แผนปฎิบัติการ
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2562
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ตรงั เมืองแหงคณุ ภาพชีวิตที่ดีและย่งั ยืน
รูหนา ที่ มีวินัย ใจอาสา รวมพฒั นาจงั หวัดตรัง
เอกสารลำดบั ที่ 1/2562
งานนโยบายและแผน กลุมนโยบายและแผน
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
เวบ็ ไซต : www.trang1.go.th
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
คำ14น1 ำ
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดจ้ ดั ทาแผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ
พ.ศ.2562 เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษา ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1 โดยมีสาระสาคัญ ประกอบด้วย สภาพท่ัวไปการจัดการศึกษา ทิศทางการพัฒนาการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน นโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ค่านิยมองค์กร ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 รวมท้ังรายละเอียดแผนงาน/โครงการ และการบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการศึกษาธิการ
จงั หวัดตรัง ในคราวประชมุ คร้งั ที่ 16/2561 เม่ือวันท่ี 25 ธนั วาคม 2561
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ฉบับนี้ จะเป็นเครื่องมือสาคัญ
ในการบริหารจดั การศกึ ษา ของสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา และสถานศกึ ษาในสังกัด ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถนานโยบายทุกระดับสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในการจัดทา
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 จนสาเร็จดว้ ยดี
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
แผนปฏิบัติการประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน้า
1
สำ1ร4บ2 ัญ 1
2
ส่วนที่ 1 สภาพทัว่ ไปและสภาพการจัดการศึกษา 4
- สถานท่ตี ง้ั 5
- อานาจหน้าที่และโครงสรา้ ง 6
- คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล 8
- ผูบ้ รหิ าร ผู้อานวยการกลมุ่ /หน่วย 11
- จานวนบคุ ลากรและลูกจา้ ง
- ขอ้ มลู พ้ืนฐานทางการศึกษา 13
- ขอ้ มูลผลสัมฤทธิท์ างการศึกษา 13
- ข้อมูลดา้ นประสิทธภิ าพ 16
17
สว่ นท่ี 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 20
- รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ฯ 21
- นโยบายรัฐบาล 22
- ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 23
- แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 24
- จดุ เนน้ เชงิ นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ 36
- ยทุ ธศาสตร์ปฏริ ูปการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2558-2563)
- นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 40
- ทิศทางการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 42
- กลยุทธ์ แนวทาง ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ 44
- จุดเนน้ ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ แนวทาง 58
63
สว่ นท่ี 3 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ 68
- งบประมาณเพ่ือการบริหารจดั การ 74
- งบประมาณเพอื่ ดาเนินงานโครงการ
- ตวั ชวี้ ัด/เปา้ หมาย ตามแผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
- รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม
กลยุทธ์ที่ 2
- โครงการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รียนชั้นป.1 ปกี ารศึกษา 2561
- โครงการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ชัน้ ป.3
ปีการศึกษา 2561
- โครงการจัดนิทรรศการงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการและ
เทคโนโลยขี องนกั เรยี น ภาคใต้ ปกี ารศึกษา 2561
แผนปฏิบตั ิการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หนา้
143
กลยุทธ์ที่ 3 80
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการระบบสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา 83
เพ่อื การบรหิ ารงบประมาณแบบบรู ณาการ (AMSS++)
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการปฐมนิเทศและพฒั นาครูผชู้ ว่ ยด้านการจัดการเรยี นรู้
กลยุทธ์ท่ี 5
- โครงการประชุมสมั มนาผบู้ ริหาร สพป.ตรงั เขต 1 และผ้บู รหิ ารสถานศึกษาในสงั กัด 86
สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
- โครงการประชมุ ผู้บรหิ ารและบคุ ลากรในสังกดั เพือ่ พัฒนาองค์กร 89
- โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทาแผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 93
และทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565)
- โครงการประชมุ คณะกรรมการกลน่ั กรองโครงการ เพื่อบรรจุไว้ในแผนปฏบิ ตั กิ าร 97
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
- โครงการประชุมจัดตง้ั จัดสรร ติดตามการใช้งบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 100
- โครงการนเิ ทศ ติดตามเปดิ เทอมใหม่ประสานใจเย่ียมโรงเรยี น ภาคเรียนที่ 2/2561 104
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการระบบประกนั คุณภาพภายใน เพื่อเตรยี มความพรอ้ ม 107
รบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของโรงเรียนกลุ่มประชารัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562
- โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ R2R พัฒนางานประจาสงู่ านวิจัย (Routine to Research) 111
- โครงการพฒั นาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) 114
- โครงการประชมุ คณะกรรมการดาเนินการจดั ซอื้ จัดจา้ ง ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 118
สว่ นท่ี 4 การบริหารแผนสู่การปฏบิ ัติ 121
ภำคผนวก
- คาสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการจดั แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
- คาสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการกล่นั กรองโครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
- คาส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการกากบั ตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมนิ ผล แผนปฏิบตั กิ าร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
- แบบรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ
- แผนการดาเนินงานโครงการรายไตรมาส
แผนปฏิบตั กิ ารประจ�ำ ปีงบประแมผานณปฏพบิ .ศัต.ิกา2ร56ป2ระจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 1
1
ส่วนท่ี 1
สภาพทวั่ ไปและสภาพการจดั การศึกษา
1. สถานท่ตี ง้ั
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ต้ังอยู่เลขที่ 193 หมู่ 12 ตาบลโคกหลอ่
ถนนตรงั –ปะเหลยี น อาเภอเมอื งตรัง จังหวัดตรงั รหัสไปรษณยี ์ 92000 โทรศพั ท.์ 075 – 572027 - 32
075-572066 โทรสาร. 075-224947 Website http://www.trang1.go.th E-mail : [email protected]
2. อานาจหนา้ ที่ และโครงสร้าง
1. ตามพระราชบัญญตั ิระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 มาตรา 37
(1) อานาจหน้าท่ีในการบริหารและการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา
ให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
(2) อานาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาร่วมกบั สถานศกึ ษา
(3) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและสานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
(4) ปฏบิ ตั หิ น้าท่อี ่นื ตามทก่ี ฎหมายกาหนด
2. ตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
พ.ศ.2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองการแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
พ.ศ. 2560
(1) จัดทา นโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และความต้องการของท้องถ่นิ
(2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา รวมทัง้ กากับ ตรวจสอบ ติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กล่าว
(3) ประสาน สง่ เสริม สนบั สนุน และพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
(4) กากบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานและในเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
(5) ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน
การจดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
(7) จดั ระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศึกษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่ น
ที่จัดการศึกษารูปแบบท่ีหลากหลายในเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
(9) ดาเนนิ การและประสาน สง่ เสริม สนบั สนุนการวจิ ยั และพัฒนาการศกึ ษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา
(10) ประสาน ส่งเสริม การดาเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน
ด้านการศกึ ษา
แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประแมผานณปฏพิบ.ศตั .ิกา2ร56ป2ระจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 2
2
(11) ประสานการปฏบิ ัตริ าชการทัว่ ไปกบั องคก์ รหรือหน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(12) ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับ หรือสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอื่นทเี่ กย่ี วขอ้ งหรือที่ได้รับ
มอบหมาย
3. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
ตามพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 มาตรา 8 และมาตรา
20 วรรคส่ี รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารออกกฎกระทรวงใหเ้ ขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา มีคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ที่การศกึ ษา จานวน 9 คน
มหี น้าท่ี ดงั น้ี
1) สง่ เสริม สนับสนนุ ใหม้ ีการนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมากาหนดเปน็ แนวทางในการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษา
แผนปฏิบตั กิ ารประจำ�ปีงบประแมผานณปฏพิบ.ศตั .ิกา2ร56ป2ระจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3
3
2) กาหนดแนวทางการศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัยการบรหิ าร และการดาเนินการของหนว่ ยงานและ
สถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
3) พจิ ารณาแผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาโดยมงุ่ เน้นผลสัมฤทธข์ิ อง
หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
4) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการบรหิ ารและการดาเนนิ การตามแผนที่กาหนด
5) รับทราบผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการบรหิ ารและการดาเนนิ การตามแผน
และให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง
6) สง่ เสรมิ ใหม้ ีการประสานงานกับคณะกรรมการอนื่ และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง
รายชอ่ื คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
ประธานกรรมการ
นายศงั กร รักชูชนื่
กรรมการ5ผคู้ทนรงคุณวฒุ ิ กรรมการผู้แทน กรรมการและเลขานุการ
ด้านการบรหิ ารการศกึ ษา 62ทา่ คนน 1 คน
นายกิตติศักด์ิ นานชา้
ดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั ผ้แู ทนผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาของรัฐ ผอู้ านวยการกลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม
นายศรศกั ด์ิ สีนา และประเมินผลการจดั การศึกษา
นายมนตรี ณ นคร
ดา้ นวิจยั และประเมนิ ผล ผแู้ ทนผู้บรหิ ารสถานศึกษาของเอกชน
นายเรวตั ไพรัตนากร นายวีระยุทธ ธนทวี
ด้านศาสนาและวัฒนธรรม
นายพยงุ ศกั ดิ์ กญั จนโรจน์
ด้านการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
นายฐโชตณฏั ฐ์ ขวัญเมือง
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ�ปีงบประแมผานณปฏพิบ.ศัต.ิกา2ร56ป2ระจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 4
4
4. ผบู้ ริหาร/ผอู้ านวยการกล่มุ หน่วย
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
ผบู้ ริหาร
นายศงั กร รักชชู ื่น
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
นายสุวิทย์ ฟองโหย
รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
นายพยงุ ศักดิ์ กัญจนโรจน์
รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
นางจรุ ีรตั น์ ครี ีรตั น์
รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
นายระนติ ณ พัทลุง
รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
5. ผ้อู านวยการกลมุ่ /หนว่ ย
นางเนาวลกั ษณ์ วิชัยดิษฐ
ผอู้ านวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
นางอไุ รวรรณ สทิ ธิฤทธิ์
ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน
นางสรญั ญา โยธี
ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน
นายธเนศพล เจริญสุข
ผอู้ านวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล
นายเกษม มากชู
ผอู้ านวยการกลุ่มอานวยการ
นางสาวศิริวรรณ ยิวสวิ
ปฏิบัตหิ นา้ ท่ผี อู้ านวยการกลุม่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
-ว่าง- ผูอ้ านวยการกลุม่ บรหิ ารงานการเงิน และสินทรพั ย์
-วา่ ง- ผอู้ านวยการกลุ่มส่งเสรมิ การจดั การศึกษา
แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 5
แผนปฏบิ ัติการประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
5
6. จานวนบุคลากรทางการศกึ ษาและลูกจ้าง (จาแนกตามกลมุ่ และวุฒิการศึกษา)
ผบู้ ริหาร/บคุ ลากร/ลกู จ้าง จานวนบุคลากร รวม ต่ากวา่ วุฒกิ ารศึกษา
รวมทง้ั ส้ิน ชาย หญิง ปรญิ ญาตรี
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก
22 47 69 7 39 23 0
รวมบคุ ลากร 12 45 57 1 34 22 0
ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพื้นท่ี 1 - 1 - - 1 -
การศกึ ษา
รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่ี 3 1 4 0 0 4 0
การศึกษา
กลุ่มอานวยการ 156 0 6 0 0
กลมุ่ บริหารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ 1 7 8 1 6 1 0
กลุ่มนโยบายและแผน 066 0 5 1 0
กลมุ่ บริหารงานบคุ คล 2 8 10 0 10 0 0
กลมุ่ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา 066 0 4 2 0
กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล 4 9 13 0 1 12 0
การจดั การศึกษา 20 0
หน่วยตรวจสอบภายใน 022 0
กลุ่มสง่ เสรมิ การศกึ ษาทางไกล 011 0 0 1 0
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
รวมลกู จ้างประจา/ลกู จ้างชว่ั คราว 10 2 12 6 5 1 0
ทม่ี า : ข้อมลู ณ วนั ท่ี 20 พฤศจิกายน 2561
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ�ปีงบประแมผานณปฏพบิ .ศตั .กิ า2ร56ป2ระจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 6
6
7. ข้อมูลพน้ื ฐานทางการศึกษา
1.ข้อมูลจานวนสถานศกึ ษาและนักเรยี น
ตารางที่ 1 จานวนโรงเรยี นสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2561
จาแนกตามระดับการจดั การศกึ ษา
ระดบั ทจ่ี ดั การศกึ ษา จานวนโรงเรยี น
ระดับอนบุ าล 1 ถึงระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 113
ระดับอนบุ าล 1 ถึงระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 19
รวม 132
ตารางท่ี 2 จานวนโรงเรียน ห้องเรยี น นักเรยี น สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั
เขต 1 ปีการศึกษา 2561 จาแนกรายอาเภอ
ที่ อาเภอ โรงเรียน ห้องเรียน กอ่ นประถม จานวนนกั เรียน รวม
2,038 ประถม มธั ยมตน้ 8,468
1 เมือง 35 332 890 6,054 376 4,453
2 ปะเหลยี น 37 368 3,362 201
3 ย่านตาขาว 33 379 1,146 4,511
4 นาโยง 17 172 861 3,280 85 3,322
5 หาดสาราญ 10 90 435 2,157 304
132 1,341 1,017 54 1,506
รวม 5,370 22,260
15,870 1,020
ทีม่ า : ข้อมูล DMC 10 มถิ นุ ายน 2561
ตารางที่ 3 จานวนโรงเรยี นขยายโอกาส สงั กดั สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
จาแนกรายอาเภอ ปกี ารศึกษา 2561
ที่ อาเภอ โรงเรยี น หอ้ งเรียน ก่อนประถม จานวนนักเรียน รวม
ประถม มธั ยมต้น
1 เมือง 6 62 297 800 376 1,473
2 ปะเหลยี น 5 47 158 725 201 1,084
3 ย่านตาขาว 3 25 98 164 85 347
4 นาโยง 4 44 237 608 304 1,149
5 หาดสาราญ 1 15 73 204 54 331
รวม 19 193 863 2,501 1,020 4,384
ท่ีมา : ข้อมลู DMC 10 มิถนุ ายน 2561
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประแมผานณปฏพิบ.ศัต.ิกา2ร56ป2ระจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 7
7
ตารางท่ี 4 จานวนโรงเรียนขนาดเล็กในสังกดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
จาแนกรายอาเภอ ปีการศึกษา 2561
ที่ อาเภอ โรงเรยี น นกั เรียน ห้องเรยี น 0-20 ขนาดสถานศกึ ษา (มจี านวนนักเรียน)
21-40 41-60 61-80 81-100 101-120
1 เมือง 15 1,184 135 2 2 3 5 3 5
2 ยา่ นตาขาว 22 1,696 271 1 2 5 6 6 4
3 ปะเหลียน 21 1,493 230 1 1 5 6 4 3
4 นาโยง 3 255 30 0 0 0 1 2 0
5 หาดสาราญ 3 306 25 0 0 0 0 2 3
รวม 64 4,934 691 4 5 13 18 17 15
ท่มี า : ขอ้ มูล DMC 10 มถิ ุนายน 2561
ตารางท่ี 5 จานวนกลุ่มโรงเรยี น/เครอื ขา่ ยในสังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
จาแนกรายอาเภอ ปีการศกึ ษา 2561
ท่ี กลุ่มโรงเรียน/เครือข่าย ประธานกลุ่ม/เครือข่าย จานวนโรงเรยี น
1 กลุ่มโรงเรียนน้าผดุ -โพธาราม นายพรชยั คานวณศิลป์ 12
2 กลมุ่ โรงเรียนวชิรมิตร นายสวุ ทิ ย์ รอดคืน 10
3 กลุ่มโรงเรียนหนองตรดุ -นาท่าม นายสุธิพงษ์ วอ่ งวรานนท์ 7
4 กลุ่มโรงเรียนทับเท่ียง นายฐโชตณฏั ฐ์ ขวญั เมือง 8
5 กลุ่มโรงเรียนนาโยง นายสุทธเิ มธ ชยั เพชร์ 8
6 กลมุ่ โรงเรียนทุ่งค่าย-เกาะเปียะ นายพงศักด์ิ จันทรเกษ 9
7 กลมุ่ โรงเรียนย่านตาขาว-ทุ่งกระบือ นายณฐั ลายทองสุก 8
8 กล่มุ โรงเรียนสายชลสัมพันธ์ นายเกรียงไกร อสุ หกรรม 8
9 กลุ่มโรงเรียนไพรสวรรค์ นายมาโนช โสธารตั น์ 9
10 กลมุ่ โรงเรียนหาดสาราญ นายจารสั เผ่าพิศทุ ธิ์ 10
11 กลมุ่ โรงเรียนปะเหลียน นายรัตน์ ฉิมเรือง 11
12 กลุ่มโรงเรียนสุโสะ-บ้านนา นายอาคม บรสิ ุทธิ์ 12
13 กลมุ่ โรงเรียนทุ่งยาว นายศรศกั ดิ์ สนี า 13
14 กลุ่มโรงเรียนนาโยงสมั พนั ธ์ นายสรุ เชฐ นวลศรี 7
15 เครือข่ายส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั นายจารสั เผ่าพศิ ทุ ธ์ิ
(โรงเรียนขยาย
การศึกษามธั ยมศึกษาตอนต้น โอกาสทางการศึกษา
รวม จานวน 19 โรง)
132
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 8
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
8
2. ข้อมูลครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ตารางที่ 6 จานวนขา้ ราชการครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาตรงั เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 จาแนกรายอาเภอ
อาเภอ ตาม จ. 18 ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กาหนด
ที่ ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม
1 เมืองตรงั 37 8 410 453 35 8 434 477
2 ยา่ นตาขาว 33 2 231 265 33 2 248 283
3 ปะเหลียน 37 2 274 313 37 2 276 315
4 นาโยง 17 2 176 195 17 2 190 209
5 หาดสาราญ 10 1 74 85 10 0 90 100
รวม 134 15 1,165 1,311 132 14 1,238 1,384
ท่ีมา : ข้อมูล DMC 10 มถิ นุ ายน 2561
3. ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษา
ตารางที่ 7 ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเพ่อื ประกันคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษา
ปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2559 กบั ปกี ารศกึ ษา2560 สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
ความสามารถพ้ืนฐาน ปีการศกึ ษา 2559 คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ +เพ่มิ /-ลด
ปกี ารศึกษา 2560
ความสามารถดา้ นภาษา 58.66 -1.90
ความสามารถดา้ นคานวณ 43.10 56.76 -1.67
ความสามารถดา้ นเหตผุ ล 62.28 41.43 -12.97
รวมความสามารถ 3 ดา้ น 54.68 49.31 -5.52
49.16
54.68 49.16 58.66 56.76 43.1 41.43 62.28 49.31 ปีการศกึ ษา 2559
ปีการศึกษา 2560
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 9
แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
9
ตารางท่ี 8 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ปกี ารศกึ ษา 2560 ระหวา่ งเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษากบั ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ +เพมิ่ /
ภาษาไทย เขตพน้ื ที่ +เพิ่ม/ -ลด
ภาษาอังกฤษ การศึกษา สพฐ. -ลด ประเทศ +3.45
คณิตศาสตร์ 50.03 -1.87
วิทยาศาสตร์ 34.47 45.29 +4.74 46.58 +1.99
รวมเฉลย่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 39.11 32.73 +1.74 36.34 +0.81
39.93 35.55 +3.56 37.12 +1.1
40.89 38.13 +1.8 39.12
37.93 +2.96 39.79
60 เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
สพฐ.
40 ประเทศ
20
0
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
ตารางที่ 9 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ปีการศกึ ษา 2559 กับปกี ารศึกษา 2560 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ +เพ่มิ /-ลด
ปกี ารศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560
ภาษาไทย -6.70
ภาษาองั กฤษ 56.73 50.03 2.18
คณิตศาสตร์ 32.29 34.47 -4.85
วทิ ยาศาสตร์ 43.96 39.11 -3.57
รวมเฉล่ยี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 43.50 39.93 -3.23
44.12 40.89
60 ปกี ารศกึ ษา 2559
50 ปีการศกึ ษา 2560
40
30
20
10
0
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 10
แผนปฏิบัติการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
10
ตารางท่ี 10 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน(O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2560 ระหวา่ งเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษากบั ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ เขตพ้ืนที่ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ +เพิ่ม/-ลด
ภาษาไทย การศกึ ษา สพฐ. +เพิม่ /-ลด ประเทศ -2.14
ภาษาองั กฤษ 46.15 48.77 -2.62 48.29 -3.51
คณติ ศาสตร์ 26.94 30.14 -3.20 30.45 -5.77
วทิ ยาศาสตร์ 20.53 26.55 -6.02 26.30 -1.73
รวมเฉลี่ย 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 30.55 32.47 -1.92 32.28 -3.29
31.04 34.48 -3.44 34.33
วทิ ยาศาสตร์ ประเทศ
คณติ ศาสตร์ สพฐ.
ภาษาองั กฤษ เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
ภาษาไทย 10 20 30 40 50
0
ตารางท่ี 11 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ปีการศกึ ษา 2559 กับปีการศกึ ษา 2560 สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ +เพ่ิม/-ลด
ภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 +2.68
ภาษาอังกฤษ +0.32
คณิตศาสตร์ 43.47 46.15 -4.15
วทิ ยาศาสตร์ 26.62 26.94 -3.11
รวมเฉลีย่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 24.68 20.53 -1.07
33.66 30.55
32.11 31.04
50 ปกี ารศึกษา 2559
40 ปีการศกึ ษา 2560
30
20
10
0
ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
แผนปฏิบตั ิการประจ�ำ ปีงบปรแะผมนาปณฏิบพัต.ศกิ .าร25ป6ร2ะจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 11
11
ตารางท่ี 12 ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานดา้ นการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : NT)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรังเขต 1
สมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ ส่วนเบยี่ งเบน ดมี าก ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ
การอ่านออกเสยี ง 73.91 มาตรฐาน ดี พอใช้
การอ่านรูเ้ ร่ือง 68.69 13.14
รวม 2 สมรรถนะ 71.35
9.48
11.53
การอ่านออกเสยี ง 68.69 71.35 73.91
การอา่ นรู้เร่ือง
68 70 72 74 76
รวม 2 สมรรถนะ
66
ทม่ี า : กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา
ขอ้ มูลด้านประสิทธิภาพ
ผลการประเมินการดาเนินงานตัวช้ีวดั ตามตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จตามยทุ ธศาสตร์
แผนปฏบิ ัตริ าชการ) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
ที่ ยุทธศาสตร์ ผลประเมินตามตวั ชวี้ ัด (ตชว.)คา่ เฉลี่ยและระดบั คุณภาพ
1 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : หลักสูตร ตชว.1 ตชว.2 ตชว.3 ตชว.4 - เฉลี่ย คุณภาพ
และกระบวนการเรียนการสอน 5 4 45 4.50 ดีเยี่ยม
2 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : การผลติ ตชว.1 ตชว.2 - -- เฉลย่ี คุณภาพ
และพัฒนาครู 5 3 4.00 ดมี าก
ตชว.5 ตชว.6 ตชว.8 เฉลี่ย คุณภาพ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การทดสอบ ตชว.3 ตชว.4 5 15
3 การประเมิน การประกนั คณุ ภาพ - -- 3.80 ดมี าก
และพัฒนามาตรฐานการศึกษา 5 3
เฉลี่ย คณุ ภาพ
4 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : ไอซีที ตชว.3.1 ตชว.3.2 4.50 ดีเยยี่ ม
เพอ่ื การศึกษา 4 5 เฉลย่ี คณุ ภาพ
4.20 ดมี าก
ค่าเฉล่ยี รวม
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ป1ีง2บปรแะผมนาปณฏิบพตั .ศิก.าร25ป6ร2ะจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 12
ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาออนไลน์
(Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
ตามที่ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ดาเนินการประเมนิ คุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency
Assessment Online : ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลการประเมินสานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ได้รบั คะแนน 85.01 อย่ใู นลาดบั ที่ 101 ของสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
จานวน 225 เขต และอยู่ในลาดับท่ี 2 ของเขตตรวจราชการที่ 7
ลาดับ ดชั น/ี ตัวชวี้ ัด/ตัวชี้วดั ย่อยในการประเมินคุณธรรมและความ คะแนนทไี่ ด้ คะแนนหลงั
โปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (100) ถว่ งน้าหนัก
1 ความโปร่งใส 76.43
2 ความพร้อมรับผดิ 89.17 19.87
3 ความปลอดจากการทจุ รติ ในการปฏิบัติงาน 89.57 16.05
4 วัฒนธรรมคุณธรรมในองคก์ ร 75.92 19.71
5 คุณธรรมการทางานในหน่วยงาน 95.73 12.15
คะแนนคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงาน 17.23
85.01
แผนปฏิบัติการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 13
13 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
สว่ นท่ี 2
ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
1.รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนท่ี 40 ก
6 เมษายน 2560
มาตรา ๕๔ รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ
การศึกษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย
รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถิ่นและภาคเอกชนเข้ามสี ่วนรว่ มในการดาเนินการดว้ ย
รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมี
คณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล ทง้ั นี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแหง่ ชาติซ่ึงอย่างน้อย ต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษา
แห่งชาติดว้ ย
การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความ
ถนดั ของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
ในการดาเนินการให้เด็กเลก็ ได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตาม
วรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัด
ของตน
ใหจ้ ดั ตั้งกองทุนเพื่อใชใ้ นการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและเพ่ือ
เสริมสร้างและพัฒนาคณุ ภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รฐั จดั สรรงบประมาณใหแ้ ก่กองทุน หรือใช้มาตรการหรือ
กลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งนี้ ตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกลา่ วอย่างน้อยต้องกาหนดใหก้ ารบริหารจัดการกองทุน เป็นอิสระและกาหนดให้มี
การใช้จ่ายเงนิ กองทุนเพอื่ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ดงั กล่าว
มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเปูาหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลัก
ธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดัน
รว่ มกนั ไปสู่เปูาหมายดังกล่าว การจัดทา การกาหนดเปูาหมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลุเปูาหมาย และสาระที่พึงมีใน
ยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกฎหมายบัญญัติ ทั้งน้ี กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติ
เก่ยี วกบั การมสี ่วนร่วมและการรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชนทุกภาคสว่ นอยา่ งทวั่ ถงึ ดว้ ย
2. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี)
นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 ในด้าน
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ อนั เป็นหน้าทีห่ ลกั ของรัฐบาลทกุ ยุคทกุ สมัย รัฐบาลมนี โยบายในเร่ืองต่าง ๆ จาแนกเป็น
11 ด้าน ซ่ึงรัฐบาลได้นายุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ว่าด้วยการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาตามแนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นหลักสาคัญ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทรงเน้นความพอดี
แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 14
14 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
พอสมพอควรแก่ฐานะ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุ้มกันมาเป็นแนวคิด ใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบบั ที่ 11 แนวทางของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตแิ ละความต้องการของประชาชน
โดยมีนโยบายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ภารกิจสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดังน้ี
นโยบายที่ 1 การปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบ
สาคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรัฐบาล จึงถือเป็นหน้าที่สาคัญยิ่งยวดในอันที่จะเชิดชูสถาบันนี้ไว้
ด้วยความจงรักภักดี และปกปูองรักษาพระบรมเดชานุภาพ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเป็นจริง
เก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และพระราชกรณียกิจเพ่ือประชาชน ทั้งจะสนับสนุนโครงการทั้งหลาย
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทั้งหลายของรัฐเรียนรู้เข้าใจ
หลกั การทรงงาน สามารถนาหลกั ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการและการพัฒนาตลอดจนเร่งขยายผล
ตามโครงการและแบบอยา่ งท่ที รงวางรากฐานไว้ใหแ้ พรห่ ลาย
นโยบายที่ 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบ สันติวิธี
ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลัก
นิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ซ่ึงเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อนเพื่อซ้าเติมปัญหา
ไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าท่ีฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และ
องค์การระหว่างประเทศท่ีอาจช่วยคลี่คลายปัญหาได้รวมท้ัง เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศ เช่น
การคมุ้ ครองดแู ลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า
การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ และการเปดิ โลกทศั น์ใหม้ ลี ักษณะสากล เป็นตน้
2.1 ในระยะเรง่ ด่วน รฐั บาลให้ความสาคัญตอ่ การเตรียมความพร้อมส่ปู ระชาคมการเมือง และความมั่นคง
อาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความม่ันคงทางทะเล การแก้ไขปัญหา
อาชญากรรมขา้ มชาติ การสร้างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้าน และการเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติการ
ทางทหารร่วมกันของอาเซียน โดยเน้นความร่วมมือเพ่ือปูองกัน แก้ไขข้อพิพาทต่างๆ และการแก้ไขปัญหา
เส้นเขตแดนโดยใช้กลไก ทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี ทั้งจะจัดระเบียบการพัฒนาตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน และการบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนทั้งทางบก และทางทะเลรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตาม
แนวชายแดน โดยใช้ระบบเฝูาตรวจที่มีเทคโนโลยีทันสมัย กาหนดให้ปัญหายาเสพติด การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์
การกระทาอันเป็นโจรสลัด การก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาเฉพาะหน้า ที่ต้องได้รับการ
ปูองกันและแก้ไขโดยการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มงวด และจัดการปัญหาอ่ืนๆ ท่ีเช่ือมโยงต่อเน่ืองให้เบ็ดเสร็จ เช่น
ปัญหาสถานะและสทิ ธิของบคุ คลการปรับปรุงระบบ การเขา้ เมอื ง การจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว เป็นตน้
2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และ
พัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้าง
ความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการ
พัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมทสี่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ซึ่งเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาส
ก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพอื่ ซา้ เติมปัญหาไมว่ า่ จากผมู้ อี ิทธิพลในท้องถ่ินหรือเจ้าหน้าที่ ฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่ม
ระดับปฏิสัมพันธก์ ับต่างประเทศ และองคก์ ารระหว่างประเทศที่อาจชว่ ยคล่ีคลายปญั หาได้
นโยบายที่ 4 การศกึ ษาและเรียนรู้ การทะนุบารงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
นโยบายที่ 4.1 การปฏริ ปู การศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญท้ังการศกึ ษาในระบบและการศึกษา
ทางเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบ
แผนปฏบิ ตั ิการประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 15
15 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
อาชพี และดารงชวี ิตได้โดยมีความใฝรุ แู้ ละทักษะท่ีเหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรมสร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ โดย
เน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพ้ืนที่ ลดความเหล่ือมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็นท่ีต้องการเหมาะสมกับ
พ้ืนที่ ทัง้ ในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกจิ บรกิ าร
นโยบายที่ 4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับความจาเป็นของผู้เรยี นและลกั ษณะพน้ื ทีข่ องสถานศึกษา และปรบั ปรุง และบูรณาการระบบการกู้ยืม
เงินเพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนให้เยาวชน
และประชาชนท่ัวไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียนโดยจะพิจารณาจัดให้มี
คูปองการศกึ ษาเปน็ แนวทางหน่งึ
นโยบายที่ 4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและประชาชนท่ัวไปมี
โอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษา การเรียนรู้กระจายอานาจการบริหาร
จดั การศกึ ษาสสู่ ถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามศักยภาพและความพร้อม โดย
ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถเป็นนติ ิบุคคล และบรหิ ารจดั การไดอ้ ยา่ งอิสระและคล่องตวั ข้นึ
นโยบายที่ 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้มีความรู้และทักษะใหม่ท่ี
สามารถประกอบอาชพี ได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสูตรให้
เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้าน
ความรู้ ทักษะ การใฝเุ รยี นรู้ การแก้ปญั หา การรับฟังความเหน็ ผูอ้ ืน่ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี
โดยเน้นความร่วมมอื ระหวา่ งผเู้ กีย่ วขอ้ งทัง้ ในและนอกโรงเรียน
นโยบายท่ี 4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้น
ครูผูส้ อนให้มีวฒุ ติ รงตามวิชาทสี่ อน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเคร่ืองมือทเี่ หมาะสมมาใช้ในการเรียน การสอน
เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกลการเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์
เป็นต้น รวมทั้งปรับระบบการประเมินสมรรถนะท่ีสะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรียนเป็นสาคัญ
นโยบายที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา
และนวตั กรรม
นโยบายที่ 8.2 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนท่ีเชื่อมโยงระหว่าง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตกาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน การเชื่อมโยง
ระหว่างการเรียนร้กู บั การทางาน การใหบ้ ุคลากรดา้ นการวจิ ัยของภาครัฐสามารถไปทางานในภาคเอกชน และการ
ให้อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีช่องทางได้เทคโนโลยีโดยความร่วมมือจากหน่วยงานและสถานศึกษา
ภาครฐั
นโยบายท่ี 9 การรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้
ประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยืน
นโยบายท่ี 9.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษทั้งทางอากาศ ขยะ และน้าเสีย ท่ีเกิดจากการผลิตและบริโภค
เพื่อสร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความสาคัญในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะเป็น
ลาดบั แรก สง่ เสริมใหเ้ กดิ กลไกการคดั แยกขยะเพื่อนากลบั มาใชใ้ หม่ให้มากท่ีสุด เร่งกาจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสม
ในสถานท่ีกาจัดขยะในพ้ืนที่วิกฤติซึ่งจะใช้ท่ีดินของรัฐเป็นหลักในพ้ืนที่ใด ที่สามารถจัดการขยะมูลฝอยโดยการ
แปรรูปเป็นพลังงาน ก็จะสนับสนุนให้ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมน้ัน จะวางระเบียบมาตรการการบริหาร
จัดการเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้ทิ้งในบ่อขยะอุตสาหกรรมท่ีสร้างขึ้นอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและให้แยกเป็น
สดั สว่ นจากบ่อขยะชมุ ชน สาหรบั ขยะของเสียอนั ตรายขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และขยะ
แผนปฏบิ ตั ิการประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 16
16 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ติดเชื้อจะพัฒนาระบบกากับติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังไม่ให้มีการลักลอบท้ิง รวมทั้งจัดการสารเคมีโดย
ลดความเสี่ยงและอันตรายทเ่ี กดิ จากการรัว่ ไหล และการเกิดอบุ ัตเิ หตใุ หค้ วามสาคญั ในการจัดการอย่างครบวงจร
และใช้มาตรการทางกฎหมายและการบงั คับใช้กฎหมายอยา่ งเด็ดขาด
นโยบายท่ี 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการ
ทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบในภาครัฐ
นโยบายที่ 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและจิตสานึกในการ
รักษาศักด์ิศรีของความเป็นขา้ ราชการและความซ่ือสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครฐั ที่มีประสิทธิภาพ
เพอื่ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าทข่ี องรฐั ทกุ ระดบั อย่างเคร่งครัด ยกเลกิ หรือ
แก้ไขกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับต่างๆ ท่ีไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชนเกนิ ควร หรือเปิดช่องโอกาสการทุจริต
เช่น ระเบียบการจัดซ้ือ จัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการจากรัฐ ซึ่งมีข้ันตอนยืดยาวใช้เวลานาน
ซา้ ซ้อน และเสียค่าใชจ้ า่ ยท้ังของภาครฐั และประชาชน
3. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
สาระสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ ท่ีคนไทยทุก
คนต้องการบรรลุร่วมกัน รวมทั้งนโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะซึ่งเป็นแนวทาง ทิศทางและวิธีการท่ีทุก
องค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งดาเนินการไปพร้อมกันอย่างประสานสอดคล้อง เพ่ือให้บรรลุซ่ึงสิ่งท่ีคนไทยทุกคน
ต้องการ คือ ประเทศไทยม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ในทุกสาขาของกาลังอานาจแห่งชาติ อันได้แก่ การเมือง
ภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
3.1 วสิ ยั ทศั น์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจําชาติว่า “มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” เพ่ือสนองตอบ ต่อผลประโยชน์
แห่งชาติอันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดารงอยู่อย่างม่ันคง และยั่งยืนของ สถาบันหลักของชาติและ
ประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุข เป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทางสังคม
ท่ามกลางพหุสังคมและการมเี กียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเตบิ โตของชาติความเป็นธรรมและ
ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ความม่ันคงทางพลังงานและ
อาหาร ความสามารถในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่าง
ประเทศ และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติประสานสอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและประชาคม
โลกอย่างมีเกียรติ และศักด์ิศรี ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลงทั้ง
ภายในประเทศ
3.2 เป้าหมายในการพัฒนาประเทศ
คอื “ประเทศชาตมิ ่ันคง ประชาชนมคี วามสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง สังคมเปน็ ธรรม ฐาน
ทรพั ยากรธรรมชาติยงั่ ยนื ” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศใน หลากหลายมิติ พัฒนาคนในทกุ มติ ิและในทุกช่วง
วัยให้เปน็ คนดีเกง่ และมีคณุ ภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสงั คม สร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็น
มิตรกบั สิง่ แวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชน เพ่ือประชาชนและประโยชนส์ ่วนรวม โดยการประเมินผลการ
พัฒนาตามยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย
1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 17
17 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ
4) ความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม และความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเข้าถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ
3.3 ยุทธศาสตร์ชาติ
ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และทาให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้น จาเป็นจะต้องมี
การวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวและกาหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้
ขับเคล่ือนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงจาเป็นจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพ่ือถ่ายทอดแนว
ทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละเวลาอย่างต่อเนื่องและมีการบูรณาการ และสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ
ประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ท้ังประชาชน เอกชน ประชาสังคม ในการ
ขับเคล่ือนการพัฒนาเพ่ือการสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ
ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือคติพจน์
ประจาชาติ “ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน” เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศ
พัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความม่ันคง เสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติท่ีจะได้
เปน็ กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี ต่อจากนี้ไป ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่
1) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมนั่ คง
2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
4) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม
6) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
4. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
วิสัยทศั น์ จดุ มุง่ หมาย เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั และยุทธศาสตรข์ องแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
แผนการศึกษาแหง่ ชาตฉิ บบั นี้ กาหนดวิสัยทศั น์ (Vision) ไว้ดังน้ี
“คนไทยทกุ คนได้รบั การศกึ ษาและเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ ดํารงชวี ิตอย่างเปน็ สุข สอดคลอ้ ง
กบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”
โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา 4 ประการ คือ 1)เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ี
มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้อง
กับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 3)
เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกาลังมุ่งสู่
การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดัก
ประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง และความเหลือ่ มล้าภายในประเทศลดลง
เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้
วางเปา้ หมายไว้ 2 ด้าน คือ
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 18
18 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
เปา้ หมายดา้ นผ้เู รียน (Learner Aspirations) โดยม่งุ พัฒนาผู้เรียนทกุ คนให้มคี ุณลักษณะ
และทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคณุ ลักษณะต่อไปน้ี
3RS ไดแ้ ก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญาหา ( Critical
Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross –cultural Understanding) ทักษะด้านความ
ร่วมมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ า (Collaboration,Teamwork and Leadership) ทกั ษะด้านการส่ือสาร
สารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information and media Literacy) ทักษะด้าน
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ
ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
(Compassion)
เปูาหมายของการจัดการศกึ ษา (Aspirations) 5 ประการ ซ่ึงมีตัวชี้วัดเพ่ือการบรรลุเปูาหมาย 53 ตัวชี้วัด
ประกอบดว้ ย เปาู หมายและตวั ช้ีวัดท่สี าคญั ดงั นี้
1) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพและมีมาตรฐานอยา่ งทว่ั ถงึ (Access) มตี ัวชีว้ ดั ท่ี
สาคัญ เช่น ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นหรือ
เทียบเทา่ ที่รัฐตอ้ งจัดใหฟ้ รี โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ผู้เรยี นพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษา
ที่เหมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมกี ารศกึ ษาเฉลีย่ เพมิ่ ข้นึ เปน็ ตน้
2) ผเู้ รียนทุกคน ทุกกลมุ่ เป้าหมายไดร้ ับบรกิ ารการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานอยา่ งเท่าเทยี ม
(Equity)
3) ระบบการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ สามารถพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลุขีดความสามารถเต็มตามศกั ยภาพ
(Quality)
4) ระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ เพอื่ การลงทุนทางการศึกษาทค่ี ุ้มค่าและบรรลุ
เปา้ หมาย (Efficiency)
5) ระบบการศกึ ษาทสี่ นองตอบและก้าวทนั การเปล่ยี นแปลงของโลกทเี่ ป็นพลวตั และบริบทท่ี
เปลยี่ นแปลง (Relevancy)
ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด แผนการศึกษาแห่งขาติ ได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
การศึกษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพ่ือให้แผนการศึกษาแห่งชาติบรรลุ
เปูาหมายตามจุดมุ่งหมาย วสิ ยั ทัศน์ และแนวคิดการจดั การศึกษาดังกลา่ วขา้ งต้น ดงั นี้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : การจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ มเี ปูาหมาย ดังนี้
1. คนทกุ ชว่ งวัยมคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยึดมนั่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข
2. คนทกุ ชว่ งวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นที่พเิ ศษได้รับการศึกษา
และเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ
3. คนทุกช่วงวยั ไดร้ บั การศึกษา การดแู ลและปอู งกันจากภัยคุกคามในชวี ติ รูปแบบใหม่
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตและพฒั นากาํ ลังคน การวิจยั และนวัตกรรม เพอื่ สร้างขดี ความสามารถ
ในการแขง่ ขันของประเทศ มีเปูาหมาย ดังน้ี
1. กาลังคนมีทักษะทสี่ าคัญจาเปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
แผนปฏิบตั กิ ารประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 19
19 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
2. สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานท่จี ดั การศึกษา ผลติ บณั ฑิตทมี่ ีความเช่ียวชาญและเป็นเลศิ
เฉพาะดา้ น
3. การวิจัยและพัฒนาเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ และนวัตกรรมที่สรา้ งผลผลิตและมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ มเี ปูาหมาย
ดงั นี้
1. ผู้เรยี นมที กั ษะและคณุ ลักษณะพืน้ ฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะและคณุ ลกั ษณะท่จี าเปน็ ใน
ศตวรรษที่ 21
2. คนทกุ ชว่ งวัยมที ักษะ ความร้คู วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐาน
วิชาชพี และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตไดต้ ามศกั ยภาพ
3. สถานศึกษาทกุ ระดับการศกึ ษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรอย่างมี
คณุ ภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรยี นรู้ สอ่ื ตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรยี นรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน
สามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยไม่จากดั เวลาและสถานท่ี
5. ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมนิ ผล มปี ระสิทธภิ าพ
6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดับสากล
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มีเปูาหมายดงั นี้
1. ผเู้ รยี นทุกคนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
2. การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่ือการศกึ ษาสาหรับคนทุกชว่ งวยั
3. ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาทค่ี รอบคลุม ถกู ต้องเป็นปัจจุบัน เพอ่ื การวาง
แผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : การจัดการศึกษาเพอ่ื สร้างเสริมคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม มเี ปาู หมายดังน้ี
1. คนทกุ ช่วงวัย มจี ิตสานึกรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
2. หลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ และสือ่ การเรยี นรทู้ ่ีส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติ
3. การวิจัยเพื่อพฒั นาองค์ความรู้และนวัตกรรมดา้ นการสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 : การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มีเปาู หมาย ดงั น้ี
1. โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบริหารจดั การศกึ ษามีความคล่องตัว ชดั เจน และสามารถ
ตรวจสอบได้
2. ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลส่งผลตอ่ คณุ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษา
3. ทุกภาคส่วนของสังคมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาทต่ี อบสนองความต้องการของประชาชนและ
พนื้ ที่
4. กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรับลักษณะท่ีแตกต่างกันของ
ผู้เรยี น สถานศกึ ษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ
5. ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สรา้ งขวญั
กาลังใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบตั งิ านได้อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 20
20 แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
5. จดุ เนน้ เชิงนโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายแพทยธ์ ีระเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์)
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายแพทยธ์ รี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป)์ ได้กาหนดจดุ เน้น
เชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีสาระสาคัญ ดังน้ี
นอ้ มนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาท
สมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู มา
ขับเคล่ือนงานด้านการศึกษาใหเ้ กิดเปน็ รปู ธรรม เพราะพระราชปณธิ านของพระองคท์ า่ นถอื เป็นพรอันสูงสุด และ
มอบเปน็ นโยบาย เพื่อเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติแก่หนว่ ยงานงานในสังกดั ดงั นี้
1. พระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มีใจความสาคัญว่า (1) “การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียนใน 2 ด้าน คือ ส่งเสริมให้นักเรียนมีทัศนคติท่ี
ถูกต้อง (2) การศึกษาต้องมงุ่ สรา้ งพนื้ ฐานชวี ิตหรืออปุ นิสยั ทม่ี น่ั คงเข้มแขง็ อาทิ การสร้างบุคลิกและอุปนิสัยท่ีดีงาม
(Character Education)”
2. สืบสานพระราชปณิธานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่
ทรงมแี นวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ เกี่ยวกับนกั เรยี น ครู และการศกึ ษา
1) นักเรยี น
“ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีน้าใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพ่ือนท่ีเรียนล้าหลัง มิใช่สอนให้เด็ก
คิดแตจ่ ะแข่งขัน (Compete) กับเพื่อน เพ่ือให้คนเก่งได้ลาดับดี ๆ เช่น สอบได้ที่หน่ึงของช้ันแต่ต้องให้เด็กแข่งขัน
กบั ตนเอง ” (11 มิ.ย.2555)
“ครูไม่จาเป็นต้องมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลูกฝังความดีให้นักเรียน ช้ันต้น ต้อง
อบรมบ่มนสิ ยั ให้เปน็ พลเมอื งดี เด็กโตก็ต้องทาเชน่ กนั ” (6 ม.ิ ย.2555)
“เราต้องฝึกหัดให้นักเรียนรู้จักทางานร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะมากข้ึน จะได้มีความสามัคคี
รูจ้ กั ดูแลช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกัน เออื้ เฟอื้ เผอ่ื แผค่ วามรู้และประสบการณ์แก่กนั ” (5 ก.ค.2555)
“ทาเปน็ ตัวอย่างให้นกั เรยี นเป็นคนดี นกั เรยี นรักครู ครูรกั นักเรยี น” (9 ก.ค.2555)
2) ครู
เรื่องครูมีความสาคัญไม่น้อยกว่านักเรียน ปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะจานวน ไม่พอ และ
ครูย้ายบ่อย ดังน้ัน ก่อนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ให้พร้อมที่จะสอนเด็กให้ได้ผลตามต้องการ จึง
จะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องต้ังฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม และปลูกจิตสานึกโดยให้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง วิธกี ารคอื การใหท้ นุ และอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทางวิชาการในสาขาท่ีเหมาะสมที่จะสอน
ต้องอบรมวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็นครูที่แท้จริง คือ มีความรักความเมตตาต่อเด็ก ควรเป็นครู
ทอ้ งท่ี เพื่อจะได้มีความผกู พนั และคิดทีจ่ ะพฒั นาทอ้ งถ่นิ ท่เี กิดของตน ไม่คดิ ยา้ ยไป ยา้ ยมา” (11 มิ.ย.2555)
“ต้องปรบั ปรงุ ครู ครจู ะอายุ 40-50 ปี ก็ต้องเรียนใหม่ ต้องปฏวิ ตั ิครอู ย่างจรงิ จัง” (6 ม.ิ ย.2555)
“ปัญหาปัจจุบัน คือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์ เขียนตาราส่งผู้บริหารเพ่ือให้ได้ตาแหน่งและ
เงินเดือนสูงข้ึน แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูท่ีมุ่งการสอนหนังสือกลับไม่ได้อะไรตอบแทน ระบบไม่ยุติธรรม
เราต้องเปลี่ยนระเบยี บตรงจดุ นี้ การสอนหนงั สือต้องถือวา่ เป็นความดีความชอบ หากคนใดสอนดี ซ่ึงส่วนมากคือมี
คุณภาพและปริมาณ ตอ้ งมี reward” (5 ก.ค.2555)
“ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมด แต่เก็บไว้บางส่วน หากนักเรียนต้องการรู้ทั้งหมด
วิชา กต็ อ้ งเสยี เงนิ ไปสมคั รเรยี นพเิ ศษกบั ครเู ท่านน้ั จะเปน็ การสอนในโรงเรยี นหรือสว่ นตัวกต็ าม” (5 ก.ค.2555)
แผนปฏิบตั ิการประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 21
21 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
6. ยุทธศาสตรป์ ฏิรูปการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2558-2563)
ยุทธศาสตร์ระยะเร่งด่วน ของคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
(ซุปเปอร์บอร์ดการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 มีนาคม 2558 ) มีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลการศึกษา โดยมี
เปูาหมาย 6 ประการ ไดแ้ ก่
1. เด็กจบ ป.1 ต้องอ่านออกเขยี นได้ และต้องมกี ารประเมินผลทเี่ ปน็ รปู ธรรม
2. การจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเสริมทักษะอาชีพเด็กชนั้ ม.1-6 ต้องเลอื กเรยี นวิชาเสรมิ เปน็ สาขา
วชิ าชีพ เพ่ือการวางแผนอาชพี ในอนาคตได้
3. การพฒั นาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
4. การปฏิบัติตามคา่ นิยม 12 ประการ
5. การขยายผลการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนประวตั ิศาสตร์และหนา้ ท่ีพลเมอื ง
6. ผลิตครทู ่มี คี วามเข้มข้น อาทิ ครุ ทุ ายาททมี่ คี วามสามารถตอบรับการสอนของเด็กไดอ้ ย่างแท้จรงิ
ยุทธศาสตร์ท่ีต้องดาํ เนินการตลอดยุทธศาสตร์ จนถงึ พ.ศ.2563
1. ยุทธศาสตร์ปฏิรปู การเรยี นการสอน
1. ปฏิรูปหลกั สตู ร ตารา หนงั สอื เรยี น
2. ปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้
3. ปฏริ ปู สือ่ เทคโนโลยี นวตั กรรม และแหล่งเรยี นรูเ้ พือ่ การศกึ ษา
4. ปฏริ ปู การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
5. ปฏิรูปการนิเทศเพ่อื พัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน
2. ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการพฒั นาวิชาชพี
1. ปฏิรปู ระบบการสรรหา
2. ปฏริ ูประบบความก้าวหน้าทางวิชาชพี
3. ปฏิรปู ระบบการพฒั นาครู
4. ปฏิรปู การตอบแทนการปฏบิ ัติงานและการเสรมิ สรา้ งขวัญกาลังใจ
3. ยุทธศาสตรป์ ฏิรปู ระบบการบริหารจดั การ
1. ปฏิรปู วัฒนธรรมใหม่ของสถานศกึ ษา
2. ปฏิรปู ระบบวางแผน
3. ปฏริ ปู ระบบงบประมาณ
4. ปฏิรปู โครงสร้างอานาจหนา้ ที่
5. ปฏิรูประบบการนิเทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
6. ปฏิรูปโอกาสและคณุ ภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 22
22 แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
7. นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.2562
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มีภารกจิ หลกั ในการจัดและส่งเสริมการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้
กาหนดนโยบายเพ่ือพัฒนาการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไปในทิศทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560-2579 และยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ประกอบดว้ ย นโยบาย วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปาู หมายและยทุ ธศาสตร์ ดังนี้
นโยบายท่ี 1 จดั การศึกษาเพื่อความม่ันคง
นโยบายที่ 2 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน
นโยบายที่ 3 พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
นโยบายที่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มคี ุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลอื่ มลา้
ทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี 5 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การ
วิสยั ทัศน์
สร้างคุณภาพทุนมนษุ ย์ สู่สงั คมอนาคตท่ีย่งั ยืน
พนั ธกจิ
1. จดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างความมัน่ คงของสถาบันหลกั ของชาติ และการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
2. พฒั นาศักยภาพผู้เรียนเพอื่ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั โดยพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นให้มี ความรู้
ทักษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทักษะวิชาชพี คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21
3. สง่ เสริมการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชพี
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมลา้ ใหผ้ ู้เรียนทกุ คนได้รับบรกิ ารทางการศกึ ษาอย่างทว่ั ถึง
และเท่าเทยี ม
5. สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ยดึ หลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และเปาู หมายโลกเพื่อการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน (SDGs)
6. พัฒนาระบบบริหารจดั การแบบบรู ณาการ และสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
เป้าหมาย
1. ผ้เู รียน เปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ คิดริเร่ิมและสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและคุณลักษณะ
ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และปรับตัวเป็น
พลเมอื งและพลโลกที่ดี
2. ผู้เรยี นท่มี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ กลมุ่ ชาติพันธ์ุ กล่มุ ผดู้ ้อยโอกาส และกลุม่ ท่ีอยใู่ นพ้ืนทีห่ า่ งไกล
ทุรกันดารได้รับการศกึ ษาอยา่ งท่ัวถงึ เทา่ เทียม และมคี ณุ ภาพ พร้อมก้าวสสู่ ากล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. ครู เปน็ ผ้เู รียนรู้ มีจติ วญิ ญาณความเป็นครู มีความแมน่ ยาทางวิชาการ และมีทักษะการจัดการ
เรียนรทู้ ่ีหลากหลายตอบสนองผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล เปน็ ผู้สร้างสรรคน์ วัตกรรม และทักษะในการใช้เทคโนโลยี
แผนปฏิบัตกิ ารประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 23
23 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นา
ทางวชิ าการ มีสานกึ ความรบั ผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบร่วมมอื
5. สถานศกึ ษา มีความเป็นอสิ ระในการบริหารงานและจดั การเรียนรู้ รว่ มมือกับชมุ ชน ภาคเอกชน
และผ้เู ก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษาระดบั พื้นที่ จดั สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นเพื่อการเรียนรู้ในทกุ มิติ เป็นโรงเรยี น
นวตั กรรม
6. สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา มกี ารบริหารงานเชิงบูรณาการ เป็นสานักงานแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ใช้
ข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคล่ือนคุณภาพ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลอย่าง
เป็นระบบ
7. สานักงานส่วนกลาง ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการบริหารงานและการ
จัดการศึกษาให้สถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการ มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ กากับ ติดตาม
ประเมนิ ผล และการรายงานผลอยา่ งเป็นระบบ ใชว้ ิจยั และนวตั กรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพ
ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ศึกษากรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษา
แห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับกระทรวง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัด และ
นโยบายสาคญั ทกุ ระดับ รวมทงั้ ไดว้ เิ คราะห์บริบทด้านจัดการศึกษาของพ้ืนที่ โดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ได้
กาหนดทิศทางการจดั การศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ดังนี้
วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
“การจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มคี ุณภาพ โดย
ยดึ หลักธรรมาภิบาล และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทย”
พนั ธกจิ (Mission)
1. จดั กระบวนการเรียนรู้เพ่ือเสริมสรา้ งความมน่ั คง ของสถาบันหลกั ของชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
2. พัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนเพอื่ เพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน โดยพฒั นาดา้ นความรู้ ทกั ษะวิชาการ
ทักษะชวี ติ ทักษะวิชาชีพ และทักษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3. ส่งเสริม สนบั สนนุ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มืออาชพี
4. สรา้ งโอกาส ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ผเู้ รียนไดร้ ับบรกิ ารทางการศึกษาท่วั ถงึ เสมอภาค และเท่าเทียม
5. ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ท่เี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
6. พัฒนาระบบการบริหารจดั การแบบบรู ณาการท่ีมุ่งผลสมั ฤทธิ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมทุกภาคสว่ นให้มีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 24
24 แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
เป้าประสงค์ (Goals)
1. ผเู้ รียนมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมนั่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี
พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ เปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ และ
จติ สาธารณะ ปอู งกนั ตนเองจากภยั คุกคาม และปญั หายาเสพติดได้
2. ผูเ้ รียนไดร้ ับการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างมีคุณภาพ มที ักษะท่จี าเปน็ ใน
ศตวรรษท่ี 21 เป็นเลิศด้านวิชาการ มีทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ทกั ษะชีวิต และทกั ษะอาชีพตามความ
ต้องการและความถนัด
3. ผู้เรียนทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ มีพัฒนาการตามศักยภาพตามแผนการจดั การศึกษารายบคุ คล
มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชอ่ื มตอ่ (Transitional Services) หรอื การสง่ ต่อ (Referral) สู่การศกึ ษา
ในระดบั เดยี วกันหรือสูงขน้ึ หรอื การอาชพี ตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
4. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาอนื่ มที ักษะทเี่ หมาะสม ทางานม่งุ เน้น
ผลสมั ฤทธิ์ และมีจรรยาบรรณของวชิ าชพี
5. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ท่มี คี ณุ ภาพ ทั่วถงึ และเป็นธรรม
6. สถานศึกษาจดั หลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ และกระบวนการเรียนรู้ เพอื่ เสริมสร้าง
คณุ ภาพชีวติ เปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม ผ้เู รียนมจี ติ สานกึ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม นอ้ มนาหลกั ธรรมาภบิ าลส่กู ารปฏบิ ัติ
7. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา และสถานศึกษาบรหิ ารจดั การได้อยา่ งมคี ุณภาพ โดยยดึ หลกั
ธรรมาภบิ าลและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ แนวทาง ตวั ช้วี ดั ความสําเร็จ
จากวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปาู ประสงค์ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ได้กาหนดกลยทุ ธ์ แนวทาง ตัวชี้วัดความสาเร็จ ดงั น้ี
กลยทุ ธ์ท่ี 1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คง
กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขัน และทกั ษะ
การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มสี มรรถนะตามมาตรฐาน
วชิ าชพี มศี ักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
กลยุทธ์ท่ี 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลด
ความเหล่อื มลา้ ทางการศึกษา
กลยทุ ธท์ ี่ 5 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล และส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม
ในการจัดการศึกษา
คา่ นยิ มองค์กร
รักองคก์ าร ประสานความร่วมมือ ยดึ ถือคณุ ธรรม กา้ วนาสูส่ ากล
ผลผลติ
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 มกี ารดาเนินงาน 2 ผลผลติ คอื
1. ผ้จู บการศกึ ษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา
2. ผจู้ บการศกึ ษาภาคบังคบั
แผนปฏิบัติการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 25
25 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ซงึ่ มีสถานศึกษาเป็นหน่วยปฏบิ ัตกิ ารจดั การศึกษา จานวน 132 แหง่ เพ่อื ให้ภารกจิ ดังกล่าว สามารถ
ตอบสนองสภาพปัญหา และรองรบั การขับเคลื่อนนโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และนโยบายสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพื่อความม่นั คง
แนวทาง
1.1) ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้สถานศึกษาปรับปรงุ หลกั สตู ร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม
และจัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้ผ้เู รยี นแสดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มที ศั นคตทิ ีด่ ตี ่อบา้ นเมือง มีหลกั คิดท่ีถกู ต้อง เปน็ พลเมือง
ดขี องชาติ และพลเมอื งโลกท่ีดี มคี ุณธรรม จริยธรรม
1.2) สง่ เสริม สนับสนุน ใหส้ ถานศกึ ษาน้อมนาํ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ
ในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปบรู ณาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นา
ผเู้ รียนให้มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามทก่ี ําหนด
ตวั ชี้วัดความสําเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรยี นมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
2. รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รียนมีพฤติกรรมทแี่ สดงออกถึงการมีทัศนคติทีด่ ตี ่อบ้านเมอื ง มหี ลกั คิด
ทถ่ี ูกต้อง เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาปรับปรุงหลักสูตร จัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ให้ผู้เรียน แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาล
ที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
กลยุทธท์ ี่ 2 พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และมีทกั ษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
2.1) ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ให้เอื้อตอ่ การพัฒนาสมรรถนะ
ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล มีทักษะท่ีจาํ เปน็ ในศตวรรษที่ 21 นาํ ไปสู่การจัดการศกึ ษาเพอ่ื การมีงานทาํ
(Career Education)
แนวทาง
1. พัฒนาหลกั สูตรระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ใหส้ อดคล้องกบั ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี
21 โดยเน้นการพฒั นาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีความเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ มีทักษะชวี ติ และทกั ษะ
อาชีพตามความต้องการ และมีทักษะชวี ติ ในการปูองกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่
แผนปฏิบัติการประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 26
26 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
2. ปรับปรุงหลกั สูตรปฐมวัยเพอ่ื ใหเ้ ด็กได้รบั การพัฒนา ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกบั ทกั ษะการ
เรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา และปรับเปลีย่ นการจดั การเรยี นรู้
ให้ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผูเ้ รยี นและบริบทของพืน้ ที่
4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษา จดั ทาแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล หรอื แผนการ
ใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลือเฉพาะครอบครัว ซงึ่ จดั ทาข้นึ บนพ้นื ฐานความตอ้ งการจาเปน็ เฉพาะของผเู้ รยี นท่มี คี วามตอ้ งการ
จาเปน็ พิเศษ หรือความสามารถพิเศษ
ตัวช้ีวดั ความสําเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาพัฒนาหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ใหส้ อดคล้องกบั ทักษะ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล มคี วามเป็นเลิศทางดา้ นวิชาการ มี
ทักษะชีวติ และทักษะอาชีพตามความต้องการ และมีทักษะในการปูองกันตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม่
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั ความต้องการ
ของผู้เรียนและพ้นื ที่
2.2) พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี น ให้มีทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 มคี วามเปน็ เลศิ ดา้ น
วชิ าการ นาํ ไปสู่การสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
แนวทาง
1. พฒั นาผเู้ รียนระดับปฐมวัยให้มคี วามพร้อมด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา เพ่อื ที่จะ
เขา้ รบั การพัฒนาการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้นึ
2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมท้ังในและนอกหอ้ งเรยี น ให้เอือ้ ต่อการ
พฒั นาการเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัย
3. สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจดั การเรยี นร้รู ะดับปฐมวัย ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย
4. ส่งเสรมิ การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแมผ่ ูป้ กครอง เก่ยี วกบั การเล้ียงดูเด็กปฐมวยั ที่
ถกู ต้องตามหลักจิตวิทยาพัฒนาการ
5. จัดใหม้ ีโรงเรยี นตน้ แบบการจดั การศึกษาปฐมวยั ใหส้ ามารถพฒั นาเดก็ ก่อนประถมใหม้ ี
พัฒนาการความพร้อม เพื่อเตรยี มตัวไปสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
6. พฒั นาผู้เรียนสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะท่จี าเป็น 3 ด้าน
1) การร้เู ร่ืองการอ่าน (Reading Literacy)
2) การรเู้ รื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
3) การรู้เรื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
7. พฒั นาผเู้ รียนให้มสี มรรถนะด้านดิจิทัล (Digital Competence) และสมรรถนะด้านการ
สอื่ สารภาษาองั กฤษ และภาษาที่ 3
8. มคี วามรู้ และทักษะในการปูองกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่
9. สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรทู้ ี่ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรผู้ า่ นกิจกรรมการปฏบิ ตั ิ
จริง (Active Learning)
10. สง่ เสริม สนับสนนุ สถานศกึ ษาท่มี ีการจดั การเรยี นรูใ้ หผ้ เู้ รียนในลกั ษณะของ STEM ศกึ ษา
11. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษาจดั การเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขน้ั ตอน หรอื บนั ได 5 ข้ัน
(IS: Independent Study)
แผนปฏบิ ัติการประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 27
27 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
12. ส่งเสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมุ่งเน้นการใช้ฐานความร้แู ละระบบ
ความคิดในลักษณะสหวทิ ยาการ เช่น
1. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการต้ังคาถาม
2. ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. ความรู้ทางวศิ วกรรม และการคดิ เพ่อื หาทางแก้ปัญหา
4. ความร้แู ละทักษะในดา้ นศิลปะ
5. ความรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์ และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสมั พันธ์
13. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการประเมิน PISA ด้วย
ระบบการสอบ แบบ Online ให้กบั ผู้เรยี นทุกคนตั้งแตร่ ะดับช้นั ประถมศกึ ษาตอนปลาย จนถงึ มัธยมศึกษาตอนตน้
14. ส่งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในทางการประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหาตามแนวทางการ
ประเมนิ PISA ให้แกศ่ ึกษานเิ ทศก์และครผู สู้ อน
15. ให้บรกิ ารเคร่อื งมือการวดั และประเมินองิ สมรรถนะ ตามแนวทางการประเมนิ ผลผูเ้ รยี น
รว่ มกับนานาชาติ (PISA) ดว้ ยระบบ Online Testing
16. สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาจดั หลกั สตู รและแผนการเรยี นนาไปสู่ความเป็นเลศิ ในแตล่ ะด้าน
17. ส่งเสรมิ ผูเ้ รยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษ ด้านศิลปะดนตรีและกีฬา โดยจัดเป็นห้องเรียนเฉพาะ
ด้าน และจดั กิจกรรมทีห่ ลากหลาย
18. พฒั นาศักยภาพของผ้เู รียนตามความถนดั และเปน็ นวัตกร ผสู้ รา้ งนวัตกรรม
ตัวช้วี ดั ความสําเรจ็ ด้านผู้เรยี น
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดบั ปฐมวัย ไดร้ ับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา และมีความพร้อมที่จะเขา้ รบั การศึกษาในระดบั ทีส่ งู ขนึ้
2. ร้อยละ100ของผเู้ รียนระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานไดร้ ับการพฒั นาร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์
สังคม และสตปิ ัญญา มีพัฒนาการทีด่ รี อบด้าน
3. ร้อยละ 100 ของผเู้ รียนอ่านออกเขียนได้ คดิ เลขเปน็ และมนี ิสัยรักการอา่ น
4. ร้อยละ 70 ของผู้เรยี นมีทักษะการคิดวเิ คราะห์ คิดแกป้ ัญหา คิดสร้างสรรค์ ผ่านกจิ กรรมการ
ปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning )
5. ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นทีผ่ ่านการประเมินสมรรถนะทจ่ี าเปน็ ดา้ นการรูเ้ รอ่ื งการอ่าน (Reading
Literacy)
6. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ รียนท่ผี ่านการประเมนิ สมรรถนะท่จี าเปน็ ดา้ นการรู้เรอ่ื งคณิตศาสตร์
(Mathematical Literacy)
7. รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียนที่ผา่ นการประเมินสมรรถนะทจ่ี าเป็น ดา้ นการรู้เรือ่ งวทิ ยาศาสตร์
(Scientific Literacy)
8. ร้อยละ 80 ของผ้เู รียนทม่ี ที ักษะสือ่ สารองั กฤษ และสื่อสารภาษาท่ี 3 ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
9. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รียนที่มีทักษะดา้ น Digital Literacy ในการเรยี นรู้ไดอ้ ย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ
10. ร้อยละ 100 ของผเู้ รียนที่มีความรู้ และทักษะในการปูองกนั ตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบ
ใหม่
11. รอ้ ยละ 60 ของผเู้ รียนท่มี คี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน
(O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพิ่มขน้ึ จากปีการศึกษาท่ีผา่ นมา
แผนปฏิบัติการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 28
28 แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
12. รอ้ ยละ 60 ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีสมรรถนะการเรียนรูเ้ รอ่ื งการอ่านต้ังแต่
ระดบั ขน้ั พืน้ ฐานข้ึนไป (ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมิน PISA
13. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ รยี นท้ังหมด ได้รับการประเมนิ ทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหาตามแนวทางการ
ประเมิน PISA
ตวั ช้วี ดั ความสําเร็จด้านสถานศึกษา
1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรยี นรทู้ ีใ่ ห้ผู้เรียนไดเ้ รียนรูผ้ ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ
(Active Learning)
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รยี นในลกั ษณะของSTEM ศึกษา
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน หรือบันได 5 ขั้น
(IS: Independent Study)
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ และบรรยากาศส่งิ แวดล้อม ท่สี ่งเสริมสนับสนุน
ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละฝึกทกั ษะด้านภาษาองั กฤษและภาษาท่ี 3 ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2.3) พัฒนาผู้เรียนใหม้ ที ักษะอาชีพและทกั ษะชีวิต มีสุขภาวะท่ดี ีสามารถดํารงชวี ิตอยูใ่ น
สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
แนวทาง
1. สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษา เพอ่ื ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ องิ สมรรถนะ
และเตรียมความพร้อมส่กู ารประกอบสัมมาอาชีพ
2. พฒั นารายวชิ าท่สี ง่ เสริมการศึกษาต่อและการประกอบอาชพี
3. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาจดั การเรียนรแู้ ก่ผเู้ รียนตามความสนใจ ในทักษะอาชีพที่
ตนเองถนัด เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ
4. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานของอนามัย
5. ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional
Learning : SEL) ในทกุ ช่วงวัย
6. สถานศกึ ษามีระบบการปูองกนั และแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา
ตัวชว้ี ัดความสําเร็จ
1. รอ้ ยละ100 ของผเู้ รยี น มี ID plan และ Portfolio เพอ่ื การศกึ ษาต่อและการประกอบ
อาชีพ
2. รอ้ ยละ100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ และบรรยากาศสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี อ้ือตอ่ การพฒั นา
ทกั ษะอาชีพตามความถนัด
3. รอ้ ยละ100 ของผเู้ รยี นทมี่ สี ุขภาวะท่ีดที ุกช่วงวัย
4. รอ้ ยละ100 ของสถานศึกษาท่มี ีระบบปอู งกันและแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา
2.4) การจดั การศกึ ษาเพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายโลกเพ่ือการพฒั นาอย่างย่ังยืน (SDGs)
เพื่อสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 29
29 แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
แนวทาง
1. สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจัดการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษาจดั การศึกษาตามเปูาหมายโลก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(Global Goals for Sustainable Development)
3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาและหน่วยงานทกุ สงั กดั จดั ส่ิงแวดล้อม สังคม และ
เศรษฐกิจใหส้ อดคล้องกบั หลัก Zero waste และมาตรฐานสง่ิ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน(Environmental
Education Sustainable Development: EESD)
4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมการอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อม และการประยุกต์ใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเน่ือง
ตวั ชี้วัดความสาํ เร็จ
1. รอ้ ยละ 100 ของผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมแสดงออกถึงการดาเนนิ ชีวิตท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
และการประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรฐาน สง่ิ แวดล้อม
สังคม และเศรษฐกจิ เพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืน (Environmental Education Sustainable Development: EESD)
3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อใหบ้ รรลุเปาู หมายโลก เพ่อื การพฒั นาอย่าง
ยง่ั ยืน (Global Goals for Sustainable Development)
2.5) พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นท่มี คี วามตอ้ งการจําเปน็ พิเศษ
แนวทาง
1. สง่ เสรมิ สนับสนุนและพัฒนาการจัดการศึกษาสาหรบั ผเู้ รยี นทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
ด้วยระบบและรูปแบบท่ีหลากหลาย
2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาในโรงเรยี นเรยี นรวม
3. ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอา่ น การเขียน การส่อื สาร การคิดคานวณ
การคดิ วเิ คราะห์ และการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
5. สง่ เสรมิ สนับสนุน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทกั ษะการดารงชีวติ
ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จิตสาธารณะและการดารงชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
6. ส่งเสริม สนับสนุน การใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารอย่างถูกต้อง เหมาะสม
และสรา้ งสรรค์
7. สง่ เสริม สนับสนุน เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใด
ทางการศึกษา
8. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ที่มีความสามารถพิเศษในด้าน
วชิ าการ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะ และอ่นื ๆ เพ่ือยกระดับส่คู วามเปน็ เลศิ
9. ส่งเสรมิ สนับสนุนการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
10. จัดให้มีระบบการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชิงบรู ณาการ
11. ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดทา รวบรวม ผลิต พัฒนา และเผยแพร่
สื่อ นวตั กรรม งานวจิ ัยทางการศึกษา
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 30
30 แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
12. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีแนวทางปฏิบัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัยของ สถานศึกษา
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
13. ส่งเสริม สนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพและกลุ่มสถานศึกษา ขับเคล่ือนการจัด
การศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพ
14. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองในพื้นที่
พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นและระบบแนะแนวใหม้ ีประสิทธภิ าพ
15. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดสภาพแวดลอ้ มและแหลง่ เรยี นรูใ้ หเ้ อ้ือตอ่ การจดั การศึกษา
ตัวช้ีวดั ความสําเรจ็
1. ร้อยละ 80 ของผ้เู รียนท่ีมคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐานของแต่ละระดับ
2. ร้อยละ 100 ของผู้เรยี นท่มี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ได้รับการพัฒนาดา้ นทักษะอาชีพ
ทกั ษะการดารงชวี ิต มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ติ สาธารณะ
3. ร้อยละ 100 ของผูเ้ รียนทมี่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รบั การสง่ เสริมให้มีความสามารถ
พเิ ศษด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศิลปะและเทคโนโลยี เป็นต้น
2.6) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษา นํา Digital Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-
Based Society) เพอื่ การเรียนร้อู ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต
แนวทาง
1. พัฒนาระบบคลังข้อมูล องค์ความรู้ เพ่ือให้บริการ Digital Textbook ตามเน้ือหาหลักสูตรที่
กาหนด สื่อ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ และให้บริการแก่ผู้เรียนให้การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตลอดชีวติ
2. พัฒนา Digital Platform เพ่ือตอบสนองต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
3. สถานศกึ ษาสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นเรยี นรู้ด้วยตนเองผา่ น Digital Platform
ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จ
1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนทเี่ รียนร้ผู า่ น Digital Platform
2. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษาทีจ่ ดั การเรยี นรู้ เพื่อให้พฒั นาตนเองผา่ น Digital Platform
กลยทุ ธท์ ี่ 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐาน
วชิ าชีพ มีศกั ยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
3.1) พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน
วชิ าชีพ มศี กั ยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม
แนวทาง
1. ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเอง (Need Assessment) ของผู้บริหาร ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อวางแผนการพฒั นาอย่างเปน็ ระบบและครบวงจร
2. กาหนดกรอบและวเิ คราะห์หลักสูตร เพื่อพฒั นาผ้บู ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้
เชอ่ื มโยงกับความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพ (Career Path)
3. สนับสนุนให้ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเข้ารบั การพัฒนาตามหลักสตู รท่ี
กาหนดที่เชื่อมโยงความก้าวหน้าในวิชาชพี (Career Path)
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 31
31 แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
4. สง่ เสริมและพฒั นาบุคลากรในรปู แบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning
Community: PLC)
5. ส่งเสรมิ และพัฒนาครูให้ออกแบบการเรียนรู้ การจดั การเรยี นรู้ ให้สอดคล้องกับการวดั
ประเมินผล ทเี่ นน้ ทักษะการคิดขั้นสงู (Higher Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning)
6. ส่งเสริมและพัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหม้ ีความรู้ทกั ษะ
ด้าน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทกั ษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษ ทักษะส่ือสารภาษาท่ี 3
7. ส่งเสริมพฒั นาและยกระดบั ความรู้ภาษาอังกฤษของครทู ่ีสอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดับการ
พัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ี่กาหนด
8. ส่งเสรมิ และพฒั นาครูใหม้ ีความรู้และทักษะในการจดั การเรยี นรู้ สาหรบั ผู้เรยี นทม่ี ีความ
แตกตา่ ง (Differentiated Instruction)
9. ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้ และทักษะในการสร้างเครื่องมือการวัด และประเมินผล
การเรียนร้ดู า้ นทักษะการคดิ ข้ันสูง (Higher Order Thinking)
10. สง่ เสรมิ และพัฒนาครแู ละผ้บู รหิ ารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหม้ คี วามรู้
ความสามารถจัดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และการสอนแบบคละชน้ั
11. สง่ เสรมิ และพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ สาหรับผเู้ รียนท่มี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ตาม
ศกั ยภาพของผู้เรียนแตล่ ะบุคคล
12. สง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ รูพฒั นาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training
13. ปรบั เปลยี่ นกระบวนการ วธิ ีการประเมนิ ครู โดยเนน้ การประเมินสมรรถนะ ในการจัดการ
เรียนการสอนโดยผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นหลัก และประเมินจรรยาบรรณ ของครูทกุ ๆ 5 ปี (ประเมิน 360 องศา)
ตวั ช้วี ดั ความสําเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศักยภาพในการ
ปฏิบัติงานครบตามความจาเป็น ในการจัดการเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2. ร้อยละ 100 ของผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา การจดั การเรยี นรู้ และการวัดประเมนิ ผลอยา่ งมีคณุ ภาพในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ตามศักยภาพของ
ผูเ้ รยี นแต่ละบคุ คล
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีแผนความตอ้ งการครูระยะ 20 ปี
4. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา มีกรอบสมรรถนะครูที่สอดคล้องกบั การพัฒนาในศตวรรษ
ท่ี 21 และสอดคล้องกบั บริบทของพืน้ ท่ี
5. ร้อยละ 80 ของสถานศกึ ษามีจานวนครูอยา่ งเหมาะสม และพอเพียงต่อการพฒั นาคุณภาพ
ของผ้เู รยี น
3.2) นาํ Digital Technology มาใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทาง
การศกึ ษาทุกประเภทท้ังระบบ
แนวทาง
1. พัฒนา Digital Platform เพือ่ ใชใ้ นการพัฒนาผ้บู ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุก
ประเภททง้ั ระบบ
2. พัฒนา Digital Platform ระบบบริหารจัดการผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุก
ประเภททง้ั ระบบ
แผนปฏบิ ัติการประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 32
32 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
3. พัฒนา Digital Content ในองคค์ วามรู้การจดั การศกึ ษาในสาขาทข่ี าดแคลน เช่น
การพฒั นาทกั ษะการคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ และผเู้ รยี นท่ีมีความ
แตกตา่ ง เปน็ ตน้
4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท พฒั นาตนเอง
อยา่ งต่อเนือ่ งผา่ นระบบ Digital Technology
ตวั ชี้วดั ความสําเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา และเขตพนื้ ที่การศึกษา มรี ะบบฐานข้อมลู ผบู้ รหิ าร ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา เพือ่ วางแผนการพัฒนาครูทง้ั ระบบ
2. รอ้ ยละ 100 ของบุคลากรในสงั กัดทพี่ ฒั นาตนเองผา่ นระบบ Digital Technology
3. รอ้ ยละ 100 ของ Digital Content เกย่ี วกับองค์ความรใู้ นสาขาทขี่ าดแคลน
กลยทุ ธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลด
ความเหล่อื มลํา้ ทางการศึกษา
4.1) รว่ มมือกับองคก์ รปกครองระดบั ทอ้ งถ่ิน ภาคเอกชน หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องในการ
จัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับบริบทของพืน้ ที่
แนวทาง
1. สถานศึกษาร่วมกับองคก์ รปกครองระดบั พ้นื ท่ี ภาคเอกชน และหน่วยงาน
ทีเ่ กี่ยวข้อง วางแผนการจัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับบริบทของพนื้ ที่
2. สถานศึกษารว่ มกับองค์กรปกครองระดบั พน้ื ท่ี จัดทาสามะโนประชากรวัยเรยี น (0-6 ปี)
3. สถานศึกษาร่วมมือกบั องค์กรปกครอง ชมุ ชน เอกชน และหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องระดับ
พ้ืนที่ จดั ทาแผนการนกั เรียนทุกระดับ
4. สถานศกึ ษารว่ มกับองค์กรปกครองระดับพน้ื ที่ ติดตาม ตรวจสอบ เดก็ วยั เรียนไดเ้ ข้าถงึ
การบรกิ ารการเรียนรู้ได้อย่างท่วั ถึง ครบถว้ น
5. สถานศึกษาจดั ทาฐานข้อมูลประชากรวยั เรียน เพื่อเกบ็ รวบรวม เชือ่ มโยงข้อมูล ศึกษา
วเิ คราะห์ เพื่อวางแผนการจดั การเรียนรู้แกผ่ ้เู รยี น
ตัวชี้วัดความสําเรจ็
1. รอ้ ยละ 100 ของเด็กวยั เรียนที่เขา้ รับการศึกษาในแตล่ ะระดบั การศึกษา
2. นกั เรยี นออกกลางคนั ไม่เกินร้อยละ 0.1
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาท่ีมีระบบการดูแลช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนและ
การแนะแนวท่มี ีประสทิ ธิภาพ
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน และสามารถนามาใช้
ในการวางแผนจดั การเรียนรูใ้ ห้แก่ผเู้ รยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
แผนปฏิบตั ิการประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 33
33 แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
4.2) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจดั การศึกษาสาํ หรับผเู้ รียนที่มีความต้องการจําเป็น
พเิ ศษ
แนวทาง
1. จัดทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของการจดั การศึกษาพเิ ศษ ที่เชอื่ มโยงกบั หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งทุก
ระดบั และนามาใช้อย่างมีประสิทธภิ าพ
2. สง่ เสริม สนับสนุนระบบการจดั การศึกษาพิเศษ ทผ่ี ้เู รียนสามารถเข้าสบู่ รกิ ารช่วง
เชื่อมต่อ (Transitional Services) หรอื การส่งต่อ (Referral) เข้าสูก่ ารศึกษาในระดับเดียวกันและทส่ี ูงขึ้น หรือ
การอาชีพ หรอื การดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คมได้ตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
3. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหท้ กุ สถานศกึ ษาในสังกัด มีความพรอ้ มทง้ั ระบบในการจัดการศึกษา
แบบเรยี นรวม
4. จดั ให้มีศึกษานิเทศกผ์ ้รู ับผิดชอบการจดั การศกึ ษาพิเศษ ในการติดตามชว่ ยเหลอื และสนับสนนุ
ให้สถานศกึ ษาดาเนนิ การจัดการศึกษาพิเศษไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
ตวั ช้วี ัดความสําเรจ็
1. มขี ้อมลู สารสนเทศของการจดั การศึกษาพิเศษ ทีเ่ ชอ่ื มโยงกับหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง
ทกุ ระดับ
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาในสังกดั มีความพรอ้ มทงั้ ระบบ เพื่อสามารถจดั การศกึ ษา
แบบเรยี นรวม
4.3) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษา หนว่ ยงานทกุ ระดบั นาํ Digital Technology มา
ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
แนวทาง
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษามีโครงข่ายสอ่ื สารโทรคมนาคมที่มปี ระสทิ ธภิ าพ และ
ปลอดภัย
2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามรี ะบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณท์ ใี่ ชเ้ ป็นเครื่องมือใน
พฒั นาทักษะด้าน Digital Literacy แก่ผู้เรยี น
3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาปรบั ปรงุ พัฒนาห้องเรียนให้เป็นห้องเรยี น Digital
4. สง่ เสริม สนบั สนนุ Digital Device สาหรับผู้เรียนทุกระดับอย่างเหมาะสม เพื่อเป็น
เคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรูข้ องตนเอง อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต
5. สง่ เสริม สนบั สนุน Digital Device และพัฒนา Digital Pedagogy สาหรับครูอยา่ ง
เหมาะสม เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการจัดกระบวนการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาผเู้ รียนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
6. โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning
Information Technology: DLIT)
7. โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ตัวชี้วดั ความสาํ เร็จ
1. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษามรี ะบบโครงขา่ ยส่ือสารโทรคมนาคม ที่สามารถเชอ่ื มตอ่ กับ
โครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 34
34 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามี Digital Device เพื่อใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการเรยี นรขู้ อง
ผเู้ รียน และเป็นเคร่อื งมือในการจัดการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการมี
ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
5.1) เพมิ่ ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของ สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
และสถานศึกษา
แนวทาง
1. กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือการบริหารจัดการท่ีมปี ระสิทธภิ าพ โดยยึด
หลักธรรมาภบิ าล
2. สง่ เสรมิ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง
3. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติสถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาและองคค์ ณะ บุคคลท่มี ี
ผลงานเชิงประจักษ์
4. กาหนดให้เขตพนื้ ที่และสถานศึกษา ใช้ระบบการบรหิ ารจดั การทีม่ งุ่ เน้นคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการทางาน ตามหลักการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั
(ITA: Integrity & Transparency Assessment)
ตวั ชว้ี ัดความสาํ เรจ็
1. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพมาตรฐานสานักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษา ระดบั ดมี ากข้ึนไป
2. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษามีผลการประเมินภายนอกในระดบั ดขี น้ึ ไป
3. สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ผา่ นการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งาน
ของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) ระดบั สงู มาก
5.2) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทกุ ภาคส่วนของสังคม เขา้ มามี
ส่วนรว่ มบรหิ ารจดั การศกึ ษา
แนวทาง
1. สง่ เสริม การมสี ว่ นร่วม จัดทาแผนบรู ณาการจัดการศึกษาในระดบั พืน้ ท่ี
2. สรา้ งความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครอื ข่าย เชน่ เครือขา่ ย
สง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้กลมุ่ โรงเรียน ฯลฯ
3. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสงั คม มีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการท่ี
ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพน้ื ท่ี
4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ผ้ปู กครอง ชมุ ชน สงั คม และสาธารณชน ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ
และมสี ่วนรว่ มรับผดิ ชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
ตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็
1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา และเขตพ้ืนที่การศึกษา มีการบริหารจัดการแบบมี
ส่วนร่วม
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 35
35 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
5.3) ยกระดับการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษาให้มอี สิ ระ นําไปส่กู ารกระจายอํานาจ
4 ด้าน ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ ศนู ย์กลางในการจัดการศึกษาตามบริบทของพ้นื ที่
แนวทาง
1. ยกระดับสถานศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เปน็ ศูนย์กลางในการพัฒนาทักษะ
และคณุ ภาพชีวติ ของชมุ ชน
2. สร้างความเข้มแขง็ และยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตามบริบทของพ้นื ท่ี เชน่
โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรียนนวัตกรรม โรงเรียนรว่ มพัฒนา โรงเรียนประชารัฐ โรงเรียนคณุ ธรรม โรงเรียน
หอ้ งเรยี นกีฬา ฯลฯ
3. นาผลการประกนั คุณภาพการศึกษา มาใชใ้ นการวางแผนการปฏิบตั กิ าร ตรวจสอบตดิ ตาม
เพอื่ การปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศึกษา ให้มีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
4. สร้างมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ
โรงเรยี นขนาดเลก็
5. ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นขนาดเล็กมีระบบการบรหิ ารจัดการทหี่ ลากหลาย เช่น การ
บริหารจดั การแบบกลุ่มโรงเรยี น การสอนแบบคละชน้ั
6. พจิ ารณาแต่งตัง้ ผบู้ ริหารท่ีมีศกั ยภาพในโรงเรยี นขนาดเล็ก พจิ ารณาคา่ ตอบแทนพิเศษและ
สวัสดิการอื่น ๆ สาหรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในโรงเรยี นขนาดเล็ก
7. สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงาน และจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาผู้เรียนให้ไดต้ าม
มาตรฐานคุณภาพผู้เรยี น สอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่น นาไปสู่การพฒั นาทักษะชวี ติ ทักษะอาชพี ของผ้เู รยี น
ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวช้วี ดั ความสําเร็จ
1. มีรปู แบบและแนวทางในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก ให้เกิดคุณภาพ
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศกึ ษาระดบั
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน/ปฐมวยั /ศูนย์การศึกษาพิเศษ)
3. จานวนโรงเรียนขนาดเล็กลดลง
4. รอ้ ยละ 60 ของผู้เรียนท่ีอยใู่ นโรงเรียนขนาดเล็ก มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ข้ึน
5.4) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศกึ ษานาํ Digital Technology มาใช้ในการเพ่ิม
ประสิทธภิ าพการบริหารอย่างเป็นระบบ นาํ ไปสูก่ ารนาํ เทคโนโลยี Big Data เพื่อเชอื่ มโยงข้อมูลดา้ นต่าง ๆ
ตงั้ แตข่ อ้ มลู ผเู้ รียน ข้อมูลครู ขอ้ มลู สถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอนื่ ๆ ที่จําเปน็ มาวเิ คราะห์
เพือ่ ใหส้ ถานศึกษา สามารถจดั การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาผูเ้ รียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด
แนวทาง
1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษยด์ ้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทส่ี ามารถเช่ือมโยง
และบูรณาการข้อมลู ดา้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษยร์ ะหวา่ งกระทรวง หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยการเชื่อมโยงข้อมลู
รายบุคคลที่เก่ียวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพในตลอดชว่ งชีวติ เปน็ ฐานข้อมูลการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทย ทม่ี ีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง และ
ศกั ยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสู่การตัดสนิ ใจระดับนโยบายและปฏิบตั ิ
2. พัฒนา Digital Platform ดา้ นการเรยี นรผู้ เู้ รยี น และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพื่อให้
สถานศึกษา และหน่วยงานในสงั กัดใชใ้ นการปฏิบัติงานตามภารกจิ
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 36
36 แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
3. พัฒนา Digital Platform ดา้ นการบรหิ ารงาน เพื่อสนองตอบตอ่ การปฏิบัติงานของบคุ ลากร
ตามภารกจิ ทร่ี บั ผิดชอบ นาไปส่กู ารพัฒนาฐานข้อมลู บุคลากร ทเี่ ชือ่ มโยงกันทง้ั ระบบ ตั้งแตก่ ารคัดสรร บรรจุ
แต่งตั้ง ตลอดจนเช่ือมโยงถงึ การพัฒนาครู เพื่อให้สอดคล้องกบั ความก้าวหน้าในอาชีพ
4. พัฒนา Digital Platform ระบบข้อมลู สารสนเทศของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลตั้งแต่ระดบั
ปฐมวัย จนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ท่สี ามารถเช่ือมโยงกับหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง นาไปสกู่ ารพฒั นาฐานข้อมลู
ประชากรด้านการศึกษาของประเทศ
5. พฒั นา Big Data เพ่ือเชื่อมโยง วิเคราะห์ข้อมลู ทุกมติ ิ นาไปสูก่ ารวางแผนการจดั การ
เรียนรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รยี นเป็นรายบุคคล
ตวั ชี้วัดความสาํ เร็จ
1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่สี ามารถใชใ้ นการวางแผนการจดั
การศกึ ษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษามีข้อมูลผเู้ รยี นรายบุคคลทส่ี ามารถเชอ่ื มโยงกบั ข้อมูลตา่ ง ๆ
นาไปสู่การวเิ คราะหเ์ พื่อวางแผนการจัดการเรยี นร้ใู หผ้ เู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้กําหนดจุดเน้น ตัวชี้วัด แนวทาง ตาม
แผนปฏิบตั ิการ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 6 จุดเนน้ ดังน้ี
1. โรงเรียนสะอาด
ตวั ชี้วดั รอ้ ยละ 80 ของโรงเรยี นมคี วามสะอาดเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม
แนวทางการดําเนินงาน
1. โรงเรียนปลอดขยะ
2. กจิ กรรม 5 ส.
3. กจิ กรรมตามหลกั สตู รและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร
4. การแสวงหาความรว่ มมือกับชมุ ชน
5. กิจกรรมอน่ื ๆ ที่ส่งผลให้บรรลุตามตวั ชว้ี ัด
2. ครูมืออาชพี
ตัวช้ีวดั
1. ร้อยละ 80 ของครจู ัดการเรียนร้ทู ่ยี ึดผูเ้ รียนเปน็ สาคญั
2. รอ้ ยละ 80 ของครตู รวจสอบและประเมินความรู้ ความเขา้ ใจของผเู้ รยี น อย่างเปน็ ระบบและ
มีประสทิ ธิภาพ
3. รอ้ ยละ 100 ของครปู ระพฤตปิ ฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
แนวทางการดาํ เนินงาน
1. การพฒั นาครูด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย
2. ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)
3. การนิเทศภายใน โดยผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ,ศกึ ษานเิ ทศก,์ คณะกรรมการ
4. การยกย่องเชดิ ชเู กียรติ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 37
37 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
3.นกั เรียนดี
ตวั ช้ีวดั
1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก ท่ีดี ไม่ขัดกับกฎหมายและ
วฒั นธรรมอนั ดีของสังคม
2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเป็น
รปู ธรรม
3. ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยและ
แสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิตประจาวัน
แนวทางการดําเนินงาน
1. โรงเรียนคณุ ธรรม
2. กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี
3. กจิ กรรมคา่ ยคณุ ธรรม จริยธรรม
4. กจิ กรรมคา่ ยรกั ษ์พงไพร
5. กระบวนการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสูตร
6. บวร หรือ บรม
7. คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
4.นักเรียนเกง่
ตวั ชี้วดั
1. รอ้ ยละ 100 ของนักเรยี นมคี วามสามารถในการอ่านและเขยี นได้เหมาะสมตามระดับช้นั
2. ร้อยละ 90 ของนักเรยี นมคี วามสามารถในดา้ นการส่อื สารภาษาไทยไดเ้ หมาะสมตามระดับชั้น
3. ร้อยละ 60 ของนักเรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้เหมาะสมตาม
ระดบั ชน้ั
4. รอ้ ยละ 90 ของนักเรียนมีความสามารถด้านการคดิ คานวณเหมาะสมตามระดบั ช้ัน
5. ร้อยละ 90 ของนักเรยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน
ความคดิ เหน็ แกป้ ัญหาและนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆได้อยา่ งเหมาะสม
6. ร้อยละ 90 ของผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่าง
เหมาะสม ปลอดภยั มีประสิทธิภาพ
7. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขึ้น
8. ค่าเฉลย่ี ผลการทดสอบระดบั ชาติของผ้เู รยี นมพี ัฒนาการสูงขนึ้ ร้อยละ 3
9. ร้อยละ 70 ของนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ เช่น กีฬา ศิลปะ ดนตรี ทักษะทางวิชาการ และ
ทกั ษะอาชพี ได้รบั การพัฒนา
10. ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ีด่ ี พรอ้ มทจ่ี ะศกึ ษาตอ่ ในระดบั ชัน้ ทีส่ งู ขนึ้
แนวทางการดําเนนิ งาน
1. การจัดการเรียนรู้ทมี่ คี ณุ ภาพ
2. การพัฒนาครูภาษาองั กฤษ
3. การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมรักการอา่ น
4. การจดั กจิ กรรมค่ายภาษาองั กฤษ
5. การจดั กจิ กรรมเสรมิ ทักษะวชิ าการและทักษะอาชีพ
แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 38
38 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
6. ค่ายทักษะชวี ติ กิจกรรมด้านกฬี า ศิลปะ ดนตรี
7. การศึกษาผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
8. การนิเทศภายใน
5.นักเรยี นมคี วามสขุ
ตัวชี้วัด
1. รอ้ ยละ 100 ของนักเรยี นยอมรบั เหตผุ ล ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน และมีมนษุ ยสัมพันธท์ ี่ดี
2. ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี
3. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนรแู้ ละมวี ิธกี ารปูองกันตนเองจากการล่อลวง ข่มเหงรังแกและยาเสพตดิ
แนวทางการดาํ เนินงาน
1. กจิ กรรมสง่ เสริมประชาธิปไตย
2. โรงเรยี นสุจรติ
3. เศรษฐกิจพอเพยี ง
6. ปฐมวยั
ตวั ช้ีวดั
- ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 3 - 6 ขวบ ได้รับการเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
สติปญั ญา และพร้อมเขา้ เรยี นในระดบั ท่ีสงู ขึ้น
แนวทางการดาํ เนนิ งาน
- การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดประสบการณ์ระดับการศึกษาปฐมวัย พัฒนาการเรียนรู้ด้านการ
ทางาน สงั คม อารมณ์ จติ ใจ สตปิ ัญญา และรา่ งกาย
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 39
39 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ส่วนที่ 3
รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ�ปีงบประมแาผณนปพฏ.ศบิ .ตั 2ิก5า6ร2ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 40
40
แผนการใชง้ บประมาณ และโครงการตามแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 กาหนดใหม้ แี ผนการใช้งบประมาณ
ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานจดั สรรใหเ้ พอื่ การปฏบิ ัติและพฒั นางานตามภารกจิ
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2562 วงเงนิ รวม 2,000,000 บาท ดังนี้
1. งบประมาณเพอื่ การบริหารจัดการ จานวน 1,324,600 บาท กาหนดรายละเอยี ด ดังน้ี
ที่ รายการ งบประมาณ หมายเหตุ
1 ค่าสาธารณูปโภค (ตุลาคม-ธนั วาคม 2561) 240,000 แผนงานพนื้ ฐานด้านการ
2 ค่าวัสด/ุ ค่าซ่อมครุภัณฑ/์ นา้ มันเชื้อเพลิง (ตุลาคม- 300,000 พฒั นาและเสริมสร้าง
ศักยภาพคน
ธนั วาคม 2561)
2.1 ค่านา้ มันเชื้อเพลิง 100,000 -ผลผลิตผู้จบการศึกษา
2.2 ค่าวัสดุ
2.3 ค่าถา่ ยเอกสาร 50,000 กอ่ นประถมศึกษา
2.4 ค่าซ่อมรถยนต์ 50,000 กิจกรรมการจัดการศึกษา
2.5 ค่าซ่อมครุภัณฑ์
3 โครงการจัดจา้ งเจ้าหน้าทรี่ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ 3 50,000 กอ่ นประถมศึกษา
เดือน (ตุลาคม-ธันวาคม 2561)
50,000
4 โครงการจดั จา้ งพนักงานขับรถยนต์ รร.ขนาดเล็ก 3
เดือน (ตุลาคม-ธันวาคม 2561) 59,250 -ผลผลิตผู้จบการศึกษา
การศึกษาภาคบงั คับ
5 โครงการจัดจ้างพนกั งานขบั รถยนต์ สพป.ตรัง เขต 1
3 เดือน (ตุลาคม-ธันวาคม 2561) 40,950 กจิ กรรมการจัดการศึกษา
ประถมศึกษาโรงเรยี นปกติ
6 ค่าตอบแทนเพมิ่ เติมให้พนกั งานพมิ พด์ ีด สพป.ตรัง
เขต 1 3 เดือน (ตุลาคม-ธนั วาคม 2561) 31,500 กจิ กรรมการจัดการศึกษา
ประถมศึกษาโรงเรียนปกติ
7 ค่าตอบแทนเพม่ิ เติมใหน้ ักการภารโรง สพป.ตรัง เขต
1 3 เดือน (ตุลาคม-ธันวาคม 2561) 12,600 กิจกรรมรองรับการบรหิ าร
จัดการในเขตพนื้ ที่การศึกษา
8 ค่าตอบแทนเพมิ่ เติมให้แม่บ้าน สพป.ตรัง เขต 1 3
เดือน (ตุลาคม-ธนั วาคม 2561) 3,150 กิจกรรมการจดั การศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น สาหรบั
โรงเรยี นปกติ
3,150
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำ ป4งี1บประมาแณผนพป.ศฏ.บิ 2ตั 5ิก6า2ร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 41
ที่ รายการ งบประมาณ หมายเหตุ
9 ค่าเบยี้ เลี้ยง ทพี่ กั ค่าพาหนะในการเดินทางไปราชการ 150,000 -ใช้ในการดาเนนิ งาน
10 จดั ทาเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี 17,500 โครงการตามมติทปี่ ระชุม
11 จดั ทา VTR อา่ นออก เขียนได้ 10,000 คณะกรรมการพจิ ารณา
12 โครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายเร่งด่วน 456,500 งบดาเนินงาน คร้ังที่
1/2562 ดังนี้
1.อบรมให้ความรู้เกย่ี วกับ
การเล่ือนข้นั เงินเดือน
ขา้ ราชการครู
2.พฒั นาประสิทธภิ าพ
การบริหารจัดการศึกษา
ด้วยการตรวจสอบภายใน
3.กิจกรรมวันสาคัญ
รักษส์ ่ิงแวดล้อม ประเพณี
วัฒนธรรมไทย
4.พัฒนาภาษาอังกฤษ
5.ยาเสพติด
รวม 1,324,600
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปงี บประแมผานณปฏพบิ .ศัต.ิก2า5ร6ป2ระจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 42
42
2. งบประมาณเพื่อดาเนินงานโครงการตามกลยุทธ์ จานวน 675,400 บาท
กลยุทธ์ ช่ือโครงการ รวม ผู้รับผิดชอบ
18,050 กลุ่มนิเทศฯ
2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.ประเมินความสามารถด้านการอ่าน
16,800 กลุ่มนิเทศฯ
และส่งเสริมการจัดการศึกษา ของผู้เรียนชั้นป.1 ปีการศึกษา 2561
100,000 กลุ่มนิเทศฯ
เพื่อสร้างขีดความสามารถ 2. การทดสอบความสามารถพน้ื ฐาน
134,850
ในการแข่งขัน ของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นป.3 10,000 กลุ่มส่งเสริม
ปีการศึกษา 2561 การศึกษา
ทางไกลฯ
3. การจัดนิทรรศการงานมหกรรมความสามารถ
43,950 กลุ่มบรหิ ารงาน
ทางศิลปหัตถกรรม วิชาการและเทคโนโลยีของ บุคคล
นักเรียน ภาคใต้ ปี 2561 53,950
100,000 กลุ่มอานวยการ
รวมงบประมาณกลยุทธ์ที่ 2
3.พัฒนาผู้บริหาร ครูและ 4.อบรมเชิงปฏิบัติการระบบสนับสนุนการ 20,000 กลุ่มอานวยการ
บุคลากรทางการศึกษาให้มี บริหารจัดการสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 86,450 กลุ่มนโยบาย
และแผน
สมรรถนะตามมาตรฐาน เพ่อื การบริหารจัดการสานักงานเขตพื้นที่
13,750 กลุ่มนโยบาย
วิชาชีพ มีศักยภาพ การศึกษา เพอ่ื การบริหารงบประมาณแบบ และแผน
มีคุณธรรม จริยธรรม บูรณาการ (AMSS++) 27,450 กลุ่มนโยบาย
และแผน
5. อบรมเชิงปฏิบัติการปฐมนิเทศและพัฒนา
ครูผู้ช่วยด้านการจัดการเรียนรู้
รวมงบประมาณกลยุทธ์ท่ี 3
5. เพิ่มประสิทธิภาพการ 6.ประชุมสัมมนาผู้บริหารสพป.ตรัง เขต 1
บริหารจัดการตามหลัก และผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสพป.ตรัง
ธรรมาภิบาลและส่งเสริม เขต 1
การมีส่วนร่วมในการจัด 7.ประชุมผู้บริหารและบุคลากรในสังกัด เพือ่
การศึกษา พัฒนาองค์กร
8.ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปี พ.ศ. 2562 และทบทวนแผนพัฒนา
การศึกษาระยะ 4 ปี
9.ประชุมคณะกรรมการกล่ันกรองโครงการ
เพื่อบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการ ประจาปี
พ.ศ. 2562
10.ประชุมจัดต้ัง จัดสรร ติดตามการใช้
งบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำ ป4งี3บประมแผาณนปพฏ.บิ ศัต.ิก2า5ร6ป2ระจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 43
กลยุทธ์ ช่ือโครงการ รวม ผู้รับผิดชอบ
11. นิเทศ ติดตามเปิดเทอมใหม่ประสานใจเยี่ยม 62,450 กลุ่มนิเทศฯ
โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
12. อบรมเชิงปฏิบัติการระบบประกันคุณภาพ 46,500 กลุ่มนิเทศฯ
ภายในรอบสี่ พ.ศ.2561
13.อบรมเชิงปฏิบัติการ R2R พัฒนางานประจา 40,000 กลุ่มนิเทศฯ
สู่งานวิจัย
14.พัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล 70,000 กลุ่มนิเทศฯ
และนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
15.ประชุมคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง 20,000 กลุ่มบริหารงาน
รวมงบประมาณกลยุทธ์ท่ี 5 การเงินและพสั ดุ
รวมท้ังสิ้น 15 โครงการ
486,600
675,400
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 44
ตวั ชี้วดั /เปา้ หมาย ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ของ สพป.ตรัง เขต 1
กลยทุ ธ์ แนวทาง ตวั ชีว้ ดั กลมุ่ ปงี บประมาณ พ.ศ.2561 เป้าหมาย
รบั ผิดชอบ เปา้ หมาย ผลปฏบิ ตั ิงาน ปี 2562
1. ส่งเสรมิ การจัด 1) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้ 1.ร้อยละของผเู้ รียนมพี ฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดม่ันการ
การศกึ ษาเพอ่ื ความ สถานศึกษาปรับปรงุ หลักสูตร ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ส่งเสรมิ 100 100 100
มั่นคง จดั บรรยากาศสงิ่ แวดล้อม และจดั 2.รอ้ ยละของผ้เู รียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ การมีทศั นคตทิ ี่ดตี อ่ บา้ นเมือง มีหลักคดิ ทถ่ี ูกตอ้ ง การจัดการ 100 100 100
2. พัฒนาสมรรถนะ กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ผู้เรยี น เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ผู้เรยี นเพ่ือสรา้ งขดี แสดงออกถึงความรกั ในสถาบัน 3. ร้อยละของสถานศึกษาปรับปรุงหลักสตู ร จดั บรรยากาศสิง่ แวดล้อมและจัดกิจกรรมการ ศึกษา
ความสามารถในการ หลักของชาติ ยดึ ม่ันการปกครอง เรยี นรู้ใหผ้ ้เู รยี น แสดงออกถงึ ถึงความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ
แข่งขัน และมี ระบอบประชาธปิ ไตยอันมี ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มีทศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ บา้ นเมอื ง มีหลักคดิ ท่ี นเิ ทศฯ
ทกั ษะการเรียนรูใ้ น พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ มี ถกู ต้อง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม
ศตวรรษท่ี 21 ทัศนคตทิ ี่ดีตอ่ บา้ นเมือง มีหลักคดิ ส่งเสรมิ 100 100 100 แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การจดั การ 44
ศกึ ษา
ทถ่ี ูกต้อง เปน็ พลเมืองดีของชาติ
และพลเมอื งโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม
2) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ 4. ร้อยละของสถานศกึ ษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 นเิ ทศฯ 100 100 100
สถานศกึ ษาน้อมนาพระบรม และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามที่
ราโชบายของในหลวงรชั กาลที่ 10 กาหนดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปบรู ณาการจดั การเรียนรู้
เพ่ือพัฒนาผ้เู รียนมคี ุณลักษณะอนั
พึงประสงค์ตามทก่ี าหนด
1) ปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร
ทกุ ระดบั การศกึ ษา
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 45
กล่มุ ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ แนวทาง ตวั ชี้วัด รับผิดชอบ เป้าหมาย ผลปฏบิ ตั ิงาน ปี 2562
1.1 พัฒนาหลกั สตู รระดับ 5.ร้อยละของสถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ใหส้ อดคลอ้ งกับทกั ษะการเรยี นรใู้ น นิเทศฯ 100 85 100
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ให้ ศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล มคี วามเปน็ เลศิ ทางด้านวชิ าการ มี
สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรยี นรู้ ทักษะชีวติ และทกั ษะอาชีพตามความตอ้ งการ และมที ักษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คุกคาม
ในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นการ รูปแบบใหม่
พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนเปน็
รายบุคคล มีความเปน็ เลศิ
ทางด้านวิชาการ มีทักษะชวี ติ 6.รอ้ ยละของสถานศกึ ษามีการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รียน นเิ ทศฯ 100 95 100
และทกั ษะอาชพี ตามความ และพื้นที่
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ต้องการได้ และมที ักษะชีวติ ใน 45
การป้องกนั ตนเองจากภยั คุกคาม
ทกุ รูปแบบใหม่
1.2 ปรับปรงุ หลักสตู รปฐมวยั
เพื่อให้เด็กไดร้ บั การพฒั นาทัง้
4 ด้าน สอดคลอ้ งกับทกั ษะการ
เรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1.3 สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้
สถานศกึ ษาพัฒนาหลกั สูตร
สถานศกึ ษาและปรับเปลี่ยนการ
จัดการเรยี นรู้ให้ตอบสนองตอ่
ความตอ้ งการของผู้เรยี นและ
บรบิ ทของพน้ื ที่
1.4 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้
สถานศึกษาจัดทาแผนการจดั
การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลหรอื
แผนการใหบ้ ริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครวั ซ่งึ จัดทาขนึ้ บน
พื้นฐานความต้องการจาเป็น
เฉพาะของผู้เรยี นทม่ี คี วาม
ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ หรอื
ความสามารถพิเศษ
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 46
กลยทุ ธ์ แนวทาง ตวั ชี้วัด กลุ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เป้าหมาย
รบั ผดิ ชอบ เป้าหมาย ผลปฏิบตั งิ าน ปี 2562
2) พฒั นาคุณภาพผ้เู รียน ให้มีทักษะ 7.รอ้ ยละของผเู้ รยี นระดับปฐมวัย ได้รับการพฒั นาร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์ สงั คมและ นิเทศฯ 100 100 100
การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
2.1 พฒั นาผู้เรยี นระดับปฐมวยั ใหม้ ี สติปัญญา มคี วามพร้อมในการศึกษาระดบั ทส่ี งู ขึ้น
ความพร้อมด้านรา่ งกาย อารมณ์
สงั คม สตปิ ัญญา เพือ่ พฒั นาการเรยี นรู้
ในระดับท่สี งู ข้นี
2.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัด 8. รอ้ ยละของผู้เรยี นระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานไดร้ บั การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ นเิ ทศฯ 100 100 100
สภาพแวดล้อมเอือ้ ต่อการเรยี นรขู้ องเดก็ สงั คม และสตปิ ญั ญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดา้ น แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ปฐมวยั 46
2.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา 9. รอ้ ยละของผเู้ รียนอ่านออกเขยี นได้ คิดเลขเปน็ และมนี สิ ัยรักการอา่ น นิเทศฯ 100 85 100
จัดการเรยี นรู้รูปแบบท่หี ลากหลาย
2.4 สง่ เสรมิ การสร้างความร้คู วามเข้าใจ 10. รอ้ ยละของผู้เรียนมที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ คดิ แก้ปญั หา คดิ สรา้ งสรรค์ ผา่ นกจิ กรรม นิเทศฯ 70 65 70
แก่พ่อแม่ผปู้ กครอง เก่ยี วกบั การเลี้ยงดู การปฏิบตั จิ ริง (Active Learning)
เดก็ ปฐมวัยท่ถี กู ต้องตามหลกั จติ วทิ ยา นเิ ทศฯ 50 - 60
พฒั นาการ 11.รอ้ ยละของผูเ้ รยี นทมี่ ีคะแนนผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) มากกว่า นิเทศฯ 100 - 80
2.5 จดั ให้มโี รงเรยี นต้นแบบการจดั ร้อยละ 50 นิเทศฯ - - 80
การศึกษาปฐมวัย พฒั นาการความ 12. ร้อยละของผู้เรยี นทผี่ า่ นการประเมินสมรรถนะทีจ่ าเป็นดา้ นการรูเ้ รอ่ื งการอ่าน (Reading
พร้อม สกู่ ารเรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21 Literacy) นเิ ทศฯ 100 65 70
2.6 พฒั นาผเู้ รยี นสคู่ วามเป็นเลิศทาง 13. ร้อยละของผู้เรยี นทผ่ี ่านการประเมนิ สมรรถนะท่ีจาเป็นด้านการรู้เรื่องคณติ ศาสตร์ นิเทศฯ 100 100 100
วิชาการ 3 ดา้ น วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและสอื่ สารภาษาท่ี 3 ทกั ษะด้าน Digital Literacy และทักษะใน
2.7 พัฒนาผู้เรียนให้มสี มรรถนะดา้ น การปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่
ดจิ ิทัลและการส่ือสารภาษาองั กฤษและ
ภาษาท่3ี 14. ร้อยละของสถานศกึ ษาจดั การเรยี นร้ใู หผ้ เู้ รยี นผ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิจรงิ (Active
2.8 มีความรู้ และทกั ษะในการป้องกนั Learning)
ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 15. ร้อยละของสถานศกึ ษาจดั การเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รยี นในลักษณะของ STEM ศึกษา
2.9 ส่งเสริมการจัดการเรยี นรผู้ า่ น
กจิ กรรมปฏิบตั จิ รงิ
2.10 ส่งเสริมการเรยี นรู้ STEM ศกึ ษา