro Soft ต้นแบบที่หน่วยบริการวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ
Office) ซ่ึงเป็นโปรแกรมส�ำคัญส�ำหรับการเรียนรู้ของ จะใชเ้ ปน็ แนวทางกบั โรงเรยี นอน่ื ๆ ทส่ี นใจตอ่ ไปในอนาคต

24

25 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

เสน้ ทางท่องเทย่ี วเมอื งโบราณเวียงสระ

อัตลกั ษณช์ ุมชนบนพื้นฐานวถิ ีชีวติ และประเพณี

เจตนยั ธ์ เพชรศรี
วทิ ยาลยั นานาชาติการท่องเที่ยว

วิถีชีวิตและประเพณีเป็นส่ิงท่ีบ่งบอกถึงอัตลักษณ์ 1. แหล่งเรียนรู้เมืองโบราณเวียงสระ เพ่ือศึกษา
ของชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้เส้นทางการเดินทางข้ามสองคาบสมุทร ชมวัตถุ
สร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชน การสืบค้น โบราณยคุ หิน
ถา่ ยทอด และฟนื้ ฟวู ฒั นธรรมจากรุน่ สูร่ ่นุ ชุมชนจะต้องมี 2. แหลง่ เรยี นรกู้ ารตเี หลก็ ศกึ ษาวถิ ชี วี ติ ชา่ งตเี หลก็
การบริหารจัดการและร่วมกัน การที่มีนักท่องเท่ียวสนใจ ผผู้ ลิตเคร่ืองมือในการประกอบอาชพี ให้ชมุ ชนในทอ้ งถนิ่
แลกเปลย่ี นเรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรม เปน็ ตวั กระตนุ้ ให้ 3. แหล่งเรียนรู้มโนราห์ ศึกษาสัมผัสวิถีชีวิต
ชมุ ชนตระหนักในคุณคา่ และสามารถสร้างการมสี ่วนรว่ ม ความเชื่อประเพณี พร้อมฝึกร�ำมโนราห์เบอื้ งต้น
ใหค้ นในพน้ื ทไ่ี ดร้ ว่ มอนรุ กั ษ์ สบื ทอดศลิ ปวฒั นธรรมอนั ทรง
คณุ คา่ ต่อไป
จากการลงพ้ืนท่ีเมืองโบราณเวียงสระ อ�ำเภอ
เวียงสระ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ภายใตก้ ารน�ำของ นางสาว
วชิ ชตุ า ใหเ้ จรญิ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
นำ� คณะทำ� งานลงพนื้ ทสี่ ำ� รวจความตอ้ งการชมุ ชน แนวทาง
การพฒั นาเมอื งโบราณให้เปน็ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว พรอ้ มกบั
เชอื่ มโยงศกั ยภาพภาพชมุ ชนในพนื้ ที่ รว่ มกำ� หนดเปา้ หมาย
และกรอบการทำ� งาน โดยวทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทยี่ ว
วางกรอบเป้าหมายไว้ 3 ระยะ คือ
1. ศกึ ษาศักยภาพของพ้ืนท่ี
2. พัฒนาคนให้มีความรู้ความสามารถพร้อมรับ
นกั ท่องเท่ียว และ
3. ประเมินการด�ำเนินงานโดยจัดโปรแกรมทัวร์ให้
เกิดข้ึนในพนื้ ที่
จากการศึกษาศักยภาพของพื้นที่พบว่ามีแง่มุมน่า
สนใจมากมาย สามารถเชื่อมโยงสู่การท่องเท่ียวได้อย่าง
หลากหลาย โดยแยกเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ วออกเปน็ 5 กลมุ่
ประกอบด้วย

4. แหลง่ เรยี นรสู้ มนุ ไพรตามธาตุ ศกึ ษาการบรโิ ภค พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเมืองโบราณเวียงสระ และหวังว่า
สมุนไพรในท้องถ่ินให้เหมาะสมกับการด�ำรงชีวิตและธาตุ หนว่ ยงานทเ่ี ขา้ มาจะเอาจรงิ เอาจงั ดว้ ยเชน่ กัน
ประจ�ำตวั ของแต่ละคน วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยวเป็นเพียงพ่ีเล้ียง
5. แหลง่ เรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง ศกึ ษาการดำ� รง ประคับประคองและให้ค�ำปรึกษา แต่คนท่ีลงมือท�ำเป็น
ชีวิตพออยพู่ อกินตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง หลักคือชมุ ชน ถา้ ชมุ ชนไม่จรงิ จงั และเขม้ แข็ง การด�ำเนนิ
สำ� หรับกระบวนการท�ำงานหลงั จากไดล้ งพน้ื ทีแ่ ล้ว การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วกย็ อ่ มไมส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมาย
อาจารย์นุชนันต์ สัจจาเฉลียว รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ที่วางไว้
ได้พูดถึงกระบวนการการจัดการแหล่งท่องเท่ียวเชิง ในส่วนของการท�ำงานในพื้นที่เวียงสระ วิทยาลัย
วัฒนธรรมว่ามีตัวอย่างให้ศึกษาเป็นจ�ำนวนมาก โดย นานาชาติการท่องเที่ยวได้วางการท�ำงานเป็น 4 ไตรมาส
วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทยี่ วไดจ้ ดั ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มโครงการ และพรอ้ มใหก้ ารสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยแตล่ ะไตรมาส
จ�ำนวน 27 คน เข้าศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเก่า มีรายละเอียดโดยครา่ ว ๆ ดงั นี้
อยุธยา พิพิธภณั ฑ์เจ้าสามพระยา พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นเก่า หลัง ไตรมาส 1 ส่ิงท่ีต้องเกิดคือเว็บไซต์เพื่อการ
จากกลบั มาไดม้ กี ารประชมุ สงั เคราะหข์ อ้ มลู จากการศกึ ษา ประชาสัมพันธ์พ้ืนที่ แผนท่ีการท่องเที่ยวชุมชนเมือง
ดงู าน พรอ้ มทงั้ เขยี นแผนงบประมาณและโครงการเรง่ ดว่ น โบราณเวยี งสระ และแผน่ พบั ประชาสมั พนั ธก์ ารทอ่ งเทย่ี ว
แหลง่ งบประมาณทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั มาพฒั นาพนื้ ท่ี นอกจาก ชุมชน
น้ีวทิ ยาลยั นานาชาติการทอ่ งเทย่ี วยังดำ� เนินการแก้ปญั หา ไตรมาส 2 คัดเลือกและพัฒนาคน สร้างวิทยากร
โดยเชิญผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามาร่วมหารือ เช่น กรม ชมุ ชน
ศิลปากร วัฒนธรรมจังหวัด เทศบาล วัด แกนน�ำชุมชน ไตรมาส 3 ออกแบบโปรแกรมนำ� เท่ยี ว
และปราชญ์ชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนิน ไตรมาส 4 ทดสอบการทำ� งาน โดยจดั นกั ทอ่ งเทย่ี ว
กิจกรรม ลงพ้ืนที่เพ่ือทดสอบการรับนักท่องเท่ียวและท�ำหน้าท่ี
นายจงจติ ร อภิชาตกลุ ผู้ใหญบ่ า้ นหมู่ที่ 7 ต�ำบล วทิ ยากรชุมชน
เวียงสระ บอกกับทีมงานว่ามีหลายหน่วยงานเข้ามาท�ำ การท�ำงานในคร้ังนี้จะส�ำเร็จมากน้อยเพียงใด
กจิ กรรมในพนื้ ที่ แลว้ กห็ ายไป หมนุ เวยี นสลบั สบั เปลย่ี นไม่ ประเพณที เี่ ปน็ เอกลกั ษณข์ องชมุ ชนจะสามารถสบื ทอดตอ่
ซำ้� หนา้ ชาวชมุ ชนเมอื งเวยี งสระเอาจรงิ เอาจงั กบั เรอ่ื งการ ไปไดย้ าวไกลแคไ่ หน ยง่ิ คนในชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ ยง่ิ ผนู้ ำ�

ชุมชนให้การสนับสนุน
โอกาสก็จะยิง่ เพิม่ มากขึน้
ไปด้วยเช่นกนั
หวังเป็นอย่างย่ิง
วา่ เมอื งโบราณเวยี งสระ
จะสามารถเป็นแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี วทางวฒั นธรรม
ท่ี ส ร ้ า ง โ อ ก า ส ใ ห ้ กั บ
ชุ ม ช น บ น พื้ น ฐ า น
ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่าง
พอเพยี ง

26

27 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

English outside the book
การอ่านนอกหนังสอื

เจตนยั ธ์ เพชรศรี
วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทย่ี ว

ปัจจุบันการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นส่ิงจ�ำเป็น วิทยาลัยนานาชาติการท่องเท่ียว มหาวิทยาลัย
ส�ำหรับเด็กและเป็นการสร้างความคุ้นเคย ความกล้า ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ไดด้ ำ� เนนิ โครงการบรกิ ารวชิ าการการ
แสดงออก และสรา้ งความมนั่ ใจในการเรยี นรู้ ซง่ึ สอดคลอ้ ง ให้ความรดู้ า้ นภาษาองั กฤษ จากการสำ� รวจความต้องการ
กบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั มงุ่ เนน้ ใหเ้ ดก็ มที กั ษะ ของพื้นท่ีอ�ำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่าเด็ก
ในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รกั การเรยี นรแู้ ละพฒั นา นกั เรยี นในพนื้ ทยี่ งั ขาดความรคู้ วามสามารถและความกลา้
ตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยการเรียนรู้ของเด็กนั้นไม่จ�ำเป็น แสดงออกในการส่ือสารภาษาอังกฤษ ดังน้ันการอบรมให้
ต้องเรียนรู้เฉพาะในห้องเรียนหรือในหนังสือ การดูภาพ ความรู้ด้านการส่ือสารภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารเบื้อง
การอา่ นขอ้ ความหรอื บทความจากบอรด์ นทิ รรศการ แผน่ ต้นจึงเป็นการตอบสนองความต้องการของคนในพ้ืนที่
ป้าย กส็ ามารถช่วยปลกู ฝังใหเ้ ด็กเปน็ คนรักการอ่าน รู้จกั อ�ำเภอดอนสัก อีกทั้งยังเป็นโอกาสอันดีแก่นักศึกษา
แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะตรงตาม วิทยาลัยนานาชาติการท่องเท่ียว ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
มาตรฐานการศกึ ษาและบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ อกี ทงั้ เดก็ การบรู ณาการการบรกิ ารวชิ าการเขา้ กบั การเรยี นการสอน
ยงั สามารถนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้ โดยผา่ นการเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมการใชภ้ าษาได้อยา่ งสนุกสนานและเกดิ ความรู้

ส�ำหรบั การจัดอบรม English outside the book
วิทยาลัยนานาชาติการท่องเท่ียวได้รับความร่วมมือจาก
โรงเรียนบ้านคอกช้าง อ�ำเภอดอนสัก โดยมีนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ 4 – 5 เข้ารว่ มโครงการจ�ำนวน 45 คน
โดยกำ� หนดระยะเวลาในการอบรมสัปดาหล์ ะ 2 วัน วันละ
2 – 3 ชว่ั โมง เพ่ือใหเ้ กดิ ความตอ่ เนื่องในการด�ำเนนิ การ
จัดการเรียนการสอน พร้อมท้ังสอดแทรกกิจกรรมให้
นักเรียนไดส้ รา้ งความค้นุ เคยในการใชภ้ าษาอังกฤษ อีกทัง้
วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทย่ี วยงั มอบหมายใหน้ กั ศกึ ษา
มาเป็นพ่ีเลี้ยงให้ค�ำแนะน�ำแก่น้อง ๆ นักเรียนท่ีเข้าร่วม
โครงการอีกดว้ ย
หากการอา่ นหนงั สอื คอื ประตสู คู่ วามรู้ การอา่ นนอก
หนังสือก็คือหน้าต่างอีกบานที่เปิดกว้างสู่โลกความรู้เช่น
เดียวกัน

28

29 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

คลินกิ กฎหมาย

ศนู ยช์ ่วยเหลอื ประชาชนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ

อภชิ าติ โกศล
คณะนิตศิ าสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีภารกิจหลักใน บริการวิชาการ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้การศึกษา
การรบั ใชส้ งั คม โดยการบรกิ ารวชิ าการถา่ ยทอดองคค์ วาม และปลูกฝังจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมาย
รู้ให้แก่ชุมชน และพันธกิจหลักของอาจารย์ในระดับ แกน่ กั ศกึ ษา ในเรอ่ื งการใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนทไ่ี มม่ คี วาม
อุดมศึกษาประการหน่ึง คือการบริการวิชาการแก่สังคม สามารถในการจา่ ยคา่ ตอบแทน และเพอ่ื เปน็ การใหบ้ รกิ าร
โดยการพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ทางกฎหมายสู่ท้องถ่ิน ทางวชิ าการแกช่ มุ ชนตามภารกจิ พน้ื ฐานของมหาวทิ ยาลยั
และสงั คม เพอื่ ใหส้ งั คมมกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เกดิ สงั คม การด�ำเนินงานของโครงการคลินิกกฎหมายเป็น
ฐานความรู้ อันเป็นเครื่องมือในการพัฒนาความก้าวหน้า กิจกรรมท่ีให้บริการทางกฎหมายแก่ประชาชนในช่วงเร่ิม
และความเข้มแข็งของสงั คม ต้น ส่วนใหญ่เป็นการให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมายแก่
คณะนิติศาสตร์เป็นหน่วยงานหนึ่งในมหาวิทยาลัย ประชาชนท่ีมาติดต่อขอรับค�ำปรึกษาด้วยตนเอง โดย
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นคณะที่มีองค์ความรู้ทางด้าน เป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษาที่
กฎหมาย โดยมีอาจารย์ท่ีมีความเชี่ยวชาญทางด้าน อาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ บริการรับปรึกษาปัญหา
กฎหมายและมีนักศึกษาท่ีก�ำลังศึกษากฎหมาย จึงได้ กฎหมายเพ่ือเป็นการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้มีความสงสัย
ดำ� เนนิ การจดั โครงการ “คลนิ กิ กฎหมาย” ขน้ึ เพอื่ เปน็ การ ในปญั หากฎหมายทตี่ นพบ และกจิ กรรมบรรยายกฎหมาย

น่ารู้ที่ใกล้ตัวประชาชน และมีความส�ำคัญในการด�ำเนิน
ชีวติ ประจ�ำวนั แก่คนในชุมชน
ท้องถ่ินหรือชุมชนเป้าหมายหลักของคลินิก
กฎหมาย ได้แก่ ชมุ ชนในพ้นื ทจ่ี ังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ซง่ึ ต้อง
ยอมรับวา่ ประชาชนในเกือบทกุ ชุมชนยงั ขาดความรู้ความ
เข้าใจเก่ียวกับสิทธิหน้าที่ในทางกฎหมายท่ีถูกต้อง ดังนั้น
การด�ำเนินการโครงการคลินิกกฎหมายจึงสามารถเป็น
เคร่ืองมอื อยา่ งหน่ึงใหป้ ระชาชนในชมุ ชนท้องถน่ิ สามารถ
เข้าใจสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายชุมชน สามารถพึ่ง
ตนเองและมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ ทอ้ งถนิ่ มคี วามเขม้ แขง็ ลด
ความขัดแย้งของชุมชนอันเน่ืองจากความไม่เข้าใจในสิทธิ
หนา้ ท่ีของตนเอง
การด�ำเนินโครงการคลินิกกฎหมายยังท�ำให้คณะ
นิติศาสตร์มีโอกาสพบบุคคลซึ่งเป็นท่ีปรึกษาปัญหา
กฎหมายของคนในชุมชนด้วย เป็นการสร้างความสัมพนั ธ์
ท่ีดีกับชุมชน อันจะน�ำมาซึ่งความร่วมมือจากท้องถิ่น
ในการพัฒนาคณะนติ ศิ าสตรแ์ ละมหาวทิ ยาลัยต่อไป
ปัจจุบันคณะนิติศาสตร์ได้จัดต้ัง “ศูนย์ช่วยเหลือ
ประชาชนทางด้านกฎหมาย” จากผลของการจดั กิจกรรม
ดังกล่าว เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนท่ีใกล้เคียงมาปรึกษา
ปญั หากฎหมาย โดยมอี าจารย์และนกั ศึกษาทีผ่ ่านการฝกึ
อบรมเปน็ อยา่ งดี เปน็ ผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษาฟรโี ดยไมค่ ดิ คา่ บรกิ าร
ใด ๆ ท้ังสิ้น

30

31 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

น้�ำทว่ ม......ท่เี ออ่ ล้นดว้ ยนำ้� ใจ

กฤษณา สงั ขมณุ ีจินดา
คณะพยาบาลศาสตร์

ในช่วงทจ่ี ังหวัดสรุ าษฎร์ธานปี ระสบปัญหาอทุ กภยั ศาสตร์นั้น ได้มีหน่วยงานภายนอกได้ให้ความช่วยเหลือ
ครง้ั ใหญใ่ นหลายพนื้ ที่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั และให้ความร่วมมืออย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ส�ำนักงาน
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นหน่วยงานหน่ึงที่ลงพ้ืนที่เพ่ือ สาธารณสขุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ ยาและ
ให้การช่วยเหลือพยาบาลประชาชนทางด้านสุขภาพเพื่อ เวชภณั ฑ์ โรงพยาบาลตา่ งๆ ทไ่ี ดช้ วนคณะพยาบาลศาสตร์
ใหก้ ารพยาบาลแกป่ ระชาชนทงั้ ทสี่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเอง เข้าร่วมทีมเพ่ือลงให้การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่
ได้และผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ในหลายคร้ังที่ลงพ้ืนที่เมื่อ นอกจากนี้ยังมีเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมูลนิธิกุศลธรรม
ขอความรว่ มมอื จากอาจารย์ เจา้ หน้าที่ นักศกึ ษา จะไดร้ ับ ภูเก็ต ได้เล็งเห็นถึงความต้ังใจในการท�ำงานของอาจารย์
ความร่วมมือเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าบ้านของตนเองได้รับ นักศึกษา ของคณะพยาบาลศาสตร์ จึงได้ประสานงาน
ผลกระทบเช่นเดียวกัน และที่ส�ำคัญคือ เม่ือมีหน่วยงาน เพอื่ ขอมอบเส้อื ชูชีพใหแ้ ก่คณะพยาบาลศาสตร์ เพือ่ ใช้ใน
ภายนอกรับทราบเก่ียวกับการท�ำงานของคณะพยาบาล การลงพืน้ ทีท่ ี่มนี ้�ำทว่ มสูง

อาจารย์ธวัชชัย ทีปปะปาล อาจารย์ประจ�ำคณะ
พยาบาลศาสตร์ เป็นท่านหน่ึงที่ได้รับผลกระทบจาก
อุทกภัยในครั้งนี้ กล่าวว่า ยินดีให้ความร่วมมือกับทาง
คณะฯเตม็ ทใี่ นการลงไปชว่ ยเหลอื ประชาชนเพราะตนเอง
เป็นบุคลากรคนหนึ่งในคณะพยาบาลศาสตร์ และยัง
ประกอบวิชาชีพพยาบาล และยังเป็นครูพยาบาล ซึ่ง
อาจารย์ธวัชชัย มักจะกล่าวอยู่เสมอว่าการเป็นครูที่ดีคือ
การทำ� ให้ดู อยู่ให้เหน็ เปน็ แบบอย่างท่ดี ี
จากประสบการณ์ท่ีได้ลงไปช่วยเหลือประชาชน
ตอนน้�ำท่วมพบว่าคนไทยเราไม่ท้ิงกันไม่ว่าจะเป็นหน่วย
งานภาครัฐหรือเอกชน รวมถึงหน่วยงานอิสระ จิตอาสา
ตา่ งๆ ทต่ี า่ งลงมาเพอื่ ชว่ ยเหลอื ซง่ึ แรงจากกระแสนำ�้ ทเ่ี ชย่ี ว
กราดทไ่ี หลเขา้ ทว่ มมไิ ดต้ า้ นทานแรงนำ�้ ใจจากชาวไทยดว้ ย
กนั ได้เลย

32

33 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

โรงเรยี นผ้สู ูงอายปุ ระเด็นทท่ี า้ ทาย

วรรณา กุมารจนั ทร์
คณะพยาบาลศาสตร์

ผสู้ งู อายคุ อื ใคร ใครคอื ผสู้ งู อายุ คงจะเปน็ เรอื่ งทส่ี อื่ รา่ งกายทผ่ี วิ หนงั เหยี่ วย่น ผมหงอกขาว ฟันสั่นคลอน ตา
ต่างๆ น�ำเสนออย่างหลากหลาย ส�ำหรับประเทศไทย ฝา้ ฟาง หตู งึ รบั กลน่ิ รสไดแ้ ยก่ วา่ แตก่ อ่ น ความจำ� เรมิ่ เสอ่ื ม
"ผู้สูงอายุ"ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 เจบ็ ปว่ ยงา่ ยแตห่ ายไดช้ า้ เรยี่ วแรงนอ้ ยลง เหนอื่ ยงา่ ย และ
หมายความว่าบุคคลซ่ึงมีอายุเกินกว่าหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้น ดา้ นจติ ใจท่ีขาดความมั่นใจในตนเอง กังวลงา่ ย เหงา เศร้า
ไปและมีสัญชาติไทย ซงึ่ ที่ผ่านมางานศึกษาจ�ำนวนหนง่ึ ได้ และขน้ี ้อยใจ บางคนโมโหร้ายและชอบแยกตวั
พยายามอธบิ ายถงึ “ลกั ษณะของความสงู อาย”ุ เกย่ี วกบั จากลกั ษณะดงั กลา่ วแลว้ นที้ ำ� ใหน้ ยั ทมี่ ตี อ่ คำ� วา่
ความหมายและลักษณะฟังค์ช่ันของการสูงอายุในมุมมอง ผสู้ งู อายุ (หรอื ผทู้ ม่ี ลี กั ษณะของความสงู อาย)ุ มกั ถกู ตคี วาม
ต่างๆ ไวพ้ อสมควร ถา้ หากพิจารณาการเปลย่ี นแปลงทาง ในลักษณะ “ความไมม่ ีประโยชน์” และ “ความเสอ่ื มถอย
ด้านร่างกายและสุขภาพ ความสูงอายุมักถูกอธิบายใน ด้านศักยภาพ ในการท�ำงานและการพ่ึงพาตนเอง” จาก
เชิงลบว่าเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นในช่วงวัยที่เป็นระยะ ความไมช่ ดั เจนในหลกั นยิ ามของความสงู อายุ ในหลายครงั้
สุดท้ายของชีวิตมนุษย์ ซึ่งมีลักษณะและพัฒนาการที่ตรง ค�ำว่า“ผู้สูงอายุ”จึงมักถูกน�ำไปอ้างอิง เป็นกลุ่มคนใน
ข้ามกับวัยเด็ก มีแต่ความเส่ือมโทรมและสึกหรอด้าน ชว่ งวยั ทไี่ มส่ ามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพอกี ตอ่ ไป
สุขภาพท่ีเสื่อมสภาพอย่างค่อยเป็นค่อยไป ด้านสภาพ ควรหยุดหรือเกษียณจากการท�ำงาน ซึ่งท้ายท่ีสุดท�ำให้

ความเขา้ ใจของคนในสงั คมเกย่ี วกบั อายเุ รม่ิ ตน้ ของการเปน็ น�ำข้อมูลไปวางแผนจัดการเรียนการสอนโดยทุกฝ่ายร่วม
ผสู้ งู อายถุ กู นำ� ไปผกู ตดิ กบั การกำ� หนดเกษยี ณอายจุ ากการ ศกึ ษานโยบายดา้ นผสู้ งู อายุ นโยบายเรง่ ดว่ นคน้ ควา้ เกย่ี วกบั
ท�ำงานว่าเป็นท่ีเกณฑ์อายุเดียวกัน ซ่ึงในปัจจุบันอาจ การดแู ลผสู้ งู อายุ แลว้ นำ� มาจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู ฯประสานงาน
ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเช่นนั้นเสมอไป โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ เครอื ขา่ ยชมุ ชน องคก์ รในจงั หวดั และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
คนมีอายุยืนยาวขึ้น มีสุขภาพและประสิทธิภาพในการ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุประชุมเครือข่ายเพ่ือ
ท�ำงานท่ีดี แต่อายุท่ีหยุดท�ำงานหรืออายุเกษียณในทาง วางแผนด�ำเนินการและแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินงาน
ปฏิบัติกลับมีแนวโน้มอยู่ในช่วงอายุที่เร็วขึ้น เพราะ จดั ต้ังโครงการ (ภายในมหาวิทยาลยั ) การจดั ประชมุ คณะ
สถานการณ์ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ปัญหาการเพิ่มขึ้นของ กรรมการเพื่อวางแผนด�ำเนินงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้สูงอายุจนกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุในระดับต่างๆ เช่น ประสบการณด์ า้ นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
เดียวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่ง กจิ กรรมครง้ั ที่ 2 ในวนั ที่ 19 พฤศจกิ ายน 2559
ถอื วา่ เปน็ สงั คมผู้สูงอายแุ ล้วเช่นกนั โดยเฉพาะอย่างย่งิ ใน ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เขตตำ� บลขุนทะเล มผี ู้สงู อายุท่ีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ ร่วมวางแผนจัดการเรียนการสอน เพ่ือด�ำเนินการสร้าง
13.8 โดยเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2552 แม้ว่าหลาย หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้
หน่วยงานในเขตต�ำบลขุนทะเล ได้แก่เทศบาลต�ำบล วิพากษ์รายวิชาในหลักสูตรก่อนการด�ำเนินการเปิด
ขุนทะเล องค์การบริหารส่วนต�ำบลขุนทะเล และ โรงเรยี นและรบั สมคั รนกั เรยี น ประชมุ คณะกรรมการจดั ทำ�
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทั้งสองโรงพยาบาลจะ หลักสูตร การจัดท�ำเอกสาร รบั สมคั ร โดยสอื่ สารขา่ วสาร
รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั ในการดแู ลผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน แตพ่ บวา่ ผสู้ งู ทางหลายๆช่องทาง สื่อวิทยุ โทรทัศน์ แผ่นพับ ป้าย
อายยุ งั ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ดแู ลไมท่ ว่ั ถงึ โดยเฉพาะผสู้ งู อายุ ประชาสัมพันธ์ ไวนิล ท้ังในชุมชน/ชมรม ด�ำเนินการคัด
ท่ีชว่ ยเหลอื ตนเองไม่ได้ ต้องการความชว่ ยเหลอื ในกจิ วตั ร เลอื กผสู้ งู อายตุ ามคณุ สมบตั ทิ ก่ี ำ� หนดและกจิ กรรมครง้ั ท่ี 3
ประจ�ำวนั และการดูแลฟ้นื ฟู สขุ ภาพต่อเน่ือง ในวนั ที่ 1 ธันวาคม 2559 พธิ กี ารเปิด “โรงเรียนผู้สูงอายุ
เพ่ือเป็นแนวทางการด�ำเนินงานด้านผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี”
ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ในการดแู ลผสู้ งู อายุ และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยทา่ นอธกิ ารบดี ผศ. ดร.ประโยชน์ คปุ กาญจนากลุ และ
มากยงิ่ ขน้ึ ซงึ่ เปน็ พนั ธกจิ หนง่ึ ของมหาวทิ ยาลยั รบั ใชช้ มุ ชน ผู้บริหารมหาวิทยาลัยฯ และเร่ิมทดลองเปิดเรียนในผู้สูง
ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีโดยคณะ อายทุ ส่ี นใจเรยี น เพราะนอกจากจะชว่ ยเหลอื ตนเองไดแ้ ลว้
พยาบาลศาสตรไ์ ดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ดงั กลา่ ว จงึ รว่ ม ยงั ไดน้ ำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากโรงเรยี นไปดแู ลผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตดิ
กบั ระบบสุขภาพชมุ ชนซงึ่ ประกอบดว้ ย กลุ่ม/องคก์ รภาค บา้ นและติดเตียงต่อไป
ประชาชนในชมุ ชน องคก์ รดา้ นสขุ ภาพ องคก์ รปกครองสว่
นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานอน่ื ๆเพอ่ื จดั ทำ� โครงการบรู ณาการ
ดา้ นการสรา้ งองค์ความรู้การดูแลตนเองของผสู้ ูงอายุ โดย
การด�ำเนนิ โครงการ “โรงเรียนผสู้ ูงอาย”ุ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้
สูงอายุท่ีสามารถช่วยเหลือตนเองได้มีความรู้ด้านการส่ง
เสรมิ สุขภาพตนเองและการดแู ลสขุ ภาพระยะยาว (Long
Term Care) สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ ูงอายุมคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี อยใู่ น
สิ่งแวดล้อมที่เอ้ือต่อการส่งเสริมสุขภาพ และเพ่ือเป็น
โรงเรียนต้นแบบในการด�ำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะ
ยาวให้กับชุมชนเครือข่ายสุขภาพ โดยในวันที่ 1
พฤศจิกายน 2559 ได้มีประชาคมเพื่อสรุปความต้องการ
ของผู้สูงอายุในบริบทผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานีเพื่อ

34

35 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0
เมื่อสถานศึกษาเปน็ ฐาน สร้าง Plan ดี
มีชยั ไปเกนิ ครึง่
อาหมาด อาดตันตรา
บณั ฑติ วทิ ยาลยั

โรงเรียนตะกั่วป่า “เสนานุกูล” เป็นโรงเรียนท่ี
จัดการการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา สังกัด
สำ� นกั งานเขตพื้นทม่ี ัธยมศึกษา เขต 14 ตั้งอย่ทู ีต่ �ำบลบาง
นายสี อ�ำเภอตะก่ัวปา่ จงั หวดั พงั งา ปัจจุบนั โรงเรยี นมีครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาจำ� นวนทง้ั สน้ิ 131 คน เปน็ ชาย
46 คน หญิง 85 คน มีนักเรียนทัง้ สน้ิ 1,873 คน เปน็ ชาย
797 คน หญิง 1,076 คน โรงเรียนได้ใช้แผนพัฒนาการ
จดั การศกึ ษา (พ.ศ. 2556 – 2560) ซงึ่ เป็นแผน 5 ปี และ
ก�ำลังจะหมดอายุ ถึงเวลาการปรับปรุงแผนฯ ฉบับใหม่
(พ.ศ. 2560 – 2565) โรงเรยี นจงึ ตอ้ งการผทู้ รงคณุ วฒุ ขิ อง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มาชว่ ยในการใหค้ วามรู้
ในเรอ่ื งการจดั ทำ� แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น
บัณฑติ วิทยาลยั ซ่ึงมหี ลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขา
วิชาการบริหารการศึกษา มีบุคลากรที่มีความรู้ความ
เช่ียวชาญเก่ียวกับการบริหารสถานศึกษาอยู่แล้วจึง
สามารถใหค้ วามรแู้ ละชว่ ยในการจดั ทำ� แผนฯ ของโรงเรยี น
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

การจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถาน
ศกึ ษาในครงั้ นเ้ี ปน็ การขบั เคลอ่ื นทย่ี ดึ สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน
ด้วยความร่วมมือ ความรับผิดชอบของบุคลากรภายใน
สถานศึกษา โดยบคุ ลากรจะตอ้ งร่วมกนั วเิ คราะห์ SWOT
(จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) ของสถานศึกษา
กำ� หนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย การกำ� หนดมาตรฐาน
การศึกษา ค่าเป้าหมาย การก�ำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
โครงการ กิจกรรม สภาพความส�ำเร็จ ก�ำหนดแผน
งบประมาณ การเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศ และรว่ มกนั นำ� เสนอ
พร้อมกับสรุปผลการวิเคราะห์ SWOT ของสถานศึกษา
สุดท้ายแล้วร่วมกันทบทวนแผนของโรงเรียนตามผลการ
วเิ คราะห์ SWOT วา่ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถาน
ศึกษานั้น มีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ภายใตก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และรว่ มพฒั นา
จากสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
ซึ่งสถานศึกษาจะต้องใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาฉบับ
นเี้ ปน็ แนวทางสาํ หรบั การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปี ใน
การกําหนดโครงการพัฒนาในแต่ละด้านที่ตรงกับความ
ต้องการและยกระดับคุณภาพของการศึกษาของสถาน
ศกึ ษาต่อไป

36

37 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

eDLTV การเรียนการสอน

สู่ศตวรรษที่ 21

วิลาวัณย์ สมบูรณ์
ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และระดบั มธั ยมศกึ ษา จากโรงเรยี นวงั ไกลกงั วลและเนอ้ื หา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้ร่วมโครงการตาม เกี่ยวกับวิชาชีพจากวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
พระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ซึ่งเนื้อหาประกอบดว้ ย วดี ิทศั น์ สไลดบ์ รรยาย ใบความรู้
ราชกุมารี ศูนยเ์ ทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ใบงานเป็นตน้ แลว้ เผยแพรท่ ่เี วบ็ ไซต์ http://edltv.net/
แหง่ ชาติ รว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษาของรฐั ไดม้ กี ารตกลงรว่ ม โดยส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
กันท่ีจะเข้าร่วมเป็นเครือข่าย เผยแพร่ ถ่ายทอด และ ด�ำเนินงานจัดโครงการ eDLTVในการเรียนการสอน
พัฒนาการใช้ระบบ eDLTV ให้กับโรงเรียนท่ีเปิดสอนใน ภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชด�ำริ
ระดบั มัธยมศึกษาในทกุ ภมู ิภาค สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมี
eDLTV คือระบบ e-Learning ของการศกึ ษาทาง ขั้นตอนการด�ำเนินงาน 3 ขั้นตอน คือ การเผยแพร่
ไกลผา่ นดาวเทยี ม ทม่ี เี นอื้ หาสายสามญั ระดบั ประถมศกึ ษา การถ่ายทอดสด และการพฒั นาการใชส้ ่ือ eDLTV ในการ

เรียนการสอนให้กับโรงเรียนขยายโอกาสและโรงเรียน เพ่ือบันทึกวิดีโอ บรรยากาศโรงเรียน การจัดการ
ในชนบทระดับมัธยมศึกษาซ่ึงในปีงบประมาณ 2559 เรียนการสอน และสัมภาษณ์ครู นักเรียนและผู้เก่ียวข้อง
ไตรมาสที่ 4 ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานข้อมูลถึงฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยี
ได้จัดโครงการเครือข่ายเผยแพร่ ถ่ายทอดและพัฒนาสื่อ สารสนเทศตามพระราชดำ� รพิ ระเทพรตั นราชสุดาฯ สยาม
การเรียนการสอนบนระบบ e-Learning (eDL-square) บรมราชกุมารี ส�ำหรับเตรียมด�ำเนินงาน "โครงการ
ระยะที่ 2 ลงพื้นท่โี รงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สนองพระราชดำ� รฯิ " ในปี
1. โรงเรยี นวัดบุญบนั เทงิ หมูท่ ี่ 2 ต.คลองนอ้ ย ต่อไป ซ่ึงจะมุ่งเน้นให้นักเรียนและครูในโรงเรียนสามารถ
อ.เมือง จ.สุราษฎรธ์ านี วนั ที่ 2 สิงหาคม 2559 ประยกุ ตใ์ ชไ้ อซที ยี กระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา และคณุ ภาพ
2. โรงเรยี นบา้ นไสใน หมทู ี่ 5 ต.กรดู อ.กาญจนดษิ ฐ์ ชวี ติ เพอ่ื กา้ วสพู่ ลเมอื งในศตวรรษที่ 21ทม่ี กี ารเคลอ่ื นยา้ ย
จ.สรุ าษฎร์ธานี วันท่ี 3 สงิ หาคม 2559 ถ่ายเทของผู้คน ทุนเทคโนโลยี ข่าวสารและอุดมการณ์
3. โรงเรียนวัดดอนยาง หมู่ที่ 7 ต.ท่าทอง นนั้ เอง
อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สรุ าษฎร์ธานี วนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2559
4. โรงเรียนวัดดอนสน หมู่ท่ี 8 ต.ท่าทอง
อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี วันที่ 10 สงิ หาคม 2559

โรงเรียนวัดบุญบันเทงิ

โรงเรยี นบ้านไสใน โรงเรยี นวัดดอนยาง

โรงเรยี นวัดดอนสน

38

39 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ระบบวชิรวิชาการสุราษฎร์ธานี

วลิ าวณั ย์ สมบรู ณ์
สำ� นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับ เนื่องจากโครงการดังกล่าวมีกลุ่มเป้าหมายเป็น
เทศบาลเมืองท่าข้าม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โรงเรียนท่ัวท้ังจังหวัดสุราษฎร์ธานี และกิจกรรมท่ีเปิดรับ
ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาปฐมศึกษาสุราษฎร์ธานี มีความหลากหลาย ซ่ึงอาจจะมีข้อผิดพลาดในการสมัคร
เขต 1,2,3 และส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ท�ำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคการสื่อสารระหว่างโรงเรียน
เขต 11 ได้จัดการแข่งขันทักษะวิชาการ “วชิรวิชาการ ทสี่ มัครสอบและกองอ�ำนวยการผรู้ ับผิดชอบโครงการ
สรุ าษฎรธ์ าน”ี ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2559 ระหวา่ งวนั ท่ี 24
– 27 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงเรยี นเทศบาลเมอื งท่าข้าม
1 โรงเรยี นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี 2 (บา้ น
ดอนเกลี้ยง) และสุราษฎร์ธานีฮอลล์ ช้ัน 4 ศูนย์การค้า
เซ็นทรัลพลาซ่าสุราษฎร์ธานี โดยก�ำหนดให้มีกิจกรรม
แข่งขันทักษะทางวิชาการระดับปฐมวัย ระดับปฐมศึกษา
และระดับมัธยมศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีจึงมอบหมาย การผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ เชน่ การบนั ทกึ ขอ้ มลู ผสู้ มคั ร การ
ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยศูนย์ รายงานผลการแข่งขัน การออกวุฒิบัตร เป็นต้น โดย
คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ วิเคราะห์ ออกแบบและ โรงเรยี นทสี่ มคั รสอบสามารถสมคั รเขา้ แขง่ ขนั แบบออนไลน์
พัฒนา ระบบวชิรวิชาการสุราษฎร์ธานี ประจ�ำปี 2559 ตลอดจนดูรายงานผลการแข่งขันและพิมพ์วุฒิบัตรผ่าน
(http://www.vachiravichakarn.sru.ac.th) ประกอบไป ระบบออนไลนไ์ ด้
ดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ เพ่ืออำ� นวยความสะดวกใหก้ บั กองอำ� นวย

40

41 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

การจดั การความรสู้ ารสนเทศ
โรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน

วลิ าวณั ย์ สมบรู ณ์ และวรรณภา ทองสมสี
สำ� นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ร่วมกับงานบริการวิชาการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี ออกนิเทศตรวจเยยี่ มโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน ปงี บประมาณ 2560 ระยะที่ 1 สังกัดกองกำ� กับการ
ตำ� รวจชายแดนที่ 41 จ�ำนวน 11 โรงเรยี น คอื
1. โรงเรยี นสนั ตนิ ิมิต อ�ำเภอทา่ แซะ จังหวัดชุมพร
2. โรงเรยี นบา้ นพันวาล อำ� เภอทา่ แซะ จังหวัดชมุ พร
3. โรงเรยี นบา้ นควนสามัคคี อำ� เภอสวี จงั หวดั ชุมพร
4. โรงเรียนบ้านห้วยเหมือง อ�ำเภอหลังสวน จงั หวดั ชุมพร
5. โรงเรียนบ้านสวนเพชร อ�ำเภอละแม จงั หวัดชุมพร
6. โรงเรียนสริ ริ าษฎร์ อ�ำเภอละแม จังหวดั ชมุ พร
7. โรงเรียนบ้านตะแบกงาม อำ� เภอพะโตะ๊ จงั หวดั ชุมพร
8. โรงเรยี นบ้านกอเตย อำ� เภอทา่ ชนะ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
9. โรงเรียนบ้านยางโพรง อำ� เภอไชยา จังหวดั สุราษฎร์ธานี
10. โรงเรยี นบ้านคลองวาย อ�ำเภอวิภาวดี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
11. โรงเรยี นเทคนคิ มีนบุรีอนสุ รณ์ อำ� เภอพระแสง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

ในระหว่างวันท่ี 30 พฤศจิกายน – 14 ธันวาคม แนะนำ� แกไ้ ขซอ่ มแซม ดา้ นการใชง้ านเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
2559 โดยทุกโรงเรียนประสบปัญหาเหมือนกันคือครูท่ี และหอ้ งสมดุ โรงเรยี น สง่ ผลใหเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรส์ ามารถ
ปฏิบัติงานไม่มีความรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะทางด้าน ใชง้ านไดป้ กตแิ ละมปี ระสทิ ธภิ าพเพม่ิ ขนึ้ หอ้ งสมดุ มกี ารจดั
เทคโนโลยีสาสนเทศ และการจัดการห้องสมุดให้ได้ เก็บหนังสืออย่างเป็นระบบตามหลักการแบ่งหมวดหมู่
มาตรฐาน ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ถูกต้อง มีความเป็นระเบียบ น่าสนใจ บรรยากาศเอ้ือแก่
ตระหนกั ถงึ ปญั หาดงั กลา่ ว จดั สง่ บคุ ลากรศนู ยค์ อมพวิ เตอร์ การใชบ้ รกิ ารแกน่ ักเรียนมากขน้ึ
และสารสนเทศ และหอสมดุ กลาง ลงพื้นทีโ่ รงเรียน ให้ค�ำ

42

43 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

อนาคตของอดีต
วัดโพธารามกับการอนรุ กั ษ์ใบลานคัมภีร์

ธรี พนั ธ์ุ จนั ทรเ์ จริญ
ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม

คมั ภรี ใ์ บลานวดั โพธาราม เปน็ คมั ภรี ใ์ บลานทส่ี ำ� รวจ คราวน้นั เสนอให้ดำ� เนนิ การส�ำรวจคมั ภีร์ใบลานภายในวัด
พบในวัดโพธาราม ซึ่งตั้งอยู่ท่ีต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา โพธารามเป็นล�ำดับแรก เพื่อวางแผนการด�ำเนินงานการ
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานีจงึ อนุรักษ์คัมภีร์ในล�ำดับต่อไป โดยส�ำนักศิลปะและ
ไดจ้ ดั ทำ� โครงการอนรุ กั ษค์ มั ภรี ใ์ บลานวดั โพธารามขนึ้ โดย วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี ไดข้ อความ
การมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อธ�ำรงรักษาทรัพยากร
วัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ไว้
เม่ือพุทธศักราช 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานีร่วมกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา
กรรมการวดั โพธาราม และผนู้ �ำชมุ ชน ได้เป็นแกนนำ� เปิด
เวทีประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ให้ความรู้เกี่ยวกับ
คมั ภรี ใ์ บลาน และแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอ่ื หาแนวทางในการ
ด�ำเนินการอนรุ กั ษ์คมั ภีร์ใบลานวัดโพธาราม มติทีป่ ระชมุ

ร่วมมือจากภาคีเครือข่าย คือ คณะมนุษยศาสตร์ ผลจากการสำ� รวจพบคมั ภรี ส์ ำ� คญั มอี ายเุ กา่ แก่ 100
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ใหส้ ง่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นการ - 300 ปเี ศษ กอ่ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั รถู้ งึ คณุ คา่ ของคมั ภรี ์
อ่านภาษาโบราณมารว่ มปฏบิ ัตงิ าน ใบลานเหล่านั้นข้ึนแก่ชุมชน น�ำมาซ่ึงความหวงแหน
คณะทำ� งานสำ� รวจซง่ึ ประกอบดว้ ย สำ� นกั ศลิ ปะและ ตอ้ งการอนรุ กั ษใ์ หถ้ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ เพอื่ ธำ� รงรกั ษา
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ผู้แทน ทรัพยากรวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ไว้สืบไป จึงได้มอบ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชยา กรรมการวัดโพธาราม หมายใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านเี ปน็ องคก์ รหลกั
รศ.ดร.ศานติ ภักดีค�ำ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการอ่านภาษา ในการด�ำเนินการประสานผู้เช่ียวชาญจากหน่วยงานภาคี
โบราณ จากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เครอื ขา่ ย อาทิ กรมศลิ ปากร มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ
ศรีนครินทรวิโรฒ ไดด้ �ำเนนิ การส�ำรวจ ลงทะเบียน จดั ทำ� เปน็ ตน้ พร้อมทงั้ การจดั หางบประมาณในการด�ำเนินการ
บญั ชี สรปุ สาระสงั เขป และบันทกึ ภาพ ระหวา่ งพทุ ธศักราช 2555 – 2558 มหาวทิ ยาลัย
ผลการดำ� เนนิ งานสำ� รวจคมั ภรี ค์ รงั้ นน้ั พบวา่ คมั ภรี ์ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีด�ำเนินการเคล่ือนย้ายคัมภีร์ดังกล่าว
ใบลานของวัดโพธารามยงั คงเหลือจ�ำนวน 130 มดั มีอายุ พร้อมตใู้ สค่ ัมภรี ์จำ� นวน 7 หลงั จากอาคารจดั เกบ็ เดมิ ซึ่ง
เกา่ แก่นบั ตงั้ แต่สมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลายจนกระทง่ั ถงึ อยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการถูกทำ� ลายเสียหาย มาเก็บรักษา
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กลุ่มที่เก่าที่สุดเป็นคัมภีร์ที่สร้าง ไว้ ณ อาคารโพธิพทิ ยากร ซ่ึงไดป้ รบั ปรงุ ซ่อมแซมเตรียม
หรือจารขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา แห่งราชวงศ์ จดั สรา้ งเปน็ แหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชนตามรอยทา่ นพทุ ธทาส เพอ่ื
บา้ นพลูหลวง กรงุ ศรีอยุธยา ไดแ้ ก่ คัมภรี ์ “มลู กจฺจายน” เตรียมการอนุรักษใ์ นลำ� ดับต่อไป
ซ่งึ จารขนึ้ เม่ือพุทธศกั ราช 2233 และคัมภรี ์ “พฺรมโหสถ” พุทธศักราช 2559 สถานทูตอเมริกาประจ�ำ
ซึ่งจารขึ้นเมื่อพุทธศักราช 2234 และพบว่ามีการสร้าง ประเทศไทย ได้สนับสนุนงบประมาณด�ำเนินการอนุรักษ์
คัมภีร์สืบเนื่องมาจนถึงปีสุดท้ายในสมัยรัชกาลท่ี 5 แห่ง คัมภีร์ใบลานวัดโพธารามจ�ำนวน 15,000 เหรียญสหรัฐ
กรุงรัตนโกสินทร์ คอื พทุ ธศักราช 2553 แม้วา่ ในเวลานั้น หรือประมาณห้าแสนบาทเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
จะเรม่ิ มกี ารพมิ พพ์ ระไตรปฎิ กและคมั ภรี อ์ น่ื ๆ ทเ่ี ปน็ ภาษา สุราษฎรธ์ านรี ว่ มกับผูเ้ ช่ียวชาญและภาคเี ครอื ขา่ ย ดำ� เนนิ
บาลีด้วยอักษรไทยแล้วก็ตาม ลักษณะตัวอักษรที่ใช้จาร การอนรุ กั ษ์ตามหลกั วิชาการ ดังน้ี คัดแยกสภาพ บนั ทึก
คัมภีร์ใบลานวัดโพธาราม ส่วนใหญ่เป็นอักษรขอมสมัย
กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย อักษรขอมสมัยกรุงธนบุรี และ
อักษรขอมสมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้
ต่อมาในปีพทุ ธศกั ราช 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี ได้จัดพิมพ์หนังสือ “คัมภีร์ใบลานวัด
โพธาราม” ขึ้น เพ่ือเป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ได้จากการ
สำ� รวจ และเพอื่ ถวายเปน็ พระราชกศุ ลและเฉลมิ พระเกยี รติ
สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ

44

ภาพ บนั ทกึ ขอ้ มลู ดำ� เนนิ การอนรุ กั ษต์ ามสภาพดว้ ยวธิ กี าร
ดดู ฝนุ่ เชด็ ทำ� ความสะอาดดว้ ยนำ้� มนั สน และซอ่ มแซมสว่ น
ท่ีช�ำรุดฉีกขาด พร้อมทั้งเปลี่ยนผ้าห่อคัมภีร์ และจัดท�ำ
สลากคัมภีร์ใหม่ ก�ำหนดเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม
2560
คัมภีร์ใบลานวัดโพธาราม ทรัพยากรวัฒนธรรมซ่ึง
บนั ทกึ อดตี อนั ทรงคณุ คา่ ของชมุ ชน ไดร้ บั การดแู ล บรหิ าร
จัดการอย่างย่ังยืน ถูกต้องตามหลักวิชาการ อย่างมีส่วน
ร่วมของทุกภาคส่วน เพ่ือธ�ำรงรักษาไว้เป็นมรดกทาง
วฒั นธรรมแก่ชนรนุ่ หลัง
รูปแบบการด�ำเนินการที่ประชาคมมีส่วนร่วม
ก�ำหนดอนาคตของอดีตหรือทรัพยากรทางวัฒนธรรม
เหล่านั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีได้ถือเป็น
แนวทางในการด�ำเนินงานอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานเมือง
ไชยาในวดั อนื่ ๆ ต่อไป

45

46 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น
ฉ บั บ ที่ 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ASEAN :

กญุ แจไขรหสั ส่กู ารปฏิบตั งิ านในสงั คมอาเซยี น

พิมพ์ชนก มเี ดช
สถาบันภาษา

ในปี พ.ศ. 2559 ทผ่ี า่ นมา ประเทศไทยไดก้ ้าวเข้าสู่ งานไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพดา้ นภาษาองั กฤษในการปฏบิ ตั งิ าน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ ส่งผลให้ เพ่อื มุ่งหวงั ประสิทธผิ ลของการท�ำงาน
สถานทร่ี าชการตา่ ง ๆ มชี าวต่างชาติมาติดต่อราชการเพม่ิ จากประเด็นข้างต้น ภายใต้การน�ำของ นาย
มากขึ้น และคงปฏิเสธไม่ได้ทจี่ ะหลีกเลี่ยงการสือ่ สารดว้ ย ปราโมทย์ ศรสี มโภชน์ นายกเทศมนตรเี ทศบาลตำ� บลขนุ
ภาษาอังกฤษซ่ึงเปน็ ภาษาทใ่ี ชก้ ันทว่ั โลก ทำ� ใหเ้ กิดค�ำถาม ทะเล อ�ำเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี มีความตอ้ งการท่ี
ท่ีว่า เราจะให้บริการชาวต่างชาติอย่างไรเพ่ือให้ได้เกิด จะพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติการ
ความเข้าใจที่ตรงกัน และส่ือความหมายได้อย่างถูกต้อง จงึ เกดิ เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งเทศบาลตำ� บลขนุ ทะเลกบั
เหมาะสม เฉกเช่นเดียวกับการใหบ้ รกิ ารชาวไทย สถาบนั ภาษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
ประเด็นปัญหาน้ีท�ำให้เทศบาลต�ำบลขุนทะเล จากการลงพน้ื ทส่ี อบถามความตอ้ งการในการเรยี น
อำ� เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตระหนกั ถึงความส�ำคัญ รู้ทักษะภาษาอังกฤษ บุคลากรส่วนใหญ่มีความต้องการ
ของการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้บุคลากรภายในหน่วย เรียนรู้ทักษะทางด้านการส่ือสาร ฝึกทักษะการสนทนา

ภาษาองั กฤษ (Working Knowledge) เพอื่ สามารถนำ� ไป
ใชง้ านไดใ้ นสถานการณจ์ รงิ จงึ ไดเ้ กดิ เปน็ “โครงการพฒั นา
ศกั ยภาพภาษาองั กฤษในการปฏบิ ตั งิ านใหก้ บั พนกั งานสว่ น
ทอ้ งถิ่นต�ำบลขุนทะเล” ขึ้น
โครงการดงั กล่าวมผี ลตอบรับท่ีน่าพอใจมาก โดยผู้
เขา้ รว่ มโครงการทา่ นหนงึ่ กลา่ ววา่ การอบรมภาษาองั กฤษ
ในครงั้ นสี้ ามารถนำ� เนอ้ื หาหลกั สตู รไปปรบั ใชก้ บั การปฏบิ ตั ิ
งานไดจ้ รงิ ความรสู้ กึ เกรงกลวั ตอ่ การใหบ้ รกิ ารชาวตา่ งชาติ
ลดนอ้ ยลง อกี ทง้ั ยงั เกดิ ความมน่ั ใจและมที ศั นคตทิ ด่ี ใี นการ
เรยี นภาษาองั กฤษเพิ่มข้นึ อีกด้วย
จากผลตอบรบั ดงั กลา่ วตลอดจนการไดร้ บั ความรว่ ม
มืออย่างดีจากชุมชน ท�ำให้สถาบันภาษา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เกิดแนวคดิ ท่จี ะจัดโครงการตอ่ เน่อื ง
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษในรปู แบบทหี่ ลากหลาย
รวมทงั้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรของชมุ ชนขนุ
ทะเลใหก้ ลายเป็นชมุ ชนตน้ แบบในอนาคตต่อไป

47

48 จุ ล ส า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น
ฉ บั บ ท่ี 2 เ ม ษ า ย น 2 5 6 0

ครสู อนครู เพ่ือให้ครูไปสอนเด็ก

ศรัญญา วาหะรักษ์
สถาบันภาษา

ในศตวรรษที่ 21 ยุคท่ีใครต่อใครต่างก็ให้ สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ความส�ำคัญและคอยเน้นย�้ำว่า ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลาง ด้วยพันธกิจในการสนับสนุนการเรียนการสอน พัฒนา
ของการเรียนรู้ (Student-Centered) ยุคที่เด็กมีอิสระที่ ผู้เรียนและผู้สอนทั้งในสถาบันการศึกษาต้นสังกัดและ
จะเขา้ ถงึ ความรทู้ ง้ั มวลไดด้ ว้ ยตนเอง จากทกุ ที่ ในทกุ เวลา ชุมชนท้องถิ่น ให้มีความพร้อมด้านภาษาและก้าวทันต่อ
หากพิจารณาค�ำนิยามนี้อย่างฉาบฉวยแล้ว ครูผู้สอน สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของโลก ได้เล็งเห็นความ
อาจดูเหมือนถูกลดบทบาทในกระบวนการเรียนการสอน ส�ำคัญของบทบาทของครูในจุดนี้ จึงได้มีการจัดด�ำเนิน
ไปไมใ่ ชน่ อ้ ย แตเ่ มอ่ื ไดพ้ นิ จิ พเิ คราะหอ์ ยา่ งถถ่ี ว้ น พจิ ารณา โครงการในชอ่ื “สมั มนาดา้ นการสอนภาษาองั กฤษ สำ� หรบั
ให้ลึกถึงที่ว่า แล้วอะไร ใครกัน ท่ีจะเป็นผู้ขับเคลื่อนให้ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อาจารย์
ผู้เรียนเปน็ ผเู้ รียนของศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ผูท้ ี่ มหาวิทยาลัยภายนอก และครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับ
อาจไม่ได้อยู่แนวหน้าอีกต่อไป แต่จะต้องเป็นแนวหลังที่ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหค้ รผู สู้ อน
เขม้ แขง็ และอดั แนน่ ไปดว้ ยวธิ กี ารในการสนบั สนนุ เดก็ นอ้ ย ในทุกระดับการศึกษาได้เล็งเห็นถึงแนวทางของการสอน
เหล่านั้น ค�ำตอบสุดท้ายยังคงเป็นค�ำตอบเดียวกัน คือ ภาษาอังกฤษในยุคปัจจุบัน พัฒนาทักษะการสอนภาษา
ครูผู้สอน องั กฤษ เพอ่ื ใหค้ รอู าจารยใ์ นศตวรรษท่ี 21 ไดม้ คี วามมน่ั ใจ
ในการสอนภาษาอังกฤษ

ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั การสมั มนารว่ มกนั ระหวา่ งครอู าจารย์ การสัมมนา 2 วันเต็มตามเวลาราชการดูผ่านไป
ท่ีเป็นเสมือนผู้ส่งต่อผู้เรียนกันนั้น ยังถือเป็นการสร้าง อย่างรวดเร็ว จนครูผู้เข้าร่วมโครงการจากโรงเรียนมัธยม
เครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนาการเรียนการสอน หลายท่านถึงกับเอ่ยปากว่า ระยะเวลาในการด�ำเนิน
ภาษาองั กฤษและการแลกเปลยี่ นเรยี นรซู้ งึ่ กนั และกนั และ โครงการน่าจะยาวกว่าน้ี และน่าจะเชิญครูผู้สอนสาย
ดว้ ยมติ รภาพอนั ดรี ะหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี วิชาชีพเข้าร่วมการสัมมนาด้วยเพ่ือให้ครอบคลุมท้ังระบบ
และสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย ใน การศึกษา ส่ิงน้ีคงเป็นโจทย์ที่สถาบันภาษาต้องน�ำไปคิด
การด�ำเนินโครงการในครั้งน้ี สถาบันภาษายังได้รับการ เพ่อื พัฒนาการด�ำเนินโครงการตอ่ ไปในอนาคต
อนุเคราะห์ 2 วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษา เห็นความกระตือรือร้นและความต้ังใจจริงของครู
อังกฤษจากโครงการ English Language Fellow ของ ผสู้ อนทเี่ ขา้ รว่ มการสมั มนาในครง้ั นแี้ ลว้ ผเู้ รยี นจากจงั หวดั
สถานทูต คุณ Ami Christensen และคุณ Kristin เล็ก ๆ ในภาคใต้อย่างสุราษฎร์ธานี คงเป็นผู้เรียนท่ีมี
Tregillus มาเป็นวทิ ยากรประจำ� โครงการถงึ 2 วันเต็ม ประสิทธภิ าพแห่งศตวรรษที่ 21 ได้โดยไม่ยากเย็น
เม่ือวันสัมมนามาถึง ครูมัธยมพบอาจารย์ รวมทั้งสถาบันภาษาในนามผู้จัดท�ำโครงการเองก็
มหาวิทยาลัย ครูไทยพบครูต่างชาติ ด้วยบรรยากาศที่ สามารถตอบพันธกจิ ของหน่วยงานได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม
อบอุ่นและเป็นกันเอง ลักษณะกิจกรรมจากวิทยากรที่
ด�ำเนินไปในรูปแบบของการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
(Workshop) ทำ� เอาครทู ่ีต้องกลายมาเป็นนกั เรยี นในวนั น้ี
น่งั ไมต่ ดิ ไปตาม ๆ กนั
กิจกรรมเริ่มด้วยการละลายพฤติกรรมแบบง่าย ๆ
แต่เน้นกระบวนการคิด คิดอย่างเป็นระบบและคิดเพื่อ
ผู้เรียนที่มีความแตกต่างไปตามพื้นหลังของครอบครัว
ด้วยผู้เป็นครูต้องสามารถรับมือและส่งเสริมผู้เรียนได้โดย
ไม่มีข้อแม้
กิจกรรมสัมมนาในท้ังสองวันยังด�ำเนินไปด้วย
กจิ กรรมทห่ี ลากหลายและทา้ ทายความสามารถของครยู คุ
ใหม่ข้ึนเรื่อย ๆ ตามล�ำดับ วิทยากรท้ังสองท่านสลับกัน
ดำ� เนนิ กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสรมิ เตมิ แตง่ ใหค้ รเู ปน็ ครสู อนภาษา
แหง่ ศตวรรษท่ี 21 อยา่ งเต็มภาคภมู ิ ทงั้ การแนะแนวทาง
ถงึ การปฏวิ ตั ติ วั เองของครจู ากผนู้ ำ� เปน็ ผสู้ นบั สนนุ (From
Direct Teaching to Student Centered) ท�ำอย่างไร
ให้การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนทุกนาทีมีคุณค่า
(Making Every Minute Count: Entrance and Exit
Activities) รวมท้ังอีกหลากหลายกิจกรรมท่ีครูผู้เข้าร่วม
สมั มนาสามารถนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ไดใ้ นหอ้ งเรยี น

49


Click to View FlipBook Version