The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ใช้ทำ Ebook

ใช้ทำ Ebook

ระเบียบวาระการประชุม
คณะกรรมการพฒั นาเมืองอจั ฉรยิ ะ (KORAT Smart City) จงั หวดั นครราชสมี า

วันพธุ ที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30 น.
ผ่านระบบออนไลน์ Google Meet ณ ห้องประชุมหน่วยงาน

***********************************************************************************

ระเบียบวาระท่ี 1 เร่อื งทีป่ ระธานแจง้ ท่ปี ระชุมทราบ
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ครั้งนี้ เป็นการประชุม

ครั้งที่ ๓/๒๕๖๕ (คณะใหญ่) เป็นการประชุมผ่านระบบออนไลน์ Google Meet ผู้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้
ประกอบด้วย ภาครัฐ ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ ที่เป็นหัวหน้าคณะทำงานทั้ง ๗ ด้าน และที่เป็นคณะ
กรรมการฯ นายอำเภอ 32 อำเภอ ภาคเอกชน และภาคการศกึ ษา

เนื่องจากปัจจุบันทางภาคราชการได้มีการโยกย้าย ในส่วนของผู้ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการ
พัฒนาเมืองอัจฉริยะที่เป็นหัวหน้าคณะทำงานได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ จึงขอทบทวนให้ท่านหัวหน้า
สว่ นราชการที่ย้ายมาใหม่ไดร้ ับทราบ ดงั น้ี

• Smart Mobility : หัวหน้าคณะทำงาน ขนสง่ จังหวดั นครราชสมี า
• Smart Living : หัวหนา้ คณะทำงาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
• Smart Energy : หัวหน้าคณะทำงาน พลังงานจงั หวัดนครราชสมี า
• Smart Economy : หัวหน้าคณะทำงาน ทอ่ งเที่ยวและกฬี าจงั หวดั นครราชสีมา
• Smart Emvironment : หวั หน้าคณะทำงาน ผู้อำนวยการสำนักงาน

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มจงั หวัดนครราชสมี า
• Smart People : หวั หน้าคณะทำงาน พัฒนาสังคมและความม่ันคงมนษุ ย์

จังหวัดนครราชสีมา
• Smart Governance : หวั หน้าคณะทำงาน หวั หนา้ สำนกั งานจังหวดั นครราชสีมา

ประเด็นการประชุมทส่ี ำคัญคร้งั นี้ มดี ว้ ยกนั ๔ ประเด็น
1. เตรียมความพร้อมรับการประเมินของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและบริหารโครงการ
เมืองอัจฉริยะ ครั้งที่ 1/2565 เข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 เพื่อการพิจารณามอบตราสัญลักษณ์ 7 ด้าน วันศุกร์ที่ ๕
สิงหาคม ๒๕๖๕
2. พิจารณา (ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และ
โครงการดา้ น Smart Economy ต่อยอดโครงการรถเสบียง
๓. พจิ ารณา โครงการดา้ น Smart Economy ต่อยอดโครงการรถเสบยี ง
๔. โครงการส่งเสริมเมืองคาร์บอนต่ำผ่านระบบขนส่งสาธารณะไฟฟ้า ( Achieving
Sustainable Low Carbon Growth in the City through Electrified Urban Transport System in
Thailand, E-Transport in LCC)

มติทปี่ ระชมุ ......................................................................................................................................................

-2-

ระเบยี บวาระท่ี 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
เรื่องรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (KORAT Smart City)

ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันอังคารที่ 24 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 - 15.00 น. ณ ห้องประชุม Cantan
ชั้น 1 Seda อาคารศูนย์เครื่องมือ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นประกอบการ
จัดทำ (ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จังหวัดนครราชสีมา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) สำนักงานสถิติจังหวัด
นครราชสมี า (ฝ่ายเลขนกุ าร) ได้แจ้งเวยี นรายงานการประชมุ ให้กับทา่ นคณะกรรมการฯ ทกุ ท่านเปน็ ทเ่ี รยี บร้อย
แล้วพร้อมหนังสือเชิญประชุมเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๕ หากท่านใดต้องการจะแก้ไขขอให้แจ้งทางฝ่าย
เลขาเพอ่ื ดำเนินการแก้ไขต่อไป แตห่ ากไมม่ ีคณะกรรมการฯ ท่านใดขอแก้ไข ฝ่ายเลขาฯ ขอให้ท่ีประชุมรับรอง
รายงานการประชุมคร้ังท่ี ๒/๒๕๖๕ คะ่ (เอกสารแนบ ๑)

มติทปี่ ระชุม ............................................................................................................................. .........................

ระเบียบวาระที่ 3 เร่ืองสบื เน่ืองจากการประชุมครัง้ ทีผ่ ่านมา
การจัดทำแผนสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลจังหวดั นครราชสมี า …………………………………………
จากการประชุมคณะกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉรยิ ะ (KORAT Smart City) ครั้งที่ 2/2565

เมื่อวันที่อังคารที่ 24 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 - 15.00 น. ณ ห้องประชุม Cantan ชั้น 1 Seda
อาคารศูนย์เครื่องมือ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นประกอบการจัดทำ (ร่าง)
แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จังหวัดนครราชสีมา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
ฝา่ ยยุทธศาสตร์ ได้จัดทำและจดั ส่ง (รา่ ง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัลจงั หวัดนครราชสีมา จำนวน ๓๖ หน้า ให้
สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา (ฝ่ายเลขาฯ) เพื่อจะขอให้นำเข้าการประชุมคณะกรรมการบริหารงาน
จังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) จังหวัดนครราชสีมา เพื่อขอความเห็นชอบ (ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทัล
จังหวดั นครราชสมี า ที่ทางสำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจัดทำมาจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ
บูรณาการ (ก.บ.จ.) จงั หวัดนครราชสมี า (เอกสารแนบ ๒)

ฝ่ายเลขานุการฯ ได้จัดทำสรุปประเด็นสำคัญ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัด
นครราชสีมา เพื่อให้ทางคณะกรรมการฯ ได้รับทราบพิจารณาในสาระสำคัญของ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
ดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมาที่ทางสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล ฝ่ายยุทธศาสตร์ได้จัดทำขึ้นก่อนส่งขอความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ต่อไป ซึ่งจะอยู่ในระเบียบวาระการ
ประชุมที่ ๕ เรื่องเพ่อื พิจารณา

ระเบียบวาระที่ ๔ เร่อื งเพอ่ื ทราบ ผลการดำเนนิ การทผ่ี า่ นมา
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการจำนวน 20 โครงการ ตามข้อเสนอแนะเพื่อ

ขอรบั การพจิ ารณาการเป็นเมืองอัจฉรยิ ะ …………………………………………………………………………………………….
ตามที่จังหวัดนครราชสีมา ได้ส่งข้อเสนอการขอจัดตั้งเมืองอัจฉริยะ จังหวัดนครราชสีมา

และขอรับตราสัญลักษณ์ ทั้ง ๗ ด้าน ของ Smart City โดยในข้อเสนอการขอจัดตั้งการเป็นเมืองอัจฉริยะ
จังหวัดนครราชสีมา ทั้ง ๗ ด้าน จังหวัดนครราชสีมาได้จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติแผนงานโครงการ
จำนวน ๕๗ โครงการ แต่ผ่านการพิจารณาจากคณะทำงานประเมินแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ สำนักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล ฝ่ายเมืองอัจฉรยิ ะ ที่มีท่านผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ผศ.ดร.ณัฐ
พล นมิ มานพัชรินทร์) เปน็ ประธานคณะทำงานฯ จำนวน ๒๐ โครงการ ซ่ึง โครงการทง้ั ๒๐ โครงการที่ได้รับ

-3-

การอนุมัติแล้วต้องมีการดำเนินการจะยกเลิกไม่ได้ เพราะภายใน ๒ ปี หลังจากที่ได้อนุมัติจะมีการออกติตาม
ประเมินผล

เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๕ สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสมี า ได้รับการประสานจาก
ฝ่ายเมืองอัจฉริยะ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล แจ้งให้ทราบว่าคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา
เมอื งอัจฉริยะ ที่มีทา่ นรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม (นายชยั วฒุ ิ ธนาคมานุสรณ์) เป็น
ประธานคณะอนุกรรมการฯ จะพิจารณาข้อเสนอการขอจัดตั้งการเป็นเมืองอัจฉริยะ จังหวัดนครราชสีมา ใน
วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๕ และเชิญให้จังหวัดนครราชสีมาเข้าร่วมการประชุมผ่านระบบออนไลน์ เพื่อตอบ
ประเด็นข้อซักถามหากทางคณะอนุกรรมการฯ มีข้อสงสัย สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา จึงได้เสนอ
หนังสือด่วนที่สุดที่ นม๐๐๑๓/๔๘๘๐ ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๕ ให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
(นายสมเกียรติ วิริยะกุลนันท์) เพื่อแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
โครงการทั้ง ๒๐ โครงการให้ฝ่ายเลขานุการจัดทำสรุปผลการดำเนินงานเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการ
ตอบคำถามตอ่ คณะอนุกรรมการฯ (เอกสารแนบ ๓)

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ได้มีการเลื่อนการประชุมออกไป
จากวันพฤหัสบดีที่ ๗ กรกาคม ๒๕๖๕ เป็นวันศุกร์ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๐.๓๐ น. ณ ห้องประชุม
Cantan ชัน้ 1 Seda อาคารศูนย์เคร่ืองมือ 1 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี

มติทป่ี ระชุม ............................................................................................................................. .........................

ระเบียบวาระที่ ๕ เรอ่ื งเพอื่ พจิ ารณา
๕.1 พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ (รา่ ง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล จังหวัดนครราชสีมา

(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) …………………………………………………………………………………………………………………………
ตามที่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ฝ่ายยุทธศาสตร์ ได้จัดทำและจัดส่ง (ร่าง)

แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา ให้สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา (ฝ่ายเลขาฯ) เพื่อจะ
ขอให้นำเข้าการประชุมคณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) จงั หวดั นครราชสีมา

สำนักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา (ฝ่ายเลขนุการฯ) พิจารณาแล้วเห็นว่าก่อนที่จะนำ
(ร่าง) แผนดังกล่าวเข้ารับการพิจารณาและขอความเห็นชอบต่อคณะฏรรมการ ก.บ.จ. ควรนำ (ร่าง) แผนฉบับน้ี
เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ จังหวัดนครราชสีมา ได้รับทราบก่อนที่จะเสนอ (ร่ง) แผนฯ เข้าที่
ประชุม ก.บ.จ. และได้จัดทำสรุปประเด็นสำคัญ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา
รายละเอียดตาม (เอกสารแนบ ๓)

ซึ่ง จากการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๕ เมื่อวันอังคารที่ 24 พฤษภาคม 2565 ณ ห้อง
ประชุม Cantan ชั้น 1 Seda อาคารศูนย์เครื่องมือ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทางคณะกรรมการ
พัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ได้ให้ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นต่อสำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
ฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา และทางฝ่าย
ยุทธศาสตร์ฯ ได้มีการปรับปรุงตามที่คณะกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (KORAT Smart City) จังหวัด
นครราชสีมาได้ใหข้ อเสนอไว้ (ข้อเสนอของคณะกรรมการฯ จะอยู่ในรายงานการประชุมฯ หน้าที่ ๑๑ – 12)
รายละเอยี ด ดงั น้ี

-4-

- ประเด็นการพัฒนาที่ 1 หัวข้อการขับเคลื่อน ข้อที่ 2 และ 3 สามารถสรุปรวมเป็นข้อ
เดียวกนั ได้หรอื ไม่ เน่อื งจากคณะกรรมการเหน็ วา่ มคี วามสอดคล้องกัน และมีตัวชี้วดั เดียวกนั

- ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 หัวข้อการขับเคล่ือน
ข้อที่ 1 สง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพด้านดิจิทลั ให้แรงงานและผปู้ ระกอบการ เห็นควร
ใหร้ ะบุ “ดา้ นการทอ่ งเท่ียว” เพ่มิ เขา้ มา เพอื่ ให้สอดรับกบั ตวั ช้ีวดั ท่รี ะบุ
ขอ้ ท่ี 3-5 ขอใหท้ าง depa พิจารณาอีกครั้งว่า สามารถสรุปรวมเปน็ ข้อเดียวกันได้หรือไม่
เน่อื งจากแต่ละขอ้ มีความสอดคล้องและมีความหมายใกลเ้ คียงกนั

ประเดน็ การพัฒนา การขบั เคลอ่ื น (เดิม) การขบั เคลอ่ื น (ใหม่)

1. ส่งเสริม พัฒนา และ 2) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 2) สง่ เสริมการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี

ยกระดับด้านการเกษตร และ และนวัตกรรมดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่ และนวัตกรรมดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่

เกษตรแปรรูปมลู ค่าสงู มลู คา่ มูลค่า รวมถึงการยกระดับคุณภาพ

๓) ส่งเสรมิ การยกระดับคุณภาพสินค้า สนิ ค้าเกษตรแปรรปู

เกษตรแปรรูป

2. ส่งเสริม พัฒนา โครงสร้าง 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพด้าน 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพด้าน

พ ื ้ น ฐ า น เ พ ื ่ อ ย ก ร ะ ดั บ ดจิ ทิ ลั ให้แรงงานและผู้ประกอบการ ดิจิทัลให้แรงงานและผู้ประกอบการ

เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว ด้านการท่องเท่ยี ว

ก า ร ค ้ า ก า ร ล ง ทุ น ๓) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 3) ส่งเสริมการพัฒนาผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ BCG และนวัตกรรมดิจิทัล หรือพัฒนา ดิจิทัล (Digital Provider และ Digital

และเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ แอปพิวเคชั่นในรูปแบบการท่องเที่ยว Startup) ในพนื้ ท่ี

เชิงวัฒนธรรม

๔) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

และแพลตฟอร์มดิจิทลั

๕) ส่งเสริมให้ภาคเอกชนและ

ประชาชนใชส้ นิ ค้าและบริการดิจิทัลที่

มีคุณภาพ

- ประเดน็ การพฒั นาที่ 3 หัวข้อการขับเคล่ือน ได้แก่

ข้อท่ี 2 ขอให้ปรับกรอบขับเคลือ่ น อาจจะเน้นไปที่การพฒั นาทักษะดิจิทลั สำหรบั
เยาวชนรนุ่ ใหม่

ข้อที่ 4 อาจจะเน้นไปทกี่ ารพัฒนาผปู้ ระกอบการดิจิทลั (Digital Provider และ
Digital Startup) ในพนื้ ท่ี โดยตัวช้วี ดั อยากใหป้ รับเพ่อื ให้สอดคลอ้ งกนั และ

ข้อท่ี 5 อยากใหเ้ นน้ ไปที่สนบั สนนุ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลในการพัฒนาชุมชน
และปรับตวั ชวี้ ัดใหส้ อดคล้องกนั

-5-

ขอ้ ที่ 2

ประเด็นการพัฒนา การขบั เคล่ือน (เดิม) การขบั เคลอ่ื น (ใหม่)

3. เสริมสร้างและพฒั นาคน ๒) สง่ เสริมการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี 2) สง่ เสริมการพฒั นาทักษะดิจทิ ลั

ชมุ ชน เมอื ง และการยกระดับ ดจิ ทิ ัลเพ่อื การศึกษาในการสร้าง สำหรับเยาวชนรนุ่ ใหม่

การบริหารจัดการภาครัฐ เพ่อื หอ้ งเรยี นดจิ ิทัล และการพฒั นาทกั ษะ

สงั คมคุณภาพสูง ดจิ ทิ ลั สำหรับเยาวชนร่นุ ใหม่

ข้อท่ี 4

ประเดน็ การพฒั นา ตวั ชีว้ ัด (เดิม) ตัวชวี้ ดั (ใหม่)

3. เสรมิ สร้างและพัฒนาคน (1) ประชาชนในพน้ื ทีเ่ รยี นรู้ตลอด (1) ประชาชนในพืน้ ที่เรียนรู้ทักษะ
ชมุ ชน เมอื ง และการยกระดับ ชีวิตผา่ นแพลตฟอร์มออนไลน์ ดจิ ทิ ลั

การบริหารจดั การภาครฐั เพื่อ (2) กลุ่มเปราะบางในพื้นที่เข้าถึงและ (2) กลุ่มเปราะบางในพืน้ ที่เขา้ ถึงและ
สงั คมคุณภาพสงู
ได้รบั การพัฒนาทักษะดจิ ทิ ัล ได้รับการพัฒนาทักษะดิจิทลั

ขอ้ ที่ 5

ประเด็นการพัฒนา การขบั เคลือ่ น ตวั ชีว้ ดั

(เดมิ ) ๕) สง่ เสริมการยกระดับศนู ย์ (เดมิ ) โครงการพัฒนาชมุ ชนหรือ

3. เสรมิ สร้างและพฒั นาคน ดิจทิ ลั ชุมชน หรอื ศนู ย์เรียนรใู้ นพื้นท่ี วสิ าหกิจชุมชนดว้ ยเทคโนโลยแี ละ

ชมุ ชน เมือง และการยกระดับ ตลอดจนสนบั สนุนการประยุกต์ใช้ นวัตกรรมดิจิทลั

การบริหารจดั การภาครฐั เพื่อ เทคโนโลยดี จิ ิทัลในการพัฒนาชุมชน

สังคมคุณภาพสูง (ใหม่) 5) สนับสนุนการประยุกต์ใช้ (ใหม่) โครงการพัฒนาชุมชนด้วย

เทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการพัฒนาชมุ ชน เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมดจิ ิทัล

- ประเดน็ การพัฒนาท่ี 4 หวั ข้อการขบั เคลอ่ื น

ข้อที่ 1 ขอให้ depa ปรับในเรื่องของตัวชี้วัด ข้อที่ 1 และ 2 ให้เน้นไปที่การขับเคลื่อนการ
พัฒนาตามแผนการพัฒนาเมืองอัจฉรยิ ะของพื้นที่ เป้าหมายภายในปี 2566 และการมี City
Data Platform คา่ เป้าหมาย ภายในปี 2567 เพอื่ ให้เปน็ กรอบในการขบั เคลอื่ น

ขอ้ ที่ 2 สร้างเครือขา่ ยและเชอ่ื มโยงข้อมลู รวมท้ังสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการนำไปใชป้ ระโยชน์ อาจจะ
แยก “ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์” ออกมาเป็นอีกหัวข้อ เพื่อให้ง่ายต่อการ
ขับเคลือ่ น และเหน็ ควรใหป้ รบั ตวั ชวี้ ัด และคา่ เป้าหมายให้มีความสอดคล้องกนั โดยการสร้าง
เครือข่ายและเชื่อมโยงข้อมูล ตัวชี้วัดอาจจะเน้นไปที่การมี Data catalog ของพื้นที่ และมี
การเพม่ิ ชุดข้อมูลเมืองอยา่ งตอ่ เน่ือง และหัวข้อ สง่ เสรมิ ให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ อาจจะ

-6-

เน้นไปที่การมี Open data ที่เป็นชุดข้อมูลเมือง เพื่อให้นักพัฒนาต่อยอดการนำไปใช้
ประโยชน์ เป้าหมายภายในปี 2568
ข้อที่ 1

ประเด็นการพัฒนา ตัวชว้ี ัด (เดิม) ตัวชว้ี ดั (ใหม่)

4. Mega Program: (1) พัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานทาง (1) มกี ารขับเคลอ่ื นการพฒั นาตาม
การพัฒนา Smart City
กายภาพและดจิ ิทัลทีจ่ ำเปน็ แผนการพัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะของ

พืน้ ท่ี (โครงการ Korat Smart City)

ภายในปี 2566

(2) โครงการ Korat Smart City มีการ (2) มี City Data Platform ภายในปี

ขับเคลื่อนตามแผนพัฒนาเมือง 2567

อัจฉริยะ ร้อยละ ๘๐ ภายในปี

๒๕๗๐

ขอ้ ท่ี 2 การขบั เคล่อื น (เดิม) การขับเคล่อื น (ใหม่)

ประเดน็ การพัฒนา 2) สร้างเครือข่ายและเช่ือมโยงขอ้ มูล 2) สรา้ งเครือข่ายและเช่ือมโยงขอ้ มูล
รวมทง้ั สง่ เสรมิ ให้เกิดการนำไปใช้
4. Mega Program: ประโยชน์ 3) ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้
การพัฒนา Smart City ประโยชน์

ประเด็นการพฒั นา ตัวชว้ี ดั (เดิม) ตวั ชว้ี ัด (ใหม่)

4. Mega Program: (1) สรา้ งเครือข่ายการมสี ่วนร่วมการ มี Data catalog ของพ้นื ท่ี และมีการ
การพฒั นา Smart City
พัฒนาเมืองอจั ฉริยะทัง้ ภาคเอกชน เพิม่ ชดุ ข้อมูลเมืองอยา่ งต่อเนื่อง

ภาคประชาชนและภาครฐั ภายในปี 2567

(2) จัดทำ Data Catalog ของพื้นที่ มี Open data ที่เป็นชุดข้อมูลเมือง

เพื่อให้มีชุดข้อมูลสำหรับการบริหาร เพื่อให้นักพัฒนาต่อยอดการนำไปใช้

จดั การเมือง ประโยชน์ ภายในปี 2568

๓) เกดิ Data Platforms โดยการมีส่วน

ร่วมของภาคเอกชน สำหรับการ

พัฒนาเมืองอจั ฉริยะ

๔) มีชุดข้อมูลสำหรับการบริหารจัด

การเมือง โดยความร่วมมือของภาครัฐ

ประเดน็ การพัฒนา ตวั ช้วี ดั (เดิม) ตัวชีว้ ดั (ใหม่)

และภาคเอกชน สำหรบั การบรหิ ารจัด
การเมอื งครบ ๗ ด้าน
๕) พัฒนา API เพื่อกาเชื่อมต่อ
แพลตฟอร์มต่างๆ ทั้งภายในและ
ภายนอกพ้นื ที่
๖) ดให้มี Open Data เพื่อต่อยอดการ
นำไปใช้ประโยชน์

๕.2 พิจารณาให้ความเห็นชอบโครงการด้าน Smart Economy ต่อยอดโครงการ
รถเสบียง : หอการคา้ จังหวดั นครราชสมี า (เอกสารแนบ ๔)
มตทิ ีป่ ระชมุ ......................................................................................................................................................

ะเบยี บวาระที่ 5 เรอ่ื งอ่ืน ๆ
โครงการสง่ เสรมิ เมืองคารบ์ อนตำ่ ผ่านระบบขนสง่ สาธารณะไฟฟา้ (Achieving Sustainable

Low Carbon Growth in the City through Electrified Urban Transport System in Thailand, E-
Transport in LCC) หรอื UNPD เป็นโครงการท่เี กีย่ วข้องกับ Smart ดา้ น Mobility และ Energy
(เอกสารแนบ ๕)
มติที่ประชุม ......................................................................................................................................................

*********************************************************

QR Code ลงิ้ ก์การประชุม เอกสารประกอบการประชมุ

รายงานการประชมุ คณะกรรมการเมอื งอจั ฉรยิ ะจงั หวดั นครราชสมี า

เพื่อรับฟังความคดิ เหน็ ประกอบการจดั ทำ (รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลจงั หวัดนครราชสมี า

(พ.ศ.๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

ครั้งที่ ๒/๒๕๖๕ วันอังคารท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๓๐ - ๑๕.๐๐ น.

การประชมุ ออนไลน์ ผา่ นระบบ Google Meet ณ สถานทป่ี ฏิบตั งิ านของหนว่ ยงาน

ผู้มาประชมุ

๑. นางขนิษฐา วรรณภกั ดี สถิตจิ ังหวัดนครราชสีมา ประธานที่ประชมุ

๒. อ.ดร.มัลลกิ า สงั ข์สนทิ แทน อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี กรรมการ

๓. นายสเุ ทพ ยนต์พมิ าย แทน อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน กรรมการ

๔. อ.ดร.ประยงค์ กีรตอิ ไุ ร แทน อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล กรรมการ

๕. นายนราทร ธานินพิทักษ์ นายกสมาคมอสังหารมิ ทรัพยจ์ ังหวดั นครราชสมี า กรรมการ

๖. พ.ต.อ.วณี วฒั น์ ศรีแย้ม แทน ผ้บู ังคับการตำรวจภธู รจงั หวัดนครราชสมี า กรรมการ

๗. นางสาวณฐั กฤต จนั ทรก์ ฤษ แทน ทอ่ งเท่ียวและกฬี าจงั หวดั นครราชสีมา กรรมการ

๘. นายวงศกร นิมมิต แทน ประธานหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา กรรมการ

๙. นายวงศธร ลิม้ พรษา แทน ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสมี า กรรมการ

๑๐. นางสาวเกตพิสิร์ สมบรู ณ์ศิลป์ แทน ผู้อำนวยการสำนักงานทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย กรรมการ

สำนักงานนครราชสมี า

๑๑. นางสาววันทินยี ์ ลอยโคกสูง แทน พฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ กรรมการ

จังหวัดนครราชสมี า

๑๒. นางสาวมนสนนั ท์ ฐิตาปุณญาพัฒน์ แทน โยธาธกิ ารและผังเมอื งจังหวดั นครราชสมี า กรรมการ

๑๓. นายกฤษณะ พรมมา แทน พลงั งานจังหวดั นครราชสีมา กรรมการ

๑๔. นายธนวติ ต สุนทรวิภาต แทน คลังจังหวัดนครราชสีมา กรรมการ

๑๕. นายชนพัฒน์ บูชากลุ แทน ขนส่งจังหวดั นครราชสีมา กรรมการ

๑๖. นางสาวฉนั ทนา ผิวทอง แทน ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ กรรมการ

และส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั นครราชสมี า

๑๗. นางศรีรัตน์ นาคะวิโรจน์ แทน อุตสาหกรรมจังหวดั นครราชสีมา กรรมการ

๑๘. นายณรงคศ์ ักดิ์ โคตรสนั เทียะ แทน โทรศพั ท์จงั หวดั นครราชสีมา กรรมการ

๑๙. นายปณิธาน บญุ ยะทิม แทน นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั นครราชสีมา กรรมการ

๒๐. นายธวัชชยั โคตรวงษ์ ผู้อำนวยการเขตพืน้ ที่ภาคอสี าน กรรมการและ

สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล (depa) ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๒๑. นางสาวกรรณกิ าร์ เสนา ผอู้ ำนวยการกลุม่ วิชาการสถิตแิ ละวางแผน กรรมการและ

สำนักงานสถติ จิ งั หวดั นครราชสีมา ผชู้ ่วยเลขานุการ

-๒-

ผเู้ ขา้ ร่วมประชุม ผ้อู ำนวยการกลุ่มงานยทุ ธศาสตร์และขอ้ มลู
๑. นายณรงชนนฐ์ ดีปู่ เพอื่ การพฒั นาจังหวัด สำนกั งานจงั หวดั นครราชสมี า
ผชู้ ่วยอธิการบดีฝ่ายพันธกจิ สมั พนั ธ์ นวตั กรรม และความเปน็
๒. ผศ.ดร.พันทิพย์ ปยิ ะทศั นานนท์ ผปู้ ระกอบการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
นักวิชาการ สำนักงานขนสง่ จงั หวดั นครราชสีมา
๓. นางสาวพรธินันท์ ฝานสงู เนิน อาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
๔. นายพงศว์ ราวุฑฒิ หมน่ื ยุทธิ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร สำนักงานจังหวัด
๕. นายปรกิ ร บตุ ะเขียว นครราชสีมา
ผูอ้ ำนวยการฝ่ายนโยบายและยุทธศาสตร์ (depa)
๖. นางรชั นี เอี่ยมฐานนท์ หวั หนา้ งานฯ ฝา่ ยสง่ เสรมิ แพลตฟอร์มและบริการดจิ ทิ ัล
๗. นายพชิ ชากร วัชรานรุ กั ษ์ (depa)
หวั หนา้ งานฯ ฝา่ ยสง่ เสรมิ เมอื งอัจฉริยะ (depa)
๘. นายทมะ ดวงนามล หัวหน้างานยุทธศาสตร์เศรษฐกจิ ดิจิทัล (depa)
๙. นายเสกสนั ต์ พันธบ์ุ ุญมี นกั ยุทธศาสตร์เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั อาวุโส (depa)
๑๐. นายกฤษณ์ กำจาย นักส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั อาวโุ ส (depa)
๑๑. นางสาวศริ ิประภา ประภากรเกียรติ นักส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล (depa)
๑๒. นายพีรกานต์ การภกั ดี Smart City Ambassador
๑๓. นางสาวมนสชิ า ช่างการ พนกั งานสถติ ิ สำนักงานสถิตจิ ังหวดั นครราชสมี า
๑๔. นางสาวธิดารตั น์ ทิพรม

เริม่ ประชุม เวลา ๑๓.๓๐ น.

วาระที่ ๑ เรอื่ งประธานแจ้งเพื่อทราบ

เนื่องจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาและท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
(ท่ีกำกบั ดูแล) ติดภารกจิ เรง่ ด่วนจึงมอบหมายใหด้ ฉิ ันนางขนิษฐา วรรณภักดี สถิตจิ งั หวดั นครราชสมี า เป็นประธาน
ในการประชุม “รับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดทำ (ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา
(พ.ศ.๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ครั้งที่ ๒/๒๕๖๕” แทน ซึ่งการประชุมในวันนี้เป็นการประชุมคณะกรรมการพัฒนาเมือง
อัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ในรูปแบบ Online ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ณ สถานท่ี
ปฏิบัติงานของหน่วยงาน และมีคณะกรรมการฯ ส่วนหนึ่งอยู่ในห้องประชุมแห่งนี้ และเรื่องที่จะประชุมครั้งนี้เป็น
เร่อื งสบื เนือ่ งจากการประชมุ ครั้งที้ ๑/๒๕๖๕ ขอเชญิ ทาง depa และผอู้ ำนวยการเขตพื้นที่ภาคอสี านในวาระตอ่ ไปค่ะ

มตทิ ่ปี ระชมุ รับทราบ

-๓-

วาระที่ ๒ รบั รองรายงานการประชมุ โดย นายธวัชชยั โคตรวงษ์ ผูอ้ ำนวยการเขตพ้ืนที่ภาคอสี าน (depa)
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ได้จัดทำรายงานการประชุมแสดงความคิดเห็น

ประกอบการจัดทำ (ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั จงั หวัดนครราชสีมา (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕
ซึ่งได้ประชุมไปเมื่อวันพุธที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. รูปแบบการประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ
Google Meet โดยเป็นเอกสารนำเข้าในครั้งนี้แล้ว หากมีคณะกรรมการฯ ท่านใดต้องการปรับแก้ขอให้แจ้งมา
ในภายหลงั สำหรบั ในวนั นจี้ ะขอมตทิ ป่ี ระชุมเพ่อื รบั รองรายงานการประชมุ ก่อนครับ
มติทปี่ ระชมุ รบั รองรายงานการประชุม

วาระท่ี ๓ เรอื่ งแจง้ เพอ่ื ทราบ โดย นายธวชั ชยั โคตรวงษ์ ผูอ้ ำนวยการเขตพนื้ ทภ่ี าคอสี าน (depa)
วาระ ๓.๑ รายงานความคืบหน้าโครงการฯ ประจำปี ๒๕๖๔
๓.๑.๑ มาตรการชมุ ชน จำนวน ๘ โครงการ ติดต้ังแลว้ เสรจ็ ท้ัง ๘ โครงการ จำนวนรอ้ ยละ ๑๐๐

(อยรู่ ะหว่างการเบิกจา่ ยงวดท่ี ๒ และเตรียมปดิ โครงการ)

-๔-

สำหรับความคบื หนา้ โครงการฯ ประจำปี ๒๕๖๔ ภายใต้มาตรการชมุ ชนฯ จำนวนทั้งสิ้น
๘ โครงการ ปัจจุบันดำเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ ๑๐๐% ทั้งน้ีอยู่ระหว่างการเบิกจ่ายงวดที่ ๒ และเตรียมปิด
โครงการ หลังจากนั้นจะมีการลงพื้นที่ตรวจติดตาม จึงขอเรียนเชิญท่านประธานและคณะกรรมการของจังหวัด
นครราชสีมาร่วมลงพื้นที่ด้วย และในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล
ประจำกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ค.ต.ป.ดศ.) จะลงพื้นที่ติดตามโครงการของวิสาหกิจชุมชนเกษตร
อนิ ทรีย์ตำบลพุดซา ด้วยเช่นกนั

ประธานฯ กล่าวว่าได้รับประสานแจ้งมาแล้ว และได้เตรียมความพร้อมในการลงพื้นที่
ของ ค.ต.ป.ดศ. แล้ว

สำหรับเทคโนโลยีที่ใหก้ ารสนบั สนุนในปที ี่ผา่ นมา ประกอบไปด้วย ๔ หมวด ดังนี้

1. โรงเรือนอัจฉรยิ ะ สำหรบั เลย้ี งไก่ไข่ จำนวน ๑ ชุมชน

2. โรงเรอื นอัจฉรยิ ะ สำหรับเลี้ยงจ้งิ หรดี จำนวน ๑ ชมุ ชน

3. ระบบ IoT สำหรับผักปลอดสารพิษ จำนวน ๓ ชมุ ชน

4. โรงเรือนพร้อมระบบ สำหรับผักปลอดสารพษิ จำนวน ๓ ชุมชน

-๕-
๓.๑.๒ มาตรการคูปองดิจิทัล ดำเนินการโดย สภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา
จำนวน ๕๐ คปู อง อยู่ระหวา่ งการดำเนินการ โดยเบกิ จ่ายไปแล้วรอ้ ยละ ๗๘ (๓๙ ราย) คงเหลือร้อยละ ๒๒ (๑๑ ราย)

นอกจากเรื่องวิสาหกิจชุมชน ในปี ๒๕๖๔ มีโครงการส่งเสริมกลุ่มเป้าหมายที่เป็นบุคคล
ให้เกิดการใช้ digital technology ที่เป็น digital transform สำหรับตัวบุคคลโดยการอุดหนุนผ่านคูปอง
มาตรการคูปองดิจิทัลจำนวน ๕๐ ใบ ใบละ ๑๐,๐๐๐ บาท เพื่อนำคูปองนี้ไปใช้/ซื้อ products ที่เกี่ยวกับ digital
technology สำหรับความคืบหน้า ตอนนี้อนุมัติไปแล้ว ๓๙ ใบ คงเหลือ ๑๑ ใบ depa ได้มีการทำงานร่วม
กับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครรราชสีมา และภาคส่วนต่าง ๆ ความก้าวหน้าในโครงการนี้อยู่ที่ ๗๘% โดยปัญหา
อุปสรรคที่พบเป็นเรื่องของการนัดหมายให้ผู้ประกอบการที่เป็น digital providers เข้าไปในพื้นที่เพื่อติดตั้งมีการ
เลือ่ นระยะเวลาหลายครั้งเพราะเวลาที่สะดวกไมต่ รงกนั
มติทป่ี ระชุม รับทราบ

-๖-
วาระ ๓.๒ รายงานความคืบหนา้ โครงการฯ ประจำปี ๒๕๖๕ ภายใตม้ าตรการ Transformation

สำหรับความคืบหน้าโครงการฯ ประจำปี ๒๕๖๕ ภายใต้มาตรการ Transformation
ที่ส่งเสริม SME ด้านการเกษตรท่องเที่ยว โดยในปีนี้มีเป้าหมาย ๒ โครงการ ได้รับเอกสารยื่นเสนอโครงการเข้ามา
จำนวน ๑ โครงการ คือ โครงการศนู ยก์ ารเรียนรศู้ นู ย์อนิ ทรยี ก์ ารทำเกษตรปลอดสารเคมีอย่างปลอดภยั โดยบรษิ ัท
ปยุ๋ แม่โจ้ ๔๗ จำกัด ตง้ั อยู่ที่ ตำบลแหลมทอง อำเภอหนองบญุ มาก จังหวัดนครราชสีมา จำหนา่ ยปยุ๋ อินทรีย์ทับทิม
วงแสงทอง ผลิตจากมูลไก่ไข่ผสมกับยิปซัมที่ได้จากมันสำปะหลัง โดยมีความต้องการแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อ
จะช่วยในการซับพอร์ตลูกค้า ทั้งน้ีข้อเสนออยู่ระหว่างรอนำเข้าที่ประชุมพิจารณาจากคณะอนุกรรมการฯ ของ
Depa เมื่อได้รับการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการฯ แล้วจึงจะเข้าสู่กระบวนการดำเนินการจัดทำสัญญา สำหรับ
งบประมาณทีค่ งเหลอื ได้ถูกดงึ คนื ดังน้นั ในปนี จ้ี งึ มีโครงการในพื้นท่จี งั หวดั นครราชสมี าเพียงจำนวน ๑ โครงการ
มติที่ประชุม รับทราบ

-๗-

วาระท่ี ๔ เรอ่ื งเพือ่ พิจารณา

วาระ ๔.๑ (ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั จงั หวดั นครราชสีมา พรอ้ มระดมความคิดเหน็
โดย ฝา่ ยนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำนกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั

ขณะนี้ตัวแผนระดับประเทศอยู่ในระหว่างการจัดทำ โดยทำพร้อม ๆ กับแผนระดับพื้นท่ี
ข้อมูลจึงถูกแชร์ไปในระดับประเทศด้วย ทางโครงการจะต้องหารือกับทางจังหวัดต่อไป แผนระดับประเทศมีอยู่ ๔
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ๑. เรื่องของคน ๒. การพัฒนาเศรษฐกิจ ๓. พัฒนาสังคม และ ๔. พัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและนวัตกรรม โดยจะขับเคลื่อนผ่าน ๑๐ โปรแกรม ทั้งนี้ ๒ อันแรกเป็นเรื่องของคน ซึ่งมีอยู่ ๒ มิติ คือ
๑. มิติดิจิทัล เน้นที่วัยแรงงานและเด็กรุ่นใหม่ที่จะเข้าสู่สายดิจิทัล และ ๒ คือ การให้คนตระหนักรู้เรื่องดิจิทัล ใน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ผ่าน ๓ โปรแกรมใหญ่ ๆ เรื่องแรกเกี่ยวกับ digital transformation เป็นการ
transform เพอื่ ให้ในอุตสาหกรรมมีการประยกุ ตใ์ ช้ดจิ ทิ ัลเพ่อื ช่วยกระบวนการทำงานมีประสิทธภิ าพมากข้ึน อกี ๒
โปรแกรม คือ พัฒนาฝั่ง supply เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการที่อยู่ในอุตสาหกรรมดิจิทัล เพราะ
กลมุ่ เหล่านเ้ี ป็นคนสำคญั ทจ่ี ะชว่ ยทั้งภาค real sector และชมุ ชน

-๘-

ในส่วนของยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสังคมดิจิทัลมีอยู่ ๒ โปรแกรมใหญ่ ๆ คือ ให้ชุมชนใช้ดิจิทัล
เพื่อแก้ปัญหาของชุมชนที่เกิดขึ้นคือให้ชุมชนวิเคราะห์มาว่าความต้องการและปัญหาของชุมชนคืออะไร ทั้งนี้
depa ก็สนบั สนุนทัง้ เครื่องมือและผ้เู ชย่ี วชาญเขา้ ไปช่วยแก้ปัญหา ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ พฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานรองรบั
นวัตกรรม เกย่ี วกบั big data, cyber security, smart city ในสว่ นของ cyber security คือ การเพ่ิมการตะหนัก
ใหก้ ับผใู้ ช้เชน่ กลมุ่ SMEs หรอื กล่มุ ผู้เปราะบาง (ผ้พู ิการหรอื เด็ก)

แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลรายพื้นที่ และประเด็นการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจะถูกบูรณาการ
เข้ากับแผนพัฒนาจังหวัด เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการในพื้นที่เสนอของบประมาณประจำปี อีกส่วนหนึ่งอาศัย
รายได้เพื่อการดำเนินการจากเงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเป็นรายปี และการจัดสรร
จาก “กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ที่บริหารโดย คณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือ
เศรษฐกิจและสังคม เพื่อใช้จ่ายเกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของพื้นที่ที่สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล [มาตรา 44] และเปน็ ไปตามนโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยการพัฒนา
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ
แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดอื่นๆ ที่มีเป้าหมายการขับเคลื่อนเหมือนกันในลักษณะโครงการสำคัญหรือ
โครงการมงุ่ เปา้ (Flagship Project) เพ่อื ขับเคลื่อนแผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลในรูปแบบของความรว่ มมือกันผ่าน
แผนงาน โครงการในระดับประเทศทม่ี ผี ลกระทบเชิงเศรษฐกจิ และสงั คมสูง

นอกจากนี้ การขับเคลื่อนแผนฯ หน่วยงานต่างๆ ยังอาจขอของบประมาณจากแหล่งทุนจากกองทุน
นอกงบประมาณอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วหากเป็นภารกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรง อาทิ กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย (ในด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน) กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม (ในด้านการพัฒนา SME) กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ในด้าน Smart City - พลังงาน)
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ (ในด้านการพัฒนาชุมชน) กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
(ในด้านการพัฒนาสื่อ) กองทนุ พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (ในด้านการเรียนรู้ของประชาชน)

สำหรับการสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ัลจังหวัดนครราชสมี า จะถูกเสนอพจิ ารณาผา่ นกลไกแผนพัฒนา
จังหวัด โดยเสนอเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ตาม
ขั้นตอนการขับเคลื่อนการบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลรายพื้นที่ฉบับนี้จะเป็น
ทิศทางและแนวทางให้ส่วนราชการ/หน่วยงาน อำเภอ องค์กรส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน สถาบันการศึกษา
และภาคประชาสังคม บรู ณาการการทำงานร่วมกนั

-๙-

การจัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา depa จะมุ่งเน้นเสริมศักยภาพของ
พื้นที่ตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด โดยมีรายละเอียดการเชื่อมโยงแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกับแผนพัฒนา
จงั หวดั นครราชสีมา ประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ การพัฒนา ดังต่อไปนี้

ประเด็นการพฒั นา การขับเคล่อื น ตวั ชว้ี ดั ค่าเปา้ หมาย
1. สง่ เสรมิ พฒั นา และ จำนวน Smart Farmer/ Young Smart 30
ยกระดับดา้ นการเกษตร 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพดา้ น Farmer ไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะดิจิทลั
และเกษตรแปรรูปมูลคา่ สงู ดจิ ิทลั ใหเ้ กษตรกรและผปู้ ระกอบการ รายตอ่ ปี
ธุรกิจเกษตร ธุรกจิ หรือฟาร์มหรือเกษตรกรมีการ
2. สง่ เสรมิ พัฒนา โครงสรา้ ง 2) สง่ เสรมิ การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดจิ ทิ ัล 10
พนื้ ฐาน เพื่อยกระดบั เศรษฐกิจ และนวตั กรรมดิจิทลั ตลอดห่วงโซม่ ลู ค่า รายต่อปี
การท่องเทย่ี ว การค้า การลงทนุ 3) ส่งเสรมิ การยกระดับคุณภาพสนิ คา้ จำนวนแรงงานและผู้ประกอบการดา้ นการ
อุตสาหกรรม เศรษฐกจิ BCG เกษตรแปรรูป ทอ่ งเทย่ี วและบริการท่ีได้รบั การพัฒนา 100
และเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) สง่ เสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพดา้ น ทกั ษะดิจิทลั รายต่อปี
ดิจิทัลใหแ้ รงงานและผปู้ ระกอบการ ธุรกิจหรอื ผูป้ ระกอบการ SME หรือวสิ าหกจิ
ชุมชนทอ่ งเทีย่ วมีการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี 10
2) ส่งเสริมการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี และนวตั กรรมดิจิทลั รายต่อปี
และนวตั กรรมดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่มูลค่า

-๑๐-

ประเดน็ การพัฒนา การขับเคลือ่ น ตัวชีว้ ัด คา่ เป้าหมาย

3. เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคน ๓) สง่ เสรมิ การประยกุ ต์ใชด้ จิ ทิ ลั อัตราการเตบิ โตของมูลคา่ ตลาด รอ้ ยละ 10
ชมุ ชน เมอื ง และการ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดิจิทลั หรือ อตุ สาหกรรมดจิ ิทัลในพื้นท่ีเพ่มิ ข้ึน ตอ่ ปี
ยกระดับการบริหารจดั การ พัฒนาแอปพลิเคชนั ในรปู แบบการ
ภาครัฐ เพอื่ สงั คมคุณภาพสูง ทอ่ งเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม เยาวชนระดบั อาชีวศกึ ษาท่ไี ด้รับการพฒั นา 200
๔) สง่ เสริมการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั รายตอ่ ปี
4. Mega Program : และแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั (1) ศนู ย์การเรียนรู้แบบ Digital Coding
การพัฒนา Smart City ๕) ส่งเสริมใหภ้ าคเอกชนและประชาชน และ Programing หรือโรงเรียนต้นแบบ 4
ใชส้ ินคา้ และบรกิ ารดจิ ทิ ลั ท่ีมีคณุ ภาพ พืน้ ท่พี ฒั นานกั ประดิษฐ์ดิจิทัล เพ่ือเป็น โรงเรยี นต่อปี
1) ส่งเสริมการเรียนร้เู ชงิ ปฏิบตั ิการ โรงเรียนพี่เลี้ยง
สร้างสรรคน์ วตั กรรม (2) เยาวชนระดับประถมศึกษาและ 1,000
2) ส่งเสรมิ การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี มัธยมศกึ ษาทไี่ ด้รับการพัฒนาทกั ษะดา้ น รายตอ่ ปี
ดิจทิ ัลเพื่อการศึกษาในการสรา้ ง ดจิ ทิ ลั รอ้ ยละ
ห้องเรียนดจิ ิทลั และ การพฒั นาทักษะ กำลงั คนภาครัฐท่ีไดร้ ับการพฒั นาทักษะดา้ น
ดิจิทลั สำหรบั เยาวชนร่นุ ใหม่ ดจิ ทิ ัล 10
(1) ประชาชนในพ้ืนทเ่ี รียนรู้ตลอดชีวิตผา่ น รอ้ ยละ
3) ส่งเสรมิ การยกระดบั ทกั ษะดิจทิ ัล แพลตฟอร์มออนไลน์ 30
บคุ ลากรภาครัฐในพ้ืนที่ (2) กลุ่มเปราะบางในพื้นท่ี ท่เี ขา้ ถึงและ 30
4) สง่ เสรมิ การสร้างความตระหนักรู้ ได้รบั การพฒั นาทักษะดิจทิ ัล รายตอ่ ปี
ทางดิจิทลั ให้กับประชาชน และกล่มุ โครงการพฒั นาชมุ ชนหรือวิสาหกิจชุมชน 10
เปราะบางในพน้ื ที่ ดว้ ยเทคโนโลยีและนวตั กรรมดจิ ิทัล โครงการ
ภายใน
5) ส่งเสริมการยกระดบั ศนู ยด์ จิ ทิ ัล (1) พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางกายภาพ 5 ปี
ชุมชน หรอื ศูนย์เรียนรใู้ นพ้ืนที่ และดิจิทัลทีจ่ ำเปน็
ตลอดจนสนับสนนุ การประยกุ ต์ใช้ (2) โครงการ Korat Smart City มกี าร ภายใน
เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการพัฒนาชุมชน ขบั เคลอื่ นการพัฒนาตามแผนการพฒั นา ปี 2570
1) พัฒนาสง่ิ อำนวยความสะดวก และ เมอื งอจั ฉรยิ ะ รอ้ ยละ 80
ระบบนเิ วศท่จี ำเปน็ (1) สรา้ งเครือขา่ ยการมีสว่ นร่วมการพัฒนา ภายใน
เมืองอัจฉริยะท้ังภาคเอกชน ภาคประชาชน ปี 2567
2) สรา้ งเครือขา่ ยและเชื่อมโยงข้อมูล และภาครฐั
รวมท้ังส่งเสริมให้เกดิ การนำไปใช้ (๒) จดั ทำ data catalog ของพ้นื ท่ีเพอ่ื ใหม้ ี
ประโยชน์ ชุดขอ้ มูลสำหรบั บรหิ ารจัดการเมืองอัจฉริยะ

-๑๑-

ประเดน็ การพฒั นา การขบั เคลอ่ื น ตวั ชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย

(3) เกิด Data Platforms โดยการมี

ส่วนรวมของภาคเอกชน สำหรับการพฒั นา

เมืองอจั ฉรยิ ะ

(4) มีชดุ ข้อมลู สำหรับการบรหิ ารจดั

การเมอื ง โดยความรว่ มมือของภาครฐั และ

ภาคเอกชน สำหรับการบรหิ ารจดั การเมือง

ครบ 7 ด้าน ภายใน

(5) พฒั นา API เพ่อื เชือ่ มต่อแพลตฟอรม์ ปี 2570

ต่างๆ ทงั้ ภายในและภายนอกพน้ื ท่ี

(6) จดั ใหม้ ี open data เพ่ือตอ่ ยอดการ

นำไปใชป้ ระโยชน์

ประธานได้กลา่ วสอบถามเร่ืองตวั ช้ีวดั คา่ เปา้ หมาย รวมถึงประเดน็ การพัฒนา และการขับเคล่ือน

ข้างต้น สามารถปรับเพิ่มลดได้หรือไม่ และรวมไปถึงในส่วนของรายละเอียดบางข้อ สามารถยุบรวมกันได้หรือไม่

เนื่องจากพิจารณาแล้วมีความคล้ายเคียงกัน โดยประธานและคณะกรรมการได้หารือภายใต้ประเด็นการพัฒนา

ดังต่อไปนี้

- ประเด็นการพัฒนาที่ 1 หัวข้อการขับเคลื่อน ข้อที่ 2 และ 3 สามารถสรุปรวมเป็นข้อ

เดียวกันได้หรือไม่ เนื่องจากคณะกรรมการเห็นว่ามีความสอดคล้องกัน และมีตัวชี้วัด

เดียวกัน

- ประเด็นการพฒั นาที่ 2 หวั ข้อการขับเคลือ่ น

ข้อท่ี 1 ส่งเสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพด้านดิจทิ ลั ให้แรงงานและผู้ประกอบการ เหน็ ควร

ให้ระบุ “ดา้ นการท่องเที่ยว” เพิ่มเข้ามา เพื่อให้สอดรับกบั ตัวชว้ี ดั ท่รี ะบุ

ขอ้ ท่ี 3-5 ขอให้ทาง depa พิจารณาอีกครั้งวา่ สามารถสรุปรวมเปน็ ขอ้ เดียวกันได้หรอื ไม่

เนอ่ื งจากแตล่ ะขอ้ มคี วามสอดคลอ้ งและมีความหมายใกลเ้ คยี งกัน

- ประเดน็ การพฒั นาที่ 3 หัวขอ้ การขบั เคลอื่ น ได้แก่

ข้อท่ี 2 ขอให้ปรบั กรอบขับเคลอ่ื น อาจจะเนน้ ไปทก่ี ารพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ัลสำหรบั
เยาวชนรุน่ ใหม่
ขอ้ ท่ี 4 อาจจะเน้นไปท่ีการพฒั นาผปู้ ระกอบการดิจิทลั (Digital Provider และ
Digital Startup) ในพนื้ ที่ โดยตวั ชี้วดั อยากใหป้ รบั เพือ่ ใหส้ อดคล้องกัน และ
ขอ้ ท่ี 5 อยากให้เนน้ ไปท่ีสนบั สนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการพัฒนาชุมชน
และปรับตวั ชว้ี ดั ให้สอดคลอ้ งกนั /ประเดน็ ...

-๑๒-

- ประเดน็ การพัฒนาที่ 4 หัวขอ้ การขบั เคลอ่ื น
ข้อที่ 1 ขอให้ depa ปรับในเรื่องของตัวชี้วัด ข้อที่ 1 และ 2 ให้เน้นไปท่ีการขับเคลื่อน
การพัฒนาตามแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของพื้นที่ เป้าหมายภายในปี 2566 และ
การมี City Data Platform ค่าเป้าหมาย ภายในปี 2567 เพื่อให้เป็นกรอบในการ
ขบั เคล่ือน
ข้อที่ 2 สร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงข้อมูล รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์
อาจจะแยก “ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์” ออกมาเป็นอีกหัวข้อ เพื่อให้ง่าย
ต่อการขับเคล่ือน และเห็นควรใหป้ รบั ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมายให้มีความสอดคล้องกนั
โดยการสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงขอ้ มูล ตัวชี้วัดอาจจะเน้นไปที่การมี Data catalog
ของพื้นที่ และมีการเพิ่มชุดข้อมูลเมืองอย่างต่อเนื่อง และหัวข้อ ส่งเสริมให้เกิดการ
นำไปใช้ประโยชน์ อาจจะเน้นไปที่การมี Open data ที่เป็นชุดข้อมูลเมือง เพื่อให้
นกั พฒั นาตอ่ ยอดการนำไปใช้ประโยชน์ เป้าหมายภายในปี 2568

ฝ่ายนโยบายและยุทธศาสตร์ ได้ชี้แจงว่าสามารถดำเนินการปรับเพิ่มลดได้ทุกรายข้อ เพื่อให้สอดรับ
และตรงตามความต้องการของพื้นท่ี และพร้อมนำข้อเสนอแนะกลับไปดำเนินการเพื่อเตรียมนำเข้าพิจารณาใน
คณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) จงั หวดั นครราชสีมาตอ่ ไป

มติที่ประชุม รับทราบ
วาระที่ ๕ เรอื่ งอื่นๆ (ถา้ มี)

วาระ ๕.๑ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม "Smart City Ambassadors Road Show" พร้อมให้ข้อมูล
รายละเอียดโครงการ "นักดิจิทัลพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ รุ่น ๒" (Smart City Ambassadors: SCA๒) และ
แนวทางการสมัครเข้าร่วมโครงการฯ วนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ผา่ นระบบออนไลน์ Microsoft Teams

โดย นายธวชั ชยั โคตรวงษ์ ผอู้ ำนวยการเขตพื้นท่ีภาคอีสาน (depa)

โครงการปั้นนักดิจิทัลพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ รุ่นที่ ๒ (The Smart City Ambassador gen ๒ - SCA๒)
โดย depa เป็นการเชิญชวนคนรักบ้านเกิดมาร่วมพัฒนาเมืองน่าอยู่ จำนวน ๑๕๐ คน ๑๕๐ เมือง สมัครได้ทุก
จังหวดั ทว่ั ประเทศ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ยกระดบั ความรแู้ ละสรา้ งทกั ษะด้านการพฒั นาเมืองอจั ฉรยิ ะ การประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพื่อบรหิ ารจดั การเมืองอย่างยั่งยนื ใหก้ ับเยาวชน นักศกึ ษาจบใหม่ หรอื ประชาชนท่ัวไปที่
มีอายุระหว่าง ๒๒-๓๐ ปี โดยผู้ที่เข้าโครงการจะได้ร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะด้านการพัฒนาเมืองอัจฉริยะและ
ปฏิบัติงานในฐานะ “นกั ดิจิทลั พฒั นาเมืองรุ่นใหม”่ หรอื “Smart City Ambassador” พรอ้ มรบั สทิ ธปิ ระโยชน์ ดงั น้ี

-๑๒-

1. รับเงินเดอื น ๑๗,๐๐๐ บาท ระยะเวลา ๑ ปี
2. ร่วมกิจกรรม Smart City Ambassador Boot Camp ยกระดับทักษะพัฒนา Smart City
สุดเขม้ ข้น เรียนรู้เทคโนโลยใี หม่ๆ เพอื่ พัฒนาเมืองอจั ฉรยิ ะน่าอยู่
3. ได้รบั ประกาศนยี บัตรพรอ้ มโอกาสรว่ มงานกับเมืองและผู้ประกอบการด้านการพัฒนาเมือง
มติทป่ี ระชุม รับทราบ
ปิดประชมุ เวลา ๑๕.๐๐ น.

(นางสาวศิรปิ ระภา ประภากรเกียรต)ิ
ผ้จู ดรายงานการประชมุ

สำนักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั

(รา่ ง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั จงั หวัดนครราชสีมา

สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัล
กรกฎาคม 2565

2

บทสรุปผู้บริหาร

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการผลักดันการพัฒนาความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมไปยังทุกภูมิภาคท่ัว
ประเทศ และเป็นแหล่งจ้างงานและท่ีอยู่อาศัย เพื่อกระจายความเจริญในทุกภูมภิ าคของประเทศอย่างมีระบบการ
บรหิ ารจดั การเมอื งที่มีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ให้ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแข่งขันสูงข้นึ เกดิ ศูนย์กลางความ
เจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อกระจายความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ภายใต้กรอบการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งผังพื้นที่อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ แหล่งโบราณคดี และลดชอ่ งวา่ งความเหลื่อมล้ำระหว่างพน้ื ทล่ี ง

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (สศด.) มีภารกิจหลกั ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกดิ การขับเคล่อื น
เศรษฐกจิ และสงั คมสู่ยุคดจิ ิทัล มุ่งเน้นการขบั เคลื่อนให้เกิดการประยกุ ต์ใช้ดิจิทลั ทั้งภาคธรุ กจิ ภาคสังคม และประชาชน
รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล ดังนั้น สศด. จึงมีแนวคิดในการจัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลรายพื้นท่ี
เพื่อมุ่งเน้นเสริมศักยภาพของพื้นที่ ด้วยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปพัฒนาพื้นที่ สร้างโอกาส ผลักดันเศรษฐกิจและ
สงั คมดจิ ทิ ัลของจงั หวัดสเู่ ศรษฐกิจยุคใหม่

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็นฐานเศรษฐกิจสำคัญของภาค มีความหลากหลายของภาค
การผลิตสินค้าเกษตร เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาค
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จึงได้จัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมาขึ้น เพื่อส่งเสริมให้
เกิดระบบนเิ วศที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจและสังคมของจังหวดั ให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างสมบูรณ์
เพื่อยกระดับการพัฒนาจังหวัดตามศักยภาพ และความต้องการของพื้นที่ บนความเข้าใจและความร่วมมือของ
ชุมชน และมีเป้าหมายให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มีระบบเศรษฐกิจที่สามารถอยู่ไดด้ ้วยตนเองจากทรัพยากรที่มี
อยู่ในพืน้ ท่หี รือทอ้ งถิน่

การส่งเสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของจังหวดั นครราชสมี า ให้เขา้ สู่ระบบเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั เป็นการ
พัฒนาตามศักยภาพและความต้องการของจังหวัด ในการก้าวสู่การเป็น “ศูนย์กลางโครงข่ายคมนาคม การ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และศิลปวัฒนธรรมของภูมิภาค นวัตกรรมการเกษตรและอุตสาหกรรม และเป็นสังคม
คุณภาพสูง” มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรไปสู่การเป็นเกษตรอัจฉริยะ การพัฒนาศักยภาพกลุ่ม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไปสู่การเป็นท่องเที่ยวอัจฉริยะ การส่งเสริมการค้า การลงทุน โดยใช้เทคโนโลยีและ
นวตั กรรมดจิ ทิ ัลเป็นกลไก เพือ่ สร้างสรรคร์ ูปแบบสินค้าและบริการใหม่ทางด้านเกษตร และดา้ นการท่องเท่ียวและ
บริการ ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล (Agriculture & Tourism Platform) การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการ

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลจังหวัดนครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั

3

ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาพื้นที่ รวมทั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความ
สะดวกด้านดิจิทัล และการสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล การสร้าง
แพลตฟอร์มข้อมูล การส่งเสริมให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ การพัฒนา Smart City และ City Data
Platform เพื่อพัฒนาจังหวัดนครราชสีมาสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ โดยแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดจะ
ประสบความสำเร็จเม่อื

1. เพม่ิ ศักยภาพกำลงั คนด้านดจิ ิทลั ไม่น้อยกวา่ 1,360 รายต่อปี
2. จำนวนธุรกจิ ด้านการเกษตร และดา้ นการทอ่ งเท่ียวทปี่ รับเปลย่ี นสูแ่ พลตฟอรม์ ดจิ ิทลั

ไมน่ ้อยกว่า 20 รายต่อปี
3. ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลและเทคโนโลยดี จิ ิทัลในมิตติ า่ งๆ

ไม่น้อยกวา่ 10 โครงการ
4. เกิด Data Platforms โดยการมสี ่วนรวมของภาคเอกชน เพอ่ื การพัฒนาเมืองอจั ฉริยะ

ภายในปี 2567

โดยมปี ระเด็นการพัฒนา และการขับเคลอ่ื น ดงั ตอ่ ไปน้ี

ประเดน็ การพัฒนา การขับเคลอ่ื น ตวั ช้วี ัด ค่า
เป้าหมาย
1. ส่งเสริม พัฒนา และ 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพด้าน จำนวน Smart Farmer/ Young Smart
ยกระดับด้านการเกษตร ดิจิทัลให้เกษตรกรและผู้ประกอบการ Farmer ได้รับการพฒั นาทักษะดิจิทลั 30
และเกษตรแปรรปู มลู ค่าสูง ธุรกจิ เกษตร รายตอ่ ปี
2) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ธุรกิจหรือฟาร์มหรือเกษตรกรมีการ
และนวัตกรรมดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 10
มูลค่า รวมถึงการยกระดับคุณภาพ ดิจทิ ลั รายตอ่ ปี
สนิ คา้ เกษตรแปรรปู

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั จังหวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล

4

ประเด็นการพฒั นา การขับเคลือ่ น ตวั ชว้ี ดั คา่
เป้าหมาย
2. ส ่ ง เ ส ร ิ ม พ ั ฒ น า 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพด้าน จำนวนแรงงานและผู้ประกอบการด้าน
โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อ ดิจิทัลให้แรงงานและผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวและบริการที่ได้รับการ 100
ยกระดับเศรษฐกิจ การ ดา้ นการท่องเทีย่ ว พฒั นาทักษะดจิ ทิ ัล รายต่อปี
ท่องเที่ยว การค้า การ 2) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ธุรกิจหรือผู้ประกอบการ SME หรือ
ลงทุน อุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่ วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวมีการ 10
เศรษฐกิจ BCG และเขต มลู ค่า ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม รายตอ่ ปี
เศรษฐกจิ พิเศษ ดจิ ิทลั
3) ส่งเสริมการพัฒนาผู้ประกอบการ อัตราการเติบโตของมูลค่าตลาด รอ้ ยละ 10
3. เสริมสร้างและพัฒนา ดิจิทัล (Digital Provider และ Digital อตุ สาหกรรมดิจทิ ลั ในพน้ื ทเ่ี พมิ่ ขึน้ ต่อปี
คน ชุมชน เมือง และการ Startup) ในพ้ืนท่ี
ยกระดบั การบริหารจัดการ 1) ส่งเสริมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เยาวชนระดับอาชีวศึกษาที่ได้รับการ 200
ภาครัฐ เพื่อสังคม สร้างสรรคน์ วัตกรรมดิจทิ ัล พัฒนาทักษะด้านดจิ ิทัล รายตอ่ ปี
คุณภาพสูง 2) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัล (1) ศ ู นย ์ กา ร เ ร ี ย นร ู ้ แ บ บ Digital
สำหรับเยาวชนร่นุ ใหม่ Coding แ ล ะ Programing ห รื อ 4
โ ร ง เ ร ี ย น ต ้ น แ บ บ พ ื ้ น ท ี ่ พ ั ฒ น า นั ก โรงเรียนตอ่
3) ส่งเสริมการยกระดับทักษะดิจิทัล ประดิษฐ์ดิจิทลั เพื่อเปน็ โรงเรยี นพเี่ ลยี้ ง
บุคลากรภาครฐั ในพ้ืนที่ (2) เยาวชนระดับประถมศึกษาและ ปี
4) ส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ มัธยมศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทักษะ
ทางดิจิทัลให้กับประชาชน และกลุ่ม ดา้ นดิจทิ ลั 1,000
เปราะบางในพืน้ ที่ กำลังคนภาครัฐทีไ่ ด้รบั การพัฒนาทักษะ รายต่อปี
ดา้ นดจิ ิทลั
5) สนับสนุนการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี (1) ประชาชนในพื้นที่เรียนรู้ทักษะ รอ้ ยละ
ดิจทิ ลั ในการพัฒนาชมุ ชน ดิจทิ ลั 10
(2) กลุ่มเปราะบางในพื้นที่เข้าถึงและ
ได้รับการพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ัล ร้อยละ
โครงการพฒั นาชุมชนด้วยเทคโนโลยี 30
และนวัตกรรมดจิ ทิ ัล 30

รายตอ่ ปี
10

โครงการ
ภายใน
5 ปี

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลจงั หวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล

5

ประเด็นการพฒั นา การขบั เคลื่อน ตัวชว้ี ดั ค่า
เป้าหมาย
4. Mega Program: 1) พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก และ (1) มีการขบั เคล่ือนการพฒั นาตาม
การพัฒนา Smart City ภายในปี
ระบบนเิ วศท่ีจำเป็น แผนการพัฒนาเมอื งอัจฉรยิ ะของพ้ืนที่ 2566

(โครงการ Korat Smart City) ภายในปี
2567
(2) มี City Data Platform ภายในปี
2567
2) สรา้ งเครอื ข่ายและเชื่อมโยงข้อมูล มี Data catalog ของพ้นื ที่ และมีการ ภายในปี
เพ่ิมชดุ ข้อมูลเมืองอย่างตอ่ เนือ่ ง 2568

3) ส่งเสริมให้เกดิ การนำไปใช้ประโยชน์ มี Open data ทเ่ี ป็นชุดขอ้ มูลเมอื ง
เพื่อให้นักพัฒนาตอ่ ยอดการนำไปใช้
ประโยชน์

กลไกขบั เคลื่อนแผนสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทัลจังหวัดนครราชสีมา จำเป็นตอ้ งดำเนินการผ่านการบูรณาการ
ความร่วมมือระหว่างพันธมติ รทกุ ภาคสว่ น ท้งั จากภาครฐั (เชน่ สำนักงานจังหวัด สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล
สำนักงานสถิติจังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สำนักงาน
ศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด และสํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด เป็นต้น) ภาคเอกชน
(เช่น สภาอุตสาหกรรมจงั หวัด หอการค้าจังหวัด และบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) เป็นต้น) ภาค
วิชาการ (เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา และวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา เป็นต้น) ภาคประชาชนในพื้นที่ และหน่วยงานในท้องถิ่นที่
เกีย่ วขอ้ ง เพ่อื ใหก้ ารขบั เคล่ือนแผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั จังหวัดนครราชสีมา บรรลตุ ามเปา้ ประสงค์ท่ีตั้งไว้ และ
เป็นไปตามความต้องการของประชากรในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาอย่างแท้จริง โดยกลไกขับเคลื่อนแผนส่งเสริม
เศรษฐกจิ ดิจิทลั จังหวดั นครราชสมี า จะแบ่งการขบั เคลอ่ื นออกเปน็ 2 กลไก ได้แก่

(1) การขับเคล่ือนระดับพน้ื ที่ สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ส่วนกลาง และสำนกั งานฯ สาขาภาคอีสาน
ตอนกลาง จะเสนอแผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทัลจังหวัดนครราชสีมา เข้าสูก่ ารพิจารณาผา่ นกลไกแผนพัฒนาจังหวัด
โดยเสนอเขา้ สู่กระบวนการพจิ ารณาของคณะกรรมการบริหารงานจังหวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) ตามข้ันตอนการ
ขับเคลื่อนการบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลรายพื้นที่ฉบับนี้จะเป็นทิศทางและ
แนวทางให้ส่วนราชการ/หน่วยงาน อำเภอ องค์กรส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และภาค
ประชาสังคม บรู ณาการการทำงานรว่ มกัน

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั จงั หวัดนครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล

6

(2) การขับเคลื่อนระดับนโยบาย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลส่วนกลาง และสำนักงานฯ สาขาภาค
อีสานตอนกลาง จะทำหน้าที่ประสานงาน อำนวยความสะดวก และดำเนินการขับเคลื่อนแผนส่งเสริมเศรษฐกิจ
ดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัลจังหวัดอื่นๆ ที่มีเป้าหมายการขับเคลื่อนเหมือนกัน
ในลักษณะโครงการสำคัญหรือโครงการมุ่งเป้า (Flagship Project) เพื่อขับเคลื่อนแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลใน
รูปแบบของความร่วมมือกันผ่านแผนงาน โครงการในระดับประเทศที่มีผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมสูง
รวมถงึ การประสานงานดา้ นงบประมาณผา่ นกองทุนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม

(ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั จังหวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล

7 หน้า

สารบัญ 8
10
1. บทนำ 10
2. การสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทลั ในพน้ื ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา 10
11
2.1 หลักการของแผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั รายพน้ื ที่ 14
2.2 เปา้ หมายของแผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั รายพ้ืนที่ 34
2.3 ยุทธศาสตร์การส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
2.4 ประเด็นการพัฒนา และการขบั เคล่อื น
3. กลไกการขับเคลอ่ื นแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจงั หวดั นครราชสมี า

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลจังหวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล

8

1. บทนำ

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการผลักดันการพัฒนาความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมไปยังทุกภูมิภาคท่ัว
ประเทศ และเปน็ แหลง่ จ้างงานและท่ีอยู่อาศัย เพ่ือกระจายความเจรญิ ในทุกภูมิภาคของประเทศอย่างมีระบบการ
บริหารจัดการเมอื งทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแข่งขนั สงู ขึ้น เกิดศนู ยก์ ลางความ
เจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อกระจายความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ภายใต้กรอบการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งผังพื้นที่อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ แหลง่ โบราณคดี และลดชอ่ งวา่ งความเหล่อื มลำ้ ระหวา่ งพืน้ ที่ลง

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (สศด.) มีภารกิจหลกั ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกดิ การขับเคล่อื น
เศรษฐกิจและสังคมสู่ยุคดิจิทัล มุ่งเน้นการขับเคลื่อนให้เกิดการประยุกต์ใช้ดิจิทัลทั้งภาคธุรกิจ ภาคสังคม และ
ประชาชน รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล ที่ผ่านมาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลยังกระจุกตัวอยู่ใน
ส่วนกลาง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับพ้นื ท่ียังไม่มีแนวทางที่ชดั เจนนัก ดังนั้น สศด. จึงมีแนวคิดในการ
จัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลรายพื้นที่ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสามารถทุ่มเททรัพยากรในการขับเคลื่อน
ให้บรรลเุ ป้าหมายของจงั หวัด โดยในปี 2564 สศด. ได้กำหนดพ้ืนทเ่ี ป้าหมายในการส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั รายพื้นท่ี
ใน 5 พ้นื ท่ี 22 จังหวัด

ในการน้ี เพอ่ื ขยายผลการดำเนินการ สศด. จงึ ไดก้ ำหนดพน้ื ที่เป้าหมายในการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลราย
พื้นท่ี ในปี 2565 ใน 5 พื้นที่ 26 จังหวัด และจะขยายผลการดำเนินการให้ครบ 77 จังหวัด ในระยะต่อไป โดยมีพื้นที่
เปา้ หมาย ดังตอ่ ไปนี้

1) พื้นทภ่ี าคเหนอื ประกอบดว้ ย 6 จังหวัด ได้แก่ เชยี งราย ลำพนู พะเยา สุโขทัย กำแพงเพชร และเพชรบรู ณ์
2) พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ ยโสธร นครพนม บุรีรัมย์ สกลนคร

มหาสารคาม นครราชสมี า ชัยภูมิ และศรีสะเกษ
3) พื้นทีภ่ าคกลาง ประกอบดว้ ย 2 จังหวัด ไดแ้ ก่ สิงห์บุรี และสุพรรณบรุ ี
4) พ้ืนท่ภี าคตะวนั ออก ประกอบด้วย 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแก้ว
5) พนื้ ทีภ่ าคใต้ ประกอบด้วย 7 จังหวัด ชมุ พร สรุ าษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช ตรัง ยะลา นราธวิ าส และสตูล

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจังหวัดนครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั

9

จากข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด บ่งชี้ว่า จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็น
ฐานเศรษฐกิจสำคัญของภาค มีความหลากหลายของภาคการผลิตสินค้าเกษตร เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรม และ
การท่องเที่ยว และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาค แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา จึงให้
ความสำคญั กับการยกระดบั การพัฒนาเมือง ภาคเกษตร และภาคการท่องเที่ยว เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายของจังหวัด
“ศูนย์กลางโครงข่ายคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และศิลปวัฒนธรรมของภูมิภาค นวัตกรรมการเกษตรและ
อุตสาหกรรม และเป็นสังคมคุณภาพสูง” โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเป็นกลไก มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้
อุปกรณ์ดิจิทัล ซอฟต์แวร์ บริการดิจิทัล ข้อมูล AgriTech และ TravelTech มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและ
ลดตน้ ทนุ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน และศกั ยภาพแรงงานให้กับภาคเศรษฐกิจหลักของจังหวัด ตลอดจน
การพัฒนาศักยภาพประชาชนทุกช่วงวัยให้เท่าทันและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและบริการดิจิทัลในการสร้าง
รายได้ เข้าถึงการศึกษา บริการภาครัฐ และข้อมูลต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ในการเพิ่มโอกาสและความเท่าเทียมทาง
สงั คม เพื่อสร้างการเตบิ โตของเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ทิ ัลของพน้ื ที่อยา่ งยง่ั ยนื

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลจงั หวัดนครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั

10

2. การส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ในพื้นทจี่ งั หวดั นครราชสมี า

2.1 หลกั การของแผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลรายพื้นที่
แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั รายพื้นที่ เป็นแผนปฏิบตั ิการทข่ี บั เคลอื่ นการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดิจิทัล

รายพื้นที่ โดยมุ่งเน้นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปพัฒนาพื้นท่ีให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาตามแผนพัฒนาจังหวัด
และกิจการสาขาจะให้ความสำคัญในการขับเคลื่อนประเด็นการพฒั นาประเด็นทีจ่ ังหวัดระบุเป็นความสำคญั สูงสุด
เป็นลำดับแรก ส่วนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลอื่นๆ ท่ีจังหวัดกำลังดำเนินงานอยู่ ยังคงดำเนินงาน
ต่อเนือ่ งในภารกิจประจำ

กรอบแนวคดิ ของแผนสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ิทัลรายพื้นท่ี สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั รว่ มกบั พันธมิตร
ภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมกับหน่วยงานระหว่างประเทศให้การส่งเสริมและสนับสนุนในการสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ผู้ประกอบการดิจิทัล (Digital Provider) และผู้ประกอบการวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น (Digital Startup) ในการพัฒนา
เทคโนโลยี อุปกรณ์ หรือแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ทันสมัย และนำมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ธรุ กจิ ชุมชน เกษตรกร และผูป้ ระกอบการธรุ กิจในแตล่ ะพ้ืนท่ี ทงั้ มติ ิของการพฒั นาเปน็ รายบุคคล รายธุรกจิ ส่วนการ
พัฒนาในมิติของพื้นที่จะดำเนินการผ่านการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยกลไกขับเคลื่อนสำคัญ คือ
กำลังคน โดยคาดหวังว่าประชาชนทุกคนต้องมีความสามารถในการใช้ดิจิทัล รู้เท่าทัน (ระดับ Literacy) และ
ทักษะดิจิทัลจะเป็นทักษะพื้นฐานสำหรับประชากรทุกอาชีพ รวมถึงการบ่มเพาะกำลังคนสายดิจิทัล เพื่อพัฒนาสู่
การเปน็ ผ้เู ชี่ยวชาญดิจิทลั เฉพาะดา้ นในอนาคต ทงั้ นี้ ต้องพฒั นาระบบนิเวศดิจิทัลและส่งิ อำนวยความสะดวก เพ่ือ
เป็นปัจจยั เก้อื หนนุ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ิทัลในพนื้ ท่ี

2.2 เปา้ หมายของแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั รายพื้นท่ี
เพื่อสนับสนุนให้จังหวัดนครราชสีมา บรรลุเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสู่ “ศูนย์กลางโครงข่ายคมนาคม

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และศิลปวัฒนธรรมของภูมิภาค นวัตกรรมการเกษตรและอุตสาหกรรม และเป็นสังคม
คุณภาพสูง” แผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัลรายพื้นที่ จะมุ่งเน้นเสริมศักยภาพของพื้นที่ ด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล สร้าง
โอกาส ผลักดันเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของจังหวัดนครราชสีมาสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ ตามเป้าหมายของจังหวัด
แผนฯ จึงได้กำหนดเป้าหมายในระยะ 5 ปี ใน 2 ระดบั ดงั น้ี

ระดับผลกระทบ: นัยสำคัญของแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลของจังหวัดนครราชสีมา มุ่งเน้นการ
ดำเนนิ การเพ่ือตอบสนองเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์จังหวัด ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในการ
เพิ่มรายได้ประชากรต่อหัวต่อปี (GPP per capita) เพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ต่อปี

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจงั หวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล

11

ระดับผลลัพธ์: ส่งเสริมการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตร การท่องเที่ยวและบริการ โดยใช้เทคโนโลยี
และนวัตกรรมดิจิทัลสมัยใหม่ และการใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อพัฒนาการเกษตรสู่
เกษตรอัจฉริยะ และพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ท่องเที่ยวอัจฉริยะ เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคการเกษตร
และภาคการทอ่ งเทย่ี วเพิม่ ขึน้ เฉลี่ยรอ้ ยละ 2 ตอ่ ปี

2.3 ยทุ ธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั
ในการขับเคลื่อนแผนแม่บทการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา มุ่งเน้นการนำเทคโนโลยี

และนวัตกรรมดิจิทัล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่มาเสริมจุดแข็งของจังหวัด ที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็น
ฐานเศรษฐกิจสำคัญของภาค มีความหลากหลายของภาคการผลิตสินค้าเกษตรเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรม และ
การท่องเที่ยว และมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและหลากหลาย ทั้งแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติเชิงนิเวศ
ประวตั ศิ าสตร์ อารยธรรม เป็นแหลง่ ผลิตสนิ ค้า ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และอาหาร และมีแหล่งท่องเที่ยวทไี่ ด้รับเลือกให้
เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ ยังเปน็ ศนู ย์กลางการคมนาคม เน่ืองจากมเี ส้นทางเชือ่ มต่อภายในจังหวดั ระหว่างจงั หวัด
และระหว่างภาคที่สะดวกรวดเร็ว แต่ยังมีปัญหาด้านการบริหารจัดการน้ำของจังหวัดในทุกมิติ ท่ียังไม่สามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการในการอุปโภคบริโภค ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรมของ
จังหวัด ยังประสบปัญหาในเรื่องต้นทุนและปัจจัยการผลิตมีมูลค่าสูง รวมทั้ง การบริหารจัดการขยะในพื้นที่ยังไม่
สามารถรองรบั การขยายตัวของประชากรและเมืองได้ ด้วยเหตนุ ้ีสำนกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล จงึ ไดจ้ ัดทำแผน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา เพื่อส่งเสริมให้เกิดระบบนิเวศที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจและ
สังคมของจังหวัดนครราชสีมา ให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างสมบูรณ์ และมีกรอบการขับเคลื่อนไปสู่การ
ปฏิบัติอย่างชดั เจนและเป็นรปู ธรรม โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

(ร่าง) แผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั จงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัล

12

รปู ท่ี 2-1 กรอบแผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัลจงั หวัดนครราชสมี า

โดยการจัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจังหวดั นครราชสีมา สำนักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจะมงุ่ เน้น
เสรมิ ศักยภาพของพ้ืนท่ี ตามเป้าหมายการพัฒนาจงั หวัด โดยมรี ายละเอยี ดการเช่ือมโยงแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
กับแผนพัฒนาจงั หวดั นครราชสีมา ดังต่อไปน้ี

รปู ท่ี 2-2 การเชื่อมโยงแผนสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทลั กับแผนพฒั นาจงั หวัดนครราชสีมา

(ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจังหวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั

13

2.3.1 วตั ถปุ ระสงค์
1) ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีและนวตั กรรมดจิ ทิ ัล และขอ้ มลู มาประยุกต์ใชเ้ พ่ือยกระดับภาคเศรษฐกิจ
และสังคมของจังหวัด ตลอดจนขบั เคล่อื นจังหวดั เข้าส่เู ศรษฐกจิ และสงั คมดิจทิ ลั
2) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้กับประชากรในทุกช่วงวัย และกำลังแรงงานของจังหวัด
เพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพของกำลังคนให้พรอ้ มสู่การใชช้ วี ติ และการทำงานในศตวรรษที่ 21
3) สรา้ งความพร้อมของระบบนิเวศดิจิทลั ให้มีความพร้อมรองรับการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
ตลอดจนการพัฒนาเมอื งอัจฉริยะในมติ ิต่างๆ เพ่ือแก้ปญั หาโดยรวมของพืน้ ทนี่ ำไปสูเ่ มืองนา่ อยู่อัจฉรยิ ะ
4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ทั้งภาครัฐ เอกชน สมาคม ชุมชน
กลุ่มบุคคลตา่ งๆ รวมถงึ ประชาชน ในการดำเนินกจิ กรรม แผนงาน และโครงการอยา่ งเป็นรปู ธรรม

2.3.2 เป้าหมายการพัฒนา
1) มีพลเมืองดิจิทัลที่มีทักษะดิจิทัล มีความรู้เท่าทัน และสามารถใช้ประโยชน์จากดิจิทัลในการ
ดำรงชีวิต และเพิ่มศักยภาพให้กับกำลังแรงงานของจังหวัดในการสร้างโอกาส สร้างอาชีพ และ
ปรับตัวรับการเปล่ยี นแปลงต่อวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมที่อาจเกิดขนึ้ ในอนาคตได้
2) มกี ารขยายตัวของภาคเศรษฐกิจหลักของจังหวัด สรา้ งรายได้จากการประกอบอาชีพรปู แบบใหม่ ให้
เกดิ อาชพี และรายไดส้ ปู่ ระชาชนของจังหวดั
3) เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดบนพื้นฐานของข้อมูล ทำให้ขับเคลื่อนการบริหาร
จดั การเมือง และการพัฒนาเมืองอัจฉรยิ ะได้อย่างมีประสิทธิผล
4) เกิดระบบนิเวศดิจิทัลท่ีพร้อมสนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมดจิ ิทัลของจงั หวัด

2.3.3 ตัวช้ีวดั
1) เพิ่มศักยภาพกำลังคนด้านดจิ ิทลั ไม่นอ้ ยกว่า 1,360 รายต่อปี
2) จำนวนธุรกิจด้านการเกษตร และดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทปี่ รับเปลยี่ นสู่แพลตฟอร์มดิจิทลั
ไมน่ ้อยกว่า 20 รายตอ่ ปี
3) ชมุ ชนสามารถใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในมติ ิต่างๆ ไมน่ ้อยกวา่ 10 โครงการ
4) เกิด Data Platforms โดยการมีส่วนรวมของภาคเอกชน เพ่อื การพัฒนาเมืองอจั ฉริยะ
ภายในปี 2567

(ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัลจงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทัล

14

2.4 ประเดน็ การพฒั นา และการขบั เคล่ือน

ประเด็นการพฒั นา การขบั เคลอ่ื น ตัวชว้ี ัด คา่
เป้าหมาย

1. ส่งเสริม พัฒนา และ 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ จำนวน Smart Farmer/ Young 30

ย ก ร ะ ด ั บ ด ้ า น ด้านดิจิทัลให้เกษตรกรและ Smart Farmer ได้รับการพัฒนา รายตอ่ ปี

การเกษตร และเกษตร ผปู้ ระกอบการธุรกจิ เกษตร ทกั ษะดจิ ทิ ัล

แปรรูปมลู ค่าสงู 2) ส่งเสริมการประยุกต์ใ ช้ ธุรกิจหรือฟาร์มหรือเกษตรกรมี 10

เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ รายต่อปี

ตลอดห่วงโซ่มูลค่า รวมถึงการ นวตั กรรมดิจิทัล

ยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตร

แปรรปู

2. ส ่ ง เ ส ร ิ ม พ ั ฒ น า 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ จำนวนแรงงานและผู้ประกอบการ 100

โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อ ด้านดิจิทัลให้ แร งง า น แ ล ะ ด้านการท่องเที่ยวและบริการที่ รายตอ่ ปี

ยกระดับเศรษฐกิจ การ ผปู้ ระกอบการด้านการทอ่ งเทยี่ ว ได้รบั การพฒั นาทักษะดิจิทัล

ท่องเที่ยว การค้า การ 2) ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ ธุรกิจหรือผู้ประกอบการ SME 10

ลงทุน อุตสาหกรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล หรอื วสิ าหกิจชมุ ชนท่องเที่ยวมีการ รายตอ่ ปี

เศรษฐกิจ BCG และ ตลอดหว่ งโซม่ ูลค่า ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ

เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ นวัตกรรมดิจิทัล

3) สง่ เสรมิ การพฒั นาผูป้ ระกอบการ อัตราการเติบโตของมูลค่าตลาด ร้อยละ 10

ด ิ จ ิ ท ั ล (Digital Provider และ อตุ สาหกรรมดิจิทลั ในพ้นื ท่ีเพิม่ ขึ้น ต่อปี

Digital Startup) ในพื้นท่ี

(รา่ ง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั จงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล

15

ประเดน็ การพัฒนา การขับเคลอื่ น ตัวช้ีวัด ค่า
1) ส่งเสริมการเร ีย นรู ้ เ ชิ ง เปา้ หมาย
3. เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง แ ล ะ ปฏิบัติการ สร้างสรรค์นวัตกรรม เยาวชนระดับอาชีวศึกษาที่ได้รับ
พัฒนาคน ชุมชน เมือง ดจิ ิทลั การพัฒนาทกั ษะด้านดิจิทลั 200
และการยกระดับการ 2) ส่งเสรมิ การพฒั นาทกั ษะดิจิทัล รายต่อปี
บริหารจัดการภาครัฐ สำหรบั เยาวชนร่นุ ใหม่ (1) ศูนย์การเรียนรู้แบบ Digital
เพ่ือสงั คมคณุ ภาพสูง Coding แ ล ะ Programing ห รื อ 4
3) ส่งเสริมการยกระดับทักษะ โรงเรียนต้นแบบพื้นที่พัฒนานัก โรงเรียน
ดิจทิ ัลบุคลากรภาครฐั ในพ้ืนท่ี ประดิษฐ์ดิจิทัล เพื่อเป็นโรงเรียน ต่อปี
4) ส่งเสริมการพัฒนา พเ่ี ลีย้ ง
ผู้ประกอบการดิจิทัล (Digital (2) เยาวชนระดับประถมศึกษา 1,000
Provider และ Digital Startup) และมัธยมศึกษาที่ได้รับการพัฒนา รายต่อปี
ในพ้ืนที่ ทักษะด้านดจิ ิทลั
5) สนับสนุนการประยุกต์ใช้ กำลังคนภาครัฐที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ
เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนา ทกั ษะด้านดิจทิ ัล 10
ชุมชน (1) ประชาชนในพืน้ ท่ีเรียนรู้ทักษะ
ดิจิทัล รอ้ ยละ
(2) กลุ่มเปราะบางในพื้นที่เข้าถึง 30
และได้รับการพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ลั 30
โครงการพัฒนาชุมชนด้วย
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดจิ ิทัล รายตอ่ ปี
10

โครงการ
ภายใน
5 ปี

(ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจงั หวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั

16

ประเด็นการพัฒนา การขับเคลือ่ น ตวั ชวี้ ดั คา่
เป้าหมาย
4. Mega Program: 1) พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก (1) มีการขบั เคล่อื นการพฒั นาตาม ภายในปี

การพัฒนา Smart City และระบบนิเวศท่จี ำเป็น แผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของ 2566

พื้นที่ (โครงการ Korat Smart ภายในปี
2567
City) ภายในปี
2567
(2) มี City Data Platform
ภายในปี
2) สร้างเครือข่ายและเชื่อมโยง มี Data catalog ของพื้นที่ และมี 2568

ขอ้ มลู การเพิ่มชุดข้อมูลเมืองอย่าง

ต่อเนื่อง

3) ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ มี Open data ที่เป็นชุดข้อมูล

ประโยชน์ เมือง เพื่อให้นักพัฒนาต่อยอดการ

นำไปใช้ประโยชน์

(ร่าง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั จังหวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั

17

2.4.1 ประเด็นท่ี 1 ส่งเสริม พฒั นา และยกระดบั ดา้ นการเกษตร และเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
เปา้ หมาย:
1) เพ่มิ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ของภาคเศรษฐกจิ หลักดว้ ยดจิ ทิ ัล
2) พฒั นาการเกษตรแบบเดมิ สเู่ กษตรอจั ฉรยิ ะ

1. ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพดา้ นดจิ ทิ ลั ใหเ้ กษตรกรและผปู้ ระกอบการธรุ กจิ เกษตร
เร่งพัฒนาศักยภาพเกษตรกรและผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร โดยเพิ่มทักษะ (Up-skilling) หรือ

เสริมทักษะใหม่ (Re-skilling) ทางด้านดิจิทัล เพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ โดยเริ่มตั้งแต่
ทักษะด้านดิจิทัลตั้งแต่ระดับพื้นฐาน (Basic) เชี่ยวชาญ (Intermediate) และเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
(Advance)

ตัวชว้ี ัด (ระดบั ผลผลิต):

• จำนวน Smart Farmer/ Young Smart Farmer ได้รับการพัฒนาทักษะดิจิทัล
จำนวน 30 รายตอ่ ปี

Baseline:
- ปี 2563 จังหวัดนครราชสมี ามี Smart Farmer ที่ข้ึนทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 273 ราย
- สสช. จำนวนครวั เรือนเกษตรกรที่ข้ึนทะเบยี นเกษตรกร จงั หวัดนครราชสีมา ปี 2563 จำนวน 321,980 ครัวเรอื น

Box.1 ตัวอยา่ งทักษะทจ่ี ำเปน็ สำหรบั เกษตรกรและผู้ประกอบการเกษตรในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
1. ความเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy): ความสามารถในการรับและตระหนักถึงความสำคัญของ
ความรูพ้ ืน้ ฐานเกย่ี วกับเทคโนโลยีดิจิทัลในปัจจุบันและทีเ่ กิดขึ้นใหม่ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำการเกษตร
อัจฉรยิ ะ และอตุ สาหกรรมการเกษตรทใ่ี ช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั อยา่ งเข้มขน้
2. ปฏิบัติการด้านดิจิทัล (Digital Technology Operation): ความสามารถในการเลือกประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล และอุปกรณ์อัจฉริยะที่เหมาะสมกับฟาร์มของตนเอง โดยไม่ได้มุ่งแสวงหาเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ที่ทนั สมยั เพียงอย่างเดยี ว มีความเชีย่ วชาญในการใช้งานเทคโนโลยดี ิจิทลั ท่ีเก่ียวข้องทั้งหมด และ
การประยุกต์ใช้อุปกรณ์ดิจิทัลอื่นๆ กับกิจกรรมการเกษตร และกระบวนการทางธุรกิจ คาดการณ์
ปัญหา ขอ้ ผิดพลาด อปุ สรรค และดำเนนิ การเชงิ ปอ้ งกันในเชงิ รุก
• เทคโนโลยีเกบ็ ข้อมูล เชน่ sensors, drone, satellite (รวมทงั้ GPS ทใ่ี หข้ ้อมูลที่ต้งั และเวลา
แกเ่ ครอื่ งรบั GPS บนโลกหรือใกลโ้ ลก)

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั จังหวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั

18

• เทคโนโลยีสื่อสาร และบริหารข้อมูล เช่น Internet (ทั้งแบบใช้สาย และไร้สาย), intranet,
คลนื่ วิทยดุ าวเทยี ม (microwave)

• เทคโนโลยีประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูล เช่น Algorithm, Big Data Analysis, cloud
computing, AI

3. การบริหารจัดการข้อมูล (Data Monitoring, analysis and interpretation): ความสามารถใน
การตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมจากเทคโนโลยีดิจิทัลหรืออุปกรณ์อัจฉริยะที่ใช้ประโยชน์
อยา่ งมวี ิจารณญาณ เลอื ก และตคี วามข้อมูลเพื่อระบโุ อกาส ปัญหา และแนวโนม้ ในการตัดสินใจอย่าง
เปน็ เหตเุ ป็นผล

4. การสื่อสารดิจิทัล (Digital Communication): ความสามารถในการสื่อสาร หรือประชาสัมพันธ์
อย่างมีประสิทธิภาพในโลกดิจิทัล รวมถึงภายในองค์กร กับผู้ให้บริการดิจิทัล หน่วยงานกำกับดูแล
ชุมชนดิจิทัล และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ โดยอาจอาศัยช่องทางดิจิทัลเป็นเครื่องมือ รวมถึงการสร้าง
คอนเทนต์ (Content Creator) และทกั ษะในการเลา่ เรอ่ื ง (Story Telling)

5. ทักษะด้านภาษา (Language): ความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศได้อย่างเป็นธรรมชาติ
โดยสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผา่ นแพลตฟอรม์ ของผปู้ ระกอบการ EdTech เช่น Globish เปน็ ตน้

6. การจัดการเหตุการณ์ (Incident Management): ความสามารถในการดำเนินการเพื่อลดผลกระทบ
ของเหตุการณ์ทีไ่ ม่สามารถป้องกันได้ เช่น การเกิดโรคระบาด ภัยแล้ง น้ำท่วม และจัดการเหตุการณ์ท่ี
เกดิ ขึ้น โดยอาศัยขอ้ มูล เทคโนโลยดี ิจิทัลหรืออุปกรณ์อัจฉริยะเปน็ ตัวชว่ ย

7. การจัดการข้อมูล (Data Management): ความเข้าใจถึงความสำคัญของการกำกับดูแลข้อมูล โดย
ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการรวบรวม จัดการ บันทึก จัดเก็บและกำจัดอย่างปลอดภัยและเป็นไปตาม
หลักการที่ขับเคลอื่ นการใช้ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลและไม่ใช่ข้อมูลส่วนบคุ คล

(ร่าง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั จงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั

19

2. ส่งเสริมการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดิจิทัล ตลอดหว่ งโซม่ ูลคา่
รวมถึงการยกระดับคณุ ภาพสินค้าเกษตรแปรรปู
(1) มุ่งส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล อุปกรณ์อัจฉริยะ เครื่องจักร
อัตโนมัติ หุ่นยนต์ตลอดห่วงโซ่มูลค่า เพื่อปรับเปลี่ยนการทำการเกษตรดั้งเดิมสู่การเกษตร
อัจฉริยะ เป้าหมายเพื่อเพิ่มผลผลติ การเกษตรและอาหารให้สอดคล้องกบั ความต้องการหรือ
อุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ใช้ปัจจัยการผลิตลดลง ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ตลอดจนสามารถรับมือกับการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศ และลดปัญหาขยะอาหาร เกษตร
อัจฉริยะจะเปลี่ยนแปลงระบบเกษตรกรรม จากเดิมที่เกษตรกรให้น้ำ ใส่ปุ๋ยและใชส้ ารกำจัด
ศัตรูพืชเหมือนๆ กันทั้งฟาร์ม มาเป็นการใช้ปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกันและเหมาะสมกับ
สภาพภมู ปิ ระเทศในแตล่ ะพ้ืนทข่ี องฟารม์
(2) สนบั สนนุ ผู้ประกอบการดจิ ิทลั และสตารท์ อัพด้านการเกษตร (AgriTech) นำเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมดิจิทัลมาช่วยเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกร และผู้ประกอบการเกษตร
โดยอาจจัดให้มีการสร้างนวัตกรรมแบบเร่งด่วน (Hackathon) สำหรับการยกระดับภาคเกษตร
ดัง้ เดมิ สเู่ กษตรอจั ฉรยิ ะ
(3) ม่งุ สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั และอุปกรณ์อัจฉริยะในกระบวนการเพาะปลูกและแปรรูป
สินค้าเกษตร หรือประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มการตรวจสอบเพื่อการรับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตร เพือ่ ใหส้ ามารถจัดเก็บข้อมูล เชอ่ื มโยงข้อมูล และการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
ให้สามารถลดขั้นตอนและกระบวนการในการขอรับรองมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้า
เกษตรและอาหาร เช่น GAP, Organic, GMP, HACCP, อย. และการตรวจสอบย้อนกลับ
หรอื ยนื ยันแหลง่ ที่มาของสินคา้ เกษตร/สินค้า GI สรา้ งความเชอ่ื ม่นั แกผ่ บู้ รโิ ภค
ตวั ชว้ี ัด (ระดับผลผลติ ):

• ธรุ กิจหรอื ฟารม์ หรือเกษตรกรมีการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทลั จำนวน 10 ราย
ตอ่ ปี

Baseline:
- สสว. จังหวัดนครราชสีมา (ปี 2563) จำนวนผู้ประกอบการกิจกรรมด้านการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ 1,840
ราย จำนวนผูป้ ระกอบการการผลิตผลติ ภัณฑ์อาหาร 3,526 ราย
- ปี 2564 จงั หวดั นครราชสมี า ไดร้ ับการรับรอง GAP จำนวน 1,317 แปลง
- ปี 2563 สศด. สง่ เสริมผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมเปา้ หมายกว่า 700 โครงการ และผปู้ ระกอบการรายย่อย
หาบเร่ แผงลอย ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีและนวตั กรรมดิจิทัลกวา่ 55,000 ราย

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทัลจงั หวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั

20

- ปี 2563 สศด. สนับสนนุ เกษตรกรทัว่ ประเทศประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดจิ ทิ ัลกว่า 4,900 โครงการ
- ปี 2562 สพธอ. มูลค่า e-commerce ในหมวดอาหารเครื่องดื่ม ผลิตผลทางการเกษตรและประมง 35,140
ล้านบาท เตบิ โตจาก 33,765 ลา้ นบาท ในปี 2561 คิดเป็น 4.07%

Box.2 ตวั อยา่ งเทคโนโลยแี ละอปุ กรณ์ดจิ ทิ ัลทสี่ ามารถนำมาประยกุ ต์ใช้ในหว่ งโซก่ ารเกษตร
1. เตรียมปัจจัยและวางแผนการผลิต ทั้งกระบวนการเตรียมดิน/ ปุ๋ย, การจัดสรรน้ำ, การพยากรณ์สภาพอากาศ/
โรค, การจัดการพลงั งาน หรือในฟาร์มปศุสัตว์ มตี วั อย่างเทคโนโลยีดิจทิ ัลที่นำมาใช้ดงั น้ี
• ระบบวิเคราะห์คุณสมบัติของดิน สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ และการใช้ปัจจัยและจัดการใน
ฟารม์ ในอดีต เพื่อแนะนำชนิดพชื และแผนเพาะปลูกทเ่ี หมาะสมกับชดุ ดินในฟารม์
• ระบบตรวจคุณภาพน้ำ ได้แก่ ค่าสารเคมี ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าความเค็ม หรือค่า ORP
(Oxidation-reduction potential)
• ระบบวิเคราะห์สภาพอากาศจากข้อมูลดาวเทียม ทั้งภาพถ่าย อุณหภูมิ ความชื้น เพื่อวางแผนการ
รับมอื สภาพอากาศแปรปรวน
• การวิเคราะห์ขอ้ มลู ขนาดใหญร่ ่วมกับเทคโนโลยชี ีวภาพ (metabolic programming) เพอื่ พัฒนาสาย
พันธส์ุ ัตวเ์ ศรษฐกิจ
2. การใหป้ ัจจยั และตดิ ตามกระบวนการผลติ ทงั้ กระบวนการไถ/พรวนดนิ , การให้ปุ๋ยและน้ำ, จัดการโรค/ศัตรูพืช
รวมถึงปศสุ ัตว์ มีตัวอย่างเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ทนี่ ำมาใช้ดังน้ี
• ระบบการให้น้ำอัตโนมัติเพื่อการใช้น้ำอย่างคุ้มค่า โดยการวิเคราะห์ข้อมูลความชื้นในดินจาก
เซนเซอรด์ ินและสถานสี ภาพอากาศในฟาร์มด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI)
• ระบบการประเมนิ ความตอ้ งการแร่ธาตขุ องพชื เปน็ รายตน้ ดว้ ยการใช้เทคโนโลยี AI
• ฟาร์มแบบปดิ ทใี่ ห้อาหารพชื ทางรากและปากใบดว้ ยละอองนำ้ ทางอากาศ ทำใหไ้ มส่ ญู เสียธาตุอาหาร
ไปกบั นำ้ หรือดนิ โดยใช้เทคโนโลยี IoT, Big Data Analysis, sensor, Cloud computing
• ห่นุ ยนตส์ ำรวจฟาร์ม/ พนื้ ทเ่ี พาะปลกู
• sensor ตรวจสขุ ภาพ และเก็บขอ้ มูลพฤตกิ รรมสตั ว์
3. ผลผลิต ทงั้ กระบวนการเกบ็ เก่ียว, หลงั การเก็บเกีย่ ว (post-harvest) และ การรกั ษาความสด (shelf life)
มตี วั อยา่ งเทคโนโลยีดิทัลท่นี ำมาใชด้ ังน้ี
• หุ่นยนต์เก็บเก่ียวในฟารม์ หรือโรงเรือน ทัง้ ระบบปดิ และระบบเปิด

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลจงั หวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั

21

• การใช้เทคโนโลยีสื่อสาร (RFID) ในการติดตามการเติบโต อายุ และน้ำหนักของสัตว์ เพื่อช่วยในการ
ขายสัตว์เลี้ยงในระยะเวลาทเ่ี หมาะสมท่ีสดุ

• ระบบการคดั แยกผลผลติ ตามเกรดคุณภาพตามทีเ่ กษตรกร กำหนดไว้ เช่น สี ลักษณะผวิ รอยชำ้ โรค
4. การตลาด ทั้งการกำหนดราคา, การลดการสูญเสียและขยะอาหาร (food loss/food waste) มีตัวอย่าง

เทคโนโลยีดทิ ัลทน่ี ำมาใชด้ ังนี้
• แอปพลเิ คชนั แสดงราคาสนิ ค้าทง้ั ในอดีตและปัจจบุ นั ให้แก่เกษตรกร เพือ่ ใชป้ ระกอบการวางแผนการ
ผลติ และช่วยลดการบิดเบอื นทางการตลาด
• ระบบการบริหารจดั การงบประมาณของฟาร์ม เพ่ือให้สามารถบริหารราคาสินค้าได้
• การเชอ่ื มโยงขอ้ มูลตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทานใหเ้ กิดระบบ
• ระบบบริหารจัดการข้อมูล โดยการเชื่อมโยงข้อมูลตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน ทำให้วิเคราะห์และพยากรณ์
ความเสี่ยงจากปัจจัยความไม่แน่นอนต่างๆ ในระบบโลจิสติกส์และความต้องการของตลาด ทำให้
เกษตรกร วางแผนเพาะปลูก แผนการตลาด และการจัดส่งให้เร็วและแน่นอนล่วงหน้าได้เพื่อลดการ
เกดิ อปุ ทานสินค้าส่วนเกนิ

(รา่ ง) แผนส่งเสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั จงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัล

22

2.4.2 ประเดน็ ท่ี 2 ส่งเสริม พฒั นา โครงสรา้ งพนื้ ฐาน เพื่อยกระดบั เศรษฐกิจ การทอ่ งเทย่ี ว การค้า
การลงทนุ อุตสาหกรรม เศรษฐกจิ BCG และเขตเศรษฐกิจพิเศษ

เปา้ หมาย:
1) เพิ่มมลู ค่าทางเศรษฐกจิ ของภาคเศรษฐกจิ หลักดว้ ยดิจทิ ัล
2) พัฒนาการท่องเทีย่ วแบบเดิมสูท่ อ่ งเทยี่ วอัจฉริยะ

3. ส่งเสริมการพฒั นาศกั ยภาพด้านดจิ ทิ ลั ให้แรงงานและผปู้ ระกอบการด้านการท่องเทยี่ ว
เร่งพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยเพิ่มทักษะ (Up-skilling)
หรือเสริมทักษะใหม่ (Re-skilling) ทางด้านดิจิทัล เพื่อเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ
โดยเริ่มตั้งแต่ทักษะด้านดิจิทัลตั้งแต่ระดับพื้นฐาน (Basic) เชี่ยวชาญ (Intermediate) และ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Advance)
ตวั ช้วี ัด (ระดับผลผลิต):

• จำนวนแรงงานและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวและบริการทีไ่ ด้รับการพัฒนาทักษะดิจิทัล
จำนวน 100 รายตอ่ ปี

Baseline:
- ปี 2564 จำนวนผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกบั โรงแรมและอาหาร จำนวน 55,728 ราย

Box.3 ตวั อยา่ งทกั ษะท่จี ำเปน็ สำหรบั แรงงานและผู้ประกอบการท่องเทีย่ ว
1. ความเขา้ ใจดจิ ิทลั (Digital Literacy) : ความสามารถในการรับและตระหนักถงึ ความสำคัญของความรู้
พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลในปัจจุบันและที่เกิดขึ้นใหม่ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำการท่องเที่ยว
อัจฉริยะทใี่ ชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั อย่างเขม้ ขน้
2. ทักษะด้านการบริหารธุรกิจท่องเทีย่ วและโรงแรมด้วยดิจิทัล : ความสามารถในการเลือกประยุกตใ์ ช้
เทคโนโลยีดิจิทัล และอุปกรณ์อัจฉริยะที่เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง โดยไม่ได้มุ่งแสวงหาเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ท่ีทนั สมยั เพยี งอย่างเดยี ว มคี วามเช่ียวชาญในการใชง้ านเทคโนโลยดี จิ ิทัลท่เี ก่ียวขอ้ งทั้งหมด และ
การประยุกต์ใช้อุปกรณ์ดิจิทัลอื่นๆ กับกิจกรรมการท่องเที่ยว และกระบวนการทางธุรกิจ คาดการณ์
ปัญหา ข้อผิดพลาด อุปสรรค และดำเนินการเชิงป้องกันในเชิงรุก เช่น การใช้ระบบ PMS ใน front
office การบริหารบัญชีและการเงินแบบดิจิทัล การบริหารร้านอาหารด้วย POS และ cost control
เปน็ ตน้

(ร่าง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั จงั หวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

23

3. ทักษะด้านการตลาดดิจิทัล : ความสามารถในการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมจาก
เทคโนโลยีดิจิทัลหรืออุปกรณ์อัจฉริยะที่ใช้ประโยชน์อย่างมีวิจารณญาณ เลือก และตีความข้อมูลเพื่อ
ระบุโอกาส ปัญหา และแนวโน้มในการตัดสินใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล เช่น การค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูล
เพอ่ื การตลาดด้วยเครือ่ งมอื ดิจิทัล (Google Analytics, Google Trend), การสรา้ ง Banner และวดี โี อ
ด้วย Smartphone การสรา้ ง Digital Content และ Storytelling เป็นต้น

4. ทักษะดิจิทัลเชิงลึกสำหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว : ความสามารถในการเลือกประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ดจิ ิทัลเชิงลึก และอปุ กรณ์อัจฉริยะท่ีเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง เช่น การพฒั นา AR/VR สำหรับการ
ทอ่ งเทยี่ ว การพัฒนาระบบ AI และ Big Data สำหรับอุตสาหกรรมท่องเท่ียว เป็นตน้

5. ทักษะด้านภาษา: ความสามารถในการสื่อสารภาษาต่างประเทศได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยสามารถ
เรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเองผา่ นแพลตฟอร์มของผู้ประกอบการ EdTech เชน่ Globish เป็นตน้

4. ส่งเสรมิ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดจิ ทิ ัล ตลอดหว่ งโซ่มูลคา่
(1) มุ่งส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล อุปกรณ์อัจฉริยะ ระบบอัตโนมัติ
หุ่นยนต์ ตลอดห่วงโซ่มูลค่า เพื่อปรับเปลี่ยนการทำการท่องเที่ยวดั้งเดิมสู่การท่องเที่ยว
อัจฉริยะ เป้าหมายเพื่อเพิ่มผลผลิตด้านการท่องเที่ยวและบริการให้สอดคล้องกับความ
ต้องการหรืออุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ใช้ปัจจัยการผลิตลดลง ลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม โดยท่องเที่ยวอัจฉริยะจะบูรณาการข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวให้เป็นระบบ เพื่อให้
นักท่องเที่ยวได้รับความสะดวกในการค้นหาข้อมูลการท่องเที่ยว สภาพอากาศ แหล่งที่พัก
และการเดินทาง เพื่อเตรียมพร้อมในการเป็นจุดหมายปลายทางที่มีคุณภาพและความ
ปลอดภยั รองรับนกั ท่องเทย่ี ว
(2) ส่งเสริมการปรับเข้าสู่ดิจิทัลแพลตฟอร์มด้านการท่องเที่ยวและบริการ (Digital Platform)
โดยเชื่อมต่อ (Plug In) ผู้ประกอบการท่องเที่ยวเข้าสู่ดิจิทัลแพลตฟอร์มของสตาร์ทอัพด้าน
การท่องเท่ียว (TravelTech) เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การธรุ กจิ และขยายโอกาส
ทางการตลาดให้กบั ผปู้ ระกอบการทอ่ งเท่ียวสูต่ ลาดโลก
(3) สนับสนุนผู้ประกอบการดิจิทัล และสตาร์ทอัพด้านการท่องเที่ยว (Travel Tech) นำ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลมาช่วยเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการท่องเที่ยว
โดยอาจจัดให้มีการสร้างนวัตกรรมแบบเร่งด่วน (Hackathon) สำหรับการยกระดับภาค
ท่องเท่ยี วด้ังเดมิ สู่ท่องเท่ียวอจั ฉรยิ ะ

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั จังหวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัล

24

ตวั ชว้ี ดั (ระดบั ผลผลติ ):

• ธรุ กิจหรอื ผูป้ ระกอบการ SME หรือวิสาหกจิ ชมุ ชนท่องเท่ียวมีการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีและ
นวตั กรรมดิจิทลั จำนวน 10 รายตอ่ ปี

Baseline:
- สสว. (ปี 2563) จังหวัดมีผู้ประกอบการด้านท่ีพักแรม 789 ราย จำนวนผู้ประกอบการด้านการบริการด้าน
อาหารและเครื่องดื่ม 7,947 ราย และจำนวนผู้ประกอบการด้านตัวแทนธุรกิจการเดินทาง ธุรกิจจัดนำเที่ยว
บริการสำรองและกจิ กรรมที่เกยี่ วขอ้ ง 79 ราย
- สถานการณ์การท่องเท่ยี ว ปี 2564 จังหวดั นครราชสมี า ผู้เยี่ยมเยอื นทั้งหมด 3,469,983 ราย (ลดลง 39.01%)
รายได้จากผเู้ ยี่ยมเยือน 5,806.85 ลา้ นบาท (ลดลง 54.19%)
- สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2563 จังหวัดนครราชสีมา ผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด 5,689,455 ราย (ปี 2562
จำนวน 9,898,428 ราย ลดลง 42.52 %) รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน 12,674.79 ล้านบาท (ปี 2562 รายได้
24,744.10 ลา้ นบาท ลดลง 48.78 %)
- ปี 2563 สศด. สง่ เสริมผู้ประกอบการในอตุ สาหกรรมเปา้ หมายกวา่ 700 โครงการ และผปู้ ระกอบการรายย่อย
หาบเร่ แผงลอย ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ลั กว่า 55,000 ราย
- ปี 2563 สศด. สนับสนนุ เกษตรกรท่วั ประเทศประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีและนวตั กรรมดิจิทลั กวา่ 4,900 โครงการ
- ปี 2561 สพธอ. มูลค่า e-commerce ในหมวดการให้บริการที่พัก 633,693.86 ล้านบาท เติบโตจาก
614,342.08 ลา้ นบาท ในปี 2560 คดิ เปน็ 3.15%

Box.4 ตวั อย่างเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลทน่ี ำมาประยกุ ต์ใช้ในธรุ กจิ ในห่วงโซอ่ ปุ ทานทอ่ งเท่ยี ว
1. การตลาด: ระบบจองห้องพักแบบ 3rd Party GDS, การจองห้องพักออนไลน์ (OTAs), การพัฒนา
website, การเพิ่มชอ่ งทาง social marketing
2. การบริหาร: ระบบการบริหารผลงาน (Performance Management System: PMS), ระบบขาย
หน้าร้าน (Point of sale system: POS), การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource
Management: HRM)
3. การบริการ: เช็คอินด้วยตนเอง (self-check in), หนุ่ ยนตบ์ ริการ (Robot Service) เช่น หนุ่ ยนต์มาเสิร์ฟ
อาหาร หุ่นยนต์ทำความสะอาด เป็นต้น, ระบบสนทนาอัตโนมัติ (Chatbot)
4. เทคโนโลยีขั้นสูง: เทคโนโลยีที่ใช้วัตถุเสมือน (Augmented Reality: AR), เทคโนโลยีการจำลอง
สภาพแวดล้อมเสมือนจริง (Virtual Reality: VR), การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data
Analytics), เทคโนโลยที างการเงนิ (FinTech)

(ร่าง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั จงั หวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทลั

25

5. Travel Tech ทสี่ ามารถนำมาใชใ้ นห่วงโซค่ ุณค่าของการทอ่ งเท่ียว

• ช่วงก่อนการเดินทางของนักท่องเที่ยว (Pre-Trip) นักท่องเที่ยวสามารถวางแผนการท่องเที่ยว
การหาข้อมูลการท่องเที่ยว การจองสายการบินที่พัก และกิจกรรมท่องเที่ยว โดยใช้บริการ
Travel Tech เชน่ Take Me Tour

• ช่วงระหว่างการเดินทางของนักท่องเที่ยว (During Trip): นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการ
ระหว่างการเดินทางได้ เชน่ การเดินทางท่องเท่ยี วชมุ ชนกับ Local Alike

• ช่วงหลังการเดินทางของนักท่องเที่ยว (Post-Trip) นักท่องเที่ยวสามารถส่งต่อประสบการณ์
เดินทางในสื่อโซเชยี ล หรือแพลตฟอรม์ ของ Travel Tech

6. การพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล (Digital Content): การพัฒนาเนื้อหาดิจิทัลโดยผสานเข้ากับเกม หรือ
คาแรคเตอร์ยอดนิยม เพื่อการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวทุกรูปแบบ, เทคนิคการเล่าเรื่อง
(Storytelling) เพื่อการทำ Content Marketing, เนื้อหาสำหรับการเรียนแบบ e-learning/
simulation เช่น การอบรม Lifeguard เปน็ ต้น

7. การใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูล

• กลุ่มผู้ประกอบการที่มีข้อมูล สนับสนุนให้ดึงข้อมูลลูกค้าเก่าที่มีมาทำ Data Visualization
เพ่อื ทำความรูจ้ ักลูกค้าจากพฤตกิ รรมในมิติตา่ ง ๆ นำจุดขายท่ีมี สง่ ให้ลูกคา้ ท่ีเคยมาใช้บริการ
เช่น การส่ง e-mail ให้ลูกค้า ซึ่งเป็นการนำ data มาใช้ในการทำการตลาด (Digital
Marketing) เพือ่ สรา้ งความประทบั ใจให้กบั ลูกค้าแต่ละคน

• กลมุ่ ผูป้ ระกอบการท่ีไมเ่ คยจัดเก็บข้อมลู สนับสนนุ ให้ปรับเปล่ยี นวิธีกรอกข้อมลู ของลูกค้าผ่าน
กระดาษ สู่การกรอกข้อมูลผ่านระบบ หรือการนำข้อมูลเข้าระบบ เพื่อสามารถดึงข้อมูลเข้า
ฐานข้อมูลได้ทันที มีฐานข้อมูลเก็บได้ในระยะยาว และสามารถนำมาวิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น
ยกตัวอย่างเคร่ืองมือ เช่น Excel, google sheet เป็นต้น หรือใช้โปรแกรมแทน

(ร่าง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจงั หวดั นครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทลั

26

5. ส่งเสริมการพัฒนาผปู้ ระกอบการดจิ ิทลั (Digital Provider และ Digital Startup) ในพนื้ ท่ี
(1) บม่ เพาะ Digital Startup ในพ้ืนทตี่ ั้งแต่ระยะ Idea Stage สูร่ ะยะการก่อต้ังธุรกิจ (Early Stage)
สู่ระยะเติบโต (Growth Stage) สู่ระยะการขยายธุรกิจให้เติบโตอย่างก้าวกระโดด (Scalable)
ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศผา่ นมาตรการส่งเสรมิ ของ สศด.
(2) สนับสนุนผู้ประกอบการดิจิทัล และสตารท์ อัพด้านการเกษตร (AgriTech) พัฒนาเทคโนโลยี
ดิจิทัลที่ตอบสนองเกษตรกร และผู้ประกอบการธุรกิจด้านการเกษตร ตลอดจนพัฒนา
แพลตฟอรม์ การบรหิ ารจดั การธุรกจิ เกษตรแบบครบวงจร และเทคโนโลยีฟินเทค (Financial
technology) รวมถงึ การพฒั นา Blockchain มาใช้ในธุรกจิ การเกษตร
(3) สนับสนุนผู้ประกอบการดิจิทัล และสตาร์ทอัพด้านการท่องเที่ยว (Travel Tech) พัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลที่ตอบสนองนักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ ช่วยให้นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวด้วย
ตนเอง (Free Individual Travelers: FIT) สามารถวางแผนเดินทางด้วยตนเอง ตลอดจน
พฒั นาแพลตฟอรม์ ออนไลน์ดา้ นการท่องเที่ยว (Online Tourism Platform) แบบครบวงจร
และเทคโนโลยีฟินเทค (Financial technology) รวมถึงการพัฒนา Cryptocurrency มาใช้
ในภาคการท่องเท่ยี ว
ตวั ชวี้ ัด (ระดบั ผลผลติ ):

• อัตราการเตบิ โตของมลู คา่ ตลาดอุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั ในพ้ืนท่ีเพ่ิมขึ้นร้อยละ 10 ตอ่ ปี

Baseline:
- มูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัล (ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ) จังหวัดนครราชสีมา ปี 2562 มูลค่า
7,666.97 ล้านบาท
- มูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัล (ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ) จังหวัดนครราชสีมา ปี 2563 มูลค่า
14,402.82 ล้านบาท อตั ราการเติบโตเพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 30.52
- ดปี า้ ส่งเสรมิ วสิ าหกิจดิจทิ ัลเริ่มต้นเข้าสู่การจดจัดตงั้ บริษัทท่ีจดทะเบยี น และเขา้ สูก่ ระบวนการบ่มเพาะธุรกิจ
(Digital Startup Business) เกิดการพัฒนาต่อยอดสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล
และขยายธรุ กิจจำนวน 93 ราย สามารถสรา้ งมูลค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจระหว่างปี 2562 – 2563 ประมาณ
9,200 ลา้ นบาท

(ร่าง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจทิ ัลจงั หวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั

27

2.4.3 ประเดน็ ท่ี 3 เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคน ชุมชน เมอื ง และการยกระดับการบริหารจดั การภาครัฐ
เพ่ือสังคมคณุ ภาพสูง

เปา้ หมาย:
1) เพม่ิ ปรมิ าณกำลังคนดจิ ิทัล ต้งั แตร่ ะดบั เยาวชนจนถึงวัยแรงงาน
2) ประชาชนและกลุ่มเปราะบางในพ้นื ท่ีตระหนกั รู้ ทกั ษะด้านดิจทิ ัล ในการเขา้ ถงึ
และใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั
3) มีระบบนเิ วศท่ีสนบั สนนุ การเขา้ สเู่ ศรษฐกิจและสังคมดจิ ทิ ัล

6. สง่ เสรมิ การเรียนรู้เชิงปฏิบัตกิ าร สร้างสรรค์นวตั กรรมดจิ ทิ ัล
มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ สร้างสรรค์นวัตกรรม โดยพัฒนาห้องเรียนต้นแบบเพื่อการ

เรียนรู้เชงิ ปฏบิ ัติการ (Maker Space) ในระดับ ปวช. ปวส. อาชีวะ และอดุ มศกึ ษา ให้เกิดการพัฒนา
โปรแกรมหรือประดิษฐ์อุปกรณ์อัจฉริยะ และประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์อัจฉริยะในชุมชน เช่น อุปกรณ์
อัจฉริยะเพื่อการเกษตร (โดรน อุปกรณ์อัตโนมัติ อุปกรณ์เชื่อมต่อ IoT เพื่อการเกษตร) และอุปกรณ์
อัจฉริยะเพื่อการท่องเที่ยว (หุ่นยนต์เสิร์ฟอาหาร อุปกรณ์อัตโนมัติ อุปกรณ์เชื่อมต่อ IoT เพื่อการ
ท่องเที่ยว) เป็นต้น เพื่อส่งเสริมทักษะด้านดิจิทัลที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคธุรกิจและ
อุตสาหกรรม

ตวั ช้ีวัด (ระดับผลผลติ ):

• เยาวชนระดับอาชีวศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทกั ษะด้านดิจทิ ัล จำนวน 200 รายตอ่ ปี
Baseline:
- สศด. พฒั นาทักษะด้านดจิ ทิ ัลใหก้ ับนักเรยี นนกั ศึกษาของสถาบนั อาชวี ศกึ ษา 300 รายตอ่ ปี
- สศด. สร้างกำลังคนดา้ นดิจทิ ลั ในสาขาขาดแคลนร่วมกับภาคอตุ สาหกรรม ใหเ้ ด็กจบใหมพ่ ร้อมทำงาน จำนวน
23 ราย

(รา่ ง) แผนส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ลั จงั หวัดนครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

28

7. ส่งเสริมการพฒั นาทักษะดิจทิ ลั สำหรับเยาวชนรุ่นใหม่
(1) มุ่งส่งเสริมการสร้างครูต้นแบบ และขยายผลการพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับเยาวชนรุ่นใหม่
โดยมุง่ เน้นทกั ษะดิจิทลั ต้ังแต่ระดับพ้ืนฐาน เช่น Coding/ Programming, Automation, Robot,
Data Analytics ที่เกี่ยวข้องกับสาขาเกษตรและอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร เป็นต้น
รวมถึงส่งเสริมให้เกิดพื้นที่พัฒนานักประดิษฐ์ดิจิทัล ( depa Young Maker Space
development) เพอ่ื พฒั นาทกั ษะที่จำเปน็ สำหรบั เด็กรุ่นใหม่ทจ่ี ะก้าวสูย่ คุ ดจิ ิทัลอยา่ งเต็มตัว
(2) ม่งุ สง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทัลสำหรบั ครูต้นแบบ และเยาวชนรนุ่ ใหม่ ในการพัฒนาทกั ษะ
ดิจิทัล เพื่อใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์ได้อย่างใประสิทธิภาพ และรองรับวิถีชีวิตใหม่
(New normal) ในยุคโควดิ -19
ตวั ชีว้ ัด (ระดับผลผลติ ):

• ศูนย์การเรียนรู้แบบ Digital Coding และ Programing หรือโรงเรียนต้นแบบพื้นที่พัฒนา
นกั ประดษิ ฐด์ ิจทิ ัล เพอื่ เป็นโรงเรียนพเ่ี ลี้ยง อยา่ งนอ้ ย 4 โรงเรยี น

• เยาวชนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล จำนวน
1,000 รายต่อปี

Baseline:
- ปี 2564 จังหวัดนครราชสีมา มีสถานศึกษา จำนวน 1,635 แห่ง ครูผู้สอน จำนวน 28,466 ราย จำนวน
นักเรยี น/นกั ศึกษา จำนวน 553,206 ราย
- สศด. ยกระดับพื้นที่พัฒนานักประดิษฐ์ดิจิทัล 200 โรงเรียน (ระดับประถมศึกษา 120 โรงเรียน มัธยมศึกษา
80 โรงเรยี น)
- สศด. พฒั นาทักษะครผู สู้ อนเพือ่ นำไปจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 272 ราย
- สศด. ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านพื้นที่พัฒนานักประดิษฐ์ เช่น การถ่ายอดความรู้ การประกวด ให้นักเรียนกว่า
50,000 ราย
- สศด. ยกระดับโรงเรียนที่มีศักยภาพ 10 โรงเรียน ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านโค้ดด้ิง เพื่อเป็นหน่วยเผยแพร่
ความรู้ หรือพเี่ ล้ียงให้กบั โรงเรียนในพื้นท่ี เสรมิ ทกั ษะเยาวชนปลี ะไมต่ ่ำกว่า 17,000 รายทัว่ ประเทศ

(รา่ ง) แผนสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลจังหวัดนครราชสมี า กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจิทลั

29

8. ส่งเสริมการยกระดับทักษะดิจิทัลบคุ ลากรภาครัฐในพน้ื ท่ี
มุ่งส่งเสริมการยกระดับทักษะดิจิทัลทั่วไป (Generic Skills)1 สำหรับบุคลากรภาครัฐในพื้นท่ี

โดยพิจารณารูปแบบ on demand หรือการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล
และพร้อมสำหรับการขับเคลื่อนบริการดิจิทัลให้ประชาชน และรองรับวิถีชีวิตใหม่ (New normal)
ในยคุ หลงั โควดิ -19 ของพื้นที่

ตวั ชว้ี ัด (ระดับผลผลิต):

• กำลังคนภาครฐั อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 10 ได้รบั การพฒั นาทักษะด้านดจิ ิทลั
Baseline:
- จำนวนขา้ ราชการพลเรือนสามัญในพ้ืนทจ่ี ังหวัดนครราชสีมา (ปี 2563) จำนวน 13,596 ราย

9. สง่ เสริมการสร้างความตระหนกั รู้ทางดจิ ิทลั ใหก้ บั ประชาชน และกล่มุ เปราะบางในพน้ื ท่ี
(1) มุ่งส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ทางดิจิทลั ให้กับประชาชนในพื้นที่ ในการเข้าถึง และใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล (รู้เท่าทัน-ใช้ประโยชน์-ปลอดภัย–สร้างรายได้) ให้กับประชาชนในพื้นที่
ผ่านแพลตฟอร์มกลางการเรียนรู้ รวมถึงการสร้าง Idol ขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้เกิดผลในวงกว้าง
พร้อมรองรับการพัฒนาตามแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้านพลเมืองอัจฉริยะ (Smart
People) ต่อไป
(2) มุ่งส่งเสริมการสร้างความตระหนักรู้ทางดิจิทัลให้กับกลุ่มเปราะบางในพื้นที่ ในการเข้ าถึง
และใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล (รเู้ ทา่ ทัน-ใชป้ ระโยชน์-ปลอดภัย–สร้างรายได้) ใหก้ ับกลุ่มเปราะบาง
ในพื้นที่ สร้างโอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยี และการพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ
และผ้พู กิ าร เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชีวิต พัฒนาทกั ษะ และสรา้ งรายได้
ตัวชี้วัด (ระดบั ผลผลิต):

• ประชาชนในพื้นท่ี ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 30 เรียนรู้ทกั ษะดจิ ิทลั

• กล่มุ เปราะบางในพนื้ ท่ี เข้าถึงและได้รบั การพฒั นาทักษะดิจทิ ัล จำนวน 30 รายต่อปี

1 ทักษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอ่ื การปรับเปลย่ี นเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล ตาม (ว6/2561) รายละเอยี ด กรกฎาคม 2565
https://www.ocsc.go.th/digital_skills2

(รา่ ง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัลจงั หวดั นครราชสีมา
สำนกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

30

Baseline:
- สสช. จำนวนประชากรจากการทะเบียนจังหวัดนครราชสีมา ปี 2564 จำนวน 2,634,154 ราย ร้อยละ 30
เท่ากบั 790,246 ราย
- ดีป้า สร้างความตระหนักและทักษะด้านดิจิทัลเบื้องต้นแก่ประชาชนทั่วประเทศ 6.7 ล้านราย จากเป้าหมาย
30 ล้านราย คดิ เปน็ 22.3% (ข้อมลู จากการติดตามแผนแมบ่ ทการสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล)

10. สนับสนนุ การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลในการพัฒนาชุมชน
ส่งเสริมชุมชนในจังหวัดต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม

ดิจิทัลทั้งเพื่อความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน เกษตรอัจฉริยะ ท่องเที่ยวอัจฉริยะ การดูแลสุขภาพ
บริหารจดั การเมือง สู่การเปน็ อยู่อาศยั ชน้ั ดี นำไปสกู่ ารยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของชุมชน

ตัวช้วี ดั (ระดับผลผลิต):
• โครงการพฒั นาชมุ ชนด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรมดิจิทัล จำนวน 10 โครงการ ภายใน 5 ปี
Baseline:
- ปี 2564 จำนวนศูนย์ดิจทิ ลั ชุมชนในพน้ื ที่ 81 ศูนย์
- ดปี า้ สนับสนุนชมุ ชนในชนบทประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดิจิทลั กว่า 300 โครงการ

(รา่ ง) แผนสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั จงั หวดั นครราชสีมา กรกฎาคม 2565
สำนกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจทิ ลั


Click to View FlipBook Version