The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by it.meesuk, 2022-04-04 22:24:16

สมุดบันทึกคลินิกผู้สูงอายุห่างไกลการหกล้ม อบจ.สงขลา online

สมุดบันทึกคลินิก สูงวัย สุขใจ ห่างไกลล้ม

















































ชื่อ-นามสกุล................................................




HN………….……………………….

ค าน า



เมื่อก้าวเข้าสู่ “วัยสูงอายุ” การท างานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายและจิตใจ การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมถอย พบว่า



ปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุที่สูงเป็นอนดับแรก คือ การเคลื่อนไหวร่างกาย เนื่องจากความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของ
กล้ามเนื้อลดลง ท าให้การเคลื่อนไหวในลักษณะต่าง ๆ ไม่คล่องตัว ส่งผลต่อการท ากิจวัตรประจ าวัน การเดิน และการทรงตัว

ผู้สูงอายุ จึงมีปัญหาหกล้มบ่อยและบางครั้งรุนแรง ถึงขั้นมีภาวะกระดูกหักร่วมด้วย

การหกล้มในผู้สูงอายุ มักเกิดขึ้นโดยผู้สูงอายุไม่ทันตั้งตัว แต่เราสามารถปูองกันได้ด้วยการลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง

ต่อการหกล้ม ไม่ว่าจะเป็นสภาพร่างกายของผู้สูงอายุเองและสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ผู้สูงอายุจึงควรได้รับการตรวจคัดกรอง

ภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม และการตรวจประเมินสมรรถภาพทางกาย จากผู้เชี่ยวชาญ เพอเป็นการส่งเสริม ปูองกัน แก้ปัญหาการ
ื่
หกล้มในผู้สูงอายุ

พยาบาลวิชาชีพและนักกายภาพบ าบัด ฝุายบริการทางการแพทย์ ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุ จึงได้จัดท าสมุดบันทึกคลินิก

ื่
ผู้สูงอายุห่างไกลการหกล้ม เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สูงอายุเข้าใจและตระหนักใส่ใจดูแลสุขภาพ การดูแลตนเอง การออกก าลังกายเพอ
ปูองกันการหกล้ม การล้มอย่างถูกวิธี การจัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านส าหรับผู้สูงอายุ ผู้จัดท าขอขอบคุณผู้นิพนธ์บทความด้าน


ผู้สูงอายุ ที่คณะผู้จัดท าได้น ามาประกอบในคู่มอคลินิกผู้สูงอายุห่างไกลการหกล้มเล่มนี้

สารบัญ




หน้า


ค าน า


สารบัญ

ส่วนที่ 1 แบบประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม (Thai-FRAT) 1


ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความเสี่ยงสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน 2

ี่
ส่วนท 3 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย

 การประเมินส่วนสูงน้ าหนักและดัชนีมวลกาย 3


 การทดสอบ Time Up and Go Test: TUG 4


 การทดสอบการลุกนั่ง 5 ครั้ง (Five Times Sit to Stand Test) 5

 การทดสอบ chair sit-and-reach test 6


 การยกขาสูง 2 นาที (๒-minute step test) 7


 การแปลผล 8

ส่วนที่ 7 การออกก าลังกายปูองกันการหกล้มในผู้สูงอาย ุ 9-20


ส่วนที่ 8 การฝึกล้มและการลุกอย่างถูกวิธี 21-27

ส่วนที่ 9 บ้านส าหรับผู้สูงอาย 28-32


-1-


แบบประเมินความเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุไทย Thai Falls Risk Assessment Tool

(Thai – FRAT)
ปัจจัยเสี่ยง คะแนน วันที่ประเมิน

1.เพศ
o ชาย 1

o หญิง 0

2. การมองเห็น
o ไม่สามารถอ่านตัวเลขที่ระยะ 6/12 เมตรได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง 1

o อ่านตัวเลขที่ระยะ 6/12 เมตรได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง 0

3.การทรงตัวบกพร่อง

o ยืนต่อเท้าเป็นเส้นตรงไม่ได้ หรือยืนได้ไม่ถง 10 วินาที 2
o ยืนต่อเท้าเป็นเส้นตรงได้นาน 10 วินาที 0

4. การใช้ยา
o กินยาต่อไปนี้ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป ได้แก่ ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท 1

ยาลดความดันโลหิต ยาขับปัสสาวะ หรือกินยาชนิดใดก็ได้ ตั้งแต่ 4 ชนิดขึ้นไป

(ไม่รวมวิตามิน)
o ไม่กินยาต่อไปนี้ ได้แก่ ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท ยาลดความดันโลหิต 0

ยาขับปัสสาวะ หรือกินยาชนิดใดก็ได้แต่น้อยกว่า 4 ชนิด

5. การประวัติการหกล้ม
ึ้
o มีประวัติหกล้มตั้งแต่ 2 ครั้งขนไปในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา 5
o ไม่ม ี 0

6. สภาพบ้าน ที่อยู่อาศัย
o อยู่บ้านยกพื้นสูงตั้งแต่ 1.5 เมตรขึ้นไป หรือบ้าน 2 ชั้นต้องขึ้นลงโดยใช้บันได 1

o ไม่ได้อยู่บ้านลักษณะดังกล่าว

0
รวมคะแนน

การแปลผล : ผู้ที่ได้คะแนนรวม 4-11 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มต้องขอรับ


ค าแนะน า จากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรสาธารณสุข เรื่องปัจจัยเสี่ยงและการปูองกัน

อ้างอิงจาก :แบบประเมินจาก Thai Fall Risk Assessment Test developed for community-dwelling Thai Elderly

-2-


แบบสอบถามความเสี่ยงสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน (10 ข้อประเมินบ้านเสี่ยงล้ม)

10 ข้อประเมินบ้านเสี่ยงลม

□ 1. สีที่ไม่ชัดเจน สีที่ไม่ชัดเจนของสิ่งของต่างๆที่มีความใกล้เคียงกัน เช่น สีของบันได สีของโต๊ะกับพื้น ฯลฯ

□ 2. พื้นลื่น หรือมีพรม การวางพรมเช็คเท้าไว้บริเวณหน้าบ้าน บริเวณหน้าห้อง กรณีที่พรมดังกล่าวไม่มีปุุมกันลื่นด้านได้มี

โอกาสให้เกิดอุบัติเหตุลื่นล้มขณะเหยียบได้
□ 3. ของเกะกะ ของวางอยู่สูง การวางของไว้ตามเส้นทางเดินเกะกะไม่อยู่ทางเดียวกัน อาจท าให้เกิดการเดินชน หรือเกิด

การสะดุดของล้มได้ รวมถงการเก็บของใช้ประจ าไว้ในต าแหน่งสูงเอื้อมหยิบได้ยาก ต้องปืนหรือเขย่าเท้า อาจเสียหลักและ

พลัดตกหกล้มได้
□ 4. มืด แสงสว่างบริเวณทางเดิน/บันได/ประตูน้อย ภายในบ้านมีแสงสว่างไม่เพียงพอ ประกอบกับการวางของเกะกะ

ทางเดินในข้อที่ 3 อาจท าให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการเดินขนส่งของ รวมถึงแสงบริเวณประตูและบันไดทอาจท าให้เกิดอุบัติเหตุ
ี่
การพลัดตกหกล้มได้

□ 5. การเปลี่ยนแปลงแสงกะทันหัน การเปลี่ยนระดับแสงจากมืดๆมาก ไปยังที่ทมีแสงสว่างที่จ้ามาก จะท าให้สายตาปรับ
ี่
แสงไมทันเกิดอาการหน้ามืดและล้มลงได้

□ 6. ห้องน้ า บันได ไม่มีราวจับพยุงตัว การเปลี่ยนอิริยาบถภายในห้องน้ า การนั่งและลุกขึ้นยืนบริเวณที่อาบน้ าและโถส้วม

และการก้าวขึ้นบันได หากไม่มีราวจับช่วยในการพยุงตัว ผู้สูงอายุอาจจะเสียหลักและหกล้มได้
□ 7. ห้องนอนอยู่ชั้น 2 ต้องขึ้นบันได การขึ้นลงบันได เป็นการเพิ่มโอกาสให้ผู้สูงอายุพลัดตกบันได หรือหกล้มได้ เนื่องจาก

การรับน้ าหนักตัวในขณะขึ้นบันไดหรือการลงน้ าหนักในขณะลงบันไดมากเกินไป

ี้
□ 8. เตียง เก้าอ โซฟา สูงหรือต่ าเกินไป หาก เตียง เก้าอี้ หรือโซฟา มีระดับความสูงไม่พอดีกับความสูงของผู้สูงอายุ ท าให้
ต้องเขย่งตัวหรือย่อตัวลง เพิ่มความเสี่ยงในกรณีทรงตัวไม่ดีท าให้หกล้มได้

□ 9. มีการเปลี่ยนระดับ ทางเดิน ธรณีประตู ทางเข้าห้องน้ า การเปลี่ยนระดับ ท าให้จังหวะการก้าวเท้าและการลงน้ าหนัก

ตัวไม่เสมอกัน หากไม่ระวังอยากท าให้ผู้สูงอายุล้มได้
□ 10. การระบายอากาศไม่ดี หากการระบายอากาศไม่ดี ท าให้เกิดการอับ ชื้น รวมถึงเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคต่าง ๆ ท าให้

ระบบหายใจของผู้สูงอายุไม่ดี อาจหน้ามืด เป็นลม และล้มได้เช่นกัน


ไม่เกิน 2 ข้อ อยู่ในระดับ บ้านควรระวัง

การแปลผล : 3-4 ข้อ อยู่ในระดับ บ้านควรเร่งแก้ไข
5 ข้อขึ้นไป อยู่ในระดับ บ้านอันตรายควรปรับปรุงด่วน



ประยุกต์ใช้แบบประเมินจาก Thai Fall Risk Assessment Test developed for community-dwelling Thai Elderly

-3-

ส่วนที่ 4 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย

4.1 การประเมินส่วนสูงน้ าหนักและดัชนีมวลกาย


วัตถุประสงค์ เพอประเมินความอ้วนความเสี่ยงซึ่งส าคัญต่อสุขภาพ
ื่
ครั้งที่ 1 วันที่……………………

การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล

1.ชั่งน้ าหนัก กิโลกรัม 18.5–24.9 ผอม
2
2.วัดส่วนสูง เซนติเมตร กิโลกรัม/เมตร ปกติ
2
3.ดัชนีมวลกาย กก./เมตร น้ าหนักเกิน

ครั้งที่ 2 วันที่………………


การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล
1.ชั่งน้ าหนัก กิโลกรัม 18.5–24.9 ผอม

2
2.วัดส่วนสูง เซนติเมตร กิโลกรัม/เมตร ปกติ
2
3.ดัชนีมวลกาย กก./เมตร น้ าหนักเกิน
4.2 การประเมินสัดส่วนเส้นรอบเอวต่อรอบสะโพก


วัตถุประสงค์ เพอประเมินความอ้วนความเสี่ยงซึ่งส าคัญต่อสุขภาพ
ื่

ครั้งที่ 1 วันที่……………………….


การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล

1.รอบเอว เซนติเมตร ชาย 0.86–0.9เท่า ผ่าน

2.รอบสะโพก เซนติเมตร หญิง 0.81–0.93 เท่า ไม่ผ่าน

3.สัดส่วนเส้นรอบเอวต่อรอบสะโพก เท่า


ครั้งที่ 2 วันที่……………………….

การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล

1.รอบเอว เซนติเมตร ชาย 0.86–0.9 เท่า ผ่าน
2.รอบสะโพก เซนติเมตร หญิง 0.81–0.93 เท่า ไม่ผ่าน
3.สัดส่วนเส้นรอบเอวต่อรอบสะโพก เท่า

-4-


4.2 การทดสอบ Timed Up and Go Test: TUG
วัตถุประสงค์ เพอประเมินการทรงตัวขณะเคลื่อนไหว
ื่
การประเมิน

ื่
1. นั่งที่กึ่งกลางของเก้าอี้หลังตรง เท้าวางราบกับพื้นขาอีกข้างหนึ่งวางไปข้างหน้าเพอเตรียมพร้อมจะลุก
ขึ้นและก้าวไป

2. เมื่อให้ค าสั่งว่า “เริ่ม” ให้ลุกขึ้นยืนและเดินด้วยความเร็วสูงสุดแต่ปลอดภัยเป็นระยะทาง 3 เมตร แล้วหมุนตัวออมกรวย

กลับมานั่งที่เดิม


3.จับเวลาเมื่อได้ยินค าสั่งว่า เริ่ม และหยุดเมื่อหลังผู้สูงอายุพิงพนักเกาอ ี้

-5-


4.3 ทดสอบการลุกนั่ง 5 ครั้ง (Five Times Sit to Stand Test: FTSST)
วัตถุประสงค์ เพอประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อส่วนขา(lower body strength)
ื่

การประเมิน


1. นั่งหลังตรงเท้าทั้ง 2 ข้างติดพื้น มือทั้ง 2 ข้างประสานไว้ที่หน้าอก

2. เมื่อให้ค าสั่งว่า “เริ่ม” ให้ลุกขึ้นยืนเหยียดตัวตรงแล้วนั่งลง 5 ครั้ง ติดต่อกันให้เร็วที่สุดและปลอดภัย โดยให้หลังพิงพนักเฉพาะ

ครั้งแรกและครั้งสุดท้าย

3. บันทึกเวลาเป็นวินาที


การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล

ครั้งที่ 1 ครั้ง < 12 วินาท ี ผ่าน

วันที่…………………….. ไม่ผ่าน
ี่
ครั้งท 2 ครั้ง < 12 วินาท ี ผ่าน
วันที่…………………….. ไม่ผ่าน

-6-

4.4 การทดสอบ chair sit-and-reach test


วัตถุประสงค์ เพอทดสอบความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขา (flexibility)
ื่
การประเมิน


1. นั่งเก้าอค่อนไปด้านหน้าขาเหยียดตึง
ี้
2. ก้มเหยียดมือทั้งสองข้างไปแตะปลายเท้า

3. วัดระยะห่างจากปลายนิ้วมือถึงปลายนิ้วเท้า

 ระหว่างจากปลายนิ้วมือไม่ถึงนิ้วเท้า ค่าที่ได้จะเป็นลบ

 ถ้าปลายนิ้วมือยื่นเลยปลายนิ้วเท้า ค่าที่ได้จะเป็นบวก

** ให้ซ้อม 2 ครั้งกอนวัดจริง เพื่อเป็นการอบอุ่นร่างกายหรือยืดกล้ามเนื้อ**




การประเมิน ผลการตรวจ เกณฑ์ปกติ การแปลผล
ครั้งที่ 1 ชาย ≥ 10 ซม. ผ่าน

วันที่……………. ..................ซม. หญิง ≥5 ซม. ไม่ผ่าน

ครั้งท 2 ชาย ≥ 10 ซม. ผ่าน
ี่

วันที่……………. ..................ซม. หญิง ≥5 ซม. ไม่ผ่าน

-7-

































4.5 ทดสอบ การยกขาสูง 2 นาที (2-minute step test)
วัตถุประสงค์ เพอทดสอบความทนทานแบบแอโรบิก (aerobic endurance)
ื่

การประเมิน


1.เริ่มต้นด้วยการหาความสูงในการยกเขาส าหรับผู้สูงอายุแต่ละคน

จะอยู่ที่จุดกึ่งกลางระหว่างเข่ากับขอบบนของกระดูกสะโพก


และใช้เทปติดที่ผนังไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายไว้

2.เมื่อให้ค าสั่งว่า “เริ่ม” ให้เริ่มยกขาสูงอยู่กับที่ (ไม่ให้วิ่ง)


ให้ได้จ านวนมากทสุดเท่าที่จะท าได้ภายในเวลา 2 นาที
ี่

3.จ านวนครั้งนับจากเข่าขวาที่ยกสูงขึ้นอย่างสมบูรณ์ใน 2 นาที

-8-


















ตารางที่ 1 การแปลผล และแนวการการดูแลเพื่อป้องกันการหกล้มกระดูกหักในผู้สูงอายุ

เสี่ยง แบบทดสอบ
Thai – สิ่งแวดล้อม สมรรถภาพ การแปรผล แนวทางการดูแลเพื่อป้องกันการหกล้มกระดกหักในผู้สูงอายุ

FRAT
ภายในบ้าน ทางกาย
0 - 3 0 - 2 ปกติ กลุ่มเสี่ยงต่ า ให้การดูแลตนเองแบบ Self-Health-Care

การให้ความรู้เกี่ยวกับการปูองกันการหกล้ม,ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการหก
ล้ม เพื่อให้ผู้สูงอายุตระหนักและเห็นความส าคัญของการส่งเสริมและการ
ปูองกันการหกล้ม นัดติดตามทุก 6 เดือน
4 - 11 3 - 4 ต่ ากว่าเกณฑ์ กลุ่มเสี่ยง ให้การดูแลรายบุคคล

ปานกลาง การให้ความรู้การปูองกันการหกล้ม /แนะน าการออกก าลังกายที่เหมาะสม
/การให้การดูแลตามประเด็นปัญหาที่พบ เชน ตรวจวัดสายตา ปรับการใช ้

ยา ปรับปรุงแก้ไข ลดปัญหาเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมนัดติดตามทุก 3 เดือน

4 - 11 5 ข้อขึ้นไป ต่ ากว่าเกณฑ์ กลุ่มเสี่ยงสูง การให้การดูแลรายบุคคลและสร้างความเข้าใจร่วมกับครอบครัว

ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะทางกายด้วยการออกก าลังกาย /แนะน าการใช ้
เครื่องชวยเดินที่เหมาะสม/การได้รับยา ปรับลดยา /การวัดสายตา /แก้ไข

โรคที่พบ /ลงเยี่ยมบ้านเพื่อให้ค าแนะน าเรื่องการปรับสภาพแวดล้อมภายใน
บ้าน และภายในชุมขน ให้เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ นัดติดตามทุก 3 เดือน

-9-



ส่วนที่ 7 การออกก าลังกายป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ


1.ท่าบริหารล าตัว










































ให้ยืนตัวตรงกางขาออกเล็กน้อย ตามอง ไปข้างหน้า มือเท้าเอว ค่อยๆบิดล าตัวช่วงบนไปด้านขวาให้มากที่สุด

เท่าที่จะท าได้ โดยไม่บิดสะโพก จากนั้นให้ท าแบบเดียวกันไปทางด้านซ้าย ท าซ้ ากัน 10 ครั้ง

-10-


2.ท่าบริหารข้อเท้า
































นั่งบนเก้าอี้ ให้ยกขาทีละข้าง เริ่มจากขาขวาก่อน ยกขึ้นจากพื้นและกระดกปลายเทาเข้าหาตัว

จากนั้นกระดกปลายเท้าลงท าซ้ ากัน 10 ครั้ง

-11-


3.ท่ายืนด้วยปลายเท้า







.














ยืนแยกขาความกว้างเทาช่วงไหล่ แล้วค่อยๆเขย่งปลายเท้าขึ้นจนสุด แล้วค่อยๆวางส้นเท้าลงหากทานรู้สึกไม่มั่นคง


สามารถใช้มือจับเก้าอี้หรือโต๊ะได้ ท าซ้ า 10 ครั้ง

-12-


4. ท่ายืนด้วยส้นเท้า























ยืนแยกขาความกว้างเทาช่วงไหล่ ค่อยๆ ขยับปลายเท้าขึ้น และยืนขึ้นด้วยส้นเท้าจากนั้นค่อยๆวางปลายเท้าลง
ท าซ้ า 20 ครั้ง หากท่านรู้สึกไม่มั่นคงสามารถใช้มือจับเก้าอี้หรือโต๊ะได้ท าซ้ า 10 ครั้ง

-13-


5.ท่าย่อเขา
































ยืนแยกขาเท่าช่วงไหล่ ค่อยๆย่อเข่าลงโดยให้หัวเข่าไปด้านหน้านิ้วหัวแม่เท้า แต่อย่าให้เข่ายื่นเกินปลายนิ้วหัวแม่เท้า


และค่อยๆยืดตัวขึ้น หากท่านรู้สึกไม่มั่นคงสามารถใช้มือจับเก้าอี้หรอโต๊ะได้ ท าซ้ า 10 – 20 ครั้ง

-14-


6.เดินต่อเท้า






























ยืนตรงมองไปข้างหน้า ค่อยเริ่มเดินโดยก้าวเท้าไปไว้ข้างหน้าในลักษณะปลายเท้าต่อส้นเท้า และเดินเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ


จนครบ 10 ก้าว จากนั้นกลับหลังหัน เดินต่อเท้าแบบเดียวกันกลับไปจุดเริ่มต้น ท าซ้ า 10 - 20 ครั้ง

-15-


7.ยืนขาเดียว



































ยืนตรงมองไปข้างหน้า ยกขาข้างใดข้างหนึ่งขึ้น และยืนด้วยขาข้างเดียวนาน 10 วินาท ี

จากนั้นเปลี่ยนอีกข้าง หากท่านรู้สึกไม่มั่นคงสามารถใช้มือจับเก้าอี้หรอโต๊ะได้


-16-


8.เดินด้วยส้นเท้า





































ให้ยืนตรง มองไปข้างหน้า ค่อยๆยกปลายเทาขึ้น จนยืนด้วยส้นเท้า จากนั้นเดินด้วยส้นเทาไป 10 ก้าว แล้วค่อยๆลด
ปลายเท้าลง จากนั้นกลับตัว และท าแบบเดิม ซ้ าๆกัน 10 – 20 ครั้ง หากท่านรู้สึกไม่มั่นคงสามารถใช้มือจับราวได้

-17-


9.เดินด้วยปลายเท้า





































ยืนตรงไปข้างหน้า ค่อยๆยกส้นเท้าขึ้นจนยืนด้วยปลายเทา จากนั้นเดินด้วยปลายเทาไป 10 ก้าว แล้วค่อยๆลดส้นเท้า

ลง กลับตัว ค่อยๆยกส้นเท้าขึ้นจนยืนด้วยปลายเท้า เดินด้วยปลายเท้าไป 10 ก้าว ท าซ้ า 10 - 20 ครั้ง

หากท่านรู้สึกไม่มั่นคงสามารถใช้มือจับราวได้

-18-


10.ท่าเดินเลข 8


































เดินตามปกติ แต่เดินวนเป็นเลข 8 ท าซ้ ากัน 10 – 20 รอบ

-19-


11.ท่าเดินสไลด์ด้านข้าง







































ยืนตรงมองไปข้างหน้า มือเท้าเอว เดินไปทางด้านขวา 10 ก้าว จากนั้นเดินกลับไปทางซ้าย 10 ก้าว

ท าซ้ ากัน 10 – 20 ครั้ง

-20-


12.ท่าลุกจากเก้าอ ี้
































เริ่มจากนั่งบนเก้าอี้ที่มีพนักพิงแข็งแรง ไม่เคลื่อนไหว และไม่เตี้ยเกินไป วางเท้าหลังหัวเข่า

ค่อยๆโน้มตัวไปข้างหน้า แล้วลุกขึ้นยืนโดยไม่ใช้มือช่วยพยุง ท าซ้ า 10 – 20 ครั้ง

-21-


ส่วนที่ 8 การฝึกล้มอย่างถูกวิธี


ี่
การให้ผู้สูงอายุซ้อมล้มและฝึกลุกเป็นเรื่องใหม่ทไม่ควรละเลย เพราะหากผู้สูงอายุได้รับการฝึกอยู่เป็นประจ า

ี่
จะช่วยลดความรุนแรงของการบาดเจ็บทจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ไม่คาดคิดและสามารถช่วยเหลือตนเองในเบื้องต้น
ได้ในกรณีทการบาดเจ็บไม่มาก แต่หากประเมินแล้วว่าบาดเจ็บหนักมีการหักของกระดูกให้ขอความช่วยเหลือหรือ
ี่

เรียกคนใกล้ชิด



อุปกรณ : เบาะออกก าลังกายที่รองรับน้ าหนักผู้สูงวยได้ทั้งตัว


1.การล้มด้านหน้า

















ยืนหันหน้าเข้าหาเบาะ ย่อตัวลง และโน้มตัวให้เข่าทั้งสองข้างลงสู่พื้น ใช้มือทั้งสองข้างยื่นไปด้านหน้าเพื่อรับ

น้ าหนักตัว เท้าทั้งสองข้างจะลอยเหนือพื้นเล็กน้อย ระวังไม่ให้ศีรษะและใบหน้ากระแทก

-22-


2.การล้มด้านข้าง



































ยืนหันด้านข้างที่ถนัดเข้าหาเบาะ ย่อตัวลงแล้วเอนตัวให้ด้านข้างของเข่าและสะโพกข้างที่ถนัดลงสู่พื้น


ก่อนที่ล าตัวจะถึงพื้น มือทงสองข้างยันเบาะไว้ ใช้แขนรับน้ าหนักตัว เมื่อท าได้ดีแล้วให้ท าอีกข้างสลับกัน
ั้

-23-


3.ล้มด้านหลัง






















ยืนหันด้านหลังให้เบาะ จังหวะที่ล้มหันด้านข้างให้เข่าและสะโพกลงมาที่เบาะ ใช้แขนรับน้ าหนักตัวก่อนที่

ล าตัวจะถึงพื้น คว่ ามือทั้งสองข้างไว้ข้างล าตัว ดึงแขนไปด้านหลัง งอข้อศอกใช้แขนรับน้ าหนักตัว

ก่อนที่จะทิ้งล าตัวลงบนพื้นในท่าก้มศีรษะเก็บคอ

-24-


ฝึกลุกอย่างถูกวิธี

การฝึกลุกให้หาเบาะออกก าลังกายที่รองรับน้ าหนักผู้สูงวัยได้ทงตัวมาให้ผู้สูงวัยได้ฝึกซ้อม แต่สิ่งส าคัญทต้องรู้
ี่
ั้
คือ เมื่อล้มแล้วต้องส ารวจว่ามีการบาดเจ็บส่วนส าคัญหรือการบาดเจ็บของข้อต่อหรือไม่ หากไม่ปวดศีรษะ ไม่ปวดคอ

ขยับแขนหรือขยับขาได้ไม่อ่อนก าลังจึงค่อย ๆ ลุก แต่หากรู้สึกเจ็บมากไม่ว่าบริเวณใด หรือรู้สึกว่าแขน – ขาอ่อนแรง

อย่าฝืน ให้รีบขอความช่วยเหลือ



วิธีการฝึกลุก

1) นอนหงาย ยกขาขึ้นมาสองข้าง





















2) ถ้าจะลุกด้านไหนให้เหยียดแขน หมุนให้ขาและล าตัวตะแคงตัวไปด้านนั้น




















ยกตัวอย่างเช่น การลุกด้านขวาให้เหยียดแขนขวา จากนั้นค่อย ๆ หมุนตะแคงตัวไปทางด้านขวา ใช้ข้อศอก

ขวาดันพื้นเพื่อยกล าตัวขึ้น ใช้แขนซ้ายยันพื้นประคอง ค่อย ๆ ดันตัวเองขึ้นมาโดยใช้แรงจากต้นแขนขวา

ไม่ต้องใช้มือหรือข้อมือที่บาดเจ็บ

-25-

3) ช่วงที่จะยืนให้สังเกตตนเองว่ามีอาการมึนศีรษะหรือไม่ หากมึนมากจนลุกไม่ไหวให้ลงไปนอนรอคนมาช่วย


แต่ถ้าลุกไหวให้คลานไปหาหลักยึดเพื่อทรงตัว
















4) ถ้าร่างกายมั่นคงให้ค่อย ๆ ลุกขึ้น แต่ถ้าร่างกายไม่มั่นคงให้คลานไปหาอุปกรณ์ยึดเหนี่ยวเพื่อช่วยทรงตัวขึ้น

ยืน เช่น เก้าอี้ที่ไม่มีล้อเลื่อน หรือโต๊ะที่รับน้ าหนักได้แล้วค่อย ๆ ลุกขึ้นยืน



































-26-

-26-

ส่วนที่ 9 บ้านส าหรับผู้สูงอายุ






































1. ผู้สูงอายุควรอาศัยอยู่บ้านชั้นเดียว กรณบ้าน 2 ชั้น ควรจัดให้ผู้สูงอายุอยู่ชั้นล่าง

2. มีแสงสว่างเพียงพอทั้งในบ้านและบริเวณบ้าน โดยเฉพาะบริเวณทางเดิน บันไดและห้องน้ า

-27-


3. พื้นและทางเดินเรียบเสมอกัน ไม่ลื่น ไม่เปียก ไม่มีสิ่งกีดขวาง หลีกเลี่ยงการยกระดับสูงต่ าไม่เทากัน ควร

ี่
ี่
ี่
เลือกประตูทมีความกว้างไม่ต่ ากว่า 90 เซนติเมตร เว้นพื้นทส่วนทบานประตูจะต้องเปิดออกไปให้มีความกว้างเพียงพอ
เพื่อการเข้า-ออก ไม่ควรมีธรณีประตู กันการสะดุดล้ม ทสะดวก ควรใช้ลูกบิดหรือมือจับประตูแบบก้านโยก และเป็น
ี่
ประตูแบบบานเลื่อน

-28-

4. บันไดมีราวจับ 2 ข้าง สูงจากพื้น 80 เซนติเมตร บันไดลูกตั้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร ลูกนอน ไม่น้อยกว่า 30


เซนติเมตร มีแถบสีบอกขั้นบันไดที่ชัดเจน และไม่ลื่น






















ี่
ี่
5. ห้องนอน ควรใช้เตียงทมีความสูงระดับข้อพับเข่า (40 – 45 เซนติเมตร) เพื่อให้ลุกขึ้นสะดวก มีไฟทหัวเตียง ควร
ออกแบบให้มีห้องน้ าในตัว หรือหากไม่มีก็ควรอยู่ใกล้กับห้องน้ ามากทสุด เพื่อความสะดวกต่อการเข้าห้องน้ าในตอน
ี่

กลางคืน และพื้นที่ว่างทั้ง 3 ด้าน รอบ ๆ เตียง ต้องมีความกว้างแต่ละด้านไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร

-29-


6. ห้องน้ า ควรอยู่ติดกับห้องนอน พื้นไม่ลื่น มีความลาดเอียงเพียงพอไปยังทอระบายน้ าเพื่อไม่ให้น้ าขังมีราวจับ

ภายในห้องน้ าควรมีความกว้างไม่ต่ ากว่า 2 ตารางเมตร โถสุขภัณฑ์ควรมีความสูงจากพื้นประมาณ 40 – 45

เซนติเมตร และมีราวจับเหล็กอยู่ข้าง ๆ ใช้โถส้วมแบบชักโครกหรือนั่งราบ ประตูควรเป็นบานเลื่อนและผู้สูงอายุไม่


ควรล็อกประตูขณะใช้ห้องน้ า อ่างล้างหน้าควรมีรูปแบบเว้า และกระจกควรมีความสูงทพอดีกับความสูงของผู้สูงอายุ
ี่
นอกจากนี้ก๊อกน้ าก็ควรเป็นแบบคันโยก เพราะใช้แรงในการเปิดน้อยกว่า
































7. สวิตช์ไฟ ควรอยู่ในระดับสูงจากพื้น 120 เซนติเมตร และปลั๊กไฟควรอยู่สูง 35-90 เซนติเมตร


8. ความสูงของโต๊ะหรือที่ท าครัว ควรสูงไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร สามารถหยิบจับอุปกรณ์ได้ง่ายสะดวก ไม่ต้องก้ม

และเอื้อม ฯลฯ

-30-



ี่
9.ห้องนั่งเล่น เป็นส่วนททกคนในบ้านจะสามารถทากิจกรรมร่วมกันได้ ควรจัดวางเฟอร์นิเจอร์ให้อยู่ในต าแหน่งท ี่
ี่
เหมาะสม เป็นระเบียบเรียบร้อย และมีพื้นทว่างให้เพียงพอทจะสะดวกต่อการให้รถเข็นผ่าน ในกรณีทมีผู้สูงอายุต้อง
ี่
ี่
นั่งรถเข็น ภายใต้บรรยากาศปลอดโปร่งโล่งสบาย เน้นให้แสงสว่างเข้าถึง และอากาศมีถ่ายเท


Click to View FlipBook Version