The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนจัดประสบการณ์อนุบาล 3 ห้อง 3 เรื่องฉันรักฤดูหนาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Waevkawee Choenchawengkun, 2022-05-10 23:18:49

แผนจัดประสบการณ์อนุบาล 3 ห้อง 3 เรื่องฉันรักฤดูหนาว

แผนจัดประสบการณ์อนุบาล 3 ห้อง 3 เรื่องฉันรักฤดูหนาว

สาระทค่ี วรเรยี นรู้ แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 25 ระดับช้ันอนุบาล 3
ระหว่างวันท่ี
: ธรรมชาติรอบตวั
: ฉันรักฤดูหนาว
: 28 - 31 มกราคม -1-3 กุมภาพนั ธ์ 2565

ผสู้ อน
นางรงุ่ เรอื ง ถิ่นคำ
ครูประจำชน้ั ชั้นอนุบาลปที ่ี 3/3

โรงเรียนวดั เวฬวุ นั อำเภอสารภี จังหวัดเชยี งใหม่
โรงเรียนอนุบาลประจำเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4

กระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการจัดประสบการณ์

สปั ดาหท์ ่ี 26 สาระท่คี วรเรยี นรู้ ธรรมชาตริ อบตัว หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉันรักฤดหู นาว ชนั้ อนุบาลปที ่ี 3
โรงเรียนวดั เวฬุวัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ระดมความคิด

สภาพทั่วไปของฤดูหนาว ประโยชนแ์ ละโทษของฤดูหนาว
- อากาศเย็นสบาย - นอนหลบั ง่าย
- อากาศเย็น - มีหมอกลง - ส่งผลตอ่ ร่างกาย - เกดิ อุบัติเหตุ

- ฝนไมต่ ก - ท้องฟา้ แจม่ ใส

ฉนั รกั ฤดูหนาว

ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว การรักษาสุขภาพในฤดูหนาว
- หมิ ะ - นำ้ ค้างแข็ง - อาหารครบ 5 หมู่ ดม่ื น้ำใหเ้ พยี งพอ
- ทะเลหมอก - ใส่เส้อื ผ้าหนาๆ นอนห่มผา้
- มีไข้ควรอยู่บา้ นดอู าการ หรอื ไปพบแพทย์
การแตง่ กายในฤดหู นาว

- เส้อื กนั หนาว - ผ้าพนั คอ

- หมวกไหมพรม - กางเกงขายาว

สง่ิ ทเ่ี ด็กรู้แล้ว สิง่ ทเ่ี ดก็ อยากรู้ สง่ิ ทเี่ ด็กควรรู้
- ฤดูหนาวมีอากาศเยน็ - ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดหู นาว - สภาพทว่ั ไปของฤดหู นาว
- ฤดหู นาวต้องใส่เสอื้ กันหนาว - การแต่งกายในฤดูหนาว - การรกั ษาสุขภาพในฤดหู นาว
- ประโยชน์และโทษของฤดหู นาว

การกำหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้

สาระท่คี วรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตวั หนว่ ยการเรียนรู้ ฉันรกั ฤดหู นาว ชั้นอนบุ าลปที ่ี 3
โรงเรยี นวัดเวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

มาตรฐาน/ตวั บง่ ช/ี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้

มาตรฐานท่ี 1 ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสุข 1. เพ่อื ใหเ้ ด็กสามารถออก 1. การเลน่ อิสระ 1. ประโยชนข์ องการออกกำลงั กาย

นิสยั ทด่ี ี กำลังกายเปน็ เวลา (กจิ วตั ร 2. การเคลือ่ นไหวขา้ มส่ิงกดี ขวาง 2. การเล่นเคร่ืองเลน่ สนามอย่างถกู วิธี

1.2 มสี ุขอนามัย สุขนสิ ัยท่ีดี ประจำวนั ) 3. การเลน่ เครื่องเล่นอย่างปลอดภัย

1.2.4 ออกกำลงั กายเป็นเวลา 4. การละเล่นพ้ืนบ้านไทย

5. การเล่นนอกหอ้ งเรียน

6. การเลน่ เคร่ืองเลน่ สนาม

มาตรฐานท่ี 2 กล้ามเน้ือใหญแ่ ละกล้ามเน้ือเล็ก 2. เพ่อื ให้เด็กสามารถรับลกู 1. การลกู บอลท่ีกระดอนข้นึ จากพืน้ 1. การใชม้ อื และตาประสานสมั พันธก์ ันใน

แขง็ แรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสาน บอลที่กระดอนข้ึนจากพนื้ ได้ 2. การเคล่ือนไหวท่ีใชก้ ารประสานสมั พนั ธ์ การรับลกู บอล

สมั พันธ์กัน ของการใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ ในการขว้าง การ

2.1 เคลื่อนไหวรา่ งกายอย่างคลอ่ งแคลว่ จบั การโยน การเตะ

ประสานสมั พนั ธแ์ ละทรงตวั ได้

2.1.4 รับลูกบอลทีก่ ระดอนขน้ึ จาก

พื้นได้

มาตรฐาน/ตัวบง่ ช/ี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรียนรู้

มาตรฐานที่ 2 กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกล้ามเนอื้ เล็ก 3. เพื่อใหเ้ ดก็ สามารถใช้ 1. การใชก้ ล้ามเน้ือเล็ก การหยิบจับ การใช้ 1. วิธีการใช้เครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ในการทำ

แข็งแรง ใช้ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว และประสาน กรรไกรตัดกระดาษตามแนว กรรไกร(ตดั ตามแนวเส้นโค้ง) การฉีก การ ศิลปะอยา่ งถกู วิธแี ละปลอดภยั เชน่

สัมพันธก์ ัน เส้นโค้งได้ ตัด การปะ และการร้อยวสั ดุ กรรไกร(ตดั ตามแนวเสน้ โคง้ )

2.2 ใชม้ ือ-ตา ประสานสมั พันธก์ ัน

2.2.1 ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตาม

แนวเส้นโคง้ ได้

มาตรฐานที่ 6 มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลัก 4. เพือ่ ให้เด็กสามารถ 1. การชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจำวนั 1. การแตง่ กายด้วยตนเองอย่างถูกวิธีและ

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แตง่ ตวั ดว้ ยตนเองไดอ้ ย่าง กาลเทศะ

6.1 ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วัตร คล่องแคลว่ (กจิ วตั ร 2. การรับประทานอาหารทีถ่ ูกวิธี

ประจำวัน ประจำวัน) 3. การใชแ้ ละทำความสะอาดหลงั ใช้หอ้ งนำ้

6.1.1 แต่งตัวด้วยตนเองได้อยา่ ง ห้องส้วมด้วยตนเอง

คล่องแคล่ว

มาตรฐานที่ 6 มีทกั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลกั 5. เพือ่ ให้เดก็ สามารถเขา้ 1. การปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกท่ีดขี อง 1. การเคารพสิทธิของตนเองและผ้อู ่ืน

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แถวตามลำดับก่อนหลังได้ หอ้ งเรยี น 2. การมีมารยาท

6.2 มวี ินัยในตนเอง ดว้ ยตนเอง

6.2.2 เขา้ แถวตามลำดบั กอ่ นหลังได้

ด้วยตนเอง

มาตรฐานที่ 9 ใชภ้ าษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั วัย 6. เพ่ือใหเ้ ดก็ สามารถเล่า 1. การพูดอธบิ ายเก่ยี วกบั สิ่งของเหตกุ ารณ์ 1. การเลา่ เรือ่ งราวอย่างต่อเนอื่ ง

9.1 สนทนาโตต้ อบและเล่าเร่ืองให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เรอื่ งราวเกย่ี วกับการดูแล และความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ต่างๆ

9.1.2 เล่าเรอื่ งเป็นเรอื่ งราวต่อเนือ่ ง สุขภาพในฤดูหนาวอยา่ ง

ได้ ต่อเนอื่ งได้

มาตรฐาน/ตวั บ่งช/้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เปน็ ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้
พื้นฐานในการเรียนรู้
7. เพื่อใหเ้ ดก็ สามารถ 1. การคัดแยก การจัดกลุ่มและการจำแนก 1. จำแนกความแตกต่างและจดั กลุ่มของ
10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด
10.1.3 จำแนกและจบั กลมุ่ สิ่งตา่ งๆ จำแนกและจับกลุ่มภาพ สงิ่ ตา่ งๆ ตามลักษณะ และรูปร่าง รูปทรง สง่ิ ของตาม

โดยใชต้ ง้ั แต่ 2 ลักษณะขึน้ ไปเป็นเกณฑ์ เคร่อื งแต่งกายในฤดูหนาวได้ - ลักษณะ รปู ร่าง รปู ทรง

- ผิวสัมผสั

- สี

เกณฑ์การประเมิน

พฒั นาการ/ตัวบ่งชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ (สพป.) 3 (ด)ี ระดบั คุณภาพ 1 (ควรสง่ เสริม)
อายุ 5 ปี 2 (พอใช้)

1.2 มสี ขุ อนามยั สุขนสิ ัยที่ดี 1.2.4 ออกกำลังกายเปน็ เวลา เด็กสามารถออกกำลงั กายเป็น เด็กสามารถออกกำลงั กายเป็น เด็กสามารถออกกำลงั กายเปน็

เวลาได้ดว้ ยตนเอง เวลาได้ โดยมีผคู้ อยช้ีแนะบางครงั้ เวลาได้ โดยมีผคู้ อยช้ีแนะ

ตลอดเวลา

2.1 เคล่อื นไหวรา่ งกายอย่าง 2.1.4 รับลูกบอลท่ีกระดอนขนึ้ เดก็ สามารถรับลูกบอลท่ีกระดอน เดก็ สามารถรบั ลกู บอลทก่ี ระดอน เด็กสามารถรับลูกบอลที่กระดอน

คล่องแคลว่ ประสานสมั พันธแ์ ละ จากพืน้ ได้ ข้ึนจากพ้นื ได้ดว้ ยตนเอง ข้นึ จากพน้ื ได้ โดยมผี คู้ อยชีแ้ นะ ข้ึนจากพ้นื ได้ โดยมีผูค้ อยช้แี นะ

ทรงตวั ได้ บางครงั้ ตลอดเวลา

2.2 ใชม้ อื -ตา ประสานสมั พนั ธ์ 2.2.1 ใช้กรรไกรตดั กระดาษตาม เดก็ สามารถใช้กรรไกรตัด เด็กสามารถใชก้ รรไกรตดั เดก็ สามารถใชก้ รรไกรตัด

กัน แนวเสน้ โคง้ ได้ กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ดว้ ย กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ โดยมี กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ โดยมี

ตนเอง ผ้คู อยชแี้ นะบางคร้ัง ผ้คู อยชีแ้ นะตลอดเวลา

6.1 ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั ิ 6.1.1 แตง่ ตวั ด้วยตนเองไดอ้ ยา่ ง เด็กสามารถแต่งตวั ดว้ ยตนเอง เดก็ สามารถแตง่ ตัวด้วยตนเอง เด็กสามารถแต่งตวั ดว้ ยตนเอง

กิจวัตรประจำวัน คลอ่ งแคลว่ อยา่ งคล่องแคลว่ ได้ด้วยตนเอง อย่างคล่องแคลว่ ได้ โดยมีผูค้ อย อย่างคล่องแคล่วได้ โดยมีผคู้ อย

ช้แี นะบางครงั้ ชี้แนะตลอดเวลา

6.2 มีวินัยในตนเอง 6.2.2 เข้าแถวตามลำดบั กอ่ นหลัง เด็กสามารถเขา้ แถวตามลำดบั เดก็ สามารถเขา้ แถวตามลำดับ เด็กสามารถเข้าแถวตามลำดบั

ได้ด้วยตนเอง กอ่ นหลังได้ด้วยตนเอง กอ่ นหลงั ได้ โดยมีผ้คู อยชแ้ี นะ ก่อนหลังได้ โดยมีผูค้ อยชแ้ี นะ

บางครั้ง ตลอดเวลา

9.1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรือ่ ง 9.1.2 เล่าเรือ่ งเปน็ เร่อื งราว เดก็ สามารถเลา่ เรือ่ งเปน็ เรอ่ื งราว เดก็ สามารถเล่าเรือ่ งเปน็ เรอ่ื งราว เดก็ สามารถเลา่ เรือ่ งเปน็ เรือ่ งราว

ให้ผูอ้ ่นื เข้าใจ ต่อเน่อื งได้ ตอ่ เนื่องได้ดว้ ยตนเอง ตอ่ เนอ่ื งได้ โดยมผี คู้ อยชี้แนะ ตอ่ เนื่องได้ โดยมีผคู้ อยชีแ้ นะ

บางคร้งั ตลอดเวลา

พฒั นาการ/ตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ (สพป.) 3 (ดี) ระดับคุณภาพ 1 (ควรสง่ เสริม)
อายุ 5 ปี เดก็ สามารถจำแนกและจับกลุ่ม 2 (พอใช้) เดก็ สามารถจำแนกและจับกลุ่ม
10.1 มีความสามารถในการคดิ สิง่ ตา่ งๆ โดยใช้ต้งั แต่ 2 ลักษณะ สง่ิ ตา่ งๆ โดยใช้ตั้งแต่ 2 ลักษณะ
รวบยอด 10.1.3 จำแนกและจบั กลุม่ สง่ิ ข้นึ ไปเปน็ เกณฑ์ได้ด้วยตนเอง เดก็ สามารถจำแนกและจับกลุ่ม ขน้ึ ไปเป็นเกณฑ์ได้ โดยมผี คู้ อย
ต่างๆ โดยใช้ตง้ั แต่ 2 ลกั ษณะขน้ึ สง่ิ ต่างๆ โดยใช้ตง้ั แต่ 2 ลกั ษณะ ชแ้ี นะตลอดเวลา
ไปเป็นเกณฑ์ ขนึ้ ไปเป็นเกณฑ์ได้ โดยมีผ้คู อย
ช้ีแนะบางครง้ั

แบบบนั ทึกผลสภาพทพี่ งึ ประสงคห์ ลงั จัดประสบการณ์ ประจำหนว่ ยการจัดประสบการณ์
หน่วยการเรยี นรู้ นำ้ ใสไหลเยน็ ชนั้ อนบุ าลปีท่ี 3 โรงเรียนวัดเวฬวุ นั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

ด้านรา่ งกาย ด้านสังคม ด้านสติปัญญา

ม. 1 ม. 2 ม. 6 ม. 9 ม. 10
ตบช. 1.2
ตบช. 2.1 ตบช. 2.2 ตบช. 6.1 ตบช. 6.2 ตบช. 9.1 ตบช. 10.1

สภาพทพี่ ึงประสงค์ (สพป.)

ท่ี ชอ่ื - สกลุ 1.2.4 ออกกำลงั 2.1.4 รบั ลูกบอลท่ี 2.2.1 ใช้กรรไกรตดั 6.1.1 แตง่ ตวั ด้วย 6.2.2 เข้าแถว 9.1.2 เลา่ เรอื่ งเปน็ 10.1.3 จำแนกและ
เรอ่ื งราวต่อเนอื่ งได้ จับกลุม่ สิง่ ตา่ งๆ
กายเปน็ เวลา กระดอนขึน้ จากพื้น กระดาษตามแนว ตนเองไดอ้ ย่าง ตามลำดบั กอ่ นหลงั โดยใช้ต้ังแต่ 2
ลกั ษณะข้ึนไปเปน็
ได้ เสน้ โค้งได้ คลอ่ งแคลว่ ไดด้ ว้ ยตนเอง เกณฑ์

1 เดก็ ชายภาณุวฒั น์ มะโนวรรณา

2 เดก็ ชายพชร อามีกู่

3 เดก็ ชายณัฐชนน บุญแกว้

4 เดก็ ชายฐติ ิวัฒน์ มลู เสรฐ็

5 เด็กชายธนา สายคำ

6 เด็กชายทรพย์อนันต์ เตจา

7 เดก็ ชายปิยเทพ อินทร์หลา้

8 เดก็ ชายธนรัตน์ โชติเจรญิ ธรรม

9 เด็กชายอนนั ต์ ศรวี งษ์

10 เดก็ ชายปะกรณ์พล วงศรสี งั ข์

11 เดก็ ชายกนั ตพชิ ญ์ ชัยชมภู

12 เดก็ ชายปาณัสม์ บรรจบกาญจน์

13 เดก็ ชายกันตพัฒน์ ใหมส่ กุล

14 เด็กหญิงณิชกานต์ บญุ หมนื่

15 เดก็ หญิงกชพร มหายาโน

ดา้ นร่างกาย ด้านสงั คม ดา้ นสตปิ ญั ญา

ม. 1 ม. 2 ม. 6 ม. 9 ม. 10
ตบช. 1.2
ตบช. 2.1 ตบช. 2.2 ตบช. 6.1 ตบช. 6.2 ตบช. 9.1 ตบช. 10.1
1.2.4 ออกกำลงั
กายเป็นเวลา สภาพทพี่ ึงประสงค์ (สพป.)

ท่ี ชอ่ื - สกลุ 2.1.4 รับลกู บอลท่ี 2.2.1 ใชก้ รรไกรตัด 6.1.1 แตง่ ตัวด้วย 6.2.2 เข้าแถว 9.1.2 เล่าเร่ืองเปน็ 10.1.3 จำแนกและ
เรอ่ื งราวตอ่ เน่ืองได้ จบั กลมุ่ สงิ่ ตา่ งๆ
16 เด็กหญงิ พชั นดิ า ตาปัน กระดอนขนึ้ จากพื้น กระดาษตามแนว ตนเองได้อย่าง ตามลำดับกอ่ นหลัง โดยใช้ต้งั แต่ 2
17 เดก็ หญงิ บณั ฑิตา เทพกัญญา ลกั ษณะข้ึนไปเป็น
18 เดก็ หญิงเบญญาภา สกลุ ลอย ได้ เส้นโค้งได้ คล่องแคล่ว ไดด้ ว้ ยตนเอง เกณฑ์
19 เด็กหญิงสุภดิ า คำวนั ดี
20 เด็กหญิงพรจุฬา ลงุ วิ
21 เดก็ หญภิ รู ิชญา จันทร์ฤทธิ์

หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ช้นั อนบุ าล 3 (อายุ 5 ป)ี

สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตัว หน่วยการเรียนรู้ ฉันรักฤดูหนาว
แนวคิดหลัก

ฤดูหนาวเริม่ ตั้งแต่กลางเดือนตลุ าคมถงึ ประมาณกลางเดอื นกุมภาพันธ์ ลกั ษณะท่ัวไปส่วนใหญท่ ุกภูมภิ าคของประเทศไทยจะมีสภาพอากาศเย็น มเี มฆหมอกลงในตอนเช้า
ท้องฟา้ มกั จะมีสีฟา้ ไม่มีเมฆปกคลมุ มืดเร็วกวา่ ปกติ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณเทอื กเขาหรือยอดเขามกั จะเกดิ น้ำค้างแข็ง ภาคกลางและภาคตะวันออก หลาย
พื้นท่ีจะพบวา่ มีฝนฟ้าคะนองเล็กน้อยอยู่ และภาคใต้จะมีฝนชกุ หนาแน่น อาจจะมีโอกาสเกิดพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในตา่ งประเทศแถบยุโรป สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปเต็มไปด้วย
หมิ ะปกคลมุ แมน่ ้ำลำคลอง และทะเลสาบ บางแห่งจะกลายเป็นน้ำแขง็ ปรากฏการณ์ธรรมชาตใิ นฤดูหนาว เช่น นำ้ ค้างแขง็ มักเกิดอยู่บนยอดหญา้ ใบไม้ หรือของแข็งต่าง ๆ ที่อยู่
เหนือพนื้ ดิน มีลักษณะเป็นผลกึ สีขาวบางๆ หมิ ะ มีลกั ษณะเปน็ ผลึกนำ้ แข็ง มีความนุม่ เม่อื สัมผสั และทะเลหมอก มกั เกดิ ข้นึ บรเิ วณท่ีเป็นปา่ ไม้ หบุ เขา หรือแหล่งน้ำ ลักษณะคล้าย
ก้อนเมฆ แต่ลอยต่ำกว่า เป็นละอองน้ำเล็กๆ สามารถสังเกตพบได้ง่ายเม่ืออยู่บนท่ีสูง การแต่งกายท่ีเหมาะสมสำหรบั ฤดูหนาว จะเป็นเครือ่ งแต่งกายท่ีมีเนื้อหนา สามารถปกปิด
ร่างกายไดอ้ ย่างมิดชดิ ทำใหร้ ่างกายอบอนุ่ เช่น หมวกไหมพรม ผ้าพนั คอ ถงุ มอื ถุงเท้า รองเท้า เสอ้ื กนั หนาว กางเกงขายาว ท่ีคลมุ หู เป็นตน้ การดแู ลสุขภาพในฤดูหนาว มีดว้ ยกัน
หลายวิธี เช่น รบั ประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ ดม่ื น้ำให้เพียงพอ หมน่ั ลา้ งมืออย่างสม่ำเสมอป้องกนั เชอ้ื โรค ใช้โลช่ันบำรุงผวิ ปอ้ งกันผิวแตกง่าย เดินออกมารบั แสงแดดในตอนเช้า
สวมใส่เครื่องนุ่งห่ม หากมีอาการป่วยควรใส่หนา้ กากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่เช่ือหรอื ไปพบแพทย์ และอาจจะมีการทำอาหารที่เหมาะกับฤดูหนาว เช่น ขา้ วจ่ี ข้าวหลาม ข้าว
หนุกงา เครื่องดื่มอุ่น เป็นต้น เมื่อถึงช่วงฤดูหนาวมักจะส่งผลต่อสุขภาพทำให้เกิดโรคติดต่อและเจ็บปวดง่าย หนาวเกินไปทำให้รู้สึกไม่สบายตัว และสามารถเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น
หมอกลงปกคลุมถนนทำให้มองเห็นยาก เป็นต้น ส่วนประโยชน์ของฤดูหนาวช่วยให้สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ตอนกลางวันได้อย่างสบาย ส่งเสริมการท่ องเท่ียวตามธรรมชาติ
พืชผลทางการเกษตรเจรญิ งอกงาม สามารถออกกำลังกายได้นานขนึ้ มดี อกไม้เบ่งบาน เชน่ ดอกทิวลิป ดอกกหุ ลาบ ดอกเดซ่ี ดอกมะลิ เปน็ ตน้ และยงั สง่ ผลให้จำนวนยงุ ลายลดลง

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ สาระทค่ี วรเรียนรู้
ประสบการณ์สำคัญ 1. สภาพท่ัวไปของฤดหู นาว
1. เดก็ สามารถเคล่อื นไหวประกอบเพลงหนาว หนาว หนาวได้ ด้านร่างกาย 2. ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
2. เด็กสามารถบอกลักษณะของฤดูหนาวได้ 1. การป้ัน 3. การแตง่ กายในฤดูหนาว
3. เดก็ สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะใหส้ วยงามได้ 2. การเคลอื่ นไหวอย่กู ับที่ 4. การรกั ษาสขุ ภาพในฤดหู นาว
4. เดก็ สามารถเกบ็ ของเลน่ ของใชใ้ หเ้ ข้าท่ไี ด้ 3. การเคลื่อนไหวเคลือ่ นที่ 5. ประโยชนแ์ ละโทษของฤดหู นาว
5. เดก็ สามารถรับลูกบอลท่กี ระดอนข้ึนจากพน้ื ได้ 4. การเขยี นภาพและการเลน่ กบั สี
6. เดก็ สามารถเล่นเกมภาพตัดต่อเด็กเลน่ หมิ ะได้ 5. การเคลือ่ นไหวพรอ้ มวัสดุอุปกรณ์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สาระท่คี วรเรียนรู้
ประสบการณส์ ำคญั
7. เด็กสามารถเคล่ือนไหวตามคำส่ังได้ 6. การเลน่ เครอื่ งเล่นสนามอยา่ งอิสระ
8. เดก็ สามารถบอกปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาวได้ 7. การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนามอยา่ งปลอดภัย
9. เดก็ สามารถทำงานศิลปะตามท่กี ำหนดได้ 8. การหยิบจบั การใชก้ รรไกร การฉกี การตดั การปะ และการ
10. เดก็ สามารถเลน่ มุมภายในพืน้ ทท่ี ก่ี ำหนดได้ ร้อยวัสดุ
11. เดก็ สามารถเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอย่างปลอดภัยได้
12. เดก็ สามารถเล่นเกมวางภาพตอ่ ปลายเครอ่ื งแตง่ กายในฤดูหนาวได้ ด้านอารมณ์ - จิตใจ
13. เด็กสามารถเคลอ่ื นไหวท่าโยคะได้ 1. การเลน่ รายกลุม่
14. เด็กสามารถจำแนกและจับกลมุ่ ภาพเครอ่ื งแตง่ กายในฤดหู นาวได้ 2. การเลน่ นอกห้องเรยี น
15. เดก็ สามารถทำงานศิลปะภายในเวลาทก่ี ำหนดได้ 3. การสรา้ งสรรค์สง่ิ สวยงาม
16. เด็กสามารถแบง่ ปนั ของเล่นในมมุ ใหเ้ พ่ือนได้ 4. การทำกจิ กรรมศิลปะต่างๆ
17. เดก็ สามารถเล่นเกมเสือไล่ววั ได้ 5. การเลน่ ตามมุมประสบการณ์
18. เดก็ สามารถเลน่ เกมจัดกลุม่ เครื่องแต่งกายได้ 6. การเคล่อื นไหวตามเสยี ง/ดนตรี
19. เด็กสามารถเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบคำคล้องจองฤดูหนาวได้ 7. การปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง
20. เด็กสามารถเล่าเรื่องราวเกีย่ วกับการดูแลสขุ ภาพในฤดูหนาวอย่าง
ตอ่ เน่ืองได้ ด้านสงั คม
21. เดก็ สามารถใชก้ ลา้ มเนือ้ มอื ให้ทำงานสัมพันธก์ ับตาในการปฏบิ ัติงาน 1. การเลน่ และทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืน
ได้ 2. การเล่นหรือทำกจิ กรรมร่วมกบั กล่มุ เพือ่ น
22. เดก็ สามารถเล่นของเล่นในมมุ ได้อยา่ งปลอดภัยได้ 3. การร่วมสนทนาและแลกเปลยี่ นความคิดเห็น
23. เดก็ สามารถเล่นเคร่ืองเล่นสนามอยา่ งถกู วธิ ไี ด้ 4. การสนทนาขา่ วและเหตกุ ารณ์ท่ีเกยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละ
24. เด็กสามารถเลน่ เกมจับคภู่ าพกบั เงาเครือ่ งแต่งกายในฤดหู นาวได้ ส่ิงแวดลอ้ มในชวี ิตประจำวนั
25. เด็กสามารถเคล่อื นไหวประกอบอปุ กรณไ์ ด้
26. เดก็ สามารถบอกประโยชน์และโทษของฤดหู นาวได้

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้
ประสบการณ์สำคญั
27. เดก็ สามารถใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโคง้ ได้ ดา้ นสติปัญญา
28. เดก็ สามารถรอคอยของเลน่ จากเพือ่ นได้ 1. การเล่นเกมทางภาษา
29. เดก็ สามารถเล่นฐานกิจกรรม BBL ได้ 2. การฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ
30. เด็กสามารถเล่นเกมจับคู่คำกบั รูปภาพได้ 3. การสำรวจสิ่งต่างๆ และแหลง่ เรียนรรู้ อบตัว
4. การตัดสินใจและมสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา
5. การอา่ นหนังสอื ภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ
6. การอา่ นอยา่ งอสิ ระตามลำพงั การอ่านร่วมกัน การอา่ นโดย
มผี ู้ชี้แนะ
7. การต่อของชนิ้ เล็กเตมิ ในชิน้ ใหญ่ใหส้ มบรู ณ์ และการแยก
ชนิ้ สว่ น
8. การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่านภาษา ทา่ ทาง การ
เคลือ่ นไหว และศิลปะ
9. การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลที่เกดิ ขนึ้ ในเหตุการณ์หรือ
การกระทำ
10. การคัดแยก การจัดกลุม่ และการจำแนกส่ิงต่างๆ ตาม
ลักษณะและรูปร่าง รูปทรง
11. การสงั เกต ส่วนประกอบ การเปลย่ี นแปลง และ
ความสมั พันธข์ องสงิ่ ตา่ งๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอยา่ งเหมาะสม

แผนจดั ประสบการณ์รายสัปดาห์ สปั ดาห์ที่ 26 หน่วยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดูหนาว ชัน้ อนุบาลปีที่ 3
ระหวา่ งวันท่ี 28 - 31 มกราคม – 1-3 กุมภาพันธ์ 2565 โรงเรยี นวัดเวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

วนั ที่ เคล่อื นไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ์ กจิ กรรม เสรี กลางแจง้ เกมการศกึ ษา
สรา้ งสรรค์ เลน่ ตามมุม
1 - เคลอ่ื นไหวพืน้ ฐาน - สนทนาสภาพทว่ั ไปของฤดหู นาว - ระบายสี เด็กเล่นหมิ ะ ประสบการณ์ใน เกมรับสง่ ลกู บอล เกมภาพตดั ต่อเดก็
- การปนั้ อสิ ระ ดนิ นำ้ มัน หอ้ งเรยี น
- เคลอ่ื นไหวประกอบ - สงั เกตสภาพแวดล้อมนอกหอ้ งเรียน - การวาดอสิ ระ สีเทยี นสองแทง่ เลน่ ตามมุม เลน่ หิมะ
- บา้ นหิมะสำลี ประสบการณ์ใน
เพลง หนาว หนาว หนาว - การวาดอิสระ สีน้ำ ห้องเรียน
- การหยดสี เลน่ ตามมุม
2 - เคลอื่ นไหวพน้ื ฐาน - สนทนาปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดู - ระบายสี เด็กสวมเสื้อกันหนาว ประสบการณ์ใน เลน่ เครื่องเล่น เกมวางภาพตอ่ ปลาย
- การรอ้ ยลูกปดั หอ้ งเรยี น สนาม เคร่ืองแต่งกายในฤดู
- เคล่ือนไหวตามคำสั่ง หนาว - การจดุ สี เลน่ ตามมมุ หนาว
- จุดสีตน้ ไม้ ประสบการณใ์ น เกมเสือไลว่ วั เกมจดั กลุ่มเคร่อื ง
- วดี ที ัศน์ปรากฏการณ์ธรรมชาติ - การวาดภาพอสิ ระ สีเทียน หอ้ งเรียน แต่งกาย
- การเป่าสี เล่นตามมุม
3 - เคลื่อนไหวพื้นฐาน - สนทนาการแต่งกายในฤดูหนาว - ตดั ตุก๊ ตาหมิ ะ ประสบการณ์ใน
- การป้ันอสิ ระ ดินนำ้ มนั ห้องเรียน
- เคลื่อนไหวท่าโยคะ - จำแนกเครอ่ื งแต่งกายในฤดหู นาว - การพมิ พ์ภาพดว้ ยฝ่ามอื

4 - เคล่ือนไหวพื้นฐาน - สนทนาการรกั ษาสุขภาพในฤดูหนาว เล่นเครื่องเล่น เกมจับคู่ภาพกบั เงา
- เคลือ่ นไหวประกอบคำ - การประกอบอาหาร ข้าวจี่ และข้าว สนาม เครื่องแตง่ กายในฤดู
คลอ้ งจอง ฤดหู นาว หนุกงา
หนาว
5 - เคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน - สนทนาการใช้ประโยชน์ในฤดหู นาว ฐานกิจกรรม BBL เกมจบั คู่คำกบั
- เคล่อื นไหวประกอบ - บัตรภาพโทษของฤดหู นาว
อุปกรณ์ ผา้ เชด็ หนา้ รูปภาพ

แผนการจดั ประสบการณ์ ช้นั อนุบาลปที ี่ 3 (วันท่ี 1)

หน่วยการเรียนรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เร่อื ง สภาพทัว่ ไปของฤดูหนาว
โรงเรยี นวดั เวฬุวัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินผล

เด็กสามารถ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ 1. เครอื่ งเคาะจังหวะ 1. วธิ ีการ
เคลือ่ นไหว 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง จีบ แอล 2. เพลง หนาว หนาว - สงั เกตจากการ
ประกอบเพลง ดา้ นร่างกาย การเคลอ่ื นไหวประกอบ 2. กจิ กรรมเคล่อื นไหวพน้ื ฐาน ชา้ เรว็ และหยดุ ให้เดก็ หนาว เคลอ่ื นไหว
หนาว หนาว เคลอ่ื นไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอยา่ งอสิ ระตามจงั หวะ ประกอบเพลง
หนาวได้ การเคลอ่ื นไหว เพลง เปน็ การให้เด็กได้ เมอ่ื ได้ยนิ เสียงสญั ญาณหยดุ (เคาะ 2 ครั้งเรว็ ๆ) ใหห้ ยดุ 2. เคร่ืองมอื
เคลือ่ นไหวในทา่ นัน้ ทันที - แบบบนั ทึกผล
เคลอ่ื นที่ เคลอื่ นไหวและ 3. แนะนำเพลง หนาว หนาว หนาว โดยใหเ้ ดก็ ฟงั กอ่ น 1 หลงั การจัด
รอบ ประสบการณ์
ด้านอารมณ์ - จิตใจ สร้างสรรค์ท่าทางตาม 4. ร่วมกนั รอ้ งเพลง หนาว หนาว หนาว พร้อมกับให้เดก็
คิดทา่ ทางประกอบเพลง
การเคลอื่ นไหวตาม เนอื้ รอ้ ง 5. ชวนเด็กเคล่อื นไหวร่างกายประกอบเพลง หนาว หนาว
หนาว พร้อมทำท่าทางประกอบท่ชี ว่ ยกนั คิด ทำท่า
เสียง/ดนตรี ประกอบเพลงซ้ำ 2 รอบ
6. ครูใหส้ ัญญาณหยุด และผ่อนคลายรา่ งกาย โดยใชท้ ่า
ดา้ นสงั คม ผสานมือยืดแขนไปด้านขวา นับ 1-10 และยดื ไปด้านซ้าย
นบั 1-10 ทำซำ้ 2 คร้ัง
การเล่นหรือทำ

กิจกรรมรว่ มกบั กลุ่ม

เพอ่ื น

ดา้ นสตปิ ญั ญา

การแสดงความคิด

สร้างสรรค์ผ่านภาษา

ท่าทาง การเคลือ่ นไหว

และศลิ ปะ

แผนการจัดประสบการณ์ ชน้ั อนบุ าลปีที่ 3 (วนั ท่ี 1)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉนั รักฤดูหนาว เรอ่ื ง สภาพทั่วไปของฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬวุ ัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมนิ ผล

เด็กสามารถ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ 1. วธิ กี าร
บอกลักษณะ - สงั เกตจากการ
ของฤดูหนาว ด้านรา่ งกาย ฤดหู นาวเริม่ ต้ังแต่ กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ 1. กระดาน บอกลักษณะของ
ได้ ฤดหู นาว
การเคลอื่ นไหวอยกู่ ับท่ี กลางเดือนตุลาคมถงึ 1. เขยี นคำว่า ฤดหู นาว บนกระดานขาหยงั่ ให้เด็กๆสังเกตตัวอักษร และ ขาหย่งั 2. เคร่อื งมือ
- แบบบนั ทึกผล
ด้านอารมณ์ - จิตใจ ประมาณกลางเดือน ร่วมกันสะกดคำ แลว้ อ่านใหถ้ กู ต้อง 2. ปากกา หลงั การจัด
ประสบการณ์
การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่างๆ กมุ ภาพนั ธ์ ลกั ษณะ 2. สนทนาเก่ยี วกบั ฤดูหนาว โดยใช้คำถาม ไวท์บอรด์

ตามความสามารถของ ทว่ั ไปจะมสี ภาพ - เดก็ ๆ คิดวา่ จะเกดิ อะไรข้ึนเม่ือถงึ ฤดหู นาว (อากาศหนาวเย็น มีหมอก 3. บัตรภาพ

ตนเอง อากาศเยน็ มีเมฆ ลงในตอนเชา้ มดื เรว็ )

ด้านสังคม หมอกลงในตอนเชา้ - เดก็ ๆ คดิ วา่ ฤดหู นาวเกดิ ขึน้ ช่วงเดอื นอะไร (ตลุ าคม ถึง กมุ ภาพนั ธ์)

การรว่ มสนทนาและ ทอ้ งฟา้ มกั จะมสี ฟี ้า 3. ให้เด็ก ๆ ออกมาเขา้ แถวหนา้ หอ้ งแล้วสงั เกตสภาพแวดลอ้ มของอากาศ

แลกเปล่ียนความคิดเห็น ไมม่ ีเมฆปกคลมุ มดื หนาวนอกห้องเรียน พบเจอลกั ษณะอะไรบ้าง โดยใหเ้ ด็กๆสังเกตบรเิ วณ

ด้านสตปิ ัญญา เรว็ กว่าปกติ รองเท้าของตนเองกอ่ นไปสำรวจ และหลงั สำรวจ

- การสงั เกต ตา่ งประเทศแถบ 4. พาเด็กเข้าหอ้ งเรียน จากน้นั ให้ชว่ ยกันบอกลกั ษณะของฤดูหนาวท่สี ังเกต

ส่วนประกอบ การ ยุโรป สภาพแวดลอ้ ม พบ (ทอ้ งฟ้าแจ่มใส มนี ำ้ บนใบไม้)

เปลี่ยนแปลง และ โดยทัว่ ไปเต็มไปด้วย - เดก็ ๆคดิ ว่าหน้าหนาวของแตล่ ะพืน้ ทีเ่ หมอื นกนั หรือไม่ (บนดอย ภาค

ความสมั พันธข์ องสิง่ หิมะปกคลมุ แม่นำ้ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต้ ภาคกลาง)

ตา่ งๆ โดยใช้ประสาท ลำคลอง และ - เด็กๆคิดว่าตา่ งประเทศแถบยุโรปเมือ่ ถงึ ฤดูหนาว จะมสี ภาพแวดลอ้ ม

สัมผัสอย่างเหมาะสม ทะเลสาบ บางแห่ง อยา่ งไร (มีหิมะตกปกคลุมไปทว่ั แม่น้ำกลายเปน็ น้ำแขง็ )

- การสำรวจส่ิงตา่ งๆ จะกลายเป็นน้ำแข็ง 5. รว่ มกันสรปุ ลกั ษณะของฤดหู นาว

และแหล่งเรยี นรรู้ อบตวั

แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปีท่ี 3 (วนั ที่ 1)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉนั รักฤดหู นาว เรอ่ื ง สภาพท่วั ไปของฤดูหนาว
โรงเรยี นวดั เวฬวุ นั สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ การประเมนิ ผล

ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้

เดก็ สามารถ ด้านร่างกาย กิจกรรมศลิ ปะ กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ 1. ระบายสี เดก็ 1. วิธีการ

สร้างสรรค์ - การเขยี นภาพและการเล่น สร้างสรรค์เปน็ กจิ กรรมที่ 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง จีบ แอล เล่นหิมะ - สังเกตจากการ

ผลงาน กบั สี ช่วยพัฒนากลา้ มเน้ือมดั 2. ครแู นะนำกิจกรรมศิลปะ ดงั นี้ - ใบงาน สร้างสรรค์

ศิลปะให้ - การหยบิ จบั การใช้ เล็กใหแ้ ข็งแรง พัฒนา - ระบายสี เดก็ เลน่ หิมะ เม่อื ไดร้ บั ใบงานแลว้ ให้ใช้สีเทยี น - สีเทยี น ผลงานศิลปะให้

สวยงามได้ กรรไกร การฉีก การตดั การ ความคิดสร้างสรรค์ ให้ ระบายสใี ห้สวยงาม โดยเลอื กใชห้ ลายๆสี และระบายไม่ออก 2. การปัน้ อิสระ ดิน สวยงาม

ปะ และการรอ้ ยวัสดุ เดก็ ได้แสดงออกทาง นอกกรอบท่กี ำหนด นำ้ มัน 2. เครอ่ื งมอื

ด้านอารมณ์ - จติ ใจ อารมณ์ ความรู้สึก และ - การป้ันดินนำ้ มัน การปัน้ ดนิ นำ้ มันทุกครั้งเด็กๆ จะต้องบน - ดินน้ำมัน - แบบบันทึกผล

- การทำกิจกรรมศิลปะ จินตนาการที่เด็กมีอยไู่ ด้ แผน่ รองป้ันเทา่ น้นั และใช้ดนิ นำ้ มันของตนเอง ในการ - แผน่ รองปั้น หลงั การจดั

ตา่ งๆ อยา่ งเต็มที่ สร้างสรรคต์ ามจินตนาการ 3. การวาดอสิ ระ สี ประสบการณ์

- การสร้างสรรคส์ งิ่ สวยงาม - การวาดภาพอิสระ สเี ทยี นสองแทง่ ครแู จกกระดาษ A4 เทยี นสองแทง่

ดา้ นสังคม และให้เด็กนำสีเทยี นของตนเองมา แลว้ ใชห้ นังยางอนั สีเทยี น 2 - กระดาษ A4

- การเลน่ หรือทำกิจกรรม แท่งเข้าด้วยกนั จากน้นั วาดรูปตามท่ีเด็กต้องการ ให้สวยงาม - สีเทยี น

รว่ มกบั กลมุ่ เพื่อน 3. ให้เด็กเลอื กทำกิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรคต์ ามความสนใจ โดย - หนังยาง

ด้านสตปิ ัญญา อยูใ่ นพ้นื ที่ของตนเอง

- การฟงั และปฏิบตั ติ าม 4. ร่วมกนั สรปุ กิจกรรม และให้เลือกผลงานของตนเองออกมา

คำแนะนำ เล่าผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น และนำไปแสดงทบ่ี อร์ดผลงานของหนู

- การแสดงความคิด 5. เดก็ เก็บอุปกรณ์และทำความสะอาดหอ้ งเรียน

สร้างสรรค์ผ่านงานศลิ ปะ

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันอนุบาลปที ่ี 3 (วันที่ 1)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รักฤดูหนาว เรอ่ื ง สภาพท่ัวไปของฤดูหนาว
โรงเรียนวดั เวฬุวัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมินผล
ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้
1. วธิ กี าร
เด็กสามารถ ดา้ นร่างกาย การเล่นตามมมุ เปน็ กจิ กรรมการเลน่ ตามมุม 1. มุมเสรมิ - สงั เกตจากการ
เก็บของเล่นของ
เก็บของเล่น การหยบิ จบั การใช้กรรไกร การใหเ้ ดก็ ได้ตัดสินใจ 1. ครแู นะนำมุมประสบการณ์ กติกา วธิ ีการเลน่ ในแตล่ ะมุม ให้ ประสบการณ์ ใชใ้ ห้เข้าที่ด้วย
ตนเอง
ของใชใ้ ห้ การฉกี การตัด การปะ และ ในการเลือกทำ เด็กเลือกตามความสนใจ และทบทวนข้อตกลงในการเล่นตามมุม - มมุ บา้ น 2. เครอ่ื งมอื
- แบบบนั ทึกผล
เข้าท่ีได้ การรอ้ ยวสั ดุ กิจกรรม เพือ่ พัฒนา - 1 มุม เข้าไดไ้ มเ่ กิน 4 คน - มมุ ศิลปะ หลังการจัด
ประสบการณ์
ดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ ทักษะการเล่นรว่ มกบั - เว้นระยะหา่ งทางสงั คม - มมุ ดนตรี

การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ ผอู้ ืน่ และการเกบ็ ของ - เลน่ แลว้ เก็บใหเ้ ข้าท่ี - มมุ บลอ็ ก

ด้านสงั คม ให้เข้าท่ี - แบ่งปนั ของเลน่ ใหก้ ัน - มุมหนงั สอื

การเลน่ หรือทำกิจกรรม 2. เดก็ เลอื กเข้ามุมตามความสนใจ มีมมุ ต่างๆดงั น้ี - มมุ

รว่ มกับกลุ่มเพอ่ื น - มุมบ้าน วทิ ยาศาสตร์

ดา้ นสตปิ ัญญา - มุมศลิ ปะ

- การอา่ นหนงั สือภาพ นทิ าน - มุมดนตรี

หลากหลายประเภท/รูปแบบ - มุมบล็อก

- การอ่านอย่างอสิ ระตาม - มุมหนงั สอื

ลำพัง การอ่านร่วมกัน การ - มมุ วิทยาศาสตร์

อ่านโดยมผี ู้ช้แี นะ 3. ใหเ้ ดก็ เลอื กเลน่ ตามมุมกิจกรรมตามความสนใจ โดยครูคอย

- การฟงั และปฏบิ ัติตาม ดูแล

คำแนะนำ 4. รว่ มกนั สรปุ กิจกรรมเล่นตามมมุ โดยให้เดก็ ออกมาเล่า

ประสบการณ์จากการเลน่

แผนการจัดประสบการณ์ ช้นั อนุบาลปที ่ี 3 (วนั ท่ี 1)

หน่วยการเรียนรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เรอ่ื ง สภาพท่วั ไปของฤดหู นาว
โรงเรียนวดั เวฬุวัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ การประเมินผล
ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้
เดก็ สามารถรบั
ลูกบอลท่ี ดา้ นรา่ งกาย เกมส่งลกู บอล เป็นการ กิจกรรมการเล่นกลางแจง้ 1. ลูกบอลพลาสติก 1. วธิ ีการ
กระดอนขึน้
จากพื้นได้ การเคลื่อนไหว ใหเ้ ด็กฝึกการทำงาน 1. ชวนเดก็ ทำท่ากายบรหิ าร 2 ทา่ ทา่ หมนุ ไหล่ไปดา้ นหนา้ นับ 1- 2. นกหวีด - สงั เกตจากการ

เคล่อื นท่ี เล่นรว่ มกับผอู้ ่ืน โดย 10 และด้านหลัง นับ 1-10 รบั ลูกบอลท่ี

ด้านอารมณ์ - จิตใจ จดจำรูปแบบการ 2. ให้เด็กน่งั เรียงหน้ากระดาน และเลือกเด็กออกมา 4 คน โดย กระดอนขนึ้ จาก

การเลน่ นอกห้องเรียน เคล่ือนไหวและปฏิบตั ิ สาธิตวธิ กี ารสง่ ลกู บอล เลอื กเดก็ หนึง่ คนมายืนอีกดา้ น เด็กทเ่ี หลอื พื้น

ด้านสงั คม ตามอยา่ งถูกต้อง ยืนเขา้ แถวตรงขา้ ม คนท่ีหนงึ่ ของแถวถือลูกบอล สง่ ไปให้เดก็ อกี 2. เคร่อื งมือ

การเลน่ หรือทำ คนท่ยี นื อยคู่ นเดียว โดยสง่ โยนลงไปพื้นให้กระเด็นไปหาอีกฝ่งั - แบบบนั ทึกผล

กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม จากนัน้ เด็กที่ยืนอยูค่ นเดียว ให้ส่งลกู บอลกลับมาในลกั ษณะ หลังการจัด

เพื่อน เดียวกนั แล้วให้เด็กฝ่ังท่ียนื อยคู่ นเดยี ววิง่ ไปตอ่ แถวด้านหลงั ของ ประสบการณ์

ดา้ นสติปญั ญา อีกฝงั่ และใหค้ นแรกของแถวเอาลกู บอลใหค้ นที่สอง แลว้ มายนื อยู่

การตดั สนิ ใจและมีสว่ น อกี ฝั่งแทนเด็กท่ยี ืนอยูค่ นเดยี ว

ร่วมในการแก้ไขปญั หา 3. แนะนำสัญญาณเป่านกหวีด 3 ครั้ง คือหมดเวลาให้มาเข้าแถว

4. ให้เด็กเข้าแถว 2 แถว และเริ่มการสง่ ลูกบอล เล่นตอ่ ไปเรื่อยๆ

จนครบเวลา โดยครูสามารถปรบั เปลย่ี นรูปแบบการเล่นไดต้ าม

ความเหมาะสม

5. ใหส้ ญั ญาณหยุดเล่น เข้าแถว 2 แถวชายหญิง ทา่ ผสานมอื ยดื

แขนไปด้านบน นับ 1-10 และดา้ นหนา้ นับ 1-10 แลว้ พาเดก็ ไป

ทำความสะอาดรา่ งกาย เตรยี มตวั ทำกจิ กรรมต่อไป

แผนการจัดประสบการณ์ ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 3 (วันที่ 1)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เร่อื ง สภาพทั่วไปของฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬุวัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อ การประเมินผล
ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรียนรู้

เดก็ สามารถ ดา้ นร่างกาย เกมภาพตดั ตอ่ เปน็ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา 1. เกมภาพตัดตอ่ เด็ก 1. วธิ ีการ

เลน่ เกมภาพตัด การหยบิ จบั การใช้ เกมที่ใหเ้ ดก็ หา 1. ชวนเดก็ ทำท่าบรหิ ารสมอง จีบ แอล เล่นหมิ ะ - สงั เกตจากการ

ต่อเดก็ เล่นหมิ ะ กรรไกร การฉกี การ ความสมั พันธ์ของ 2. รว่ มกนั สรา้ งขอ้ ตกลงในการเล่นเกมการศึกษา 2. เกมการศกึ ษาชุดอน่ื เลม่ เกมภาพตดั

ได้ ตัด การปะ และการ รปู ภาพและนำมา - แบง่ กันเล่น โดยให้ความร่วมมอื กัน ในการเล่นให้สำเรจ็ 3. นกหวีด ต่อเด็กเลน่ หมิ ะ

ร้อยวัสดุ ประกอบรวมกันให้ - เม่ือได้ยนิ สัญญาณนกหวดี เป่า 1 ครงั้ ให้เปลย่ี นเกมการศกึ ษา 2. เคร่อื งมือ

ดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ สมบูรณ์ กบั กลุ่มอื่น และเสียงนกหวีดเป่าครั้งที่ 2 ให้ช่วยกนั เก็บเกม - แบบบันทึกผล

การเล่นรายกล่มุ การศึกษา หลังการจดั

ด้านสงั คม 3. แนะนำและสาธิตวิธกี ารเล่นเกมภาพตัดตอ่ เด็กเลน่ หิมะ โดย ประสบการณ์

การเลน่ และทำงาน การใหเ้ ด็กช่วยกนั นำกล่มุ ในการตอ่ ช้นิ สว่ นต่างๆ ใหเ้ ป็นภาพที่

ร่วมกบั ผูอ้ ่นื สมบรู ณ์

ดา้ นสติปญั ญา 4. แบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุ่ม ให้เดก็ 1 กลมุ่ รบั เกมท่ีแนะนำไป

การต่อของช้นิ เล็ก เล่น กลุม่ อื่นๆ เลน่ เกมการศกึ ษาชุดอื่น

เตมิ ในชิ้นใหญ่ให้ 5. ให้สญั ญานกหวีด 1 คร้ัง ให้เปลี่ยนเกมการศกึ ษากบั กลุ่มอืน่

สมบูรณ์ และการ จนไดเ้ ล่นครบทุกกล่มุ

แยกชน้ิ สว่ น 6. ให้สัญญาณหมดเวลาสัญญานกหวดี 2 คร้งั เด็กเกบ็ เกม

การศกึ ษา

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมิน 3 (ด)ี ระดบั คณุ ภาพ 1 (ควรสง่ เสริม)
เดก็ สามารถเคลอื่ นไหวประกอบเพลง 2 (พอใช)้ เด็กสามารถเคล่อื นไหวประกอบเพลง
1. เด็กสามารถเคล่ือนไหวประกอบเพลง หนาว หนาว หนาวได้ด้วยตนเอง หนาว หนาว หนาวได้ โดยมผี ้คู อยชีแ้ นะ
หนาว หนาว หนาวได้ เด็กสามารถเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ตลอดเวลา
เดก็ สามารถบอกลกั ษณะของฤดหู นาวได้ หนาว หนาว หนาวได้ โดยมีผ้คู อยช้แี นะ เดก็ สามารถบอกลกั ษณะของฤดหู นาวได้
2. เด็กสามารถบอกลกั ษณะของฤดหู นาว ด้วยตนเอง บางครั้ง โดยมผี ู้คอยชแี้ นะตลอดเวลา
ได้ เดก็ สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะให้ เด็กสามารถบอกลกั ษณะของฤดูหนาวได้ เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะให้
3. เดก็ สามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะให้ สวยงามได้ดว้ ยตนเอง โดยมผี ู้คอยช้ีแนะบางครั้ง สวยงามได้ โดยมีผู้คอยชแี้ นะตลอดเวลา
สวยงามได้ เดก็ สามารถเก็บของเลน่ ของใช้ให้เข้าท่ไี ด้ เด็กสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะให้ เด็กสามารถเกบ็ ของเล่นของใช้ให้เข้าที่ได้
4. เด็กสามารถเก็บของเล่นของใช้ให้เข้าท่ี ดว้ ยตนเอง สวยงามได้ โดยมีผูค้ อยชีแ้ นะบางครัง้ โดยมผี คู้ อยชีแ้ นะตลอดเวลา
ได้ เด็กสามารถรบั ลกู บอลทกี่ ระดอนข้นึ จาก เดก็ สามารถเก็บของเล่นของใช้ใหเ้ ข้าทไ่ี ด้ เดก็ สามารถรบั ลกู บอลทก่ี ระดอนขน้ึ จาก
5. เดก็ สามารถรับลูกบอลทีก่ ระดอนข้ึน พ้ืนได้ด้วยตนเอง โดยมีผคู้ อยชแ้ี นะบางคร้งั พนื้ ได้ โดยมีผคู้ อยชแี้ นะตลอดเวลา
จากพนื้ ได้ เด็กสามารถเล่นเกมภาพตัดตอ่ เดก็ เลน่ เด็กสามารถรบั ลกู บอลทกี่ ระดอนขน้ึ จาก เด็กสามารถเล่นเกมภาพตัดตอ่ เดก็ เล่น
6. เดก็ สามารถเลน่ เกมภาพตัดต่อเดก็ เลน่ หมิ ะได้ด้วยตนเอง พ้ืนได้ โดยมผี คู้ อยชแ้ี นะบางครงั้ หิมะได้ โดยมีผคู้ อยชีแ้ นะตลอดเวลา
หมิ ะได้ เดก็ สามารถเล่นเกมภาพตดั ต่อเดก็ เลน่
หมิ ะได้ โดยมีผคู้ อยช้แี นะบางคร้ัง

แบบบันทึกหลังการจดั ประสบการณ์ นกั เรยี นชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 (วนั ที่ 1)
สาระที่ควรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตัว หน่วย ฉนั รักฤดูหนาว เรอื่ ง สภาพทว่ั ไปของฤดหู นาว
คำชีแ้ จง เตมิ / ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั พฤติกรรมของนกั เรยี น ระดับคณุ ภาพ 3 : ดี 2 : พอใช้ 1 : ปรับปรุง

รายการประเมิน

1. เด็กสามารถ 2. เดก็ สามารถบอก 3. เดก็ สามารถ 4. เดก็ สามารถเก็บ 5. เด็กสามารถรบั 6. เดก็ สามารถเลน่

ท่ี เลข ชอ่ื - นามสกลุ เคลื่อนไหวประกอบ ลักษณะของฤดู สร้างสรรค์ผลงาน ของเล่นของใชใ้ ห้ ลูกบอลที่กระดอน เกมภาพตัดต่อเด็ก
ประจำตวั เพลงหนาว หนาว หนาวได้
ศลิ ปะให้สวยงามได้ เขา้ ท่ีได้ ขึ้นจากพ้ืนได้ เล่นหมิ ะได้

หนาวได้

321321321321321321

1 11069 เดก็ ชายภาณุวัฒน์ มะโนวรรณา

2 11157 เดก็ ชายพชร อามีกู่

3 11313 เดก็ ชายณัฐชนน บญุ แก้ว

4 11375 เดก็ ชายฐติ วิ ัฒน์ มลู เสร็ฐ

5 11380 เด็กชายธนา สายคำ

6 11515 เดก็ ชายทรพย์อนันต์ เตจา

7 11576 เด็กชายปิยเทพ อนิ ทร์หล้า

8 11580 เด็กชายธนรตั น์ โชติเจรญิ
ธรรม

9 11690 เดก็ ชายอนนั ต์ ศรีวงษ์

10 11790 เด็กชายปะกรณ์พล วงศรสี งั ข์

11 11089 เดก็ ชายกนั ตพิชญ์ ชยั ชมภู

12 11181 เด็กชายปาณัสม์ บรรจบ
กาญจน์

13 11214 เดก็ ชายกันตพัฒน์ ใหม่สกลุ

14 11223 เด็กหญงิ ณิชกานต์ บญุ หมืน่

15 11243 เด็กหญิงกชพร มหายาโน

ที่ เลข ชื่อ - นามสกลุ 1. เด็กสามารถ 2. เด็กสามารถบอก รายการประเมนิ 5. เดก็ สามารถรบั 6. เด็กสามารถเล่น
ประจำตวั เคลื่อนไหวประกอบ ลักษณะของฤดู 3. เดก็ สามารถ 4. เดก็ สามารถเกบ็ ลกู บอลที่กระดอน เกมภาพตัดต่อเดก็
เพลงหนาว หนาว หนาวได้ สร้างสรรค์ผลงาน ของเลน่ ของใช้ให้ ขนึ้ จากพนื้ ได้ เล่นหิมะได้
หนาวได้ ศิลปะใหส้ วยงามได้ เข้าทไี่ ด้
321 321 321 321
321321

16 11376 เดก็ หญงิ พัชนิดา ตาปัน
17 11443 เดก็ หญิงบณั ฑติ า เทพกญั ญา
18 11513 เด็กหญงิ เบญญาภา สกุลลอย
19 11535 เดก็ หญิงสภุ ดิ า คำวนั ดี
20 11665 เดก็ หญงิ พรจฬุ า ลุงวิ
21 11773 เดก็ หญภิ รู ชิ ญา จันทรฤ์ ทธิ์

บันทกึ ผลการจดั กจิ กรรม
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผู้ประเมนิ ..........................................................................
( นางร่งุ เรือง ถิ่นคำ )
ครูผสู้ อน

...................... / ...................... / ......................

แผนการจัดประสบการณ์ ช้นั อนบุ าลปที ี่ 3 (วนั ท่ี 2)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉันรกั ฤดหู นาว เรอ่ื ง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬุวัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมนิ ผล

เด็กสามารถ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้ 1. วธิ ีการ
เคลอื่ นไหวตาม - สังเกตจากการ
คำสั่งได้ ดา้ นรา่ งกาย การเคลอ่ื นไหวตาม กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ 1. เครือ่ งเคาะ เคล่ือนไหวตามคำส่งั
2. เคร่อื งมอื
การเคลอื่ นไหวเคลอ่ื นที่ จงั หวะและการ 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง นับ 1-10 จงั หวะ - แบบบันทึกผลหลัง
การจัดประสบการณ์
ด้านอารมณ์ - จิตใจ ปฏิบัติตามคำสัง่ 2. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน ชา้ เร็ว และหยดุ ใหเ้ ด็ก

การเคลื่อนไหวตาม เคลื่อนไหวร่างกายไปทวั่ บริเวณอยา่ งอสิ ระตามจังหวะ เม่อื ได้

เสยี ง/ดนตรี ยินเสียงสญั ญาณหยุด (เคาะ 2 ครั้งเร็วๆ) ให้หยุดเคล่อื นไหว

ดา้ นสังคม ในทา่ นนั้ ทันที

การเล่นหรอื ทำกจิ กรรม 3. ใหเ้ ด็กเคลื่อนไหวตามคำสัง่ ที่ไดย้ นิ โดยถา้ พดู คำวา่ ฤดู

รว่ มกบั กลุ่มเพ่ือน หนาว ให้เดก็ ๆกุมมอื ไว้ทก่ี ลางอกแลว้ โยกตวั ไปมา ถ้าพดู คำ

ด้านสตปิ ัญญา วา่ กอดหมอน ให้เดก็ ๆจับคูแ่ ล้วกอดกนั เดินไปรอบๆ ถ้าพดู คำ

การฟังและปฏบิ ัตติ าม วา่ นอนหนาว ใหเ้ ดก็ ๆทำท่านอนหลบั แลว้ ย่อขาเดินไปรอบๆ

คำแนะนำ 4. กำหนดให้เคลอ่ื นท่ไี ปรอบๆห้อง โดยได้ยินพาหนะคำว่า

อะไร ใหเ้ คลอ่ื นไหวตามทีต่ กลงกันไว้ จงั หวะชา้ เร็วตามการ

เคาะจงั หวะ

5. ใหส้ ญั ญาณหยุด และเดก็ น่งั อยูใ่ นพ้นื ทต่ี นเอง ผอ่ นคลาย

ร่างกาย โดยใช้ท่าการผ่อนคลาย ใช้น้วิ ชี้นวดขมบั ของตวั เอง

เบาๆท้งั สองข้าง ใช้มือท้ังสองเคาะที่ตำแหนง่ ไหปลารา้ โดย

สลบั มือกันเคาะเบาๆ และใหเ้ ดก็ น่งั ลงแล้วนวดขาทั้งสองขา้ ง

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันอนบุ าลปที ี่ 3 (วันที่ 2)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เรือ่ ง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
โรงเรียนวดั เวฬวุ นั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมนิ ผล

เด็กสามารถบอก ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ 1. วธิ กี าร
ปรากฏการณ์ - สังเกตจากการ
ธรรมชาตใิ นฤดู ดา้ นรา่ งกาย ปรากฏการณธ์ รรมชาติ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ 1. วดี ที ศั น์ บอกปรากฏการณ์
หนาวได้ ธรรมชาตใิ นฤดู
การเคลื่อนไหวอยู่กบั ท่ี ในฤดหู นาว เช่น นำ้ ค้าง 1. เปิดวดี ที ัศน์ ปรากฏการณ์ธรรมชาตใิ นฤดหู นาว ให้เด็กสงั เกต ปรากฏการณ์ หนาว
2. เคร่ืองมือ
ด้านอารมณ์ - จิตใจ แขง็ มกั เกิดอยู่บนยอด สิง่ ที่เกดิ ขน้ึ สนทนาโดยใช้คำถาม ธรรมชาติใน - แบบบนั ทึกผล
หลงั การจดั
การปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ หญา้ ใบไม้ หรอื ของแข็ง - เดก็ ๆ เห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอะไรบ้าง (น้ำค้างแข็ง ฤดหู นาว ประสบการณ์

ตามความสามารถของ ตา่ ง ๆ ท่อี ยู่เหนือพ้นื ดนิ หิมะ และทะเลหมอก) 2. บตั รภาพ

ตนเอง มลี กั ษณะเป็นผลกึ สีขาว 2. สนทนากบั เด็กเกี่ยวกบั ปรากฏการณธ์ รรมชาติ โดยเร่มิ จาก

ด้านสังคม บางๆ หมิ ะ มลี ักษณะ น้ำค้างแข็ง มักเกิดอยบู่ นยอดหญ้า ใบไม้ หรอื ของแขง็ ตา่ ง ๆ ท่ี

การร่วมสนทนาและ เปน็ ผลึกนำ้ แขง็ มคี วาม อยู่เหนือพ้ืนดนิ มีลกั ษณะเปน็ ผลกึ สีขาวบางๆ เป็นเกล็ดน้ำแข็ง

แลกเปลย่ี นความคิดเห็น นุ่มเมอ่ื สัมผสั และทะเล (ภาษาอสี าน เรียก แม่คะน้งิ สว่ นภาษาเหนือ เรียก เหมยขาบ)

ด้านสติปญั ญา หมอก มักเกิดขนึ้ บรเิ วณ ต่อมาหิมะ สามารถพบไดท้ วั่ บริเวณ แต่สำหรบั ประเทศไทยไม่

การคัดแยก การจัดกลมุ่ ทเี่ ป็นปา่ ไม้ หุบเขา หรอื คอ่ ยพบเห็น มีลักษณะเป็นผลกึ นำ้ แขง็ มีความนุ่มเมื่อสัมผัส และ

และการจำแนกสง่ิ ตา่ งๆ แหลง่ นำ้ ลกั ษณะคล้าย ทะเลหมอก มักเกดิ ขึ้นบรเิ วณท่ีเปน็ ป่าไม้ หุบเขา หรือแหลง่ น้ำ

ตามลักษณะและรูปรา่ ง กอ้ นเมฆ แต่ลอยตำ่ กว่า ลักษณะคล้ายก้อนเมฆ แตล่ อยต่ำกวา่ เปน็ ละอองนำ้ เล็กๆ

รปู ทรง เปน็ ละอองนำ้ เล็กๆ สามารถสังเกตพบได้ง่ายเม่ืออยูบ่ นทส่ี ูง

สามารถสังเกตพบได้งา่ ย 3. แจกบตั รภาพปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดหู นาว แลว้ ใหเ้ ด็ก

เม่ืออยบู่ นทส่ี ูง ช่วยกันแยกประเภทปรากฏการณ์ตามบัตรภาพ

4. รว่ มกนั สรุปชอ่ื สถานที่ท่พี บ และลักษณะของปรากฏการณ์

ทางธรรมชาติในฤดหู นาว

แผนการจดั ประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 (วันที่ 2)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉนั รกั ฤดูหนาว เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้
เดก็ สามารถ 1. วธิ กี าร
ทำงาน ด้านรา่ งกาย กิจกรรมศิลปะ กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ 1. บ้านหิมะสำลี - สังเกตจากการ
ศลิ ปะตามที่ ทำงานศิลปะ
กำหนดได้ - การเขยี นภาพและการเลน่ สรา้ งสรรค์เป็นกจิ กรรม 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง นบั 1-10 - ใบงาน ตามทกี่ ำหนด
2. เครอ่ื งมือ
กบั สี ทีช่ ่วยพฒั นากล้ามเน้ือ 2. ครแู นะนำกิจกรรมศิลปะ ดงั นี้ - สีเทยี น - แบบบันทึกผล
หลงั การจัด
- การหยบิ จบั การใช้ มัดเลก็ ให้แข็งแรง - บ้านหมิ ะสำลี ให้เดก็ ระบายสีพื้นท่บี ้านให้สวยงาม และนำ - กาว ประสบการณ์

กรรไกร การฉกี การตัด การ พฒั นาความคิด สำลีมาติดบริเวณท่เี ป็นหิมะรอบๆบา้ นและบนหลังคา - สำลี

ปะ และการร้อยวสั ดุ สรา้ งสรรค์ ให้เด็กได้ - การวาดอสิ ระ สีนำ้ นำกระดาษมา เตรยี มพู่กันกบั สีนำ้ โดย 2. การวาดอสิ ระ สี

ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ แสดงออกทางอารมณ์ ก่อนทีจ่ ะเร่มิ ลงสี ใหน้ ำนำ้ มาทากระดาษบรเิ วณท่ีต้องการจะลงสี นำ้

- การทำกิจกรรมศิลปะ ความร้สู ึก และ เปียกก่อน โดยนำพู่กนั จุม่ นำ้ แลว้ นำมาปา้ ย ก่อนทจี่ ะลงสี - กระดาษ A4

ต่างๆ จินตนาการท่เี ดก็ มอี ยู่ - การหยดสี ครูสาธิต โดยการนำดรอบเปอร์มาดดู สีน้ำ และทำ - สนี ้ำ

- การสรา้ งสรรค์สิง่ สวยงาม ได้อย่างเต็มท่ี การปล่อยลงในกระดาษ ซ่งึ ให้เด็กลองปลอ่ ยในหลายระดับความ - พ่กู ัน

ด้านสงั คม สงู แลว้ สังเกตการกระจายของสี 3. การหยดสี

- การเล่นหรือทำกิจกรรม 3. ให้เดก็ เลือกทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรคต์ ามความสนใจ โดย - ดรอปเปอร์

รว่ มกับกลมุ่ เพือ่ น อยใู่ นพนื้ ที่ของตนเอง - สนี ้ำ

ดา้ นสติปญั ญา 4. ร่วมกนั สรปุ กิจกรรม และให้เลอื กผลงานของตนเองออกมาเลา่ - กระดาษ A4

- การฟงั และปฏบิ ัตติ าม ผลงานหนา้ ช้ันเรียน และนำไปแสดงที่บอรด์ ผลงานของหนู

คำแนะนำ 5. เดก็ เกบ็ อปุ กรณแ์ ละทำความสะอาดห้องเรียน

- การแสดงความคิด

สรา้ งสรรค์ผ่านงานศลิ ปะ

แผนการจัดประสบการณ์ ชัน้ อนบุ าลปีท่ี 3 (วันที่ 2)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เรอื่ ง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดหู นาว
โรงเรียนวดั เวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล

เดก็ สามารถ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ กจิ กรรมการเลน่ ตามมุม 1. มุมเสรมิ 1. วิธกี าร
เลน่ มุม 1. ครูแนะนำมุมประสบการณ์ กตกิ า วิธีการเล่นในแต่ละมมุ ให้ ประสบการณ์ - สงั เกตจากการ
ภายในพ้ืนที่ ดา้ นรา่ งกาย การเลน่ ตามมุม เดก็ เลอื กตามความสนใจ และทบทวนขอ้ ตกลงในการเลน่ ตามมุม เล่นภายในพ้นื ที่
ทีก่ ำหนดได้ - มมุ บา้ น ท่ีกำหนด
การหยิบจบั การใชก้ รรไกร เปน็ การให้เด็กได้ - 1 มมุ เข้าได้ไมเ่ กนิ 4 คน - มมุ ศิลปะ 2. เคร่ืองมอื
- เวน้ ระยะหา่ งทางสังคม - มุมดนตรี - แบบบันทึกผล
การฉกี การตดั การปะ และ ตดั สนิ ใจในการ - เลน่ แล้วเก็บใหเ้ รียบร้อย - มมุ บลอ็ ก หลังการจดั
- เลน่ ภายในพน้ื ท่ีของแต่ละมุม - มุมหนงั สือ ประสบการณ์
การรอ้ ยวสั ดุ เลือกทำกิจกรรม 2. เด็กเลือกเข้ามมุ ตามความสนใจ มีมมุ ต่างๆดังน้ี - มุมวิทยาศาสตร์
- มมุ บ้าน
ด้านอารมณ์ - จิตใจ เพือ่ พฒั นาทักษะ - มุมศิลปะ
- มุมดนตรี
การเล่นตามมุมประสบการณ์ การเล่นร่วมกับ - มุมบลอ็ ก
- มุมหนังสอื
ด้านสังคม ผู้อืน่ และการเก็บ - มมุ วิทยาศาสตร์
3. ให้เดก็ เลือกเลน่ ตามมมุ กิจกรรมตามความสนใจ โดยครูคอย
การเล่นหรือทำกิจกรรม ของใหเ้ ขา้ ที่ ดแู ล
4. ร่วมกันสรุปกิจกรรมเล่นตามมมุ โดยใหเ้ ดก็ ออกมาเล่า
ร่วมกบั กลุม่ เพอ่ื น ประสบการณจ์ ากการเลน่

ดา้ นสตปิ ญั ญา

- การอา่ นหนังสอื ภาพ นทิ าน

หลากหลายประเภท/รปู แบบ

- การอ่านอย่างอสิ ระตาม

ลำพงั การอา่ นรว่ มกนั การ

อา่ นโดยมผี ูช้ ีแ้ นะ

- การฟังและปฏิบัตติ าม

คำแนะนำ

แผนการจดั ประสบการณ์ ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 3 (วนั ท่ี 2)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รักฤดหู นาว เรื่อง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
โรงเรยี นวดั เวฬวุ นั สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมินผล
ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้
เดก็ สามารถ 1. วธิ กี าร
เล่นเครอ่ื งเลน่ ด้านรา่ งกาย ขอ้ ตกลงในการ กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง 1. เคร่อื งเล่นสนาม - สังเกตจากการเลน่
สนามอยา่ ง เครื่องเล่นสนามอยา่ ง
ปลอดภัยได้ การเลน่ เคร่ืองเลน่ เล่นเครอ่ื งเล่น 1. ให้เด็กว่งิ รอบสนาม 3 รอบ 2. นกหวดี ปลอดภยั
2. เครอ่ื งมอื
สนามอยา่ งปลอดภยั สนาม 2. ร่วมสร้างขอ้ ตกลงในการทำกิจกรรมเลน่ เคร่ืองเล่นสนาม - แบบบนั ทึกผลหลัง
การจดั ประสบการณ์
ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ - เล่นเครื่องเลน่ อยา่ งปลอดภัยและเลน่ ให้ถูกวธิ ี

การเลน่ นอกห้องเรียน - ไม่ขว้างทรายใสเ่ พอื่ นและเคร่อื งเลน่

ดา้ นสังคม - เล่นเสร็จให้ล้างมอื ทกุ คร้ัง

การเล่นหรือทำ 3. แนะนำสัญญาณเปา่ นกหวดี 3 ครง้ั คอื หมดเวลาใหม้ าเข้าแถว

กิจกรรมร่วมกบั กลุ่ม 4. ให้เดก็ เล่นสนามตามความสนใจโดยมคี รดู ูแลอย่างใกลช้ ดิ

เพือ่ น 5. ใหส้ ัญญาณหยุดเลน่ เข้าแถว 2 แถวชายหญงิ โดยท่ายืด

ดา้ นสตปิ ัญญา กลา้ มเน้ือตน้ ขาด้านหน้า ยืนตรง ขาชิด มอื 2 ข้างเทา้ เอวไว้ พบั ขา

การฟังและปฏบิ ัตติ าม ขวาไปดา้ นหลัง เออ้ื มมือขวาไปกดเทา้ เข้าหาลำตัวใหม้ ากที่สุด จน

คำแนะนำ รสู้ ึกตงึ บริเวณหน้าขา คา้ งทา่ ไว้ 10 วินาที แลว้ เปลย่ี นข้าง ทำซ้ำ 2

รอบ แล้วพาเดก็ ไปทำความสะอาดร่างกาย เตรียมตัวทำกจิ กรรม

ต่อไป

แผนการจดั ประสบการณ์ ช้ันอนบุ าลปที ่ี 3 (วนั ท่ี 2)

หน่วยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เรอื่ ง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
โรงเรยี นวดั เวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ การประเมินผล

เดก็ สามารถ ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้
เลน่ เกมวาง
ภาพตอ่ ปลาย ด้านรา่ งกาย เกมวางภาพต่อ กิจกรรมเกมการศึกษา 1. เกมวางภาพต่อ 1. วิธีการ
เครือ่ งแต่งกาย
ในฤดหู นาวได้ การหยิบจับ การใช้ ปลาย เป็นการฝกึ 1. ชวนเด็กทำท่าบริหารสมอง นบั 1-10 ปลายเครื่องแต่งกายใน - สงั เกตจากการ

กรรไกร การฉกี การ ทักษะการสงั เกต 2. ร่วมกนั สร้างขอ้ ตกลงในการเล่นเกมการศึกษา ฤดหู นาว เล่นเกมวางภาพ

ตดั การปะ และการ ภาพท่ีมีความ - แบ่งกนั เลน่ โดยให้ความรว่ มมือกัน ในการเล่นใหส้ ำเร็จ 2. เกมการศึกษาชุดอน่ื ต่อปลายเครื่อง

รอ้ ยวัสดุ เหมอื นกนั - เมื่อได้ยินสญั ญาณนกหวดี เป่า 1 คร้งั ใหเ้ ปลีย่ นเกมการศึกษากบั 3. นกหวดี แต่งกายในฤดู

ด้านอารมณ์ - จติ ใจ กลมุ่ อ่ืน และเสยี งนกหวดี เป่าครัง้ ที่ 2 ให้ชว่ ยกันเก็บเกมการศึกษา หนาว

การเล่นรายกลุม่ 3. แนะนำและสาธิตวธิ ีการเล่นเกมวางภาพต่อปลายเคร่ืองแตง่ กาย 2. เครอื่ งมือ

ดา้ นสงั คม ในฤดูหนาว ใหเ้ ดก็ ในกลมุ่ หยบิ เกมไปคนละ 5 ชน้ิ แล้วเลือก 1 อัน - แบบบนั ทกึ ผล

การเล่นและทำงาน มาวางไว้ โดยเริ่มจากเด็กคนแรกให้วางภาพทีเ่ หมือนกนั ด้านใดดา้ น หลังการจดั

รว่ มกบั ผูอ้ ื่น หน่ึง กบั อนั ท่วี างรอไวอ้ ยู่บนพน้ื และวนไปทางเด็กที่น่ังด้านขวา ประสบการณ์

ดา้ นสติปญั ญา 4. แบง่ เด็กออกเป็น 4 กลมุ่ ใหเ้ ดก็ 1 กลมุ่ รบั เกมทแ่ี นะนำไปเล่น

การฟังและปฏบิ ตั ิ กลุ่มอ่ืนๆ เล่นเกมการศึกษาชุดอื่น

ตามคำแนะนำ 5. ใหส้ ญั ญานกหวดี 1 คร้งั ให้เปลีย่ นเกมการศึกษากับกลมุ่ อนื่ จน

ไดเ้ ลน่ ครบทกุ กลุ่ม

6. ใหส้ ญั ญาณหมดเวลาสัญญานกหวดี 2 ครัง้ เด็กเก็บเกมการศกึ ษา

เกณฑก์ ารประเมนิ

รายการประเมนิ 3 (ด)ี ระดับคณุ ภาพ 1 (ควรส่งเสริม)
2 (พอใช)้

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวตามคำสัง่ ได้ เด็กสามารถเคลอ่ื นไหวตามคำส่ังได้ด้วย เดก็ สามารถเคลอ่ื นไหวตามคำสั่งได้ โดยมี เดก็ สามารถเคล่ือนไหวตามคำสัง่ ได้ โดยมี

ตนเอง ผคู้ อยช้แี นะบางครงั้ ผูค้ อยช้แี นะตลอดเวลา

2. เด็กสามารถบอกปรากฏการณธ์ รรมชาติ เด็กสามารถบอกปรากฏการณธ์ รรมชาติใน เดก็ สามารถบอกปรากฏการณธ์ รรมชาติใน เดก็ สามารถบอกปรากฏการณ์ธรรมชาติใน

ในฤดหู นาวได้ ฤดูหนาวได้ดว้ ยตนเอง ฤดูหนาวได้ โดยมีผู้คอยชแ้ี นะบางครั้ง ฤดหู นาวได้ โดยมผี ู้คอยชแี้ นะตลอดเวลา

3. เด็กสามารถทำงานศิลปะตามท่ีกำหนด เดก็ สามารถทำงานศลิ ปะตามทกี่ ำหนดได้ เด็กสามารถทำงานศลิ ปะตามที่กำหนดได้ เดก็ สามารถทำงานศิลปะตามทก่ี ำหนดได้

ได้ ดว้ ยตนเอง โดยมผี ้คู อยช้แี นะบางครั้ง โดยมผี ู้คอยชีแ้ นะตลอดเวลา

4. เด็กสามารถเลน่ มุมภายในพืน้ ที่ท่ี เด็กสามารถเล่นมมุ ภายในพ้นื ท่ีทกี่ ำหนดได้ เดก็ สามารถเล่นมุมภายในพนื้ ทที่ ่ีกำหนดได้ เด็กสามารถเลน่ มุมภายในพน้ื ท่ที ก่ี ำหนดได้

กำหนดได้ ด้วยตนเอง โดยมีผูค้ อยชี้แนะบางครัง้ โดยมีผูค้ อยชี้แนะตลอดเวลา

5. เด็กสามารถเล่นเครอื่ งเล่นสนามอยา่ ง เด็กสามารถเล่นเคร่ืองเล่นสนามอย่าง เดก็ สามารถเล่นเครื่องเลน่ สนามอย่าง เดก็ สามารถเล่นเคร่อื งเลน่ สนามอย่าง

ปลอดภยั ได้ ปลอดภัยได้ด้วยตนเอง ปลอดภัยได้ โดยมีผู้คอยชแี้ นะบางครั้ง ปลอดภยั ได้ โดยมีผคู้ อยช้ีแนะตลอดเวลา

6. เดก็ สามารถเล่นเกมวางภาพต่อปลาย เดก็ สามารถเลน่ เกมวางภาพตอ่ ปลาย เด็กสามารถเล่นเกมวางภาพต่อปลาย เดก็ สามารถเล่นเกมวางภาพตอ่ ปลาย

เครื่องแต่งกายในฤดูหนาวได้ เครอ่ื งแตง่ กายในฤดูหนาวได้ด้วยตนเอง เคร่ืองแตง่ กายในฤดูหนาวได้ โดยมผี ู้คอย เครือ่ งแต่งกายในฤดหู นาวได้ โดยมีผู้คอย

ชแ้ี นะบางครง้ั ชีแ้ นะตลอดเวลา

แบบบนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณ์ นักเรียนชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 (วันที่ 2)
สาระที่ควรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตัว หนว่ ย ฉันรักฤดหู นาว เรือ่ ง ปรากฏการณ์ธรรมชาติในฤดูหนาว
คำช้ีแจง เตมิ / ลงในช่องทต่ี รงกบั พฤติกรรมของนกั เรยี น ระดบั คณุ ภาพ 3 : ดี 2 : พอใช้ 1 : ปรบั ปรุง

รายการประเมนิ

1. เดก็ สามารถ 2. เด็กสามารถบอก 3. เดก็ สามารถ 4. เด็กสามารถเลน่ 5. เดก็ สามารถเลน่ 6. เด็กสามารถเล่น

ท่ี เลข ชือ่ - นามสกลุ เคลอ่ื นไหวตามคำสง่ั ปรากฏการณ์ ทำงานศลิ ปะตามท่ี มุมภายในพื้นท่ีท่ี เครื่องเล่นสนาม เกมวางภาพต่อ
ประจำตัว ได้ ธรรมชาตใิ นฤดู
กำหนดได้ กำหนดได้ อยา่ งปลอดภัยได้ ปลายเครือ่ งแต่งกาย

หนาวได้ ในฤดหู นาวได้

321321321321321321

1 11069 เด็กชายภาณุวฒั น์ มะโนวรรณา

2 11157 เด็กชายพชร อามกี ู่

3 11313 เดก็ ชายณัฐชนน บญุ แกว้

4 11375 เดก็ ชายฐิตวิ ัฒน์ มูลเสร็ฐ

5 11380 เด็กชายธนา สายคำ

6 11515 เดก็ ชายทรพยอ์ นันต์ เตจา

7 11576 เดก็ ชายปยิ เทพ อนิ ทรห์ ลา้

8 11580 เดก็ ชายธนรตั น์ โชตเิ จรญิ
ธรรม

9 11690 เด็กชายอนันต์ ศรีวงษ์

10 11790 เด็กชายปะกรณพ์ ล วงศรีสงั ข์

11 11089 เดก็ ชายกนั ตพชิ ญ์ ชยั ชมภู

12 11181 เด็กชายปาณสั ม์ บรรจบ
กาญจน์

13 11214 เดก็ ชายกันตพัฒน์ ใหม่สกุล

14 11223 เดก็ หญิงณชิ กานต์ บญุ หม่นื

15 11243 เดก็ หญงิ กชพร มหายาโน

รายการประเมิน

1. เดก็ สามารถ 2. เดก็ สามารถบอก 3. เด็กสามารถ 4. เดก็ สามารถเลน่ 5. เดก็ สามารถเล่น 6. เดก็ สามารถเลน่
เคลื่อนไหวตามคำสั่ง ปรากฏการณ์ เครอื่ งเลน่ สนาม เกมวางภาพตอ่
ที่ เลข ช่อื - นามสกลุ ได้ ธรรมชาตใิ นฤดู ทำงานศลิ ปะตามที่ มมุ ภายในพืน้ ท่ีที่ อย่างปลอดภยั ได้ ปลายเครื่องแตง่ กาย
ประจำตัว ในฤดูหนาวได้
หนาวได้ กำหนดได้ กำหนดได้ 321 321
321321
321321

16 11376 เด็กหญงิ พชั นดิ า ตาปนั
17 11443 เดก็ หญิงบณั ฑติ า เทพกัญญา
18 11513 เด็กหญิงเบญญาภา สกลุ ลอย
19 11535 เด็กหญงิ สุภดิ า คำวนั ดี
20 11665 เดก็ หญิงพรจฬุ า ลุงวิ
21 11773 เดก็ หญภิ รู ิชญา จนั ทรฤ์ ทธ์ิ

บันทึกผลการจัดกจิ กรรม
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผ้ปู ระเมนิ ..........................................................................
( นางรุง่ เรือง ถิ่นคำ )
ครูผสู้ อน

...................... / ...................... / ......................

แผนการจดั ประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปที ่ี 3 (วนั ที่ 3)

หน่วยการเรยี นรู้ ฉันรักฤดูหนาว เร่อื ง การแต่งกายในฤดหู นาว
โรงเรียนวดั เวฬุวัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือ การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
เด็กสามารถ
เคลอื่ นไหวท่า ดา้ นรา่ งกาย การเคลอ่ื นไหวท่า กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 1. เคร่อื งเคาะจังหวะ 1. วธิ กี าร
โยคะได้
การเคลื่อนไหวอยู่กบั ท่ี กายโยคะ เป็นการ 1. ชวนเดก็ ทำท่าบริหารสมอง 1 2 3 ซา้ ย ขวา 2. เพลงโยคะ - สงั เกตจากการ

ด้านอารมณ์ - จติ ใจ เคล่อื นไหวเพื่อ 2. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวพ้นื ฐาน ช้า เรว็ และหยุด ใหเ้ ดก็ เคลอ่ื นไหวทา่

การเคลื่อนไหวตาม บรหิ ารร่างกายทุก เคล่ือนไหวรา่ งกายไปทวั่ บรเิ วณอยา่ งอิสระตามจังหวะ เมอื่ ได้ยิน โยคะ

เสียง/ดนตรี ส่วนอย่างช้าๆ ตาม เสียงสญั ญาณหยุด (เคาะ 2 ครั้งเรว็ ๆ) ให้หยดุ เคลื่อนไหวและให้ 2. เคร่อื งมอื

ดา้ นสงั คม จงั หวะลมหายใจ ไปยนื ในทขี่ องตนเองทันที - แบบบนั ทกึ ผล

การเล่นหรือทำ 3. แนะนำทา่ โยคะ ท่าภเู ขา (ยืนตรงเทา้ ชดิ ชูแขนขน้ึ เหนอื ศีรษะ หลังการจัด

กิจกรรมรว่ มกบั กล่มุ มอื ประกบกันแขนยืดตรง ยกมือขึ้นลงตามจงั หวะ) ท่านักรบ (ยนื ประสบการณ์

เพอ่ื น กางขา หันเทา้ ขวาไปดา้ นขวา กางแขนสองข้าง ย่อเข่าขวา หัน

ด้านสตปิ ัญญา หน้าไปทางขวา) และท่าตน้ ไม้ (วางฝา่ เทา้ ขวาท่ีเหนือเข่าซ้าย

การปฏบิ ัติตาม ประกบฝา่ มอื ยืดแขนเหนอื ไหล่)

คำแนะนำ 4. ครเู ปดิ เพลงโยคะ ทำทีละท่า โดยแต่ละท่าให้นับตามลม

จงั หวะหายใจ นับ 1-10 แลว้ ให้เปลี่ยนข้าง หรือเอาแขนขึ้นลง

ซง่ึ จะทำทา่ โยคะ ซำ้ 2 รอบ

5. ใหส้ ญั ญาณหยดุ และเดก็ น่ังอยใู่ นพนื้ ท่ีตนเอง ผ่อนคลาย

ร่างกาย โดยใช้ท่าการผอ่ นคลาย ใชน้ ว้ิ ช้ีนวดขมบั ของตัวเอง

เบาๆทั้งสองขา้ ง ใชม้ อื ท้ังสองเคาะท่ีตำแหน่งไหปลารา้ โดยสลบั

มือกนั เคาะเบาๆ และให้เด็กน่งั ลงแล้วนวดขาทง้ั สองขา้ ง

แผนการจัดประสบการณ์ ชนั้ อนุบาลปีที่ 3 (วันที่ 3)

หน่วยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดูหนาว เรอ่ื ง การแตง่ กายในฤดหู นาว
โรงเรียนวัดเวฬุวัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้
1. วิธีการ
เด็กสามารถจำแนก ดา้ นรา่ งกาย การแตง่ กายทเี่ หมาะสม กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ 1. คำคลอ้ ง - สงั เกตจากการ
จำแนกและจับ
และจับกลุ่มภาพ การเคล่ือนไหวอยู่กบั ที่ สำหรับฤดูหนาว จะเปน็ 1. รว่ มกันอ่านคำคล้องจอง ฤดูหนาว (ภาคผนวก) จอง ฤดหู นาว กลมุ่ ภาพเคร่ือง
แตง่ กายในฤดู
เครอ่ื งแต่งกายใน ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ เครอื่ งแตง่ กายที่มเี น้อื 2. สนทนาถงึ เคร่อื งแต่งกายในฤดหู นาว โดยใช้คำถาม 2. เครือ่ งแต่ง หนาว
2. เครอ่ื งมือ
ฤดูหนาวได้ การปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ หนา สามารถปกปิด - เดก็ ๆ คดิ ว่าเครอ่ื งแตง่ กายแบบไหนท่ีเหมาะกบั ฤดหู นาว กาย - แบบบนั ทกึ ผล
หลังการจดั
ตามความสามารถของ ร่างกายได้อย่างมิดชดิ - เด็ก ๆ คิดว่าเครื่องแต่งกายในฤดูหนาวควรมีลักษณะ 3. บตั รภาพ ประสบการณ์

ตนเอง ทำใหร้ า่ งกายอบอนุ่ เชน่ อย่างไร (เนอ้ื ผ้าหนา สามารถปกปดิ ร่างกายได้ ทำใหร้ า่ งกาย

ด้านสงั คม หมวกไหมพรม ผา้ พันคอ อบอุ่นเมือ่ สวมใส่)

การสนทนาข่าวและ ถงุ มอื ถุงเท้า รองเทา้ 3. โดยใหต้ ัวแทนเด็กออกมา 2 คน จากนัน้ ให้เดก็ หนึง่ คนเป็น

เหตกุ ารณท์ ่ีเกยี่ วกับ เส้อื กนั หนาว กางเกงขา หุ่นในการสาธิตการแตง่ กายและอกี คนเป็นคนทแ่ี ต่งตัวให้หนุ่

ธรรมชาตแิ ละ ยาว ทค่ี ลุมหู เป็นต้น เมือ่ หยบิ เครื่องแตง่ กายอะไรมา ให้เดก็ ๆทุกคนชว่ ยกนั พิจารณา

ส่งิ แวดล้อมใน แล้วตอบว่าเปน็ เครอ่ื งแต่งกายท่เี หมาะกับฤดูหนาวหรือไม่ (โดย

ชวี ติ ประจำวนั มี ผ้าพันคอไหมพรม ผ้าคลมุ ไหล่ ถุงมือยาง ถุงมอื ไหมพรม

ดา้ นสติปัญญา หมวกไหมพรม หมวกแก๊ป เสือ้ กันหนาว เส้ือเอี๊ยม กางเกงขา

การคัดแยก การจัดกลมุ่ ส้นั รองเทา้ บูทกนั หนาว รองเท้าแตะ)

และการจำแนกส่ิงตา่ งๆ 4. แจกบัตรภาพเครอื่ งแต่งกายชนดิ ต่างๆใหเ้ ดก็ จากน้ันให้

ตามลกั ษณะและรูปรา่ ง ชว่ ยกันแยกภาพของเครอ่ื งแต่งกายทีเ่ หมาะกบั ฤดูหนาว

รปู ทรง 5. ร่วมกนั สรุปลักษณะเคร่อื งแต่งกายท่ีเหมาะกบั ฤดูหนาว

แผนการจัดประสบการณ์ ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 3 (วันที่ 3)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉันรกั ฤดูหนาว เรื่อง การแต่งกายในฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬุวัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้
1. วธิ ีการ
เดก็ สามารถ ดา้ นร่างกาย กิจกรรมศลิ ปะ กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ 1. ระบายสี เดก็ สวม - สังเกตจากการ
ทำงานศิลปะ
ทำงาน - การเขยี นภาพและการเลน่ สรา้ งสรรค์เป็น 1. ชวนเดก็ ทำท่าบริหารสมอง 1 2 3 ซา้ ย ขวา เสอื้ กนั หนาว ภายในเวลาที่
กำหนด
ศิลปะ กับสี กิจกรรมท่ชี ว่ ย 2. ครแู นะนำกิจกรรมศลิ ปะ ดงั นี้ - ใบงาน 2. เคร่ืองมือ
- แบบบันทึกผล
ภายในเวลา - การหยบิ จบั การใช้ พัฒนากลา้ มเนือ้ มัด - ระบายสี เดก็ สวมเสอื้ กนั หนาว - สีเทียน หลังการจัด
ประสบการณ์
ทีก่ ำหนดได้ กรรไกร การฉกี การตัด การ เลก็ ให้แข็งแรง เมอื่ ได้รบั ใบงานแลว้ ให้ใช้สีเทยี นระบายสีใหส้ วยงาม โดย 2. การร้อยลกู ปดั

ปะ และการร้อยวสั ดุ พัฒนาความคดิ เลือกใช้หลายๆสี และระบายไมอ่ อกนอกกรอบที่กำหนด - ลกู ปัด

ดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ สรา้ งสรรค์ ให้เด็ก - การร้อยลกู ปดั - เชอื ก

- การทำกจิ กรรมศิลปะ ได้แสดงออกทาง นำเชือกมาขมวดปมกอ่ นแลว้ คอ่ ยเร่ิมการร้อยลกู ปัด เริม่ 3. การจุดสี

ตา่ งๆ อารมณ์ ความร้สู กึ รอ้ ยเสรจ็ ให้ขมวดเชือกอีกรอบหน่ึง เพื่อไม่ใหล้ กู ปัดหลดุ ออกมา - สีนำ้

- การสรา้ งสรรคส์ งิ่ สวยงาม และจนิ ตนาการที่ - การจุดสี - ก้านสำลี

ดา้ นสังคม เด็กมีอยไู่ ด้อย่าง เมือ่ ไดร้ ับใบงานแล้วใหน้ ำกา้ นสำลจี ุ่มสี แลว้ นำมาจุดบน - กระดาษ A4

- การเล่นหรือทำกิจกรรม เตม็ ท่ี ใบงานให้สวยงาม โดยจะต้องใชว้ ิธกี ารจุดและไม่ใชก้ ้านสำลีจดุ

ร่วมกับกลุ่มเพอื่ น หลายสี ให้ใช้ก้านสำลี 1 อัน ในการจุ่ม 1 สี

ด้านสติปัญญา 3. ใหเ้ ดก็ เลอื กทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ตามความสนใจ โดย

- การฟงั และปฏิบตั ิตาม อยู่ในพ้นื ท่ีของตนเอง

คำแนะนำ 4. รว่ มกันสรุปกจิ กรรม และใหเ้ ลือกผลงานของตนเองออกมาเลา่

- การแสดงความคดิ ผลงานหน้าชนั้ เรยี น และนำไปแสดงทบ่ี อรด์ ผลงานของหนู

สร้างสรรคผ์ ่านงานศลิ ปะ 5. เดก็ เก็บอปุ กรณแ์ ละทำความสะอาดห้องเรยี น

แผนการจดั ประสบการณ์ ชัน้ อนุบาลปีที่ 3 (วนั ที่ 3)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉันรักฤดูหนาว เรอื่ ง การแต่งกายในฤดูหนาว
โรงเรยี นวัดเวฬวุ ัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมนิ ผล

เดก็ สามารถ ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ กจิ กรรมการเล่นตามมุม 1. มมุ เสริม 1. วธิ กี าร
แบง่ ปันของ 1. ครแู นะนำมมุ ประสบการณ์ กตกิ า วธิ ีการเลน่ ในแตล่ ะมุม ให้ ประสบการณ์ - สังเกตจากการ
เลน่ ในมมุ ให้ ด้านรา่ งกาย การเลน่ ตามมมุ เด็กเลือกตามความสนใจ และทบทวนขอ้ ตกลงในการเลน่ ตามมุม แบง่ ปันของเล่น
เพือ่ นได้ - มมุ บ้าน ในมมุ ให้เพอื่ น
การหยบิ จบั การใช้กรรไกร เป็นการใหเ้ ด็กได้ - 1 มุม เข้าไดไ้ มเ่ กิน 4 คน - มุมศลิ ปะ 2. เครอื่ งมือ
- เวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม - มมุ ดนตรี - แบบบนั ทกึ ผล
การฉกี การตดั การปะ และ ตดั สนิ ใจในการ - เล่นแล้วเก็บให้เรียบรอ้ ย - มุมบลอ็ ก หลังการจัด
- แบง่ ปนั ของเลน่ ให้กนั - มมุ หนังสอื ประสบการณ์
การรอ้ ยวัสดุ เลือกทำกจิ กรรม 2. เดก็ เลอื กเขา้ มมุ ตามความสนใจ มีมมุ ต่างๆดังนี้ - มุมวิทยาศาสตร์
- มมุ บา้ น
ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ เพื่อพัฒนาทักษะ - มุมศิลปะ
- มุมดนตรี
การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ การเล่นรว่ มกบั - มุมบล็อก
- มุมหนงั สอื
ด้านสังคม ผอู้ ่ืนและการเก็บ - มมุ วิทยาศาสตร์
3. ให้เดก็ เลอื กเล่นตามมมุ กจิ กรรมตามความสนใจ โดยครูคอย
การเลน่ หรือทำกิจกรรม ของให้เข้าท่ี ดูแล
4. ร่วมกันสรุปกิจกรรมเลน่ ตามมุม โดยให้เด็กออกมาเล่า
รว่ มกบั กลมุ่ เพ่ือน ประสบการณ์จากการเลน่

ด้านสตปิ ญั ญา

- การอา่ นหนังสอื ภาพ นทิ าน

หลากหลายประเภท/รปู แบบ

- การอา่ นอยา่ งอิสระตาม

ลำพงั การอา่ นร่วมกนั การ

อ่านโดยมีผชู้ แี้ นะ

- การฟังและปฏบิ ตั ิตาม

คำแนะนำ

แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาลปที ี่ 3 (วันท่ี 3)

หน่วยการเรียนรู้ ฉันรกั ฤดหู นาว เรอื่ ง การแตง่ กายในฤดูหนาว
โรงเรยี นวัดเวฬวุ ัน สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินผล
ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้
เด็กสามารถ 1. วิธีการ
เล่นเกมเสือไล่ ดา้ นรา่ งกาย เกมเสอื ไล่ววั เปน็ เกมส์ กจิ กรรมการเล่นกลางแจ้ง 1. นกหวีด - สงั เกตการเล่น
วัวได้ เกมเสือไล่วัว
การเคลอ่ื นไหว ทตี่ อ้ งอาศยั ทักษะการ 1. ชวนเดก็ ทำท่ากายบริหาร 2 ท่า ทา่ พบั แขนหมนุ ไหล่ไป 2. เครื่องมอื
- แบบบันทึกผล
เคลอ่ื นที่ ทำงานรว่ มกนั ของคนที่ ขา้ งหนา้ นับ 1-10 และไปขา้ งหลงั นบั 1-10 หลงั การจดั
ประสบการณ์
ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ เปน็ รัว้ เพ่อื ป้องกนั 2. ครอู ธบิ ายกติกาเกมเสอื ไลว่ ัว ใหเ้ ดก็ ทกุ คนจบั มือกนั เปน็

การเลน่ นอกห้องเรียน ไมใ่ ห้เสอื เข้ามาจับวัว วงกลมทำหนา้ ท่รี ้วั แล้วให้มวี ัวอยกู่ ลางวง 2 คน และมเี สือ 3 คน

ด้านสงั คม ได้ โดยใหค้ นทเี่ ป็นรวั้ ช่วยกนั พยายามไมใ่ หเ้ สอื เข้ามาจบั ววั ด้านใน

การเล่นหรอื ทำ วงกลมได้ ถา้ วัวโดนจบั ได้แล้วใหน้ ัง่ ลง ส่วนเสอื กอ็ อกจากวง เพื่อ

กจิ กรรมร่วมกับกลมุ่ เขา้ มาจับวัวตัวใหม่

เพ่ือน 3. แนะนำสัญญาณเป่านกหวีด 3 คร้งั คอื หมดเวลาให้มาเขา้ แถว

ดา้ นสตปิ ัญญา 4. เล่นตอ่ ไปเรอื่ ยๆ จนครบเวลา โดยครสู ามารถปรบั เปล่ียน

การตดั สินใจและมีส่วน รูปแบบการเล่นได้ตามความเหมาะสม

รว่ มในการแกไ้ ขปัญหา 5. ให้สัญญาณหยดุ เล่น เข้าแถว 2 แถวชายหญิง โดยทา่ ประสาน

มอื ยืดแขนไปดา้ นบน นับ 1-10 และด้านลา่ งนับ 1-10 ทำซำ้ 2

คร้งั แลว้ พาเดก็ ไปทำความสะอาดรา่ งกาย เตรยี มตวั ทำกิจกรรม

ตอ่ ไป

แผนการจดั ประสบการณ์ ชัน้ อนบุ าลปที ี่ 3 (วนั ท่ี 3)

หนว่ ยการเรียนรู้ ฉันรักฤดูหนาว เร่ือง การแตง่ กายในฤดหู นาว
โรงเรียนวดั เวฬวุ ัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมินผล

เด็กสามารถ ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา 1. เกมจดั กลุ่มเครือ่ งแตง่ 1. วิธกี าร
เล่นเกมจัดกล่มุ 1. ชวนเดก็ ทำท่าบรหิ ารสมอง 1 2 3 ซา้ ย ขวา กาย - สงั เกตจากการเล่น
เคร่ืองแต่งกาย ด้านรา่ งกาย เกมจัดกลุม่ เปน็ 2. รว่ มกนั สรา้ งขอ้ ตกลงในการเล่นเกมการศกึ ษา 2. เกมการศึกษาชุดอ่นื เกมจดั กลุ่มเคร่ืองแต่ง
ได้ 3. นกหวีด กาย
การหยบิ จับ การใช้ การฝกึ ทกั ษะการ - แบ่งกันเล่น โดยให้ความรว่ มมือกัน ในการเล่นใหส้ ำเรจ็ 2. เครื่องมอื
- เมื่อได้ยนิ สญั ญาณนกหวดี เปา่ 1 ครัง้ ให้เปลย่ี นเกม - แบบบันทกึ ผลหลัง
กรรไกร การฉกี การ จัดกล่มุ ของหรอื สง่ิ การศึกษากับกลุม่ อ่ืน และเสียงนกหวีดเปา่ ครง้ั ท่ี 2 ให้ การจัดประสบการณ์
ช่วยกันเก็บเกมการศกึ ษา
ตัด การปะ และการ ตา่ งๆ ทมี่ ี 3. แนะนำและสาธิตวธิ ีการเล่นเกมจัดกลุม่ เครื่องแต่งกาย
โดยให้เด็กๆจับกล่มุ เคร่อื งแตง่ กาย ให้สอดคลอ้ งและอยใู่ น
ร้อยวัสดุ ความสัมพันธก์ ัน กลุม่ ฤดเู ดียวกัน
4. แบง่ เดก็ ออกเป็น 4 กลมุ่ ให้เด็ก 1 กลมุ่ รับเกมทแี่ นะนำ
ด้านอารมณ์ - จติ ใจ ไปเล่น กลุ่มอ่ืนๆ เลน่ เกมการศกึ ษาชุดอื่น
5. ให้สัญญานกหวีด 1 คร้ัง ให้เปลยี่ นเกมการศึกษากับกลุ่ม
การเลน่ รายกลุ่ม อืน่ จนได้เลน่ ครบทกุ กลุ่ม
6. ใหส้ ัญญาณหมดเวลาสญั ญานกหวีด 2 คร้ัง เด็กเก็บเกม
ด้านสังคม การศกึ ษา

การเลน่ และทำงาน

รว่ มกบั ผอู้ ืน่

ด้านสตปิ ญั ญา

การคดั แยก การจัด

กล่มุ และการจำแนก

สิ่งตา่ งๆ ตามลกั ษณะ

และรปู ร่างรูปทรง

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

1. เดก็ สามารถเคลอ่ื นไหวท่าโยคะได้ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ควรสง่ เสรมิ )

2. เด็กสามารถจำแนกและจบั กลมุ่ ภาพ เดก็ สามารถเคลื่อนไหวทา่ โยคะได้ด้วย เดก็ สามารถเคล่อื นไหวทา่ โยคะได้ โดยมผี ู้ เดก็ สามารถเคลอื่ นไหวทา่ โยคะได้ โดยมีผู้
เครอ่ื งแตง่ กายในฤดหู นาวได้
ตนเอง คอยชี้แนะบางครัง้ คอยชี้แนะตลอดเวลา
3. เดก็ สามารถทำงานศิลปะภายในเวลาที่
กำหนดได้ เดก็ สามารถจำแนกและจับกลุม่ ภาพเครอ่ื ง เดก็ สามารถจำแนกและจับกลมุ่ ภาพเครื่อง เดก็ สามารถจำแนกและจับกลมุ่ ภาพเครอื่ ง
4. เดก็ สามารถแบง่ ปันของเลน่ ในมมุ ให้
เพือ่ นได้ แตง่ กายในฤดูหนาวได้ดว้ ยตนเอง แต่งกายในฤดูหนาวได้ โดยมีผู้คอยช้แี นะ แตง่ กายในฤดหู นาวได้ โดยมีผู้คอยช้ีแนะ
5. เด็กสามารถเลน่ เกมเสือไล่วัวได้
บางครั้ง ตลอดเวลา
6. เด็กสามารถเล่นเกมจัดกลมุ่ เครื่องแต่ง
กายได้ เดก็ สามารถทำงานศลิ ปะภายในเวลาที่ เด็กสามารถทำงานศิลปะภายในเวลาที่ เด็กสามารถทำงานศิลปะภายในเวลาท่ี

กำหนดได้ด้วยตนเอง กำหนดได้ โดยมีผู้คอยชแี้ นะบางครั้ง กำหนดได้ โดยมผี ้คู อยช้ีแนะตลอดเวลา

เด็กสามารถแบ่งปนั ของเล่นในมมุ ให้เพือ่ น เด็กสามารถแบง่ ปันของเล่นในมุมให้เพ่ือน เดก็ สามารถแบง่ ปันของเลน่ ในมุมให้เพอ่ื น

ไดด้ ้วยตนเอง ได้ โดยมีผู้คอยชแ้ี นะบางครง้ั ได้ โดยมผี ู้คอยช้ีแนะตลอดเวลา

เด็กสามารถเล่นเกมเสือไลว่ วั ได้ด้วยตนเอง เดก็ สามารถเล่นเกมเสอื ไลว่ วั ได้ โดยมีผู้ เดก็ สามารถเล่นเกมเสือไลว่ ัวได้ โดยมีผู้

คอยชี้แนะบางครงั้ คอยช้แี นะตลอดเวลา

เดก็ สามารถเลน่ เกมจัดกลมุ่ เครือ่ งแต่งกาย เดก็ สามารถเล่นเกมจัดกลุม่ เครอื่ งแต่งกาย เดก็ สามารถเล่นเกมจัดกลุ่มเครอ่ื งแตง่ กาย

ไดด้ ว้ ยตนเอง ได้ โดยมีผู้คอยชแ้ี นะบางครั้ง ได้ โดยมีผคู้ อยชแี้ นะตลอดเวลา

แบบบนั ทึกหลังการจดั ประสบการณ์ นกั เรยี นช้ันอนบุ าลปีท่ี 3 (วนั ท่ี 3)
สาระท่ีควรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตวั หนว่ ย ฉันรักฤดหู นาว เรือ่ ง การแต่งกายในฤดหู นาว
คำช้ีแจง เตมิ / ลงในชอ่ งทต่ี รงกับพฤติกรรมของนกั เรียน ระดับคณุ ภาพ 3 : ดี 2 : พอใช้ 1 : ปรับปรงุ

รายการประเมิน

1. เด็กสามารถ 2. เดก็ สามารถ 3. เดก็ สามารถ 4. เด็กสามารถ 5. เด็กสามารถเลน่ 6. เด็กสามารถเลน่

ที่ เลข ชือ่ - นามสกุล เคลอื่ นไหวทา่ โยคะ จำแนกและจบั กลมุ่ ทำงานศิลปะภายใน แบ่งปันของเล่นใน เกมเสอื ไลว่ ัวได้ เกมจัดกลมุ่ เครอื่ ง
ประจำตัว ได้ ภาพเคร่ืองแต่งกาย เวลาท่กี ำหนดได้ มมุ ให้เพอ่ื นได้ แต่งกายได้

ในฤดูหนาวได้

321321321321321321

1 11069 เด็กชายภาณุวัฒน์ มะโนวรรณา

2 11157 เด็กชายพชร อามีกู่

3 11313 เดก็ ชายณฐั ชนน บญุ แกว้

4 11375 เด็กชายฐติ ิวัฒน์ มูลเสรฐ็

5 11380 เด็กชายธนา สายคำ

6 11515 เด็กชายทรพยอ์ นันต์ เตจา

7 11576 เด็กชายปยิ เทพ อนิ ทร์หล้า

8 11580 เด็กชายธนรัตน์ โชตเิ จรญิ
ธรรม

9 11690 เดก็ ชายอนันต์ ศรวี งษ์

10 11790 เด็กชายปะกรณ์พล วงศรีสงั ข์

11 11089 เดก็ ชายกนั ตพชิ ญ์ ชยั ชมภู

12 11181 เด็กชายปาณสั ม์ บรรจบ
กาญจน์

13 11214 เด็กชายกนั ตพัฒน์ ใหมส่ กลุ

14 11223 เด็กหญงิ ณิชกานต์ บุญหมน่ื

15 11243 เด็กหญิงกชพร มหายาโน

ท่ี เลข ชื่อ - นามสกลุ 1. เดก็ สามารถ 2. เดก็ สามารถ รายการประเมนิ 5. เด็กสามารถเลน่ 6. เดก็ สามารถเล่น
ประจำตวั เคล่อื นไหวทา่ โยคะ จำแนกและจับกลมุ่ 3. เด็กสามารถ 4. เด็กสามารถ เกมเสอื ไลว่ วั ได้ เกมจัดกลุ่มเครอ่ื ง
ได้ ภาพเคร่ืองแตง่ กาย ทำงานศลิ ปะภายใน แบ่งปนั ของเลน่ ใน แต่งกายได้
ในฤดหู นาวได้ เวลาท่ีกำหนดได้ มมุ ให้เพ่อื นได้ 321
321 321 321
321321

16 11376 เดก็ หญงิ พชั นิดา ตาปนั
17 11443 เดก็ หญิงบัณฑิตา เทพกัญญา
18 11513 เด็กหญิงเบญญาภา สกุลลอย
19 11535 เด็กหญิงสุภิดา คำวันดี
20 11665 เด็กหญงิ พรจุฬา ลงุ วิ
21 11773 เดก็ หญภิ ูรชิ ญา จันทร์ฤทธ์ิ

บันทึกผลการจดั กิจกรรม
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผปู้ ระเมนิ ..........................................................................
( นางรุ่งเรือง ถน่ิ คำ )
ครผู ูส้ อน

...................... / ...................... / ......................

แผนการจดั ประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปีท่ี 3 (วันท่ี 4)

หน่วยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดูหนาว เรอ่ื ง การรักษาสขุ ภาพในฤดหู นาว
โรงเรยี นวัดเวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ การประเมินผล

เดก็ สามารถ ประสบการณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้
เคลื่อนไหว
ร่างกาย ดา้ นร่างกาย การเคลื่อนไหว กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 1. เครื่องเคาะจังหวะ 1. วธิ กี าร
ประกอบคำ
คล้องจองฤดู การเคลอื่ นไหวอย่กู บั ที่ ประกอบคำคล้องจอง 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง แตะสลับจมกู หู 2. คำคลอ้ งจอง ฤดู - สังเกตจากการ
หนาวได้
ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ เป็นการเคล่อื นไหว 2. กจิ กรรมเคล่อื นไหวพน้ื ฐาน ช้า เรว็ และหยุด ใหเ้ ด็ก หนาวได้ เคล่อื นไหวประกอบ

การเคลอ่ื นไหวตาม ร่างกายพร้อมกับฝึก เคลือ่ นไหวรา่ งกายไปท่วั บริเวณอย่างอสิ ระตามจงั หวะ เมือ่ คำคลอ้ งจอง

เสียง/ดนตรี การพูดคำคลอ้ งจอง ไดย้ ินเสียงสัญญาณหยุด (เคาะ 2 ครั้งเรว็ ๆ) ใหห้ ยุด 2. เครอ่ื งมอื

ดา้ นสังคม เคล่ือนไหวและนงั่ ลงทนั ที - แบบบนั ทึกผลหลัง

การเล่นหรอื ทำ 3. แนะนำคำคลอ้ งจอง ฤดูหนาวได้ โดยใหเ้ ดก็ ฟังก่อน 1 การจดั ประสบการณ์

กจิ กรรมร่วมกับกลุ่ม รอบ

เพื่อน 4. รว่ มกันคำคลอ้ งจอง ฤดูหนาวได้ พรอ้ มกบั แสดงท่าทาง

ดา้ นสติปัญญา ประกอบ ให้เด็กดูและทำตาม ทีละวรรค

การฟังและปฏิบตั ติ าม 5. ชวนเดก็ เคลื่อนไหวร่างกายประกอบคำคล้องจอง ฤดู

คำแนะนำ หนาวได้ พร้อมทำทา่ ทางประกอบ ทำท่าประกอบคำคลอ้ ง

จองซำ้ 2 รอบ

6. ครใู หส้ ัญญาณหยุด และผ่อนคลายร่างกาย โดยใชท้ า่ การ

ผ่อนคลาย ยื่นใชม้ อื ท้ัง 2 ขา้ งประกบกันในลักษณะพนมมือ

เป็นรปู ดอกบัวตมู โดยใหน้ ิ้วทกุ นิว้ สมั ผสั กนั เบาๆ พรอ้ มกับ

หายใจเขา้ -ออก ทำประมาณ 30 วนิ าที

แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปที ่ี 3 (วนั ท่ี 4)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รักฤดหู นาว เรื่อง การรักษาสุขภาพในฤดูหนาว
โรงเรียนวัดเวฬวุ นั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมินผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้

เดก็ สามารถเลา่ ด้านรา่ งกาย การดแู ลสุขภาพในฤดู กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 1. ข่าว การ 1. วิธกี าร

เรื่องราว การเคลอื่ นไหวอยู่กบั ท่ี หนาว มดี ้วยกันหลาย 1. เปิดข่าว การดูแลสขุ ภาพในฤดูหนาว สนทนาโดยใชค้ ำถาม ดแู ลสุขภาพ - สังเกตจากการ

เกีย่ วกบั การ ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ วิธี เชน่ รบั ประทาน - เดก็ ๆ เหน็ วธิ กี ารดแู ลสุขภาพอะไรบ้าง (รบั ประทานอาหารครบ ในฤดูหนาว เล่าเรือ่ งราว

ดูแลสุขภาพใน การปฏิบตั ิกจิ กรรมต่างๆ อาหารใหค้ รบ 5 หมู่ 5 หมู่ ล้างมอื บอ่ ยๆ ใส่เสอ้ื กนั หนาว) 2. บตั รภาพ เกี่ยวกับการดูแล

ฤดูหนาวอย่าง ตามความสามารถของ ดื่มนำ้ ให้เพียงพอ หมน่ั 2. รว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกบั วิธกี ารดแู ดสุขภาพในฤดูหนาว 3. อปุ กรณ์ สุขภาพในฤดู

ตอ่ เนอ่ื งได้ ตนเอง ลา้ งมอื อยา่ งสมำ่ เสมอ - เดก็ ๆ คดิ ว่าในฤดหู นาวเราควรปฏบิ ตั ิตัวอยา่ งไร (ใส่เส้ือกัน และวตั ถุดบิ ใน หนาวอย่าง

ด้านสังคม ปอ้ งกนั เชอ้ื โรค ใช้ หนาว ออกกำลงั กายเปน็ ประจำ ด่มื นำ้ บอ่ ยๆ) การทำขา้ วจ่ี ต่อเนอื่ ง

การสนทนาขา่ วและ โลชัน่ บำรงุ ผวิ ป้องกนั - แลว้ อะไรทีเ่ ดก็ ๆ ไมค่ วรทำในหนา้ หนาว (ไม่ควรอาบน้ำทเ่ี ย็น และขา้ วหนุก 2. เครื่องมือ

เหตกุ ารณท์ ี่เกย่ี วกับ ผวิ แตกงา่ ย เดนิ ออกมา จัด ไม่ควรจามหรือไอใส่คนอน่ื ) งา - แบบบันทกึ ผล

ธรรมชาตแิ ละ รบั แสงแดดในตอนเช้า 3. แสดงบัตรภาพการดูแลสุขภาพในฤดหู นาว ควรรบั ประทาน หลงั การจดั

สิ่งแวดล้อมใน สวมใส่เครอื่ งนุ่งห่ม อาหารใหค้ รบ 5 หมู่ ดม่ื น้ำให้เพียงพอโดยเฉพาะนำ้ อนุ่ หมน่ั ลา้ งมือ ประสบการณ์

ชวี ติ ประจำวัน หากมีอาการปว่ ยควร อยา่ งสมำ่ เสมอปอ้ งกนั เช้ือโรค ใช้โลชัน่ บำรุงผิวป้องกันผวิ แตกง่าย

ดา้ นสติปัญญา ใสห่ นา้ กากอนามัยเพ่ือ เดนิ ออกมารับแสงแดดในตอนเชา้ สวมใส่เคร่ืองนุง่ หม่ หากมีอาการ

การอธิบายเชือ่ มโยง ปอ้ งกันการแพรเ่ ชอ่ื ปว่ ยควรใส่หนา้ กากอนามยั เพ่อื ป้องกนั การแพรเ่ ชือ่ หรือไปพบแพทย์

สาเหตุและผลทีเ่ กิดข้ึน หรือไปพบแพทย์ 4. แบง่ กลมุ่ เด็กออกเป็น 4 กลมุ่ 2 กล่มุ ร่วมกันทำขา้ วหนกุ งา และ

ในเหตุการณห์ รือการ อกี 2 กลุ่มร่วมกันทำขา้ วจี่

กระทำ 5. ร่วมกนั สรปุ วธิ ีการดแู ลสุขภาพในฤดูหนาว โดยให้เดก็ ออกมาเล่า

วธิ ีดแู ลสุขภาพท่ไี ดเ้ รยี นรู้

แผนการจัดประสบการณ์ ชน้ั อนบุ าลปีท่ี 3 (วันท่ี 4)

หน่วยการเรียนรู้ ฉันรกั ฤดูหนาว เรอ่ื ง การรักษาสุขภาพในฤดหู นาว
โรงเรยี นวดั เวฬวุ ัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้
1. วิธกี าร
เด็กสามารถ ดา้ นร่างกาย กิจกรรมศิลปะ กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์ 1. จุดสีต้นไม้ - สังเกตจากการ
ทำงานศิลปะ
ใชก้ ล้ามเน้อื - การเขียนภาพและการ สรา้ งสรรค์เปน็ 1. ชวนเด็กทำท่าบริหารสมอง แตะสลับจมกู หู - ใบงาน 2. เคร่ืองมอื
- แบบบนั ทึกผล
มอื ให้ เลน่ กับสี กจิ กรรมท่ชี ว่ ยพัฒนา 2. ครแู นะนำกิจกรรมศิลปะ ดงั น้ี - สีนำ้ หลงั การจัด
ประสบการณ์
ทำงาน - การหยิบจับ การใช้ กลา้ มเนื้อมดั เล็กให้ - จดุ สีต้นไม้ 2. การวาดภาพอสิ ระ

สัมพันธ์กบั กรรไกร การฉีก การตัด แขง็ แรง พฒั นา ให้เด็กๆใช้นว้ิ มอื ตนเองในการจุ่มสแี ละจุดสขี าว ลงบน สเี ทียน

ตาในการ การปะ และการรอ้ ยวัสดุ ความคิดสรา้ งสรรค์ โครงรา่ งของตน้ ไม้ใหส้ วยงาม ซ่งึ สขี าวแทนหิมะที่เกาะบนต้นไม้ - กระดาษ A4

ปฏิบัติงาน ด้านอารมณ์ - จิตใจ ให้เดก็ ไดแ้ สดงออก - การวาดภาพอสิ ระ สเี ทียน - สเี ทียน

ได้ - การทำกจิ กรรมศิลปะ ทางอารมณ์ ครแู จกกระดาษ A4 และให้เด็กนำสเี ทยี นของตนเองมา 3. การเปา่ สี

ต่างๆ ความรสู้ ึก และ วาดรูปตามท่ีเด็กต้องการ ให้สวยงาม - สีน้ำ

ด้านสังคม จินตนาการทเ่ี ดก็ มีอยู่ - การเป่าสี - หลอด

- การเล่นหรือทำกิจกรรม ได้อย่างเต็มท่ี นำสมี าหยดบนกระดาษทีละสี จากนน้ั นำหลอดยาวมา - กระดาษ A4

ร่วมกับกล่มุ เพอ่ื น เปา่ ท่ีสี เป่าจนสีหมด และหยดสีใหมอ่ ีกคร้ัง เปา่ ภายในกรอบที่

ด้านสติปญั ญา กำหนด

- การฟังและปฏิบตั ิตาม 3. ใหเ้ ด็กเลือกทำกิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ตามความสนใจ โดย

คำแนะนำ อยู่ในพืน้ ทข่ี องตนเอง

- การแสดงความคิด 4. ร่วมกันสรุปกิจกรรม และให้เลอื กผลงานของตนเองออกมาเล่า

สร้างสรรค์ผา่ นงานศิลปะ ผลงานหนา้ ชั้นเรียน และนำไปแสดงท่ีบอรด์ ผลงานของหนู

5. เด็กเก็บอุปกรณแ์ ละทำความสะอาดหอ้ งเรียน

แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนบุ าลปีท่ี 3 (วันท่ี 4)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เรอ่ื ง การรักษาสุขภาพในฤดูหนาว
โรงเรียนวดั เวฬวุ ัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ ผล

เดก็ สามารถ ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรียนรู้ กจิ กรรมการเลน่ ตามมุม 1. มมุ เสรมิ 1. วธิ ีการ
เลน่ ของเลน่ 1. ครูแนะนำมุมประสบการณ์ กติกา วธิ กี ารเลน่ ในแตล่ ะมมุ ให้ ประสบการณ์ - สังเกตจากการ
ในมมุ ได้ ด้านรา่ งกาย การเลน่ ตามมมุ เด็กเลอื กตามความสนใจ และทบทวนขอ้ ตกลงในการเล่นตามมมุ เล่นของเล่นใน
อยา่ ง - มมุ บ้าน มุมอยา่ ง
ปลอดภัยได้ การหยบิ จบั การใช้กรรไกร เปน็ การให้เดก็ ได้ - 1 มุม เข้าได้ไมเ่ กนิ 4 คน - มุมศลิ ปะ ปลอดภัย
- เว้นระยะหา่ งทางสังคม - มมุ ดนตรี 2. เครื่องมอื
การฉีก การตัด การปะ และ ตัดสินใจในการ - เล่นแลว้ เก็บใหเ้ รียบร้อย - มมุ บล็อก - แบบบนั ทึกผล
- เล่นอย่างปลอดภยั ไม่โยนของเลน่ - มุมหนงั สอื หลังการจัด
การร้อยวสั ดุ เลือกทำกจิ กรรม 2. เด็กเลอื กเขา้ มมุ ตามความสนใจ มีมุมต่างๆดงั น้ี - มุมวิทยาศาสตร์ ประสบการณ์
- มุมบ้าน
ดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ เพอ่ื พฒั นาทักษะ - มมุ ศลิ ปะ
- มุมดนตรี
การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ การเล่นร่วมกับ - มุมบล็อก
- มุมหนงั สอื
ด้านสังคม ผอู้ ืน่ และการเกบ็ - มมุ วิทยาศาสตร์
3. ใหเ้ ดก็ เลือกเลน่ ตามมมุ กิจกรรมตามความสนใจ โดยครูคอย
การเล่นหรอื ทำกิจกรรม ของใหเ้ ข้าท่ี ดแู ล
4. รว่ มกันสรุปกจิ กรรมเล่นตามมมุ โดยใหเ้ ดก็ ออกมาเลา่
ร่วมกับกลมุ่ เพ่ือน ประสบการณจ์ ากการเล่น

ดา้ นสติปญั ญา

- การอ่านหนงั สอื ภาพ นทิ าน

หลากหลายประเภท/รปู แบบ

- การอ่านอยา่ งอสิ ระตาม

ลำพงั การอา่ นรว่ มกนั การ

อา่ นโดยมผี ู้ชแี้ นะ

- การฟงั และปฏิบตั ติ าม

คำแนะนำ

แผนการจัดประสบการณ์ ช้ันอนุบาลปที ่ี 3 (วนั ที่ 4)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉันรักฤดูหนาว เร่ือง การรักษาสุขภาพในฤดหู นาว
โรงเรยี นวดั เวฬุวนั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมนิ ผล
ประสบการณส์ ำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้
เดก็ สามารถ
เล่นเครอื่ งเลน่ ด้านร่างกาย ข้อตกลงในการ กิจกรรมการเล่นกลางแจง้ 1. เคร่ืองเล่นสนาม 1. วธิ กี าร
สนามอยา่ งถกู 2. นกหวดี - สังเกตจากการเล่น
วธิ ไี ด้ การเล่นเครอ่ื งเล่น เล่นเครอ่ื งเลน่ 1. ให้เด็กวิ่งรอบสนาม 3 รอบ เครอ่ื งเล่นสนามอยา่ ง
ถกู วิธี
สนามอยา่ งอิสระ สนาม 2. ร่วมสรา้ งข้อตกลงในการทำกิจกรรมเล่นเครือ่ งเลน่ สนาม 2. เครือ่ งมอื
- แบบบนั ทึกผลหลงั
ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ - เลน่ เครอ่ื งเลน่ ให้ถูกวิธแี ละเลน่ อย่างปลอดภัย การจัดประสบการณ์

การเลน่ นอกหอ้ งเรียน - ไม่ขว้างทรายใส่เพื่อนและเครือ่ งเลน่

ดา้ นสังคม - เล่นเสร็จให้ล้างมือทกุ คร้ัง

การเล่นหรือทำ 3. แนะนำสญั ญาณเป่านกหวีด 3 ครง้ั คือหมดเวลาใหม้ าเขา้ แถว

กิจกรรมรว่ มกบั กลุ่ม 4. ใหเ้ ดก็ เลน่ สนามตามความสนใจโดยมีครดู ูแลอย่างใกล้ชิด

เพือ่ น 5. ใหส้ ญั ญาณหยดุ เลน่ เข้าแถว 2 แถวชายหญงิ ผอ่ นคลาย

ดา้ นสติปัญญา กล้ามเน้ือ โดยท่ายนื กา้ วขาขา้ งหนงึ่ ไปดา้ นหน้าหา่ งพอประมาณ

การฟงั และปฏบิ ตั ติ าม คอ่ ยๆ งอเข่าหนา้ ลง เขา่ หลังเหยียดตงึ สลับซ้ายขวา นับ 1-10

คำแนะนำ และท่าประสานมือไว้ด้านหลงั ในระดับเอว ตั้งลำตัวใหต้ รงและยก

แขนข้ึนชา้ ๆ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุด นับ 1-20 แลว้ พาเด็กไปทำความ

สะอาดรา่ งกาย เตรียมตัวทำกิจกรรมต่อไป

แผนการจดั ประสบการณ์ ชนั้ อนุบาลปีท่ี 3 (วันที่ 4)

หนว่ ยการเรยี นรู้ ฉันรักฤดหู นาว เรือ่ ง การรักษาสขุ ภาพในฤดหู นาว
โรงเรยี นวัดเวฬวุ ัน สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินผล
ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรียนรู้
เดก็ สามารถ
เล่นเกมจบั คู่ ดา้ นรา่ งกาย เกมจับคู่ เปน็ การ กจิ กรรมเกมการศึกษา 1. เกมจบั ค่ภู าพกบั เงา 1. วิธกี าร
ภาพกบั เงา
เคร่ืองแตง่ กาย การหยิบจบั การใช้ ฝีกทกั ษะการ 1. ชวนเด็กทำท่าบรหิ ารสมอง แตะสลบั จมกู หู เคร่ืองแตง่ กายในฤดู - สงั เกตจากการ
ในฤดูหนาวได้
กรรไกร การฉกี การ สงั เกตและจับคู่ 2. รว่ มกันสรา้ งขอ้ ตกลงในการเลน่ เกมการศกึ ษา หนาว เล่นเกมจับค่ภู าพ

ตัด การปะ และการ รูปภาพที่มี - แบง่ กนั เลน่ โดยให้ความรว่ มมือกัน ในการเล่นให้สำเร็จ 2. เกมการศกึ ษาชุดอ่ืน กบั เงาเครือ่ งแตง่

รอ้ ยวัสดุ ความสัมพันธ์กัน - เมื่อได้ยินสัญญาณนกหวดี เป่า 1 ครั้งให้เปลี่ยนเกมการศกึ ษากับ 3. นกหวีด กายในฤดูหนาว

ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ กลุม่ อ่นื และเสยี งนกหวีดเปา่ ครง้ั ท่ี 2 ให้ช่วยกันเกบ็ เกมการศึกษา 2. เครื่องมอื

การเลน่ รายกลมุ่ 3. แนะนำและสาธติ วธิ กี ารเลน่ เกมจบั คภู่ าพกบั เงาเคร่อื งแต่งกายใน - แบบบันทึกผล

ด้านสังคม ฤดหู นาว โดยการให้เด็กเลอื กภาพที่ตอ้ งการและหาเงาท่เี หมอื นกบั หลงั การจดั

การเล่นและทำงาน รูปตนเองมอี ยู่ และเลน่ ใหม่อีกครัง้ โดยเลือกเงาและให้หารูปภาพที่ ประสบการณ์

รว่ มกับผ้อู นื่ ตรงกบั เงาทตี่ นเองมอี ยู่ หรอื ใหจ้ บั ค่โู ดยการควำ่ หนา้ เกมลง และให้

ดา้ นสตปิ ญั ญา เดก็ เปิดทลี ะ 2 ภาพ ให้ตรงกับภาพและเงา ถ้าตรงกนั ได้กเ็ อาภาพคู่

การสังเกตลักษณะ น้ันออก ถา้ ไม่เจอใหค้ ว่ำไว้อย่างเดิม โดยใหเ้ วียนเลน่ กันในกลมุ่ ทีละ

สว่ นประกอบ การ คน

เปล่ยี นแปลง และ 4. แบง่ เดก็ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ให้เดก็ 1 กล่มุ รบั เกมท่ีแนะนำไปเล่น

ความสมั พันธ์ของสงิ่ กลมุ่ อ่นื ๆ เลน่ เกมการศึกษาชุดอื่น

ต่างๆ โดยใช้ประสาท 5. ใหส้ ัญญานกหวดี 1 คร้งั ให้เปลี่ยนเกมการศกึ ษากบั กลุ่มอนื่ จน

สมั ผสั อย่างเหมาะสม ได้เล่นครบทุกกลุม่

6. ใหส้ ัญญาณหมดเวลาสัญญานกหวดี 2 คร้ัง เด็กเกบ็ เกมการศกึ ษา

เกณฑ์การประเมนิ

รายการประเมนิ 3 (ด)ี ระดบั คณุ ภาพ 1 (ควรสง่ เสรมิ )
2 (พอใช)้

1. เดก็ สามารถเคลือ่ นไหวร่างกายประกอบ เด็กสามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายประกอบคำ เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายประกอบคำ เด็กสามารถเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบคำ

คำคล้องจองฤดหู นาวได้ คล้องจองฤดูหนาวได้ด้วยตนเอง คลอ้ งจองฤดูหนาวได้ โดยมีผู้คอยช้แี นะ คลอ้ งจองฤดหู นาวได้ โดยมีผู้คอยช้ีแนะ

บางคร้งั ตลอดเวลา

2. เด็กสามารถเล่าเรอ่ื งราวเกี่ยวกบั การ เดก็ สามารถเลา่ เรือ่ งราวเกย่ี วกบั การดแู ล เดก็ สามารถเล่าเร่ืองราวเกยี่ วกับการดูแล เดก็ สามารถเลา่ เร่ืองราวเกีย่ วกบั การดแู ล

ดแู ลสุขภาพในฤดูหนาวอยา่ งตอ่ เนือ่ งได้ สขุ ภาพในฤดหู นาวอย่างตอ่ เนือ่ งได้ด้วย สุขภาพในฤดหู นาวอย่างต่อเนือ่ งได้ โดยมีผู้ สุขภาพในฤดูหนาวอยา่ งตอ่ เน่ืองได้ โดยมผี ู้

ตนเอง คอยชีแ้ นะบางครั้ง คอยชแ้ี นะตลอดเวลา

3. เด็กสามารถใช้กลา้ มเน้ือมอื ให้ทำงาน เด็กสามารถใชก้ ลา้ มเนื้อมือให้ทำงาน เดก็ สามารถใชก้ ล้ามเน้ือมือให้ทำงาน เด็กสามารถใชก้ ลา้ มเนื้อมือให้ทำงาน

สัมพนั ธก์ บั ตาในการปฏบิ ัตงิ านได้ สมั พนั ธ์กับตาในการปฏบิ ัติงานได้ด้วย สัมพนั ธ์กับตาในการปฏบิ ตั งิ านได้ โดยมผี ู้ สัมพันธ์กบั ตาในการปฏิบัติงานได้ โดยมผี ู้

ตนเอง คอยช้แี นะบางคร้ัง คอยช้แี นะตลอดเวลา

4. เด็กสามารถเลน่ ของเลน่ ในมุมได้อย่าง เดก็ สามารถเลน่ ของเลน่ ในมุมได้อย่าง เดก็ สามารถเล่นของเล่นในมุมไดอ้ ย่าง เดก็ สามารถเลน่ ของเลน่ ในมุมไดอ้ ย่าง

ปลอดภัยได้ ปลอดภยั ได้ด้วยตนเอง ปลอดภยั ได้ โดยมีผูค้ อยชีแ้ นะบางครั้ง ปลอดภัยได้ โดยมีผ้คู อยชแ้ี นะตลอดเวลา

5. เด็กสามารถเลน่ เคร่อื งเล่นสนามอยา่ ง เด็กสามารถเลน่ เครอ่ื งเล่นสนามอย่างถกู เดก็ สามารถเล่นเครือ่ งเล่นสนามอย่างถูก เด็กสามารถเลน่ เครอ่ื งเลน่ สนามอย่างถูก

ถูกวธิ ไี ด้ วธิ ีได้ด้วยตนเอง วธิ ีได้ โดยมีผู้คอยชีแ้ นะบางครั้ง วธิ ไี ด้ โดยมีผคู้ อยชแี้ นะตลอดเวลา

6. เด็กสามารถเลน่ เกมจับคูภ่ าพกบั เงา เดก็ สามารถเลน่ เกมจบั คู่ภาพกบั เงาเครื่อง เดก็ สามารถเล่นเกมจับคภู่ าพกบั เงาเครือ่ ง เด็กสามารถเล่นเกมจบั คู่ภาพกบั เงาเคร่ือง

เครื่องแตง่ กายในฤดหู นาวได้ แตง่ กายในฤดหู นาวได้ดว้ ยตนเอง แตง่ กายในฤดูหนาวได้ โดยมีผู้คอยชแ้ี นะ แต่งกายในฤดหู นาวได้ โดยมีผู้คอยชี้แนะ

บางครง้ั ตลอดเวลา

แบบบนั ทึกหลังการจัดประสบการณ์ นกั เรียนช้ันอนบุ าลปที ่ี 3 (วนั ท่ี 4)
สาระท่ีควรเรยี นรู้ ธรรมชาติรอบตัว หนว่ ย ฉนั รักฤดหู นาว เรอื่ ง การรกั ษาสุขภาพในฤดหู นาว
คำชี้แจง เติม / ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนกั เรยี น ระดบั คุณภาพ 3 : ดี 2 : พอใช้ 1 : ปรับปรุง

รายการประเมิน

1. เด็กสามารถ 2. เด็กสามารถเล่า 3. เดก็ สามารถใช้ 4. เดก็ สามารถเล่น 5. เด็กสามารถเลน่ 6. เด็กสามารถเลน่

ท่ี เลข ชอื่ - นามสกลุ เคลอื่ นไหวรา่ งกาย เรอื่ งราวเกยี่ วกับ กลา้ มเน้อื มือให้ ของเล่นในมมุ ได้ เคร่ืองเลน่ สนาม เกมจบั คภู่ าพกับเงา
ประจำตัว ประกอบคำคล้อง การดูแลสขุ ภาพใน ทำงานสมั พนั ธก์ บั ตา อย่างปลอดภยั ได้ อยา่ งถูกวธิ ีได้ เครอื่ งแตง่ กายในฤดู
จองฤดูหนาวได้ ฤดูหนาวอยา่ ง ในการปฏบิ ตั ิงานได้ หนาวได้

ต่อเน่อื งได้

321321321321321321

1 11069 เด็กชายภาณวุ ัฒน์ มะโนวรรณา

2 11157 เด็กชายพชร อามกี ู่

3 11313 เด็กชายณฐั ชนน บญุ แกว้

4 11375 เดก็ ชายฐติ วิ ัฒน์ มูลเสร็ฐ

5 11380 เดก็ ชายธนา สายคำ

6 11515 เด็กชายทรพยอ์ นันต์ เตจา

7 11576 เดก็ ชายปยิ เทพ อินทรห์ ล้า

8 11580 เด็กชายธนรตั น์ โชตเิ จรญิ
ธรรม

9 11690 เด็กชายอนันต์ ศรีวงษ์

10 11790 เด็กชายปะกรณพ์ ล วงศรีสงั ข์

11 11089 เด็กชายกันตพิชญ์ ชยั ชมภู

12 11181 เด็กชายปาณสั ม์ บรรจบ
กาญจน์

13 11214 เดก็ ชายกนั ตพฒั น์ ใหม่สกลุ

14 11223 เดก็ หญิงณชิ กานต์ บุญหมน่ื

ท่ี เลข ชอ่ื - นามสกลุ 1. เด็กสามารถ 2. เดก็ สามารถเล่า รายการประเมนิ 5. เด็กสามารถเลน่ 6. เด็กสามารถเลน่
ประจำตวั เคล่อื นไหวรา่ งกาย เรอื่ งราวเกี่ยวกบั 3. เด็กสามารถใช้ 4. เดก็ สามารถเลน่ เครื่องเลน่ สนาม เกมจบั คู่ภาพกับเงา
ประกอบคำคลอ้ ง การดแู ลสขุ ภาพใน กล้ามเน้ือมือให้ ของเล่นในมุมได้ อยา่ งถกู วิธีได้ เครือ่ งแต่งกายในฤดู
จองฤดหู นาวได้ ฤดหู นาวอยา่ ง ทำงานสัมพันธก์ บั ตา อย่างปลอดภยั ได้ หนาวได้
ตอ่ เน่อื งได้ ในการปฏบิ ัติงานได้ 321
321 321 321
321321

15 11243 เดก็ หญงิ กชพร มหายาโน
16 11376 เด็กหญงิ พชั นดิ า ตาปัน
17 11443 เด็กหญิงบัณฑติ า เทพกญั ญา
18 11513 เด็กหญิงเบญญาภา สกลุ ลอย
19 11535 เด็กหญิงสภุ ิดา คำวนั ดี
20 11665 เดก็ หญงิ พรจฬุ า ลงุ วิ
21 11773 เดก็ หญภิ รู ชิ ญา จันทรฤ์ ทธิ์

บนั ทกึ ผลการจดั กิจกรรม

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผูป้ ระเมิน ..........................................................................
( นางรงุ่ เรือง ถิน่ คำ )
ครผู สู้ อน

...................... / ...................... / ......................

แผนการจดั ประสบการณ์ ช้ันอนุบาลปที ี่ 3 (วนั ที่ 5)

หน่วยการเรยี นรู้ ฉนั รกั ฤดหู นาว เร่อื ง ประโยชนแ์ ละโทษของฤดหู นาว
โรงเรียนวัดเวฬวุ นั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล
ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้

เด็กสามารถ ด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ 1. เคร่ืองเคาะจังหวะ 1. วิธีการ

เคล่ือนไหว การเคล่ือนไหวพร้อมวสั ดุ ประกอบอปุ กรณ์ เปน็ 1. ชวนเดก็ ทำท่าบริหารสมอง กรรไกร ไข่ ผ้าไหม 2. ผา้ เช็ดหน้า - สังเกตจากการ

ประกอบอุปกรณ์ อปุ กรณ์ การเคลอื่ นไหว โดย 2. กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน ชา้ เรว็ และหยดุ ให้ เคลอื่ นไหวประกอบ

ได้ ด้านอารมณ์ - จิตใจ การใช้อปุ กรณ์ เดก็ เคล่อื นไหวร่างกายไปทั่วบรเิ วณอย่างอิสระตาม อปุ กรณ์

การเคล่อื นไหวตามเสยี ง/ ประกอบเพอ่ื เพิ่มการ จงั หวะ เมอ่ื ได้ยนิ เสียงสัญญาณหยดุ (เคาะ 2 ครัง้ 2. เครอ่ื งมือ

ดนตรี เคล่ือนไหวให้ เร็วๆ) ให้หยุดเคลื่อนไหวในทา่ นั้นทันที - แบบบันทกึ ผลหลงั

ด้านสงั คม สรา้ งสรรค์มากยิ่งข้ึน 3. ใหเ้ ดก็ เคล่อื นไหวไปรอบๆ หอ้ ง โดยเดนิ เปน็ การจดั ประสบการณ์

การเล่นหรือทำกิจกรรม วงกลมไปเร่อื ยๆ ถา้ ครูเคาะ 2 ครง้ั ให้หยดุ ฟงั และ

รว่ มกบั กลมุ่ เพ่อื น สะบดั ผา้ ตามที่ครูบอก (ให้สะบัดผา้ ขนึ้ ลง ให้สะบัด

ดา้ นสตปิ ญั ญา ผ้าไปซา้ ยขวา ให้สะบดั ผ้าเป็นวงกลมชขู ึน้ เหนอื หัว

การฟังและปฏิบตั ติ าม ใหส้ ะบดั ผา้ ไปรอบตัว) และเคล่อื นไหวไปตามจงั หวะ

คำแนะนำ การเคาะ

4. ครใู หส้ ัญญาณหยุด และผอ่ นคลายร่างกาย โดยใช้

ทา่ ผสานมอื ยืดแขนไปด้านบน นับ 1-10 และยดื ไป

ด้านลา่ ง นบั 1-10 ทำซำ้ 2 คร้ัง


Click to View FlipBook Version