The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์ อัตราค่าใช้จ่าย และแนวทาง การพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจ าปี
การฝึกอบรม สัมมนา การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rawbee_assy, 2022-04-02 07:37:04

1.หลักเกณฑ์อัตราค่าใช้จ่าย และแนวทาง

หลักเกณฑ์ อัตราค่าใช้จ่าย และแนวทาง การพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจ าปี
การฝึกอบรม สัมมนา การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ

Keywords: กลุ่ม,บริหารงานการเงินและสินทรัพย์

หลกั เกณฑ์ อตั ราค่าใชจ้ า่ ย และแนวทาง
การพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

การฝึกอบรม สัมมนา
การโฆษณา ประชาสมั พันธ์
การจา้ งที่ปรึกษา
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ตา่ งประเทศ

กองมาตรฐานงบประมาณ 1
สานักงบประมาณ
ธันวาคม 2564

คานา

หลักเกณฑ์ และอัตราค่าใช้จ่าย และแนวทางพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปี
การฝึกอบรม สัมมนา การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ไปราชการต่างประเทศ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางประกอบการพจิ ารณาจดั ทางบประมาณรายจ่าย
ประจาปี และเป็นอัตราค่าใช้จ่ายอ้างอิงสาหรับเจ้าหน้าที่สานักงบประมาณ และหน่วยรับ
งบประมาณ มแี นวทางปฏิบตั ิงานใหเ้ ป็นมาตรฐานเดียวกัน

เนื้อหาสาระของเอกสาร ได้ประมวลและพิจารณาจากเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เชน่ ระเบยี บ
กระทรวงการคลงั เรอื่ ง การเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ และระเบียบกระทรวงการคลงั
ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ มติคณะรัฐมนตรี
เร่ือง อัตราค่าจ้างขัน้ ต่า และหลักเกณฑร์ าคากลาง การจ้างทป่ี รกึ ษา ประกาศกรมประชาสมั พนั ธ์
ราคาวัสดุเช้ือเพลิง ของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และตรวจสอบราคาปัจจุบันจาก
ผปู้ ระกอบการ เปน็ ต้น

ท้ังนี้ อัตราค่าใช้จ่ายเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราค่าใช้จ่ายฉบับเดือนธันวาคม 2563
มอี ัตราคงเดมิ 133 รายการ อตั ราเพ่มิ ข้นึ 6 รายการ อัตราลดลง 8 รายการ มกี ารเปลย่ี นประเภท
รายการ 10 รายการ และเพ่ิมรายการใหม่ จานวน 1 รายการ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ปจั จุบนั

กองมาตรฐานงบประมาณ 1 หวังวา่ เอกสารฉบับนจี้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การปฏบิ ัติงาน
ของเจ้าหน้าท่ีสานักงบประมาณ และหน่วยรับงบประมาณ โดยสามารถ Download เอกสาร
ไดจ้ าก www.bb.go.th

กองมาตรฐานงบประมาณ 1
สานกั งบประมาณ
ธนั วาคม 2564

สารบญั หนา้

อตั ราค่าใช้จ่ายในการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปี 1-1 – 1-5
1. การฝึกอบรม สัมมนา 1-6 – 1-10
2. การโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ 1-11 – 1-14
3. การจ้างทีป่ รึกษา 1-15 – 1-18
4. ค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศ
2-1 – 2-4
หลักเกณฑ์ แนวทาง และลกั ษณะพนื้ ฐาน 2-5 – 2-7
ในการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปี 2-8 – 2-10
2-11 – 2-12
1. การฝึกอบรม สมั มนา
2. การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผ. 1-1 – ผ. 1-43
3. การจา้ งท่ีปรกึ ษา ผ. 2-1 – ผ. 2-15
4. คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศ ผ. 3-1 – ผ. 3-45
ผ. 4-1 – ผ. 4-8
ภาคผนวก
1. การฝกึ อบรม สัมมนา
2. การโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์
3. การจ้างท่ปี รกึ ษา
4. คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศ

อตั ราค่าใช้จ่ายในการพิจารณา
งบประมาณรายจา่ ยประจาปี

อัตราคา่ ใชจ้ า่ ยการฝกึ อบรม สัมมนา
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

1. การฝึกอบรมในประเทศ หน่วย อตั ราค่าใชจ้ ่าย (บาท)

รายการ สถานท่ีราชการ สถานท่ีเอกชน

1. การฝกึ อบรมขา้ ราชการประเภท ก ช่ัวโมงละ ไมเ่ กนิ 800 ไมเ่ กิน 800
ประกอบดว้ ยค่าใชจ้ า่ ย ดังน้ี ชั่วโมงละ ไมเ่ กิน 1,600 ไม่เกิน 1,600
1.1 ค่าสมนาคณุ วิทยากร
- วิทยากรท่ีเปน็ บคุ ลากรของรัฐ - ไมเ่ กิน 270 ไมเ่ กิน 1,000
(หมายความว่าข้าราชการ พนักงาน และลกู จา้ ง
ของสว่ นราชการ หนว่ ยงานอิสระตาม - ม้ือ / คน วนั / คน
รฐั ธรรมนญู องค์การมหาชน รัฐวสิ าหกิจ ไมเ่ กิน 270 ไม่เกิน 500
และหน่วยงานอื่น) มือ้ / คน
- วิทยากรทม่ี ิใชบ่ ุคคลดังกลา่ วข้างต้น มอ้ื / คน วนั / คน
1.2 คา่ อาหาร วนั
- จดั ครบทุกมอื้ วนั ไม่เกิน 35 ไม่เกิน 50

- จัดไมค่ รบทกุ ม้อื วัน / คัน ไม่เกิน 2,000
เท่ียว / คน ไมเ่ กิน 1,100
1.3 คา่ อาหารว่างและเคร่อื งด่ืม
1.4 ค่าเชา่ ทพ่ี กั 2,800 2,800
2,500 2,500
- พกั คนเดยี ว
- พกั 2 คน ๆ ละ เท่ยี ว / คน 200 200
1.5 คา่ ยานพาหนะ
- คา่ รถโดยสาร (รถตู)้ + ค่าน้ามนั
- ค่าโดยสารเครอ่ื งบนิ

(อัตราที่ต้งั ให้เปน็ ไปตามพระราชกฤษฎกี า
คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับที่ 9)
พ.ศ. 2560)
- ค่าแทก็ ซ่ี

1-2

รายการ หนว่ ย อตั ราค่าใชจ้ ่าย (บาท)
คน / หลกั สูตร
1.6 ค่าใช้จ่ายอน่ื ๆ สถานที่ราชการ สถานท่ีเอกชน
- ค่าเอกสารและค่าเบด็ เตลด็
ให้ระบุรายละเอยี ดค่าใช้จา่ ย กรณที เ่ี สนอ 100 100

ขอตัง้ งบประมาณเป็นค่าใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ หากไมส่ ามารถ
จ้าแนกรายละเอียดได้ให้ต้ังงบประมาณได้ไม่เกิน
5,000 บาท

2. การฝึกอบรมขา้ ราชการประเภท ข และการฝึกอบรม ชว่ั โมงละ ไมเ่ กิน 600 ไม่เกนิ 600
บคุ คลภายนอก ประกอบด้วยค่าใช้จา่ ย ดังน้ี ชว่ั โมงละ ไม่เกนิ 1,200 ไม่เกนิ 1,200

2.1 ค่าสมนาคุณวิทยากร - ไม่เกนิ 200 ไมเ่ กนิ 700
- วิทยากรทเ่ี ป็นบุคลากรของรฐั ม้อื / คน วัน / คน
(หมายความว่า ขา้ ราชการทุกประเภท รวมทงั้ -
พนักงานลูกจ้างของส่วนราชการ รฐั วสิ าหกิจ ไมเ่ กิน 200 ไมเ่ กิน 500
หรือหนว่ ยงานอนื่ ) มอื้ / คน วัน / คน
- วทิ ยากรท่มี ใิ ชบ่ ุคคลดงั กลา่ วขา้ งตน้

2.2 ค่าอาหาร
- จัดครบทุกม้อื

- จดั ไมค่ รบทุกมือ้

2.3 คา่ อาหารว่างและเครือ่ งดมื่ มือ้ / คน ไมเ่ กิน 35 ไม่เกนิ 50

2.4 ค่าเชา่ ที่พกั วนั ไม่เกนิ 1,200
วนั ไมเ่ กิน 750
- พกั คนเดยี ว
- พัก 2 คน ๆ ละ

2.5 คา่ ยานพาหนะ วัน / คัน 13,400 13,400
- ค่ารถโดยสาร (รถบสั ) + ค่าน้ามัน เที่ยว / คน 200 200
- คา่ แท็กซ่ี

1-3 หนว่ ย อตั ราคา่ ใช้จา่ ย (บาท)

รายการ สถานที่ราชการ สถานที่เอกชน

2.6 คา่ ใช้จา่ ยอื่น ๆ คน / หลักสตู ร 70 70
- คา่ เอกสารและค่าเบ็ดเตล็ด
ใหร้ ะบุรายละเอียดค่าใช้จา่ ย กรณที เี่ สนอ

ขอต้งั งบประมาณเปน็ คา่ ใช้จา่ ยอ่ืนๆ หากไมส่ ามารถ
จา้ แนกรายละเอยี ดได้ใหต้ ้งั งบประมาณได้ไม่เกิน
5,000 บาท

1-4

2. การฝกึ อบรมในต่างประเทศ

รายการ หน่วย อัตราค่าใช้จา่ ย
(บาท)
1. การฝกึ อบรมขา้ ราชการประเภท ก ประกอบดว้ ยคา่ ใช้จา่ ย ดังนี้ ไมเ่ กนิ 2,500
ไมเ่ กนิ 8,000
1.1 ค่าอาหาร วัน / คน ไม่เกิน 5,600
ไมเ่ กนิ 3,600
1.2 คา่ เช่าทีพ่ ัก ไมเ่ กิน 5,600
ไมเ่ กนิ 3,900
- พกั คนเดยี ว ไม่เกิน 2,500

ประเภท ก วัน 400

ประเภท ข วนั 1,000
1,000
ประเภท ค วัน

- พัก 2 คน ๆ ละ

ประเภท ก วนั

ประเภท ข วัน

ประเภท ค วัน

1.3 ค่ายานพาหนะ

- ค่าโดยสารเคร่อื งบนิ

(อัตราทตี่ ัง้ ใหเ้ ป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา

ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2560

และมตคิ รม.เม่ือวนั ท่ี 10 พฤษภาคม 2559

ตามหนังสือส้านกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ด่วนทสี่ ดุ

ที่ นร 0506/ว 160 ลงวันท่ี 13 พฤษภาคม 2559

เรือ่ ง การพฒั นาบุคลากรภาครฐั โดยการจดั

หลกั สตู รฝึกอบรมของหน่วยงานตา่ ง ๆ)

- ค่าแทก็ ซไี่ ปสนามบนิ เทย่ี ว / คน

1.4 คา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ

1.4.1 คา่ ลงทะเบยี น

(ตงั้ ใหเ้ ทา่ ท่ีจา่ ยจรงิ ในอัตราท่ีหนว่ ยงานผู้จัด

เรียกเก็บ)

1.4.2 คา่ ธรรมเนียมเข้าประเทศ (วซี ่า) (ต้งั ให้เทา่ ที่จา่ ยจริง)

1.4.3 ค่าธรรมเนียมในการจดั ทาหนังสอื เดนิ ทาง

ราชการ (Official Passport) ครัง้ / คน

1.4.4 ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน คร้งั / คน

2. การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก วัน / คน ไมเ่ กนิ 2,500
ประกอบดว้ ยค่าใช้จา่ ย ดังน้ี
วัน ไม่เกนิ 6,000
2.1 คา่ อาหาร วัน ไมเ่ กนิ 4,000
วัน ไมเ่ กิน 2,400
2.2 ค่าเช่าทพ่ี ัก
- พกั คนเดยี ว
ประเภท ก

ประเภท ข
ประเภท ค

1-5

รายการ หน่วย อัตราคา่ ใช้จ่าย
(บาท)
- พกั 2 คน ๆ ละ ไมเ่ กนิ 4,200
ไมเ่ กิน 2,800
ประเภท ก วัน ไมเ่ กิน 1,700

ประเภท ข วนั 400

ประเภท ค วนั 1,000
1,000
2.3 คา่ ยานพาหนะ

- ค่าโดยสารเครือ่ งบิน

(อตั ราท่ตี ้ังใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชกฤษฎกี า

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2560

และมตคิ รม.เมอื่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ตามหนังสอื ส้านกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนท่ีสดุ

ที่ นร 0506/ว 160 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2559

เร่ือง การพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั โดยการจัดหลักสูตร

ฝกึ อบรมของหน่วยงานตา่ ง ๆ)

- ค่าแท็กซ่ไี ปสนามบนิ เที่ยว / คน

2.4 คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ

2.4.1 ค่าลงทะเบียน

(ตั้งให้ไดเ้ ท่าทจ่ี ่ายจริงในอัตราทห่ี น่วยงานผจู้ ัด

เรยี กเก็บ)

2.4.2 ค่าธรรมเนยี มเข้าประเทศ (วีซ่า) (ตง้ั ให้เทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ )

2.4.3 ค่าธรรมเนยี มในการจัดทาหนังสือเดนิ ทาง

ราชการ (Official Passport) คร้งั / คน

2.4.4 ค่าธรรมเนยี มการใชส้ นามบิน ครง้ั / คน

3. คา่ เคร่อื งแต่งตัว ครง้ั / คน 7,500
ต้ังให้ตามสิทธิเบิกค่าเคร่ืองแต่งตัว มีระยะเวลาเกิน 2 ปี ต่อครั้ง ครง้ั / คน 9,000

โดยให้เบกิ ในลกั ษณะเหมาจา่ ย ไมเ่ กนิ อตั รา ดงั น้ี

3.1 ขา้ ราชการต้าแหนง่ ประเภททว่ั ไป ระดับปฏบิ ัตงิ าน
ข้าราชการต้าแหนง่ ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏบิ ัติการ

3.2 ข้าราชการต้าแหนง่ ประเภททั่วไป ระดบั ช้านาญงาน

ระดับอาวโุ ส ระดบั ทกั ษะพเิ ศษ ขา้ ราชการตา้ แหนง่ ประเภท
วิชาการ ระดับชา้ นาญการ ระดับช้านาญการพเิ ศษ
ระดับเชยี่ วชาญ ระดับทรงคุณวฒุ ิ ข้าราชการต้าแหนง่

ประเภทอ้านวยการ ระดบั ต้น ระดบั สงู ข้าราชการ
ตา้ แหนง่ ประเภทบรหิ าร ระดบั ตน้ ระดบั สงู

1-6

อตั ราคา่ ใชจ้ ่ายการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจ่ายประจาปี

1. อัตราค่าใช้จา่ ยในการประชาสัมพันธ์
1.1 การประชาสัมพันธ์ ผ่านสถานีโทรทัศน์ สถานวี ิทยุ หนงั สือพมิ พ์ โปสเตอร์ และแผ่นพบั ฯลฯ

1.1.1 สถานโี ทรทัศน์ ต้งั งบประมาณตามอัตราท่ีกรมประชาสัมพนั ธ์ก้าหนด ดังน้ี

หนว่ ย : บาท

รายการ ชว่ งเวลาแพรภ่ าพ

ระดับ A ระดบั B ระดบั C

1. คา่ บรกิ ารเผยแพรร่ ายการ (ความยาว 50 นาที) ช่ัวโมงละไม่เกนิ ชั่วโมงละไม่เกิน ช่วั โมงละไม่เกิน

* ความยาวเกิน 50 นาที ช่ัวโมงแรกคิดตามอัตรา 50 นาที 120,000 95,000 75,800

เศษของชวั่ โมงให้คิดตามเกณฑ์ 25 นาที หรอื 50 นาที

แล้วแต่กรณี

2. ค่าบริการเผยแพร่ VTR Logo คร้งั ละไม่เกิน ครั้งละไม่เกิน ครัง้ ละไม่เกนิ

ความยาวไม่เกิน 10 วนิ าที 5,000 3,500 2,500

3. คา่ บริการเผยแพร่ Logo ครั้งละไม่เกิน ครง้ั ละไม่เกิน ครงั้ ละไม่เกนิ

ความยาวไมเ่ กิน 10 วินาที 2,500 1,500 1,000

4. คา่ เผยแพร่สกู๊ปขา่ ว และรายงานพิเศษ คร้ังละไม่เกนิ ครั้งละไม่เกิน

ความยาวไมเ่ กนิ 3 นาที 35,000 25,000

หมายเหตุ : สถานีวิทยโุ ทรทัศนแ์ ห่งประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร) ช่วงเวลาแพร่ภาพมี 3 ระดับ ได้แก่

1. ระดับ A

18.00-23.00 น. (จันทร์-อาทิตย)์

2. ระดับ B

04.00-08.00 น. (จันทร์-ศกุ ร์)

12.00-13.00 น. (จันทร์-ศกุ ร์)

10.00-18.00 น. (เสาร์-อาทิตย์)

23.00-24.00 น. (จันทร์-อาทิตย)์

3. ระดับ C

04.00-10.00 น. (เสาร์-อาทิตย์)

08.00-12.00 น. (จันทร์-ศกุ ร)์

13.00-18.00 น. (จันทร์-ศกุ ร์)

1-7

1.1.2 สถานวี ทิ ยุ ต้งั งบประมาณตามอตั ราทีก่ รมประชาสมั พนั ธก์ า้ หนด ดงั น้ี
หน่วย : บาท

รายการ ช่วงการเสนอ / ระบบ ราคา (ต่อคร้ัง)

1. ค่าเผยแพรส่ ปอต

เขตกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล ช่วงข่าวภาคหลัก 5,000

ช่วงขา่ วตน้ ชั่วโมง 2,000
1,000
ชว่ งในรายการ 4,000
100
เครอื ขา่ ยทั่วประเทศ ชว่ งขา่ วต้นชั่วโมง
50
เขตต่างจังหวัด ระบบ FM
ระบบ AM 3,000
4,000
2. ค่าเผยแพร่ สารคดี บทความ 500
300
เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 1 – 2 นาที
2 – 5 นาที

เขตตา่ งจังหวดั ระบบ FM
ระบบ AM

หมายเหตุ : - สปอตความยาวคร้ังละไมเ่ กิน 30 วินาที

- สารคดี บทความ ความยาวครง้ั ละไม่เกิน 5 นาที

1.1.3 ค่าโฆษณาผ่านทางสอื่ ป้ายโฆษณาไวนลิ

หนว่ ย : บาท / ตารางเมตร

ชนิด ขนาดป้ายโฆษณา
1-10 ตารางเมตร 10 ตารางเมตรข้นึ ไป

ไวนิลทึบแสง 356 326

ไวนลิ โปรง่ แสง 544 500

หมายเหตุ

- ป้ายโฆษณาผ้าใบไวนลิ อิงค์เจท็ ภายนอกอาคาร (Vinyl inkjet Outdoor)

- พมิ พ์ท่คี วามละเอียดอย่างต้่า 1200 dpi

- เปน็ ราคารวมภาษีมูลค่าเพิม่
- ไมร่ วมคา่ ออกแบบ ค่าอุปกรณ์และคา่ ใช้จา่ ยในการติดตง้ั

1-8

1.1.4 โปสเตอร์ ตั้งงบประมาณตามอตั รา ดังน้ี

หน่วย : บาท / แผน่

จานวน (แผ่น) ขนาด ชนิดกระดาษอาร์ตมนั
(เซนตเิ มตร) 130 gsm. 160 gsm.

1 - 3,000 A3 (29.7 x 42) 2.59 2.91
A2 (42 x 59.4) 4.85 5.16

3,001 - 5,000 A3 (29.7 x 42) 1.83 2.10
A2 (42 x 59.4) 4.02 3.80

5,001 ขึ้นไป A3 (29.7 x 42) 1.67 1.87
A2 (42 x 59.4) 3.83 3.72

หมายเหตุ : ราคาส้าหรับพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี 1 ด้าน และรวมภาษีมลู คา่ เพ่ิมแล้ว

1.1.5 แผ่นพบั ต้ังงบประมาณตามอัตรา ดงั น้ี

หน่วย : บาท / แผ่น

จานวน (แผน่ ) ขนาด ชนดิ กระดาษอารต์ มัน
1- 3,000 (เซนตเิ มตร) 130 gsm. 160 gsm.
A4 พับคร่ึงเป็น A5
3,001-5,000 (29.7 x 21) เปน็ (14.8 x 21) 1.87 1.96
A3 พบั ครึ่งเปน็ A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21) 3.37 3.32
A4 พบั ครง่ึ เป็น A5
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 1.41 1.48
A3 พับครง่ึ เป็น A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21) 2.27 2.39

5,001-10,000 A4 พับครง่ึ เปน็ A5 1.14 1.21
(29.7 x 21) เปน็ (14.8 x 21) 1.76 1.92

A3 พบั ครง่ึ เป็น A4
(29.7 x 42) เปน็ (29.7 x 21)

10,001-50,000 A4 พบั ครึ่งเปน็ A5 0.93 0.95
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 1.71 1.87

A3 พับครงึ่ เปน็ A4

(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21)

50,001 ข้นึ ไป A4 พับครง่ึ เป็น A5 0.75 0.81
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 1.70 1.84

A3 พับครึง่ เปน็ A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21)

หมายเหตุ : ราคาส้าหรับพมิ พ์ออฟเซ็ท 4 สี 2 ดา้ น และรวมภาษมี ูลคา่ เพมิ่ แล้ว

1-9

1.1.6 คา่ แปลเอกสาร ตงั้ งบประมาณตามอตั รา ดังนี้

หนว่ ย : บาท / หน้า

ภาษาท่ีแปล ราคา

1. แปลจากองั กฤษเป็นไทย 280

2. แปลจากไทยเป็นอังกฤษ 300

3. แปลจากภาษาอ่ืน (นอกจากภาษาอังกฤษ) เปน็ ภาษาไทย 650

4. แปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอนื่ (นอกจากภาษาอังกฤษ) 610

หมายเหตุ : ราคาขา้ งตน้ เปน็ ราคาการแปลเอกสารซึง่ ใชต้ ัวอักษร Angsana New ขนาด 16

หรือเทียบเทา่ และรวมภาษมี ลู ค่าเพ่มิ แลว้

1.1.7 หนังสือพิมพ์ ต้งั งบประมาณตามอตั รา ดงั น้ี
(1) รูปแบบตีพิมพ์

ขนาดคอลัมน์ ประเภท หนว่ ย : บาท/คอลมั น์/ครง้ั
ราคาตอ่ คอลัมน์
6 x 10 นิว้ ขาวด้า 66,900
100,900
6 x 10 น้วิ สี 125,100
182,400
12 x 10 น้วิ ขาวด้า 248,700
343,900
12 x 10 นิว้ สี

12 x 20 นว้ิ ขาวด้า

12 x 20 นว้ิ สี

หมายเหตุ : ราคาน้ีรวมภาษีมูลคา่ เพิ่มแล้ว

(2) รูปแบบออนไลน์

อัตรา 5,400 บาท/ครง้ั

หมายเหตุ : - ราคาดงั กล่าวรวมภาษีมูลค่าเพ่ิมแลว้
- ราคาดงั กลา่ วไม่รวมค่าใชจ้ า่ ยอ่ืน เชน่ Re-write, Photo Shooting, Interview, Create content ฯลฯ

- ราคาดังกล่าวครอบคลมุ เฉพาะการโฆษณาผา่ นเวบ็ ไซต์ของสา้ นักพิมพ์เทา่ น้ัน

1-10

1.2 ค่าใชจ้ า่ ยในการผลติ สือ่ โฆษณาทางโทรทศั น์ วทิ ยุ และส่อื โสตทศั น์
1.2.1 ค่าผลิตสอ่ื โฆษณาทางโทรทัศน์ ตัง้ งบประมาณตามอัตราทกี่ รมประชาสัมพนั ธ์

กา้ หนด ดงั นี้
หน่วย : บาท

ชนดิ ราคา (ตอ่ ครง้ั )

1. สปอตทัว่ ไปลกั ษณะบรรยายประกอบภาพ ไม่เกิน 30,000
ไม่เกนิ 100,000
2. สปอตเชงิ ละครท่ีมีบทสนทนาพรอ้ มตวั แสดง ไม่เกิน 60,000

3. สารคดสี ้ันและรายการสน้ั ท่ัวไป

หมายเหตุ : สถานวี ิทยโุ ทรทศั นแ์ หง่ ประเทศไทย (กรงุ เทพมหานคร)
- สปอตความยาวไม่เกิน 60 วนิ าที
- สารคดสี ั้น และรายการสน้ั ทวั่ ไปความยาวไมเ่ กนิ 5 นาที

1.2.2 ค่าผลิตสื่อโฆษณาทางวทิ ยุ ตัง้ งบประมาณตามอัตราทกี่ รมประชาสมั พนั ธ์กา้ หนด

ดังนี้

หน่วย : บาท

รายละเอยี ด ราคา

ผลิตสปอต 30 วินาที

- ภาษาไทย สปอตละไมเ่ กนิ 10,000

- ภาษาอังกฤษ สปอตละไมเ่ กิน 20,000

ผลิตสารคดี

- ความยาว 1 – 2 นาที ตอนละไม่เกิน 5,000

- ความยาว 2 – 5 นาที ตอนละไมเ่ กิน 6,000

- ภาษาองั กฤษ 3 – 5 นาที ตอนละไม่เกนิ 9,000

หมายเหตุ : สถานีวิทยุกระจายเสยี งแห่งประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร)

1-11

อัตราคา่ ใช้จา่ ยการจา้ งทป่ี รึกษา
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจ่ายประจาปี

การจา้ งท่ปี รึกษาไทย
ขน้ั ตอนการคานวณค่าจา้ งที่ปรึกษาทั้งโครงการ

คา่ จา้ งทปี่ รึกษาทง้ั โครงการจะเปน็ ผลรวมของคา่ ตอบแทนบคุ ลากร (Remuneration) และค่าใชจ้ า่ ยตรง
(Direct Cost) โดยมีขนั้ ตอนในการค้านวณราคากลางค่าจ้างทปี่ รกึ ษาทง้ั โครงการดงั นี้

(1) ข้นั ตอนท่ี 1 เจ้าของโครงการจะต้องแจกแจงหรอื กา้ หนดวตั ถปุ ระสงค์ และขอบเขตการด้าเนินงาน
(2) ขั้นตอนที่ 2 ก้าหนดประเภทบคุ ลากรหรือผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นตา่ ง ๆ ที่จะเข้าด้าเนนิ การโครงการ
(3) ขั้นตอนที่ 3 ก้าหนดวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ พรอ้ มกับประเมินระยะเวลาการท้างาน
ของแต่ละคนที่จะใชใ้ นการด้าเนินโครงการ
(4) ขนั้ ตอนท่ี 4 ให้น้าอัตราเงินเดือนพื้นฐานของท่ีปรกึ ษาแตล่ ะคน (Basic Salary) คูณกับตวั คูณ
อตั ราคา่ ตอบแทน (Mark-Up Factor) และคณู กบั ระยะเวลาการท้างาน จะไดค้ า่ จ้างท่ปี รึกษาของแตล่ ะคน
ผลรวมคา่ จ้างทป่ี รึกษาของทุกคนจะเปน็ ค่าตอบแทนบุคลากร (Remuneration) ที่ใชใ้ นการด้าเนนิ โครงการ

* ค่าตอบแทนบุคลากร (ตอ่ คน) = อัตราเงนิ เดือนพนื้ ฐาน (Basic Salary) x อตั ราคา่ ตอบแทน (Mark-Up
Factor) x ระยะเวลาในการทา้ งาน

* คณะรัฐมนตรมี มี ติก้าหนดใหต้ วั คูณอตั ราค่าตอบแทน (Mark-Up Factor) กา้ หนดไวอ้ ยรู่ ะหว่าง 1.430 - 2.640
ข้ึนอยกู่ บั ประเภทของทป่ี รึกษาและหลักฐานประกอบตามมตคิ ณะรฐั มนตรี

(5) ขน้ั ตอนที่ 5 ผลรวมคา่ ตอบแทนบคุ ลากรทงั้ โครงการ กบั ค่าใชจ้ ่ายตรง (Direct Cost) หรือค่าใช้จา่ ย
ด้าเนินการ จะได้คา่ ทจ่ี า้ งทปี่ รกึ ษาทั้งโครงการ

1-12

อตั ราคา่ ใช้จา่ ยการจา้ งทปี่ รึกษา
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี (เกณฑ์ สบน.)

อตั ราน้เี ปน็ อตั ราตามมติคณะรฐั มนตรี วันที่ 6 สิงหาคม 2556 ซงึ่ คานวณรวม Mark-Up Factor ไว้แล้ว หน่วย : บาท/เดอื น

อัตราเงนิ เดือน* (คานวณรวม Mark-Up Factor แล้ว) กรณมี ีหลักฐาน
ครบท้ัง 3 ขอ้ **
รายการ สถาบันของรัฐที่ให้บริการ ท่ีปรึกษาไม่ไดท้ างานประจา ทปี่ รกึ ษาทางานประจาเต็มเวลาในบรษิ ัททีป่ รกึ ษา* (Mark-Up Factor 2.640)

งานที่ปรึกษา ในบริษทั ที่ปรึกษา กรณไี ม่มีหลักฐาน** กรณมี ีหลักฐานเพียง 1 ขอ้ ** กรณมี ีหลักฐานเพียง 2 ขอ้ ** 61,800 - 83,200
(Mark-Up Factor 2.475) (Mark-Up Factor 2.530) (Mark-Up Factor 2.585) 88,400 - 112,200
(Mark-Up Factor 1.760) (Mark-Up Factor 1.430) 119,100 - 151,000

1. การจา้ งทป่ี รึกษาไทย 41,200 - 55,400 33,500 - 45,000 57,900 - 78,000 59,200 - 79,700 60,500 - 81,400 160,200
คา่ ใช้จา่ ยดา้ นบคุ ลากร 59,000 - 74,800 47,900 - 60,800 82,900 - 105,200 84,800 - 107,500 86,600 - 109,900
1.1 บคุ ลากรหลกั 79,400 - 100,700 64,500 - 81,800 111,600 - 141,600 114,100 - 144,700 116,600 - 147,900 82,100 - 108,800
115,100 - 143,900
(1) กลมุ่ วิชาชีพวิศวกรรม 106,800 86,800 150,200 153,600 156,900 152,300 - 190,600
ปริญญาตรี
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 54,700 - 72,500 44,500 - 58,900 77,000 - 102,000 78,700 - 104,200 80,400 - 106,500 201,400
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 76,700 - 95,900 62,300 - 77,900 107,900 - 134,900 110,300 - 137,900 112,700 - 140,900
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 101,600 - 127,100 82,500 - 103,200 142,800 - 178,700 146,000 - 182,700 149,200 - 186,600 127,500 - 162,100
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี 170,000 - 206,200
ปริญญาโท 134,300 109,100 188,800 193,000 197,200 216,200 - 261,900
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 85,000 - 108,100 69,100 - 87,800 119,500 - 152,000 122,200 - 155,300 124,900 - 158,700 274,800
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 113,300 - 137,500 92,100 - 111,700 159,400 - 193,300 162,900 - 197,600 166,500 - 201,900
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี 144,100 - 174,600 117,100 - 141,900 202,700 - 245,500 207,200 - 251,000 211,700 - 256,400
ปริญญาเอก
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 183,200 148,900 257,600 263,400 269,100
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี

(2) กลมุ่ วิชาชีพสถาปตั ยกรรม 43,100 - 57,700 35,000 - 46,900 60,600 - 81,200 62,000 - 83,000 63,300 - 84,800 64,700 - 86,600
ปริญญาตรี 61,200 - 77,400 49,800 - 62,900 86,100 - 108,900 88,000 - 111,300 90,000 - 113,700 91,900 - 116,200
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 82,000 - 103,700 66,600 - 84,200 115,300 - 145,800 117,900 - 149,000 120,500 - 152,300 123,000 - 155,500
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 109,800 89,200 154,400 157,900 161,300 164,700
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี

(3) กลมุ่ วิชาชีพเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร (ICT)

ปริญญาตรี 63,500 - 97,200 51,600 - 78,900 89,300 - 136,600 91,300 - 139,700 93,300 - 142,700 95,300 - 145,700
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 107,200 - 143,300 87,100 - 116,400 150,700 - 201,500 154,100 - 205,900 157,400 - 210,400 160,800 - 214,900
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 148,400 - 186,400 120,500 - 151,400 208,600 - 262,100 213,300 - 267,900 217,900 - 273,800 222,600 - 279,600
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี 195,000 158,400 274,200 280,300 286,400 292,500
ปริญญาโท
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 72,200 - 107,700 58,600 - 87,500 101,500 - 151,500 103,700 - 154,800 106,000 - 158,200 108,200 - 161,600
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 118,400 - 155,400 96,200 - 126,300 166,600 - 218,500 170,300 - 223,400 174,000 - 228,300 177,700 - 233,100
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 160,300 - 197,600 130,300 - 160,600 225,500 - 277,900 230,500 - 284,100 235,500 - 290,300 240,500 - 296,500
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี
ปริญญาเอก 205,700 167,200 289,300 295,800 302,200 308,600
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 81,800 - 119,700 66,500 - 97,200 115,100 - 168,300 117,600 - 172,000 120,200 - 175,800 122,800 - 179,500
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 130,900 - 168,600 106,400 - 137,000 184,100 - 237,100 188,200 - 242,400 192,300 - 247,600 196,400 - 252,900
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี 173,200 - 209,400 140,700 - 170,200 243,500 - 294,500 249,000 - 301,100 254,400 - 307,600 259,800 - 314,200

217,200 176,500 305,400 312,200 319,000 325,800

1-13

สถาบนั ของรัฐที่ให้บริการ ท่ีปรึกษาไม่ไดท้ างานประจา อัตราเงนิ เดือน* (คานวณรวม Mark-Up Factor แล้ว) หน่วย : บาท/เดอื น
ทป่ี รกึ ษาทางานประจาเต็มเวลาในบรษิ ัททปี่ รกึ ษา*
กรณมี ีหลักฐาน
รายการ งานที่ปรึกษา ในบริษทั ท่ีปรึกษา กรณไี ม่มีหลกั ฐาน** กรณมี ีหลกั ฐานเพียง 1 ขอ้ ** กรณมี ีหลกั ฐานเพียง 2 ขอ้ ** ครบทั้ง 3 ขอ้ **
(Mark-Up Factor 2.640)
(4) กลมุ่ วิชาชีพการเงิน (Mark-Up Factor 1.760) (Mark-Up Factor 1.430) (Mark-Up Factor 2.475) (Mark-Up Factor 2.530) (Mark-Up Factor 2.585)
ปริญญาตรี 68,400 - 92,400
45,600 - 61,600 37,000 - 50,100 64,100 - 86,600 65,500 - 88,600 67,000 - 90,500 97,900 - 123,800
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 65,300 - 82,500 53,100 - 67,100 91,800 - 116,100 93,900 - 118,700 95,900 - 121,200 131,200 - 165,500
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 87,500 - 110,400 71,100 - 89,700 123,000 - 155,200 125,700 - 158,600 128,500 - 162,100
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 175,600
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี 117,000 95,100 164,600 168,200 171,900
ปริญญาโท 113,000 - 215,400
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 75,300 - 143,600 61,200 - 116,700 105,900 - 202,000 108,300 - 206,400 110,600 - 210,900 245,300 - 422,400
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 163,500 - 281,600 132,800 - 228,800 229,900 - 396,000 235,000 - 404,800 240,100 - 413,600 448,800 - 588,700
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 299,200 - 392,500 243,100 - 318,900 420,800 - 551,900 430,100 - 564,200 439,500 - 576,500
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี 623,300
ปริญญาเอก 415,500 337,600 584,300 597,300 610,300
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 164,700 - 329,200
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 109,800 - 219,500 89,200 - 178,300 154,400 - 308,600 157,900 - 315,500 161,300 - 322,300 364,300 - 542,000
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 242,900 - 361,300 197,300 - 293,600 341,600 - 508,100 349,100 - 519,400 356,700 - 530,700 571,300 - 689,000
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี 380,900 - 459,400 309,500 - 373,200 535,600 - 646,000 547,500 - 660,300 559,400 - 674,700
722,300
481,500 391,200 677,200 692,200 707,300

(5) กลมุ่ วิจยั (ภาคเอกชน) 42,200 - 59,500 34,300 - 48,300 59,400 - 83,700 60,700 - 85,500 62,000 - 87,400 63,400 - 89,200
ปริญญาตรี 67,400 - 85,900 54,800 - 69,800 94,800 - 120,800 96,900 - 123,500 99,000 - 126,100 101,100 - 128,800
91,200 - 115,300 74,100 - 93,700 128,200 - 162,100 131,100 - 165,700 133,900 - 169,300 136,800 - 172,900
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 121,300 98,500 170,500 174,300 178,100 181,900
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี 55,100 - 71,600 44,800 - 58,200 77,500 - 100,700 79,200 - 103,000 80,900 - 105,200 82,600 - 107,400
ปริญญาโท 79,900 - 100,300 64,900 - 81,500 112,400 - 141,100 114,900 - 144,200 117,400 - 147,300 119,900 - 150,500
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 107,700 - 131,800 87,500 - 107,100 151,500 - 185,400 154,800 - 189,500 158,200 - 193,600 161,600 - 197,700
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี 139,700 113,500 196,500 200,900 205,200 209,600
- ประสบการณเ์ กนิ 20 ปี
ปริญญาเอก 82,200 - 109,100 66,800 - 88,700 115,600 - 153,500 118,200 - 156,900 120,700 - 160,300 123,300 - 163,700
- ประสบการณ์ 5 – 10 ปี 116,500 - 142,000 94,700 - 115,400 163,800 - 199,700 167,500 - 204,200 171,100 - 208,600 174,800 - 213,000
- ประสบการณ์ 11 – 15 ปี 150,800 - 180,000 122,600 - 146,300 212,100 - 253,200 216,800 - 258,800 221,500 - 264,400 226,200 - 270,100
- ประสบการณ์ 16 – 20 ปี
- ประสบการณเ์ กิน 20 ปี 187,400 152,300 263,600 269,400 275,300 281,200

หมายเหตุ :
* อัตราน้ีเป็นอัตราตามมตคิ ณะรัฐมนตรี วันที่ 6 สงิ หาคม 2556 ซง่ึ คานวณรวม Mark-Up Factor ไว้แล้ว
** หลักฐานประกอบการพจิ ารณาคานวณอัตราเงนิ เดอื นตามตวั คณู คา่ ตอบแทน ประกอบดว้ ย

1) ใบรับรองระบบคณุ ภาพทย่ี อมรับตามมาตรฐานสากล เพอื่ เป็นการแสดงวา่ บริษัทมกี ารพฒั นาระบบคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่ือง เช่น ระบบ ISO เป็นตน้
2) มหี ลกั ฐานการมซี อฟแวร์ทถี่ ูกกฎหมายสาหรับพนักงานไวใ้ ช้งานอย่างน้อยร้อยละ 30 ของพนักงานท้งั บริษทั
3) มใี บรับรองการประกันวชิ าชพี (Professional Indemnity Insurance) ของบริษัทในมลู คา่ ไมต่ ่ากว่า 30 ลา้ นบาท ในปีท่ยี ่ืนข้อเสนอ
- รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ดไู ดจ้ าก หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0907/12725 เรื่อง หลกั เกณฑ์ราคากลางการจ้างทปี่ รึกษา ลงวนั ท่ี 2 สงิ หาคม 2556 ในภาคผนวก

รายการ 1-14 หน่วย : บาท/เดอื น
1.2 บคุ ลากรสนบั สนนุ หมายเหตุ
อตั ราเงินเดอื น - บุคลากรสนับสนุน เชน่ ผู้ช่วยนักวิจัย เจ้าหน้าทภ่ี าคสนาม เป็นตน้
(1) บุคลากรสนับสนุน
(2) เลขานุการโครงการ ไมเ่ กิน 30,000
(3) พนักงานพมิ พด์ ดี / เจ้าหน้าท่ีบันทึกข้อมลู ไมเ่ กิน 15,000
ไมเ่ กนิ 12,000
2. การจา้ งทปี่ รึกษาตา่ งประเทศ
คา่ ใชจ้ ่ายดา้ นบุคลากร - ให้หน่วยงานพจิ ารณาเลอื กจ้างทปี่ รึกษาไทยที่มคี วามรู้ความสามารถในดา้ นที่เก่ยี วข้อง
2.1 ท่ปี รึกษาตา่ งประเทศ มวี ุฒิปริญญาโทข้ึนไป ก่อนเป็นอันดบั แรก แตห่ ากมคี วามจาเป็นและไมอ่ าจจัดจ้างที่ปรึกษาไทยทเี่ หมาะสมได้
ให้จ้างท่ปี รึกษาตา่ งประเทศได้ โดยใช้แนวทางตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมอื่ วนั ท่ี
สาหรับ กลมุ่ การบริหารจัดการ เช่น ผจู้ ัดการโครงการ เป็นตน้ 10 เมษายน 2550 (หนังสอื สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0505/ ว 55
ลงวนั ท่ี 12 เมษายน 2550)
- ประสบการณ์ 11 - 20 ปี
- ประสบการณ์ 21 - 30 ปี 300,000 - 450,000
- ประสบการณ์ 30 ปีขึ้นไป 450,000 - 600,000
2.2 ท่ีปรึกษาตา่ งประเทศ มวี ฒุ ิปริญญาโทข้ึนไป 550,000 - 600,000
สาหรับดา้ นวศิ วกรรม สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐศาสตร์ การเงนิ
และสถาปนิก 300,000 - 400,000
350,000 - 600,000
- ประสบการณ์ 11 - 20 ปี 450,000 - 600,000
- ประสบการณ์ 21 - 30 ปี
- ประสบการณ์ 30 ปีข้ึนไป

1-15

อตั ราค่าใช้จ่ายการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศ
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

หน่วย : บาท

รายการ ประเภท ก. อตั ราคา่ ใชจ้ า่ ย ประเภท จ.
ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง.
1. ผู้ด้ารงต้าแหน่งประเภทท่ัวไประดับอาวุโส ลงมา 2,100 2,100
2,100 2,100 2,100
ต้าแหน่งประเภทวิชาการระดับช้านาญการพิเศษ ลงมา 4,500 4,500
500 4,500 4,500 4,500 500
ตา้ แหน่งประเภทอ้านวยการระดบั ต้น หรือต้าแหน่งระดับ 500 500
500 500 500
8 ลงมา หรือต้าแหน่งท่ีเทียบเท่า หรือข้าราชการตุลาการ ไม่เกนิ เพ่มิ ข้นึ จาก
7,500 500 500 500 ประเภท ก.
ซึ่งรับเงินเดือนช้ัน 2 ลงมา หรือผู้ช่วยผู้พิพากษา หรือ อีกไม่เกนิ
ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน เพิม่ ขึน้ จาก รอ้ ยละ 25
ดะโต๊ะยุตธิ รรม หรอื ข้าราชการอัยการซ่ึงรับเงินเดือนช้ัน 3
5,000 3,100 ประเภท ก.
ลงมา หรือข้าราชการทหารซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวา
อกี ไมเ่ กนิ
อากาศเอก ลงมา หรือข้าราชการต้ารวจซ่ึงมยี ศพันต้ารวจเอก
ร้อยละ 40
ลงมา
1.1 ค่าเบ้ยี เลีย้ งเดนิ ทาง
ให้ตั้งงบประมาณในลักษณะเหมาจา่ ย
ไมเ่ กินวันละ
(ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิก
คา่ ใช้จา่ ย ในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2554)
- กรณีมิได้ต้ังงบประมาณเบย้ี เล้ยี ง
ค่าเดินทางเหมาจา่ ยใหต้ ้ังงบประมาณ
ได้ดงั นี้
(1) คา่ อาหาร - คา่ เครือ่ งดืม่ ค่าภาษี
คา่ บรกิ ารทีโ่ รงแรม ภตั ตาคาร หรือ
ร้านคา้ เรียกเก็บเท่าท่ีจ่ายจรงิ ไม่เกิน
วนั ละ
(2) ค่าทา้ ความสะอาดเส้ือผ้าสา้ หรบั
ระยะเวลาท่ีเกิน 7 วัน ได้เท่าท่ีจ่ายจริง
ไมเ่ กนิ วันละ
(3) คา่ ใชส้ อยเบ็ดเตล็ด ในลักษณะ
เหมาจ่ายไมเ่ กินวันละ

1.2 คา่ เช่าทพ่ี กั
(ตามระเบยี บกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิก
ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2554)

1-16

หน่วย : บาท

รายการ ประเภท ก. อตั ราคา่ ใชจ้ า่ ย ประเภท จ.
ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง.
1.3 คา่ พาหนะและค่าใช้จา่ ยอนื่ 1,000 1,000
- ค่าโดยสารเคร่อื งบนิ 400 1,000 1,000 1,000 400
(อัตราท่ตี ั้งใหเ้ ป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา 400 400 400
คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ
(ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2560
โดยหน่วยงานจะต้องระบปุ ระเทศหรอื
สถานทที่ ่ีจะเดินทางไปราชการ
พร้อมอตั ราค่าโดยสารเครื่องบนิ ท่ีจะตอ้ ง
จา่ ยจรงิ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาด้วย)
- คา่ ธรรมเนียมการใชส้ นามบิน (ต่อครงั้ )
- คา่ แทก็ ซีไ่ ปสนามบนิ (ตอ่ เที่ยว)

2. ผู้ด้ารงต้าแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ

ต้าแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญข้ึนไป ต้าแหน่ง

ประเภทอ้านวยการระดบั สงู ต้าแหน่งประเภทบริหาร หรือ

ต้าแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป หรือต้าแหน่งท่ีเทียบเท่า หรือ

ข้าราชการตุลาการซ่ึงรับเงินเดือนชั้น 3 ข้ันต้่าข้ึนไป หรือ

ข้าราชการอยั การซึ่งรบั เงินเดอื นช้ัน 4 ข้ึนไป หรอื ข้าราชการทหาร

ซ่ึงมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือน

พันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษขึ้นไป

หรอื ข้าราชการต้ารวจซึ่งมียศพันตา้ รวจเอก อตั ราเงนิ เดือน

พนั ตา้ รวจเอกพเิ ศษขนึ้ ไป

2.1 คา่ เบยี้ เล้ียงเดินทาง

ให้ตง้ั งบประมาณในลกั ษณะเหมาจ่าย

ไม่เกินวันละ 3,100 3,100 3,100 3,100 3,100

(ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิก

ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ (ฉบับท่ี 2)

พ.ศ. 2554)

- กรณมี ิได้ตัง้ งบประมาณเบ้ียเลี้ยงคา่

เดนิ ทางเหมาจา่ ยให้ตงั้ งบประมาณได้ดังน้ี

(1) ค่าอาหาร - คา่ เครอ่ื งดื่ม คา่ ภาษี

ค่าบรกิ ารทโี่ รงแรม ภตั ตาคารหรอื รา้ นค้า

เรยี กเกบ็ เท่าที่จ่ายจรงิ ไมเ่ กินวันละ 4,500 4,500 4,500 4,500 4,500

(2) ค่าทา้ ความสะอาดเส้ือผ้าส้าหรบั

ระยะเวลาท่ีเกิน 7 วนั ได้เทา่ ท่ี

จา่ ยจริงไมเ่ กินวันละ 500 500 500 500 500

(3) คา่ ใชส้ อยเบด็ เตล็ดในลกั ษณะ

เหมาจา่ ยไมเ่ กินวนั ละ 500 500 500 500 500

2.2.2 ค่าเช่าท่พี กั ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ เพ่มิ ข้ึนจาก เพ่ิมข้ึนจาก
(ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการเบิก 10,000 7,000 4,500 ประเภท ก ประเภท ก.
ค่าใชจ้ ่าย ในการเดินทางไปราชการ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2554) อกี ไมเ่ กิน อีกไม่เกิน
รอ้ ยละ 40 ร้อยละ 25

1-17

หนว่ ย : บาท

รายการ อตั ราค่าใชจ้ ่าย
ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง. ประเภท จ.

2.3 คา่ พาหนะและค่าใช้จา่ ยอน่ื

- คา่ โดยสารเคร่อื งบิน

(อตั ราท่ตี งั้ ให้เปน็ ไปตามพระราชกฤษฎีกา

คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ

(ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2560

โดยหน่วยงานจะต้องระบปุ ระเทศหรือ

สถานทท่ี ีจ่ ะเดนิ ทางไปราชการ

พรอ้ มอตั ราค่าโดยสารเครือ่ งบินท่ีจะตอ้ ง

จา่ ยจรงิ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาด้วย)

- ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน (ต่อครัง้ ) 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

- คา่ แทก็ ซไ่ี ปสนามบนิ (ต่อเท่ยี ว) 400 400 400 400 400

- คา่ รับรองในการเดินทางไปราชการ

ตา่ งประเทศชว่ั คราว ตามระเบียบ

กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกคา่ ใช้จา่ ย

ในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 ดงั น้ี

(1) ผู้เดนิ ทางในตาแหนง่ ต่อไปนี้

ให้เบิกได้เท่าที่จา่ ยจริง

- ประธานองคมนตรี หรอื องคมนตรี

- นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี

หรือรัฐมนตรี

- ประธาน หรือรองประธานของสภา

ซึ่งเปน็ องคก์ รนติ ิบัญญตั ิ

- ประธานศาลฎกี า รองประธานศาล

ฎีกา หรอื ประธานศาลอทุ ธรณ์

(2) ผู้เดนิ ทางนอกจากตาแหน่งทก่ี ล่าว

ใน (1) จะตัง้ งบประมาณค่ารบั รองได้

ตอ้ งเปน็ กรณีใด กรณหี นงึ่ ดงั นี้

ก เข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศ

ในฐานะผู้แทนรฐั บาล ผู้แทน-

รฐั สภา หรือผู้แทนส่วนราชการ

ข เดินทางไปเจรจาธุรกิจ เจรจา

กู้เงิน หรือขอความช่วยเหลือจาก

ต่างประเทศในฐานะผู้แทน

รฐั บาลไทย

ค เดินทางไปปรึกษาหารือ หรอื เข้า

รว่ มประชมุ เกย่ี วกับความร่วมมือ

ระหว่างหน่วยงานของรฐั บาลไทย

กับหน่วยงานต่างประเทศ

1-18

รายการ ประเภท ก. หนว่ ย : บาท
อตั ราค่าใช้จา่ ย
ง เดนิ ทางในฐานะทตู สันถวไมตรี ไม่เกนิ ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง. ประเภท จ.
หรือในฐานะแขกของรัฐบาล 67,000
ตา่ งประเทศ ไมเ่ กิน ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน ไม่เกิน ไม่เกิน
100,000 67,000 67,000 67,000 67,000
จ เดนิ ทางไปรว่ มในงานรฐั พิธตี าม ไม่เกิน ไมเ่ กิน ไม่เกิน ไมเ่ กนิ
คา้ เชญิ ของรฐั บาลต่างประเทศ 7,500 100,000 100,000 100,000 100,000

ฉ เดนิ ทางไปจดั งานแสดงสนิ ค้าไทย 9,000 7,500 7,500 7,500 7,500
หรอื ส่งเสรมิ สินค้าไทยใน
ต่างประเทศ หรือส่งเสริมการลงทนุ 9,000 9,000 9,000 9,000
ของต่างประเทศในประเทศไทย
หรือส่งเสรมิ การลงทนุ ของไทยใน
ตา่ งประเทศ

ช เดนิ ทางไปเผยแพรศ่ ลิ ปะหรอื
วัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ

โดยให้ต้ังงบประมาณค่ารับรองไดเ้ ท่าท่ี
จ่ายจรงิ (เป็นคณะหรือคนเดียว)

- กรณีเดินทางไมเ่ กิน 15 วัน

- กรณเี ดินทางเกิน 15 วนั

3. ค่าเคร่ืองแต่งตวั

ต้ังงบประมาณค่าเครอ่ื งแตง่ ตัวตามสิทธิ มี
ระยะเวลาเกนิ 2 ปี ต่อคร้งั โดยให้ตงั้ งบประมาณ
ในลักษณะเหมาจา่ ย (ต่อครง้ั ) ดังนี้
3.1 ผดู้ า้ รงต้าแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัตงิ าน

ตา้ แหน่งประเภทวชิ าการระดับปฏิบตั กิ าร หรือ
ตา้ แหน่งระดับ 5 ลงมา หรือต้าแหน่งทเี่ ทียบเท่า
หรอื ผู้ช่วยผูพ้ ิพากษา หรือดะโต๊ะยตุ ิธรรม หรือ
ข้าราชการอัยการซึง่ รับเงินเดือนชั้น 1 หรอื
ข้าราชการทหารซึ่งมยี ศพันตรี นาวาตรี
นาวาอากาศตรีลงมา หรือข้าราชการต้ารวจ
ซึ่งมียศพันต้ารวจตรีลงมา
3.2 ผู้ดา้ รงตา้ แหน่งประเภทท่วั ไประดับชา้ นาญ
งาน ข้นึ ไป ต้าแหน่งประเภทวชิ าการระดับ
ช้านาญการ ขนึ้ ไป ตา้ แหน่งประเภทอ้านวยการ
ตา้ แหนง่ ประเภทบรหิ าร หรือต้าแหน่งระดบั 6
ขึ้นไป หรอื ต้าแหนง่ ที่เทียบเท่า หรอื ข้าราชการ
ตลุ าการซึง่ รับเงนิ เดือนช้ัน 1 ข้ึนไป หรอื
ข้าราชการอยั การ ซงึ่ รบั เงินเดอื นชน้ั 2 ขึน้ ไป
หรอื ขา้ ราชการทหารซง่ึ มยี ศพนั โท นาวาโท
นาวาอากาศโทขน้ึ ไป หรือขา้ ราชการตา้ รวจ
ซึ่งมยี ศพันตา้ รวจโท ขึน้ ไป

หมายเหตุ
* ประเภท ก. ข. ค. ง. และ จ. หมายถงึ ประเทศ เมือง รฐั ดูในภาคผนวก

หลกั เกณฑ์ แนวทาง และลักษณะพ้ืนฐาน
ในการพิจารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

หลกั เกณฑ์ แนวทาง และลกั ษณะพน้ื ฐานของการฝกึ อบรม สมั มนา
ในการพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

1. หลกั เกณฑ์การกาหนดอตั ราคา่ ใช้จา่ ยการฝึกอบรม สมั มนา

กำหนดเกณฑแ์ ละอัตรำคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรฝึกอบรม สมั มนำ ตำมกฎหมำย ระเบยี บ มตคิ ณะรฐั มนตรี
ขอ้ สังเกตของคณะกรรมำธกิ ำรฯ และคณะอนุกรรมำธกิ ำรฝึกอบรม สมั มนำฯ ท่เี กีย่ วข้อง ดังนี้

1.1 ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยค่ำใชจ้ ่ำยในกำรฝึกอบรม กำรจัดงำน และกำรประชุม
ระหว่ำงประเทศ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2555

1.2 หนงั สือกระทรวงกำรคลัง ด่วนท่สี ุด ท่ี กค 0406.4/ว 5 ลงวันท่ี 14 มกรำคม 2556 เรือ่ ง
มำตรกำรบรรเทำผลกระทบจำกกำรปรบั อัตรำคำ่ จำ้ งขั้นตำ่ ปี 2556

1.3 หนงั สือกระทรวงกำรคลงั ด่วนทีส่ ดุ ท่ี กค 0406.4/840 ลงวนั ท่ี 16 มกรำคม 2556 เร่ือง
มำตรกำรบรรเทำผลกระทบจำกกำรปรับอัตรำค่ำจำ้ งข้นั ต่ำ และเพิ่มขีดควำมสำมำรถของผู้ประกอบกำร
ธรุ กจิ ขนำดกลำงและขนำดยอ่ ม (SMEs)

1.4 มตคิ ณะรัฐมนตรี เมอื่ วนั ที่ 5 กมุ ภำพนั ธ์ 2556 ตำมหนงั สอื สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ด่วนทส่ี ุด ท่ี นร 0506/ว 24 ลงวันท่ี 6 กุมภำพันธ์ 2556 เรอื่ ง มำตรกำรบรรเทำผลกระทบจำกกำรปรับ
อตั รำค่ำจำ้ งข้ันต่ำ และเพิ่มขดี ควำมสำมำรถของผู้ประกอบกำรธุรกิจขนำดกลำงและขนำดยอ่ ม (SMEs)

1.5 มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวนั ท่ี 10 พฤษภำคม 2559 ตำมหนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ว 160 ลงวันท่ี 13 พฤษภำคม 2559 เร่ือง กำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐโดยกำรจัด
หลกั สูตรฝกึ อบรมของหนว่ ยงำนต่ำง ๆ

1.6 หนังสอื กระทรวงกำรคลัง ด่วนทสี่ ุด ที่ กค 0408.4/ว 26 ลงวันท่ี 1 มนี ำคม 2560 เรอ่ื ง
พระรำชกฤษฎกี ำคำ่ ใช้จ่ำยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2560

1.7 พระรำชกฤษฎกี ำคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2560
1.8 ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญตั งิ บประมำณรำยจ่ำย
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 - 2565 สภำผู้แทนรำษฎร
1.9 ข้อสงั เกตของคณะอนุกรรมำธกิ ำรฝกึ อบรม สมั มนำ ประชำสัมพันธ์ คำ่ จ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จ้ำงท่ปี รกึ ษำ วิทยำศำสตร์ กำรวจิ ยั และถำ่ ยทอดเทคโนโลยี คำ่ เช่ำ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยในกำรเดินทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนนิ งำน งบเงนิ อดุ หนุน งบรำยจ่ำยอื่น และทนุ หมนุ เวียน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
1.10 ขอ้ สงั เกตของคณะอนุกรรมำธกิ ำรฝกึ อบรม สมั มนำ ประชำสมั พันธ์ ค่ำจำ้ งเหมำบริกำร
คำ่ จ้ำงทปี่ รกึ ษำ วิทยำศำสตร์ กำรวจิ ยั และถ่ำยทอดเทคโนโลยี คำ่ เช่ำ ค่ำใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงนิ อดุ หนุน งบรำยจำ่ ยอ่นื ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
1.11 ขอ้ สงั เกตของคณะอนกุ รรมำธกิ ำรฝกึ อบรม สัมมนำ ประชำสมั พันธ์ คำ่ จำ้ งเหมำบรกิ ำร
ค่ำจ้ำงที่ปรึกษำ ค่ำเช่ำ ค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงินอุดหนุน
งบรำยจำ่ ยอื่น ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

2-2

2. ความหมาย

ค่าใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม หมำยควำมวำ่ ค่ำใช้จ่ำยสำหรบั กำรอบรม กำรประชุมทำงวชิ ำกำร
หรือเชงิ ปฏบิ ัตกิ ำร กำรสัมมนำทำงวชิ ำกำรหรือเชิงปฏบิ ัติกำร กำรบรรยำยพิเศษ กำรฝึกศึกษำ กำรดูงำน
กำรฝึกงำน หรือท่ีเรียกช่ืออย่ำงอื่นท้งั ในประเทศและต่ำงประเทศ โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำบุคลำกร
หรอื เพ่ิมประสิทธิภำพในกำรปฏบิ ัตงิ ำน

บุคลากรของรฐั หมำยควำมว่ำ ข้ำรำชกำรทุกประเภทรวมท้งั พนกั งำน ลกู จำ้ งของสว่ นรำชกำร
รัฐวิสำหกจิ หรอื หนว่ ยงำนอื่นของรัฐ

การฝึกอบรม หมำยควำมวำ่ กำรอบรม กำรประชุมทำงวชิ ำกำรหรอื เชงิ ปฏบิ ัตกิ ำร กำรสัมมนำ
ทำงวชิ ำกำรหรือเชงิ ปฏิบตั ิกำร กำรบรรยำยพเิ ศษ กำรฝกึ ศกึ ษำ กำรดูงำน กำรฝึกงำน หรอื ท่ีเรียกช่ือ
อย่ำงอื่นท้ังในประเทศและต่ำงประเทศ โดยมีโครงกำรหรือหลักสูตรและช่วงเวลำจัดท่ีแน่นอนท่ีมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำบุคคลหรือเพ่ิมประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำน โดยไม่มีกำรรับปริญญำหรือ
ประกำศนียบตั รวชิ ำชีพ

การฝึกอบรมประเภท ก หมำยควำมว่ำ กำรฝึกอบรมท่ีผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมเกินกึ่งหน่ึงเป็น
บุคลำกรของรัฐ ซึง่ เปน็ ขำ้ รำชกำรตำแหนง่ ประเภทท่วั ไประดบั ทกั ษะพเิ ศษ ข้ำรำชกำรตำแหนง่ ประเภท
วิชำกำรระดบั เชย่ี วชำญและระดบั ทรงคุณวุฒิ ขำ้ รำชกำรตำแหน่งประเภทอำนวยกำรระดับสงู ข้ำรำชกำร
ตำแหนง่ ประเภทบรหิ ำรระดบั ต้นและระดับสูง หรอื ตำแหนง่ ท่เี ทียบเทำ่

การฝึกอบรมประเภท ข หมำยควำมว่ำ กำรฝึกอบรมที่ผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเป็น
บุคลำกรของรัฐ ซึ่งเป็นข้ำรำชกำรตำแหน่งประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงำน ระดับชำนำญงำน และระดับ
อำวุโส ข้ำรำชกำรตำแหน่งประเภทวชิ ำกำรระดับปฏิบตั ิกำร ระดับชำนำญกำร และระดับชำนำญกำรพิเศษ
ขำ้ รำชกำรตำแหนง่ ประเภทอำนวยกำรระดับต้น หรือตำแหนง่ ที่เทียบเทำ่

การฝึกอบรมบุคคลภายนอก หมำยควำมว่ำ กำรฝกึ อบรมทผ่ี เู้ ข้ำรบั กำรฝกึ อบรมเกนิ กง่ึ หนึง่ มิใช่
บคุ ลำกรของรฐั

ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หมำยควำมรวมถึง บุคลำกรของรัฐหรือบุคคลซึ่งมิใช่บุคลำกรของรัฐที่
เขำ้ รบั กำรฝกึ อบรมตำมโครงกำรหรอื หลักสูตรกำรฝกึ อบรม

การประชุมระหว่างประเทศ หมำยควำมว่ำ กำรประชุมหรือสมั มนำระหวำ่ งประเทศทสี่ ่วนรำชกำร
หรือหนว่ ยงำนของรฐั รัฐบำลตำ่ งประเทศหรอื องคก์ ำรระหวำ่ งประเทศจดั หรอื จดั รว่ มกนั ในประเทศไทย
โดยมผี แู้ ทนจำกสองประเทศขนึ้ ไปเขำ้ ร่วมประชมุ หรอื สัมมนำ

การดูงาน หมำยควำมวำ่ กำรเพ่ิมพูนควำมรู้หรือประสบกำรณ์ด้วยกำรสังเกตกำรณ์ ซง่ึ กำหนด
ไว้ในโครงกำรหรือหลักสูตรกำรฝกึ อบรม หรอื กำหนดไวใ้ นแผนกำรจดั กำรประชมุ ระหว่ำงประเทศ ให้มีกำร
ดูงำน ก่อน ระหว่ำงหรือหลังกำรฝึกอบรมหรือกำรประชุมระหว่ำงประเทศ และหมำยควำมรวมถึง
โครงกำรหรือหลักสูตรกำรฝกึ อบรมเฉพำะกำรดงู ำนภำยในประเทศทห่ี น่วยงำนของรัฐจดั ข้ึน

คา่ อาหาร หมำยควำมว่ำ ค่ำอำหำรเช้ำ อำหำรกลำงวนั และอำหำรเย็น

กำหนดค่ำใช้จ่ำยในกำรฝึกอบรมของสว่ นรำชกำร กรณีเปน็ กำรฝกึ อบรมในประเทศ ให้ตั้งงบประมำณ
ในงบดำเนินงำน สำหรับกรณีเป็นกำรฝึกอบรมในต่ำงประเทศ ให้ตงั้ งบประมำณในงบรำยจำ่ ยอ่ืน และ
ค่ำใช้จ่ำยในกำรฝึกอบรมของหน่วยรับงบประมำณ ที่มีกฎหมำยกำหนดให้ได้รับงบประมำณเป็นเงิน
อุดหนุน ให้ต้งั งบประมำณในงบเงินอุดหนนุ ตำมหลกั กำรจำแนกประเภทรำยจำ่ ยของสำนักงบประมำณ

2-3

3. ลกั ษณะพน้ื ฐานของหลกั สตู ร / โครงการฝึกอบรม สมั มนา

หลักสูตร / โครงกำรฝกึ อบรมท่ีหน่วยรบั งบประมำณและหน่วยงำนอ่ืนใดท่ีมกี ฎหมำยกำหนดให้
ได้รับงบประมำณ เป็นผู้จัดฝึกอบรมตำมภำรกิจหน้ำท่ีของหน่วยรับงบประมำณ และ / หรือเป็นผู้จัดส่ง
บุคลำกรของหนว่ ยงำนเข้ำรับกำรฝึกอบรมที่หนว่ ยรบั งบประมำณอ่ืน ดงั น้ี

3.1 หนว่ ยรับงบประมำณ เปน็ ผูจ้ ดั ฝกึ อบรมใหก้ บั หนว่ ยงำนภำยนอกองค์กร (หนว่ ยรับงบประมำณอ่นื )
ตำมภำรกิจหน้ำท่ีของหนว่ ยรบั งบประมำณ น้นั ดงั น้ี

3.1.1 ประชุมชี้แจงให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจเพ่ือให้สำมำรถปฏิบัติงำนได้ เช่น กำรประชุม
ชแ้ี จงเร่ืองกำรจัดทำงบประมำณของสำนกั งบประมำณ กำรประชมุ ชแ้ี จงเร่ืองกำรปรบั ปรุงระบบรำชกำร
ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.) เปน็ ตน้

3.1.2 ฝึกอบรมพัฒนำบคุ ลำกร เชน่ ฝึกอบรมผู้บริหำรระดบั สูงของสำนักงำนคณะกรรมกำร
ข้ำรำชกำรพลเรือน (ก.พ.) สถำบนั พระปกเกลำ้ กระทรวงกลำโหม เปน็ ตน้

3.2 หน่วยรบั งบประมำณ เปน็ ผู้จัดฝกึ อบรมให้กับประชำชน เกษตรกร สหกรณ์ วิสำหกิจขนำดยอ่ ม
สถำบันและอ่ืนๆ เพื่อประกอบเป็นวิชำชีพ พัฒนำศักยภำพ และเพ่ิมประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำน
ตำมภำรกิจหน้ำที่ของหน่วยรับงบประมำณ นั้น ซึ่งจำแนกเป็นด้ำนกำรเกษตร ด้ำนกำรอุตสำหกรรม
ดำ้ นกำรพำณชิ ย์ และดำ้ นอื่น ๆ

3.3 หน่วยรับงบประมำณ เป็นผ้จู ัดฝึกอบรมใหก้ ับหน่วยงำนภำยในองคก์ ร ดังน้ี
3.3.1 ประชุมช้แี จงแนวทำง หลักเกณฑ์ และ / หรือคู่มอื ในกำรปฏบิ ตั งิ ำน
3.3.2 ให้ควำมร้ขู ั้นพน้ื ฐำน
3.3.3 ใหค้ วำมรู้เกย่ี วกบั กำรปฏบิ ตั งิ ำน
3.3.4 พัฒนำศกั ยภำพของบคุ ลำกร
3.3.5 เพ่มิ ประสทิ ธิภำพในกำรปฏิบตั งิ ำน

3.4 หน่วยรับงบประมำณ เป็นผู้จัดส่งบุคลำกรของหน่วยรับงบประมำณ ไปฝึกอบรมท่ีหน่วยรับ
งบประมำณอนื่ หรือสถำบันตำ่ ง ๆ ดังน้ี

3.4.1 เพื่อพัฒนำบุคลำกรของส่วนรำชกำร ฯลฯ ให้เปน็ ผู้บริหำรระดับสูงตำมหลักเกณฑ์
ท่ี ก.พ. กำหนด

3.4.2 เพอ่ื เพิ่มศักยภำพของบุคลำกร เช่น หลกั สตู ร / โครงกำรฝึกอบรม สัมมนำของสถำบัน
กำรศึกษำ หรอื สถำบนั ต่ำง ๆ

3.4.3 เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภำพในกำรปฏิบัตงิ ำน เช่น หลกั สตู ร / โครงกำรฝกึ อบรมสัมมนำของ
สถำบนั กำรศกึ ษำ หรอื สถำบนั ต่ำงๆ

4. แนวทางและขอบเขตการพจิ ารณางบประมาณรายการฝึกอบรม สัมมนา
4.1 กำรตั้งงบประมำณค่ำใช้จ่ำยในกำรฝึกอบรม สัมมนำ ในภำพรวมของหน่วยรับงบประมำณ

ไม่ควรสูงกว่ำปีงบประมำณท่ีผ่ำนมำ กรณีมีกำรตั้งงบประมำณกำรฝึกอบรม สัมมนำในแผนงำนยุทธศำสตร์
เพ่ิมขึน้ ควรปรับลดงบประมำณกำรฝกึ อบรม สัมมนำในแผนงำนพ้ืนฐำนลง และให้ตง้ั งบประมำณตำมควำม
จำเป็น ท้ังน้ี ไม่ควรกำหนดเปำ้ หมำยสูงกว่ำเดิม เช่น จำนวนผู้เข้ำรับกำรอบรม ระยะเวลำ และค่ำใช้จ่ำยตำ่ ง ๆ

4.2 กำรจัดกำรฝึกอบรม สัมมนำ ของทุกหน่วยรับงบประมำณควรกำหนดเป้ำหมำยให้ชัดเจน
ไม่ซ้ำซ้อน ทงั้ ด้ำนจำนวนคน หลักสตู ร และระยะเวลำ และใหพ้ ิจำรณำสนบั สนุนงบประมำณสำหรบั หลกั สูตร
ท่ีจัดทำขึ้นเพ่ือพัฒนำบุคลำกรให้สำมำรถปฏิบัติงำนตำมภำรกิจหลักได้อย่ำงมีประสิทธิภำพเท่ำนั้น โดย
พจิ ำรณำจำนวนผู้เขำ้ รับกำรฝึกอบรมในภำพรวมให้มีจำนวนเหมำะสม สอดคลอ้ งกับภำรกจิ ของหน่วยรับ
งบประมำณ และต้องเป็นโครงกำร/รำยกำรท่ีหนว่ ยรับงบประมำณดำเนินกำรเอง (ยกเว้นกำรฝึกอบรม
เทคนิคเฉพำะเรอื่ ง) เป็นกำรฝึกอบรม สัมมนำปกติเป็นประจำ ซึ่งต้องรกั ษำมำตรฐำนกำรให้บริกำรของ

2-4

หน่วยรับงบประมำณ โดยหลักสูตรกำรฝึกอบรมหรือพัฒนำประสิทธิภำพข้ำรำชกำรของหน่วยรับ
งบประมำณที่ดำเนินงำนซ้ำทุกปี ควรทบทวนปรับลดลง เพอ่ื ดำเนินกำรเท่ำท่ีจำเป็น สำหรับหลกั สูตรที่
จำเป็นต้องมกี ำรดำเนนิ กำรต่อเนอื่ ง ขอใหจ้ ดั แผนพฒั นำบคุ ลำกรในระยะยำว และพิจำรณำเปำ้ หมำยและ
กำรวดั ผลสมั ฤทธ์ิใหช้ ัดเจน

4.3 หน่วยรับงบประมำณท่ีมีสถำนท่ีจัดฝึกอบรมของตนเอง ขอให้ตรวจสอบให้มีกำรใชส้ ถำนท่ี
ของหนว่ ยรับงบประมำณเปน็ หลัก หำกไม่มสี ถำนท่ีของตนเองอำจขอควำมร่วมมือใช้สถำนท่ีจำกภำครำชกำร
ดว้ ยกันกอ่ น ไมค่ วรใช้สถำนทข่ี องเอกชนท้ังหมด เพือ่ ให้มีกำรใช้สถำนท่รี ำชกำรอย่ำงคุ้มค่ำ ในกรณที ี่จำเป็น
ตอ้ งใช้สถำนทเ่ี อกชน ไมใ่ ห้ตั้งค่ำเช่ำสถำนที่/ห้องประชมุ และวิทยำกรควรเปน็ บุคลำกรของรฐั เป็นลำดับแรก
หำกมีควำมจำเป็นตอ้ งใชว้ ิทยำกรจำกภำคเอกชน ให้ตั้งไม่เกินร้อยละ 20 ของจำนวนช่วั โมงกำรฝึกอบรม
รวมทัง้ ควรพิจำรณำจำนวนคน และระยะเวลำกำรอบรมสัมมนำให้เหมำะสมโดยคำนึงถึงประโยชน์ท่ีจะ
ได้รับและกำรกำหนดชัว่ โมงกำรอบรม ไม่ควรเกนิ 8 ช่ัวโมงตอ่ วนั

4.4 กำรต้ังงบประมำณค่ำพำหนะ คำ่ ท่พี กั ค่ำอำหำร คำ่ อำหำรว่ำง ใหต้ รวจสอบกำรตั้งงบประมำณ
ให้สอดคล้องกบั ข้อเท็จจริง เช่น คำ่ ยำนพำหนะรถโดยสำร ขอใหพ้ ิจำรณำให้มีควำมเหมำะสมสอดคล้อง
กับจำนวนผู้เขำ้ รบั กำรฝึกอบรม คำ่ ทพ่ี ัก ใหต้ ั้งงบประมำณจำนวนวนั นอ้ ยกว่ำวันทมี่ ีกำรฝกึ อบรมโดยหกั วนั ที่
เดินทำงออก ท้ังน้ี ค่ำเบี้ยเล้ียงและค่ำพำหนะเดินทำงของผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมท่ีเดินทำงมำอบรมตำม
หลักสตู ร ซึ่งเปน็ คำ่ ใชจ้ ่ำยนอกเหนอื หลกั สูตร หำกมคี วำมจำเป็นให้ตง้ั ไว้ในค่ำใชจ้ ่ำยในกำรบริหำรงำนของ
หนว่ ยรบั งบประมำณ ไมน่ ำมำต้ังงบประมำณเป็นค่ำใชจ้ ่ำยในกำรฝึกอบรม สัมมนำ

4.5 ไม่ให้ตั้งงบประมำณกำรดูงำนในต่ำงประเทศท่ีอยู่ในหลักสูตรกำรฝึกอบรม ยกเว้นเป็น
หลักสตู รเฉพำะของสถำบันหรือองคก์ รหลกั ท่ีมีหน้ำท่ีโดยตรง และมีกำรดำเนนิ กำรมำอยำ่ งตอ่ เน่ือง หรอื มี
ระยะเวลำตำมหลักสูตรมำกกว่ำ 3 เดือน และอัตรำค่ำโดยสำรเครื่องบินให้ปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำ
คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2560

4.6 หน่วยรับงบประมำณท่ีมีกำรฝึกอบรมภำคประชำชน/เกษตรกร/เครือข่ำยภำคประชำชน
ที่เป็นกลมุ่ เปำ้ หมำยเดียวกัน ขอใหม้ กี ำรบรู ณำกำรภำยในหนว่ ยรบั งบประมำณและภำยในกระทรวงเดียวกนั
เพอื่ จัดกำรฝึกอบรมและจัดทำกิจกรรมรว่ มกัน สำหรบั ในกรณีท่ีมกี ำรบรู ณำกำรข้ำมกระทรวงตำมแผนงำน
บูรณำกำร ขอให้พิจำรณำดำเนินกำรระหว่ำงกระทรวงให้มีกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกันด้วย เพ่ือเป็นกำร
ประหยัดงบประมำณ

4.7 หลักสูตรกำรฝึกอบรมนักบริหำรระดับสูง ซ่ึงหน่วยรับงบประมำณที่เป็นผู้จัดฝึกอบรมได้
ต้ังงบประมำณไวแ้ ลว้ ไม่ใหห้ นว่ ยรับงบประมำณตำ่ งๆ ต้งั งบประมำณเพอื่ กำรลงทะเบยี นหลกั สตู รดงั กล่ำว
และให้มีกำรเว้นระยะกำรเรียนรู้หลักสูตรประเภทผู้บริหำร โดยไม่ให้ผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมเรียนหลำย
หลกั สูตรในปเี ดียวกนั และสำหรับกำรต้ังงบประมำณคำ่ ลงทะเบียนหลกั สูตรท่วั ไปท่ีหน่วยรบั งบประมำณ
ไม่ได้จัดฝกึ อบรมเองใหพ้ ิจำรณำโดยเคร่งครดั ยึดหลกั ประหยดั และตอ้ งสอดคล้องกบั ภำรกจิ ของหน่วยรับ
งบประมำณเท่ำน้ันและตั้งค่ำใช้จ่ำยกำรลงทะเบียนต่อหน่วยให้เป็นมำตรฐำนเดียวกัน ทั้งน้ี ให้นำแนวทำง
กำรพิจำรณำค่ำใช้จำ่ ยในกำรฝกึ อบรมหลกั สูตรนกั บริหำรมำรว่ มพจิ ำรณำดว้ ย

4.8 หลักสูตรกำรฝึกอบรมของหน่วยรับงบประมำณท่ีมีบทบำทหน้ำท่ีในกำรกำกับ ตรวจสอบ
และตัดสินหน่วยงำนอ่ืนๆ เช่น องค์กรตุลำกำร หน่วยงำนของศำล เป็นต้น ไม่ควรจัดให้มีกำรอบรมท่ีมี
กลุ่มเป้ำหมำยร่วมกนั ระหว่ำงบคุ ลำกรในองค์กรของตนเองกบั ข้ำรำชกำรระดับสูงของหน่วยงำนภำครัฐอ่ืนๆ
และนักธรุ กจิ จำกภำคเอกชน เพรำะจะเกิดเครอื ขำ่ ยระบบอุปถมั ภ์ระหว่ำงกัน จนอำจมผี ลกระทบต่อกำร
ปฏบิ ตั หิ น้ำท่ีกำกบั ตรวจสอบ และตดั สนิ หนว่ ยงำนอืน่ ๆ ได้

4.9 งบประมำณในกำรฝึกอบรม สมั มนำท่ีตั้งไวใ้ นกลุ่มจังหวัด/จังหวัด และมีกำรมอบหมำยให้
หนว่ ยรบั งบประมำณที่เก่ียวข้องในจังหวัดดำเนนิ กำร ขอใหต้ รวจสอบวิธกี ำรดำเนินงำนและอตั รำคำ่ ใชจ้ ่ำย
ให้เปน็ ไปตำมหลกั เกณฑเ์ ดียวกับที่หน่วยรับงบประมำณนั้นดำเนนิ กำรดว้ ย

2-5

หลกั เกณฑ์ แนวทางและลักษณะพน้ื ฐานของการโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์
ในการพิจารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

1. หลักเกณฑ์การกาหนดอัตราคา่ ใชจ้ ่ายการโฆษณา ประชาสัมพันธ์

กำหนดเกณฑ์และอัตรำค่ำใช้จ่ำยในกำรโฆษณำ ประชำสัมพันธ์ ตำมระเบียบ คำส่ัง ข้อสังเกต
ของคณะกรรมำธิกำรฯ และคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำฯ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ดังนี้

1.1 ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรเบิกจ่ำยค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำรงำนของส่วนรำชกำร
พ.ศ. 2553 แจ้งตำมหนังสือกรมบัญชกี ลำง ดว่ นทีส่ ุด ท่ี กค 0406.4/ว 322 ลงวนั ที่ 8 กนั ยำยน 2553

1.2 ประกำศกรมประชำสัมพันธ์ ลงวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2562 เรื่อง กำหนดอัตรำ
กำรให้บริกำรประชำสัมพันธท์ ำงวิทยุกระจำยเสียงและสถำนีวทิ ยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2)

1.3 ประกำศกรมประชำสัมพันธ์ ลงวันที่ 9 ธันวำคม พ.ศ. 2562 เรื่อง กำหนดอัตรำ
กำรให้บรกิ ำรประชำสมั พนั ธ์ทำงวิทยกุ ระจำยเสียงและสถำนวี ทิ ยุโทรทศั น์ (ฉบับท่ี 3)

1.4 ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563-2565 สภำผู้แทนรำษฎร

1.5 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จ้ำงที่ปรกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ กำรวิจยั และถ่ำยทอดเทคโนโลยี ค่ำเชำ่ คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงินอุดหนุน งบรำยจ่ำยอื่น และทุนหมุนเวียน ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563

1.6 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
ค่ำจำ้ งทีป่ รึกษำ วิทยำศำสตร์ กำรวิจยั และถ่ำยทอดเทคโนโลยี ค่ำเช่ำ ค่ำใช้จำ่ ยในกำรเดินทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงินอดุ หนนุ งบรำยจำ่ ยอนื่ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

1.7 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จ้ำงทปี่ รกึ ษำ คำ่ เชำ่ ค่ำใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงนิ อดุ หนุน และ
งบรำยจำ่ ยอ่ืน ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

2-6

2. ความหมาย

ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ หมำยถึง ค่ำใช้จ่ำยท่ีหน่วยรับงบประมำณใช้ในกำรเผยแพร่
ขอ้ มูลขำ่ วสำร เร่ืองรำว องค์ควำมรู้ โดยกำรถ่ำยทอดผ่ำนส่ือประเภทตำ่ ง ๆ ไปสปู่ ระชำกรกลุ่มเปำ้ หมำย
เพ่อื ให้เกดิ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และสร้ำงควำมตระหนักในเรอื่ งตำ่ ง ๆ ท้ังนใ้ี หห้ มำยรวมถึงวัสดุโฆษณำและ
เผยแพร่

สารคดี หมำยถึง เรื่องเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เรื่องรำวเกี่ยวกับบุคคลท่ีมีตัวตนจริง เหตุกำรณ์
ทเี่ กดิ ขนึ้ จริง มเี จตนำเบอ้ื งต้นในกำรใหส้ ำระ ควำมรู้ ควำมคิด อีกทงั้ ใหเ้ กิดควำมเพลดิ เพลนิ

สปอต หมำยถงึ สื่อซึ่งผลติ ข้ึนเพ่ือวัตถุประสงค์ทำงด้ำนทำงกำรโฆษณำ และได้ผ่ำนกำรบันทึก
เรียบร้อยแล้ว เพ่ือนำไปออกอำกำศตำมสถำนีวิทยุ โทรทัศน์ต่ำง ๆ ตำมที่กำหนดไว้ในแผนงำน
สื่อโฆษณำในลักษณะสปอตจะอยู่ในรูปของแผ่นเสียง เทป CD หรือ DVD แล้วแต่ชนิดของกำรใชง้ ำนและ
ควำมต้องกำรของแต่ละสถำนี โดยสปอตมำตรฐำนสำหรับสถำนีวิทยุจะมีควำมยำว 30 วินำที สำหรับ
สถำนโี ทรทัศนจ์ ะมีควำมยำว 1 นำที

**ข้อควำมทผ่ี ู้จัดรำยกำรอ่ำนสดๆ โฆษณำสนิ คำ้ ไมน่ บั ว่ำเปน็ สปอต

โปสเตอร์ หมำยถึง ภำพหรือข้อควำมโฆษณำ ท่ีทำขึ้นโดยใช้วัสดุชนิดใดก็ได้ที่สำมำรถเขียน
พิมพ์ ติด ฉลุ ภำพหรือข้อควำมนั้น ๆ ลงไปได้ อำจจะเป็นผ้ำ กระดำษ ไม้อัด สังกะสี กระจก
พลำสตกิ หรือโลหะ เพอ่ื เร่งเร้ำใหผ้ ู้พบเห็นเกดิ ควำมสนใจ เร้ำใจใหม้ ีควำมเหน็ คลอ้ ยตำม ขอ้ ควำมนนั้ ตอ้ งส้ัน
กะทัดรัด อำจเปน็ คำคม คำพังเพย หรือข้อควำมคล้องจองกนั ซ่ึงทำให้ผู้ดูเข้ำใจ จดจำได้ง่ำยและรวดเร็ว
ตลอดจนระลึกถึงและนำไปปฏบิ ตั ติ ำม

แผ่นพับ หมำยถึง ส่ิงพิมพ์ใด ๆ ทมี่ ีกำรพบั เข้ำหรือกำงออกขณะทใ่ี ช้งำน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
กำรโฆษณำ ประชำสมั พันธ์ หรือเปน็ ค่มู อื สนิ ค้ำ เชน่ แผ่นพับแนะนำสนิ คำ้ แผ่นพับแนะนำบริกำร แผน่ พบั
สง่ เสรมิ กำรขำย แผ่นพับแนะนำองค์กร แผ่นพับแนะนำสถำนท่ีสำคัญ แผ่นพับแนะนำสถำนศึกษำ แผ่นพับ
แนะนำสถำนท่ีเที่ยว แผ่นพับแจ้งข่ำวสำร แผ่นพับแนะนำร้ำนค้ำ แผ่นพับรับสมคั รสมำชิก แผ่นพับคู่มือ
สนิ คำ้ แผ่นพบั คู่มือกำรใช้บริกำร แผ่นพับแผนท่ี ฯลฯ

แปลเอกสาร หมำยถึง กำรให้ควำมหมำยจำกภำษำหน่ึงมำเป็นอีกภำษำหนึ่ง เพ่ือให้เกิด
ควำมเข้ำใจในควำมหมำยนน้ั

หนังสือ หมำยถึง เอกสำรที่เขียนหรือพิมพ์ข้ึน เช่น รำยงำนผลกำรดำเนินงำนประจำปี คู่มือ
กำรปฏบิ ตั ิงำน เปน็ ตน้ ซึ่งนำข้อควำมทพ่ี มิ พ์ หรอื เขยี นแล้วรวมเป็นเลม่

อาร์ตเวิร์ค หมำยถึง กำรออกแบบ และจัดทำต้นแบบงำนพิมพ์ เพ่ือส่งให้โรงพิมพ์ดำเนินกำร
ถ่ำยภำพ สำหรับจัดทำเป็นฟิล์มหรือแม่พมิ พ์ต่อไป

3. ลักษณะพืน้ ฐานของงบประมาณโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์

3.1 งบประมำณเพื่อกำรประชำสมั พันธ์ จะตอ้ งตอบสนองตอ่ ผลผลิต วตั ถุประสงค์ ภำรกจิ ของ
หน่วยงำน และควรเป็นภำพรวมของหน่วยรับงบประมำณท่ีมีทิศทำงท่ีสอดคล้องกับยุทธศำสตรช์ ำติ และ
นโยบำยรัฐบำล

3.2 หน่วยรับงบประมำณจะต้องจำแนกวงเงินที่จัดสรรเพ่ือ “กำรประชำสัมพันธ์” ออกเป็น “รำยกำร
ค่ำใช้จ่ำยประชำสัมพันธ์” อยู่ในหมวดรำยจ่ำยของงบดำเนนิ งำน ท้งั น้ีเพ่อื ประโยชนใ์ นกำรประมวลข้อมูล
รำยกำรประชำสัมพันธใ์ นภำพรวมของประเทศ

3.3 หนว่ ยรบั งบประมำณควรเลอื กใชส้ อ่ื เทคโนโลยีทที่ ันสมยั มีตน้ ทนุ ตำ่ หรอื ใช้สื่อประชำสมั พันธ์
ผำ่ นอนิ เทอรเ์ นต็

2-7

4. แนวทางในการพจิ ารณางบประมาณรายการประชาสัมพนั ธ์

4.1 กำรต้ังงบประมำณเพ่ือกำรประชำสัมพันธ์ หน่วยรับงบประมำณต้องกำหนดวัตถุประสงค์
กลุ่มเป้ำหมำย และประโยชน์ที่จะได้รับให้ชัดเจน เช่น ต้องกำรสร้ำงควำมเข้ำใจเรื่องใด หรือต้องกำร
เผยแพร่งำน/กิจกรรมที่ได้จัดทำขึ้นแก่ประชำชนกลุ่มใด และประโยชน์ท่ีได้รับ โดยมีกำรจัดทำแผน
กำรดำเนินงำนไว้ล่วงหน้ำและอย่ำงต่อเน่ือง ท้ังน้ี ต้องสอดคล้องกับภำรกิจหลัก พันธกิจของหน่วยรับ
งบประมำณ และเหมำะสมกับเร่ืองท่ีจะดำเนินกำรประชำสมั พนั ธ์ พรอ้ มท้งั ต้องสำมำรถแสดงถึงตวั ชี้วดั ที่
แสดงถึงกำรบรรลุเปำ้ หมำยผลสมั ฤทธ์ทิ ่ีต้องกำรอยำ่ งเป็นรปู ธรรม

4.2 กำรพจิ ำรณำประเภทของส่ือในกำรประชำสมั พันธ์จะต้องเหมำะสมกับประชำกรกลุ่มเปำ้ หมำย
โดยต้องกำหนดค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำน กำรเลือกช่วงระยะเวลำและควำมถ่ีในกำรประชำสัมพันธ์ให้
เหมำะสม โดยเฉพำะกำรใชส้ ่ือทำงวทิ ยุ โทรทัศน์ ควรพิจำรณำใชส้ ่ือท่ีเป็นของรฐั เป็นอันดบั แรก

4.3 กำรเผยแพรป่ ระชำสัมพันธ์ หน่วยงำนควรเลือกรูปแบบกำรประชำสัมพันธท์ ่ีสำมำรถเขำ้ ถึง
กลุ่มเป้ำหมำยและสภำพพ้ืนที่ โดยต้องคำนึงถึงควำมทันสมัยเป็นสำกล ควำมหลำกหลำย ควำมสะดวก
ในกำรเข้ำถึงได้งำ่ ยและความคุ้มค่าในการใช้จ่าย โดยให้ควำมสำคัญกับกำรประชำสัมพันธ์และเผยแพร่
ผลงำนผ่ำนทำงเว็บไซต์ของหน่วยงำนหรือสื่อออนไลน์ ซึ่งจะสำมำรถช่วยลดค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำร
ประชำสัมพันธ์โดยรวมได้ สา้ หรบั การประชาสัมพันธ์ท่ีมวี ตั ถุประสงคค์ ล้ายคลงึ กนั หรือซา้ ซอ้ นกบั หน่วยรับ
งบประมำณอน่ื ควรมกี ารบรู ณาการการทา้ งานรว่ มกัน เพอ่ื ลดความซ้าซ้อนและประหยัดงบประมาณ

4.4 หน่วยรับงบประมำณควรพิจำรณำใช้ช่องทำงกำรประชำสัมพันธ์ผ่ำนหน่วยรับงบประมำณ
ด้ำนกำรประชำสัมพันธ์ของรฐั เน่ืองจำกมีอตั รำค่ำบริกำรที่ตำ่ กว่ำภำคเอกชน ทำให้ประหยัดงบประมำณ
ด้ำนกำรประชำสมั พนั ธ์ได้

4.5 กำรจัดนิทรรศกำรประชำสัมพันธ์ กำรเสริมสร้ำงควำมรู้ตำมแผนงำน โครงกำรต่ำง ๆ
ควรพจิ ำรณำตำมควำมเหมำะสม โดยให้หนว่ ยรบั งบประมำณดำเนนิ กำรเองแทนกำรจำ้ งเอกชน หำกมีกำร
จ้ำงเอกชนใหร้ ำยงำนผลสมั ฤทธ์ิทไี่ ด้

4.6 ควรมกี ำรติดตำมประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทเี่ กิดขน้ึ จำกกำรดำเนนิ งำนดำ้ นกำรประชำสมั พันธ์ทผี่ ำ่ นมำ
เพื่อนำมำใชพ้ จิ ำรณำปรบั ปรงุ /พฒั นำเนอ้ื หำสำระของกำรประชำสัมพนั ธเ์ พื่อให้กำรใชส้ ือ่ ประชำสัมพนั ธเ์ กดิ
ประโยชน์สูงสุด

2-8

หลักเกณฑ์ แนวทาง และลักษณะพน้ื ฐานของการจา้ งทีป่ รกึ ษา
ในการพิจารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี

1. หลกั เกณฑก์ ารกาหนดอัตราคา่ ใช้จ่ายการจา้ งทปี่ รึกษา
กำหนดเกณฑ์และอัตรำค่ำใช้จ่ำยในกำรจ้ ำงท่ีปรึกษำ ตำมมติคณะรัฐมนตรี หนังสือ

กระทรวงกำรคลัง ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรฯ และคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำฯ
ทเี่ กี่ยวข้อง ดังน้ี

1.1 หนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0505/ว 55 ลงวันท่ี 12 เมษำยน 2550
เร่ือง กำรปรับปรงุ มตคิ ณะรัฐมนตรี เร่ือง หลักเกณฑก์ ำรจำ้ งที่ปรึกษำตำ่ งประเทศของหน่วยงำนของรัฐ

1.2 หนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 0506/ว 128 ลงวันท่ี 8 สิงหำคม
2556 เร่อื ง หลกั เกณฑร์ ำคำกลำงกำรจำ้ งท่ีปรึกษำ

1.3 หนงั สอื กระทรวงกำรคลงั ที่ กค 0903/ว 99 ลงวันที่ 20 พฤศจิกำยน 2546 เรื่อง แนวทำง
กำรใชอ้ ตั รำค่ำตอบแทนทีป่ รึกษำไทยอัตรำใหม่

1.4 ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563-2565 สภำผแู้ ทนรำษฎร

1.5 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำ ร
ค่ำจำ้ งท่ีปรึกษำ วิทยำศำสตร์ กำรวจิ ยั และถำ่ ยทอดเทคโนโลยี ค่ำเช่ำ ค่ำใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงินอุดหนุน งบรำยจ่ำยอื่น และทุนหมุนเวียน ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563

1.6 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จำ้ งทปี่ รึกษำ วิทยำศำสตร์ กำรวจิ ยั และถำ่ ยทอดเทคโนโลยี ค่ำเชำ่ คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรเดินทำงไปรำชกำร
ตำ่ งประเทศ งบดำเนนิ งำน งบเงินอุดหนุน งบรำยจำ่ ยอนื่ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

1.7 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
ค่ำจำ้ งทีป่ รกึ ษำ ค่ำเช่ำ ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ งบดำเนนิ งำน งบเงินอุดหนนุ และ
งบรำยจำ่ ยอื่น ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

2. ความหมาย
“คา่ จ้างที่ปรึกษา” หมำยถึง ค่ำใช้จ่ำยในกำรจ้ำงบุคคล คณะบุคคล นิตบิ ุคคล ที่มีประสบกำรณ์

ควำมรู้ ควำมชำนำญ เพื่อทำหน้ำท่ีให้คำปรึกษำแนะนำด้ำนเทคนิค วิชำกำร ในสำขำวิชำชีพต่ำง ๆ
แก่หน่วยรับงบประมำณ ยกเว้นคำ่ จำ้ งออกแบบและควบคมุ งำนกอ่ สร้ำง

2-9

3. ประเภทของที่ปรึกษา
ประเภทของทีป่ รกึ ษำ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
3.1 สถาบันของรัฐ ได้แก่ สถำบันกำรศึกษำของรัฐ สถำบันทำงวิชำกำรของรัฐ หรือองค์กร

ที่ให้บรกิ ำรงำนท่ีปรกึ ษำ
3.2 บริษทั ที่ปรึกษา (เอกชน) ได้แก่ กำรจ้ำงที่ปรึกษำนิตบิ คุ คล ซึง่ ทำงำนเตม็ เวลำ (Full Time)
3.3 ทีป่ รึกษาอิสระ (บุคคล) ได้แก่ กำรจ้ำงท่ปี รึกษำซ่ึงเปน็ บุคคลท่ีไม่ไดท้ ำงำนประจำในบรษิ ัท

หรือสถำบันของรัฐ โดยมีข้อได้เปรียบในกำรจ้ำงที่สำมำรถดำเนินกำรได้เร็วกว่ำกำรว่ำจ้ำงที่ปรึกษำ
นิติบุคคลและมอี ัตรำคำ่ ตอบแทนต่ำกว่ำ

ทั้งน้ี ที่ปรึกษำทกุ ประเภทจะตอ้ งจดทะเบียนไว้กับศูนยข์ ้อมูลท่ีปรึกษำไทย กระทรวงกำรคลงั
4. ลกั ษณะพื้นฐานของโครงการจา้ งท่ปี รกึ ษา

4.1 เป็นโครงกำรตำมอำนำจหน้ำท่ีโดยตรง หรือเป็นโครงกำรท่ีได้รับมอบหมำยเชิงนโยบำย
ทต่ี อบสนองวัตถุประสงค์ ภำรกจิ วสิ ัยทัศน์ของหนว่ ยรับงบประมำณและมีทิศทำงท่ีสอดคลอ้ งเช่ือมโยงกับ
ยทุ ธศำสตรข์ องกระทรวงและนโยบำยรัฐบำล

4.2 เป็นโครงกำรที่มีควำมจำเป็น สำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ในกำรปฏิบัติงำนได้จริง เพื่อให้
ผลกำรจ้ำงที่ปรึกษำมคี วำมคมุ้ คำ่

4.3 เป็นโครงกำรท่ีเข้ำลักษณะ ดังนี้
(1) เป็นโครงกำรสำคัญเพ่ือแก้ไขปญั หำของประเทศ
(2) เปน็ โครงกำรตำมนโยบำยสำคัญของรัฐบำล หรอื อยูใ่ นควำมสนใจของสำธำรณชน
(3) เป็นโครงกำรที่ต้องใช้องค์ควำมรู้เฉพำะทำงหรือมเี ทคนคิ ซับซอ้ น ต้องใช้ควำมชำนำญ

พเิ ศษทบี่ คุ ลำกรของหน่วยรบั งบประมำณไมส่ ำมำรถดำเนินกำรไดเ้ อง โดยควรพิจำรณำสถำบันกำรศกึ ษำ
ระดับสงู ทั้งภำครฐั และภำคเอกชนกอ่ นกำรพจิ ำรณำบริษัทเอกชน

ยกเว้น กำรจ้ำงที่ปรึกษำด้ำนกฎหมำยเพ่ือกำรร่ำงหรือพัฒนำกฎหมำย หน่วยรับงบประมำณ
ควรใช้บริกำรจำกหน่วยรับงบประมำณของรัฐที่ให้บริกำรโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เช่น สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ ที่ปรกึ ษำด้ำนกฎหมำยของรฐั สภำ กรมพระธรรมนูญ เปน็ ตน้

ท้ังนี้ ให้หน่วยงานของรฐั พิจารณาเลือกจ้างท่ีปรึกษาไทยที่มีความรู้ความสามารถในด้านท่ี
เกย่ี วขอ้ งกอ่ นเป็นลาดับแรก แต่หำกมคี วำมจำเปน็ และไมอ่ ำจจดั จ้ำงที่ปรึกษำไทยทเี่ หมำะสมได้ ใหจ้ ำ้ ง
ท่ปี รึกษำต่ำงประเทศไดใ้ นกรณี ดังตอ่ ไปน้ี (ตำมหนังสอื สำนักเลขำธกิ ำรคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0505/ว 55
ลงวนั ที่ 12 เมษำยน 2550)

(1) กรณีเป็นกำรจ้ำงท่ีปรึกษำ โดยใช้งบประมำณจำกแหล่งเงินช่วยเหลือหรือเงินกู้ ซ่ึงมีกำร
กำหนดเงอื่ นไขใหพ้ จิ ำรณำจ้ำงท่ปี รกึ ษำตำ่ งประเทศ

(2) กรณีได้รับกำรยืนยันเป็นหนังสือจำกศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษำไทย กระทรวงกำรคลังว่ำไม่มีท่ี
ปรึกษำไทยในสำขำบริกำรหรอื งำนน้ัน และไม่มีทป่ี รึกษำของสถำบันกำรศกึ ษำของรฐั สำมำรถใหบ้ รกิ ำรได้

(3) กรณีเป็นกำรจ้ำงท่ีปรึกษำของส่วนรำชกำรในต่ำงประเทศ หรือมีกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติใน
ต่ำงประเทศ

โดยหากไม่เป็นไปตามกรณีข้างต้น และมีความจาเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ
ให้เสนอรัฐมนตรพี จิ ารณา

2-10

5. แนวทางการพจิ ารณางบประมาณการจา้ งท่ปี รึกษา
5.1 การจา้ งทปี่ รึกษาไทย ประกอบดว้ ย
5.1.1 ค่าใช้จ่ายดา้ นบคุ ลากร
1) บุคลากรหลัก ต้องมปี ระสบกำรณ์ไม่นอ้ ยกว่ำ 5 ปี ประกอบดว้ ย 5 กลุ่มวิชำชีพ

ได้แก่ กลุ่มวิชำชีพวิศวกรรม กลุ่มวิชำชีพสถำปัตยกรรม กลุ่มวิชำชีพเทคโนโลยีสำรสนเทศและ
กำรส่อื สำร (ICT) กลุ่มวิชำชพี กำรเงิน กลมุ่ วจิ ัย (ภำคเอกชน) และกล่มุ วิชำชีพอนื่ นอกเหนือจำกข้ำงต้น

2) บุคลากรสนบั สนุน ได้แก่
(1) บคุ ลำกรสนับสนนุ เชน่ ผู้ช่วยนักวิจัย เจำ้ หนำ้ ท่ภี ำคสนำม เปน็ ต้น
(2) เลขำนุกำรโครงกำร
(3) พนกั งำนพิมพ์ดีด / เจำ้ หนำ้ ท่ีบันทกึ ข้อมูล

5.1.2 คา่ ใช้จา่ ยทางตรง (Direct Cost) หรอื ค่าใช้จ่ายดาเนินการ เชน่ ค่ำเช่ำสำนักงำน
ค่ำตดิ ตอ่ ส่อื สำร ค่ำเดินทำง คำ่ สำรวจสภำพภมู ปิ ระเทศ คำ่ จัดทำรำยงำน ค่ำจัดทำเอกสำรประกวดรำคำ
ค่ำนำ้ ค่ำไฟ ค่ำวสั ดุสน้ิ เปลอื ง ค่ำทพ่ี ักและเบยี้ เลยี้ ง ค่ำเจำะสำรวจดิน คำ่ จดั แบบ คำ่ จดั ประชุมสมั มนำ ฯลฯ

สำหรับ ค่ำใช้จ่ำยที่นอกเหนือจำกเกณฑ์ข้ำงต้นให้ใช้อัตรำค่ำใช้จ่ำยท่ีกำหนดโด ย
กระทรวงกำรคลงั (ถ้ำม)ี

5.2 การจ้างที่ปรึกษาต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นกำรจ้ำงจำกเงินนอกงบประมำณ เช่น เงินกู้
เงินช่วยเหลือจำกต่ำงประเทศ และหำกหน่วยงำนภำครัฐมีควำมจำเป็นต้องตั้งงบประ มำณ
ในกำรจ้ำงท่ีปรึกษำต่ำงประเทศ ขอให้พิจำรณำโดยใช้แนวทำงตำมมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี
10 เมษำยน 2550 (หนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0505/ว 55 ลงวันที่ 12 เมษำยน 2550)
ทง้ั น้ี ได้จำแนกท่ปี รึกษำต่ำงประเทศเปน็ 2 กล่มุ งำน ดังนี้

5.2.1 ทป่ี รกึ ษำต่ำงประเทศมีวุฒิกำรศกึ ษำปรญิ ญำโทข้ึนไป สำหรับกลุ่มกำรบริหำรจัดกำร
เชน่ ผจู้ ัดกำรโครงกำร เปน็ ต้น

5.2.2 ที่ปรึกษำต่ำงประเทศมีวุฒิกำรศึกษำปริญญำโทข้ึนไป สำหรับด้ำนวิศวกรรม
ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐศำสตร์ กำรเงิน และสถำปนกิ

5.3 การตง้ั งบประมาณการจา้ งทีป่ รกึ ษา
5.3.1 ค่ำจ้ำงที่ปรึกษำของหน่วยรบั งบประมำณ กรณีเป็นกำรจ้ำงเพ่ือให้ได้มำซ่ึงองค์ควำมรู้

หรอื วชิ ำกำร ให้ต้ังงบประมำณในงบรำยจำ่ ยอ่นื สำหรับกรณีเป็นกำรจ้ำงทป่ี รกึ ษำเพื่อใหไ้ ด้มำซง่ึ ครุภณั ฑ์
หรือสง่ิ ก่อสรำ้ ง ให้ตั้งงบประมำณในงบลงทนุ

5.3.2 ค่ำจ้ำงที่ปรึกษำของหน่วยรับงบประมำณท่ีมีกฎหมำยกำหนดให้ได้รับงบประมำณ
เป็นเงินอุดหนุน ให้ต้ังงบประมำณในงบเงินอุดหนุน สำหรับหน่วยงำนอื่นนอกเหนือจำกข้ำงต้นให้
เป็นไปตำมหลักกำรจำแนกประเภทงบรำยจำ่ ย

2-11

หลักเกณฑ์ ลกั ษณะค่าใชจ้ ่าย และแนวทางการพิจารณางบประมาณ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศ

1. หลักเกณฑ์การกาหนดอตั ราค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศ

กำหนดเกณฑ์และอัตรำค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ ตำมกฎหมำย ระเบียบ
ทเี่ กีย่ วข้อง รวมท้ัง ขอ้ สังเกตของคณะกรรมำธิกำรฯ และคณะอนกุ รรมำธิกำรฝึกอบรม สมั มนำฯ ดังนี้

1.1 พระรำชกฤษฎกี ำคำ่ ใช้จำ่ ยในกำรเดินทำงไปรำชกำร (ฉบบั ที่ 1 - 8) พ.ศ. 2526 - 2553
1.2 พระรำชกฤษฎีกำคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำร (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2560
1.3 ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรเบิกค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำร พ.ศ. 2550
และ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2554
1.4 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 9 มิถุนำยน 2558 ตำมหนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 146 ลงวันที่ 10 มิถุนำยน 2558 เรื่อง ขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่
3 มีนำคม 2558 เรือ่ ง กำรเดนิ ทำงไปศึกษำดูงำน ประชุม สมั มนำ อบรม ณ ตำ่ งประเทศ
1.5 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 พฤษภำคม 2559 ตำมหนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ด่วนที่สุด ท่ี นร 0506/ว 160 ลงวันท่ี 13 พฤษภำคม 2559 เร่ือง กำรพฒั นำบุคลำกรภำครฐั โดยกำรจัด
หลักสูตรฝกึ อบรมของหน่วยงำนตำ่ ง ๆ
1.6 ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 - 2565 สภำผแู้ ทนรำษฎร
1.7 ข้อสังเกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสัมพันธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จ้ำงทป่ี รกึ ษำ วิทยำศำสตร์ กำรวจิ ัยและถ่ำยทอดเทคโนโลยี ค่ำเชำ่ คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงนิ อุดหนนุ งบรำยจ่ำยอ่นื และทุนหมนุ เวยี น ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
1.8 ข้อสงั เกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝกึ อบรม สัมมนำ ประชำสัมพนั ธ์ ค่ำจ้ำงเหมำบริกำร
คำ่ จำ้ งท่ปี รกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ กำรวิจัยและถ่ำยทอดเทคโนโลยี ค่ำเชำ่ ค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรเดนิ ทำงไปรำชกำร
ต่ำงประเทศ งบดำเนนิ งำน งบเงนิ อดุ หนนุ งบรำยจ่ำยอืน่ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564
1.9 ขอ้ สงั เกตของคณะอนุกรรมำธิกำรฝึกอบรม สัมมนำ ประชำสมั พนั ธ์ ค่ำจำ้ งเหมำบรกิ ำร
ค่ำจ้ำงที่ปรึกษำ ค่ำเช่ำ ค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ งบดำเนินงำน งบเงินอุดหนุน
งบรำยจ่ำยอ่นื ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

2. ความหมาย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ หมำยถึง ค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงของผู้รับ

รำชกำรประจำในประเทศไทย ซึ่งเดินทำงไปรำชกำรนอกอำณำจักรไทย เพ่ือประชุม เจรจำธุรกิจ ดูงำน
ตรวจบญั ชี หรอื ปฏบิ ตั ิหนำ้ ทีอ่ ย่ำงอืน่ เป็นครั้งครำวตำมควำมจำเป็น

กำหนดค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศของส่วนรำชกำร ให้ตั้งงบประมำณใน
งบรำยจ่ำยอ่นื สำหรับค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศของรฐั วิสำหกิจ องค์กำรมหำชน
องค์กรอสิ ระ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงำนอ่นื ใดท่ีมีกฎหมำยกำหนดให้ไดร้ บั งบประมำณ
เปน็ เงินอดุ หนุน ให้ต้ังงบประมำณในงบเงนิ อุดหนนุ ตำมหลกั กำรจำแนกประเภทรำยจำ่ ยของสำนกั งบประมำณ

2-12

3. ลกั ษณะค่าใชจ้ า่ ย
3.1 จดั ส่งผแู้ ทนรัฐบำล คณะผูแ้ ทนรฐั บำล หรอื คณะผแู้ ทนเข้ำรว่ มประชมุ ปรกึ ษำหำรอื เจรจำธุรกจิ

และดูงำน ซึ่งหน่วยรับงบประมำณ และหน่วยงำนอ่ืนใดที่มีกฎหมำยกำหนดให้ได้รับงบประมำณ
ดำเนินกำรตำมภำรกจิ และหรอื ตำมนโยบำยรัฐบำล โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

3.1.1 เพ่ือประสำนควำมร่วมมือและส่งเสริมนโยบำยต่ำงประเทศเชิงรุกในด้ำนเศรษฐกิจ
กำรค้ำกำรลงทุน กำรเมือง สังคมและวัฒนธรรม และดำ้ นอืน่ ๆ ท้ังในกรอบทวิภำคีและพหุภำคกี ับนำนำ
ประเทศ

3.1.2 เพ่ือส่งเสริมและขยำยลู่ทำงกำรค้ำ กำรลงทุน เศรษฐกิจ และกำรบริกำรกับนำนำ
ประเทศ

3.1.3 เพอ่ื พัฒนำขดี ควำมสำมำรถของนกั ธุรกิจไทยและสนับสนนุ แนวทำงแกไ้ ขปัญหำและ
อปุ สรรคทำงกำรค้ำระหวำ่ งกนั

3.2 จัดส่งผู้แทนหรือคณะผู้แทนเข้ำร่วมประชุม / สัมมนำ ตำมภำรกิจของหน่วยรับงบประมำณ
และหน่วยงำนอื่นใดที่มีกฎหมำยกำหนดให้ได้รับงบประมำณในฐำนะคณะกรรมกำร กรรมกำร
คณะทำงำน สมำชิก ขอ้ ตกลงควำมรว่ มมอื ระหว่ำงประเทศ และได้รับเชญิ จำกนำนำประเทศ เพ่ือพัฒนำ
เพิม่ พูน แลกเปล่ยี นองคค์ วำมร้แู ละประสบกำรณ์ระหว่ำงประเทศ

3.3 จัดกำรประชุมหรือกำรร่วมเป็นเจ้ำภำพจดั กำรประชมุ ระหว่ำงประเทศ ซ่ึงหน่วยรบั งบประมำณ
และหน่วยงำนอ่ืนใดที่มีกฎหมำยกำหนดให้ได้รับงบประมำณ ดำเนินกำรตำมภำรกิจ และ/หรือตำม
นโยบำยรฐั บำล

4. แนวทางและขอบเขตการพจิ ารณางบประมาณรายการค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
4.1 กำรเดนิ ทำงไปรำชกำรตำ่ งประเทศจะตอ้ งตอบสนองตอ่ ภำรกจิ หลกั ของหนว่ ยรบั งบประมำณ

และหนว่ ยงำนอื่นใดทม่ี กี ฎหมำยกำหนดใหไ้ ดร้ ับงบประมำณ รวมทงั้ ตอ้ งเป็นไปตำมลกั ษณะค่ำใช้จ่ำยตำม
ขอ้ 3. และแผนปฏบิ ัตริ ำชกำรของหนว่ ยงำน

4.2 กำรจัดสรรงบประมำณควรพิจารณาถึงทิศทาง สถานการณ์ และวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ท่ี
ประเทศเผชญิ อยู่ในปัจจุบันเปน็ สาคญั

4.3 พิจำรณำต้ังงบประมำณค่ำใช้จ่ำยเฉพาะรายการที่มีความจ้าเป็น และเป็นภารกิจหลัก หรือ
เป็นไปตามพันธกรณี ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศ หรือนโยบายรัฐบาล การด้าเนินงานต้อง
เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีและระเบยี บท่ีเกี่ยวข้องอย่างเคร่งครดั โดยพิจำรณำอตั รำค่ำใช้จำ่ ยให้เป็นไป
โดยประหยัด เหมำะสม และสอดคล้องกับกำรใชจ้ ่ำยจริง ทงั้ เรอ่ื งของระยะเวลำกำรเดินทำงและจำนวน
บุคลำกรที่เดินทำง ควรพิจำรณำผู้ที่เดนิ ทำงให้เหมำะสมกับวตั ถุประสงค์ในกำรเดินทำงและเป็นไปตำม
ควำมจำเปน็ เฉพำะผทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ งโดยตรงเท่ำนัน้ ควรระบุประเทศอย่างชดั เจน ไมค่ วรระบุเปน็ กลุม่ ประเทศ
และคำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ความคมุ้ ค่าในการใชจ้ ่ายงบประมาณและประโยชนส์ งู สุดตอ่ ทาง
ราชการ

4.4 ไมต่ ัง้ งบประมำณสำหรบั กำรเดินทำงไปรำชกำรต่ำงประเทศ เพ่อื ประชุมสงั เกตกำรณ์ เนอ่ื งจำก
สำมำรถติดตำมขำ่ วสำรผ่ำนสือ่ ต่ำง ๆ ได้

4.5 กรณีการเดินทางไปราชการต่างประเทศในภารกิจเก่ียวกับการส่งเสริมและขยายโอกาสทาง
การค้า การลงทุน เศรษฐกิจและบริการ ควรมีการบูรณาการการท้างานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ ง เพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัติงาน

ภาคผนวก




























Click to View FlipBook Version