The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน โรงเรียนบางลี่วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by บางลี่วิทยาวารสาร, 2021-06-02 21:01:59

คู่มือนักเรียน โรงเรียนบางลี่วิทยา

คู่มือนักเรียน โรงเรียนบางลี่วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี

โรงเรียนบางล่วีทิยา

เรียนดีกฬีาเลิศเชิดชูสถาบันสรรค์สรา้งสังคมไทย
ธมฺมกาโมภวโํหติ(ผ้รูักดีเป็นผ้เูจรญิ)
คิดได้ทำได้ใช้ปัญญา

https://www.bangli.ac.th Fanpage:บางลว่ีิทยา Tel:035-531051 Fax:035-531521

คำนำ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบางล่ีวิทยา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ จัดทำขึ้น เพื่อเป็น
คู่มือนักเรียนในการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่โรงเรียนกำหนด รวมทั้งระเบียบแนวปฏิบัติต่าง ๆ ของกลุ่ม
บริหารงานวิชาการ กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน และกลุ่มบริหารงานบุคคลและงบประมาณ รายละเอียด
ของแตล่ ะฝ่ายในการสรา้ งความเข้าใจอนั ดีต่อกันระหว่างโรงเรียนกบั ผู้ปกครองนักเรียน สอดคล้องกับหลักการ
บริหารจดั การโดยนกั เรียนและชุมชนเป็นฐาน เนน้ การเสรมิ สร้างคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะท่ีสำคัญ
ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐานให้เป็นบุคคลในศตวรรษที่ ๒๑ จบการศึกษาตามความมุ่งหวังหรือเป้าหมาย
ของนักเรียนและผปู้ กครอง
โรงเรียนบางลี่วิทยาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือนักเรียนและผู้ปกครองเล่มนี้จะเปิดประโยชน์ต่อนักเรียน
ที่ถอื ปฏิบตั ติ ามกรอบแนวทางการเรยี นรู้และกฎระเบียบตา่ ง ๆ อยา่ งแทจ้ รงิ

ค่มู ือนักเรียนโรงเรียนบางลี่วิทยา

โรงเรียนบางล่วี ทิ ยา อำเภอสองพ่นี ้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

สารบัญ ๑

คำนำ ๒
สารบญั ๓
ข้อมูลพน้ื ฐานโรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา

- ประวตั ิโรงเรียน ๕
- สัญลกั ษณโ์ รงเรยี น อกั ษรย่อ คติพจน์ ปรชั ญา สปี ระจำโรงเรยี น คำขวญั

ต้นไม้ประจำโรงเรียน วนั สถาปนา ปที ก่ี ่อตง้ั ๗
- อตั ลกั ษณ์ เอกลักษณ์ วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าประสงค์
- กลยุทธ์การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา คา่ นิยม วัฒนธรรมองค์กร ๘

สมรรถนะหลัก นโยบายการจดั การศึกษา ๑๒
- จุดเนน้ การส่งเสรมิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ๑๓
กลุ่มบริหารงานงานบุคคลและงบประมาณ
- คณะกรรมการสถานศึกษา ๑๔
- รายช่อื ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๕
กลุ่มบริหารงานวิชาการ ๑๖
- งานหลกั สตู ร ๑๗

หลักสตู รการศึกษา ๒๕๕๑ ๒๐
โครงสร้างหลักสตู รช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ ๒๑
๒๖
หอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ ๓๑
หอ้ งเรียนปกติ
โครงสร้างหลักสูตรช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖
แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์
แผนการเรยี นศลิ ป์-ภาษาจีน
แผนการเรยี นศิลป์ – คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจสมยั ใหม่
แผนการเรียนเรียนศิลป์ – ท่ัวไป
- ระเบียบสถานศึกษาวา่ ดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นบางลว่ี ทิ ยา พ.ศ. ๒๕๖๔
หมวด ๑ หลกั การดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้สถานศึกษา
หมวด ๒ วธิ กี ารประเมินผลการเรยี น
หมวด ๓ การตัดสนิ ผลการเรยี น
หมวด ๔ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

คมู่ อื นักเรยี นโรงเรยี นบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางลวี่ ิทยา อำเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

สารบัญ (ต่อ) ๓๒

- ระเบียบสถานศึกษาวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง ๓๖
การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โรงเรียนบางล่ีวิทยา พ.ศ. ๒๕๖๔ ๔๖
หมวด ๕ การเทียบโอนผลการเรียน ๕๔
๖๐
กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรยี น ๖๒
- ระเบยี บโรงเรยี นบางลว่ี ิทยาวา่ ดว้ ยทรงผมและเคร่ืองแต่งกายของนักเรียน
- ระเบยี บโรงเรยี นบางล่ีวิทยาว่าดว้ ยความประพฤตนิ กั เรยี น ๖๔
- ระเบยี บโรงเรียนบางลี่วิทยาวา่ ดว้ ยคะแนนความประพฤตินกั เรียน ๖๖
- ระเบยี บโรงเรียนบางล่วี ทิ ยาว่าด้วยการปรบั ปรุงและพฒั นาพฤติกรรมนักเรียน ๖๘
- ระเบียบโรงเรียนบางลว่ี ิทยาวา่ ด้วยการควบคมุ การมาเรียนของนักเรยี น ๖๙
- ระเบียบโรงเรยี นบางล่วี ทิ ยาว่าด้วยการตรวจเคร่ืองแต่งกายของนักเรยี น ๗๑
ก่อนเข้าห้องสอบ
- ระเบียบโรงเรียนบางลว่ี ิทยาว่าดว้ ยการขอใบรับรองความประพฤติ ๗๔
- ระเบยี บโรงเรยี นบางลว่ี ิทยาว่าดว้ ยผ้ปู กครองนักเรยี น ๗๖
- การประกอบกจิ กรรมหนา้ เสาธง ๗๗
- มาตรการและแนวปฏิบตั กิ ารป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กล่มุ บริหารงานท่วั ไป
- งานอาคารสถานที่
- แผนผังโรงเรยี นบางล่วี ิทยา
- มาตรการปอ้ งกนั เชอื้ ไวรสั Covid-๑๙

คู่มือนักเรียนโรงเรียนบางลว่ี ิทยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อำเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี



ข้อมูลพนื้ ฐานโรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา

ประวตั ิโรงเรยี น

โรงเรียนบางล่ีวิทยา ตั้งอยู่ที่อาเภอสองพ่ีน้อง
จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อต้ังข้ึนเม่ือปีการศึกษา ๒๔๙๙
เดิมมีช่ือว่า “โรงเรียนบางล่ี (เทพสุธาประชาสรรค์)”
เปิดทาการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกอง
การศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ในที่ดินของนายเป๊ะ เทพสุธา มีจานวนพ้ืนที่ ๑๐ ไร่
๒ งาน ๖๘ ตารางวา ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
และแผนการศึกษาแห่งชาติ ปีพุทธศักราช ๒๕๐๓
จึงเปล่ียนเป็นโรงเรียนประถมศึกษาตอนปลาย สังกัดกองการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการเช่นเดิม ต่อมาโรงเรียนประสบปัญหาเด็กนักเรียนน้อยลง เน่ืองมาจากโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (โรงเรียนสังกัดสานักงานประถมศึกษาแห่งชาติ) เปิดทาการ
สอนระดับประถมศึกษาตอนปลายขึ้นในทุกโรงเรียน และโรงเรียนเดิมต้ังอยู่ในท่ีลุ่มน้าท่วมทุก ๆ ปี
ทาให้การสัญจรไปมาของนักเรียนมีความยากลาบาก ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศยุบเลิกโรงเรียน
บางล่ี (เทพสุธาประชาสรรค์) และได้ประกาศจัดต้ังโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นข้ึน ใช้ชื่อว่า โรงเรียนบางลี่
วิทยา สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เม่ือวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๑๘
อนุมัติแผนการจัดชั้นเรียนเป็น ๓-๒-๐ โดยให้ใช้สถานท่ีและอุปกรณ์ของโรงเรียนเดิม และให้โอนทรัพย์สิน
ข้าราชการและลูกจ้างประจาไปยังสังกัดใหม่ท้ังหมด แต่เน่ืองจากบริเวณท่ีดินโรงเรียนเดิมมีน้อยเกินไปไม่
เพียงพอกับการขยายตัว จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี ๑๗ โดย
จ.ส.ต.อั๋น และนางละมัย สูติวงษ์ มีจิตศรัทธามอบที่ดินจานวน ๒๒ ไร่ ๘๐ ตารางวา นางกิมเน้ย เหลืองวิไล
มีจิตศรัทธามอบท่ีดนิ จานวน ๘ ไร่ ๑ งาน ๔๐ ตารางวา คณะกรรมศกึ ษาของโรงเรียนรว่ มกนั จดั หาเงนิ ซ้ือท่ีดิน
มอบให้อีก ๑๐ ไร่ และท่ีสารองสาธารณะ ๙ ไร่ ๓๒.๔ ตารางวา ปัจจุบันโรงเรียนบางล่ีวิทยามีที่ดินทั้งสิ้น ๔๙
ไร่ ๒ งาน ๕๒.๔ ตารางวา เปิดทาการเรียนการสอนในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ สังกดั เขตพ้นื ท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนบางล่วี ิทยา

โรงเรยี นบางลี่วิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี



สัญลกั ษณืโรงเรยี น “เทียนเจด็ รศั มี หญา้ แพรก ดอกมะเขือ ดอกเขม็ ”

อักษรย่อ “บ.ล.”

คตพิ จน์ “ธมฺมกาโม ภวโหติ (ผรู้ กั ดเี ป็นผเู้ จรญิ )”

ปรัชญา “คิดได้ ทาได้ ใช้ปญั ญา”

สปี ระจาโรงเรียน “ฟ้า – น้าเงนิ ”

คาขวัญ “เรียนดี กีฬาเลิศ เชิดชสู ถาบัน สรรค์สร้างสงั คมไทย”

ต้นไม้ประจาโรงเรียน “ตน้ เขม็ ”

วนั สถาปนา “๒ มถิ ุนายน”

ปที ก่ี ่อต้ัง “พทุ ธศักราช ๒๔๙๙”

อตั ลักษณ์ "รกั ดี มนี า้ ใจ"

รักดี หมายถงึ ผูเ้ รยี นมสี ุขภาวะทีด่ ีและมีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่พี ึงประสงค์

มที ักษะในการแสวงหาความรแู้ ละพัฒนาตนเอง รกั เรยี นรู้ และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง

มีน้าใจ หมายถงึ ผู้เรียนเปน็ ผู้ให้ และชว่ ยเหลือสังคม รจู้ ักแบ่งปนั เสียสละความสขุ สว่ นตน

เพื่อทาประโยชน์แก่ผู้อื่น เข้าใจ เห็นใจผู้ท่ีมีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม ด้วยแรงกาย สติปัญญา

ลงมือปฏบิ ตั กิ ารเพื่อบรรเทาปัญหา เพื่อร่วมสรา้ งสรรค์สงิ่ ทดี่ ีงามให้เกิดขึน้ ในชมุ ชน

เอกลกั ษณ์ "กิจกรรมเดน่ เนน้ คุณธรรม นาเทคโนโลยี"

วิสัยทัศน์ “โรงเรียนบางล่ีวิทยาเป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน

การศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม โดยยึดหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และทกุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ ม”

พันธกจิ

๑. พัฒนาการจัดการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการประกันคุณภาพและ

มาตรฐานตา่ ง ๆ ทโ่ี รงเรยี นเข้าร่วม

๒. พัฒนาการจดั การศกึ ษาโดย ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้นักเรยี นนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ิตนโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

๓. พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีความร้คู ูค่ ุณธรรม มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี มคี วามความสขุ ในสงั คม

๔. เปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เก่ียวข้อง

เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการบริหารจดั การศึกษาทเี่ หมาะสม

คมู่ อื นกั เรียนโรงเรียนบางล่ีวิทยา

โรงเรยี นบางลว่ี ิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี



เป้าประสงค์
๑. โรงเรียนจัดการศกึ ษาได้ตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานเพื่อการประกันคูณภาพและมาตรฐาน
ตา่ งๆ ท่โี รงเรยี นเข้ารว่ ม
๒. การจัดการศึกษาโดย ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ ปฏบิ ตั ิตนโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
๓. ผู้เรยี นมีความรู้คูค่ ุณธรรม มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี มคี วามสขุ ในสงั คม
๔. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ท่ีเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วม
ในการบรหิ ารจดั การศึกษาทีเ่ หมาะสม
กลยุทธก์ ารพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา
๑. พฒั นาระบบบริหารการจัดการแบบมีส่วนรว่ มโดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีศกั ยภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี
๓. พัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการศึกษา
๔. พัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นให้ได้มาตรฐานเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล
๕. ส่งเสรมิ ความสมั พนั ธท์ ่ีดรี ะหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน โดยการใหบ้ รกิ ารและร่วมกิจกรรมกบั ชุมชน
อย่างต่อเนื่อง
๖. ส่งเสริมการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
๗. ส่งเสรมิ การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจดั การ
เรยี นรู้

ค่านยิ ม "ม่งุ เนน้ ความสาเร็จ โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง"
วัฒนธรรมองค์กร "เนน้ การทางานเปน็ ทมี มีความเปน็ กัลยาณมติ ร"
สมรรถนะหลัก

๑. บรหิ ารจัดการระบบคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
๒. จดั การเรียนการสอนตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง
๓. บคุ ลากรมคี วามมุ่งมัน่ ต้ังใจในการทางาน และเชีย่ วชาญด้านระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
นโยบายการจัดการศึกษา
๑. พัฒนาให้ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ โดยการจดั กิจกรรมอย่างตอ่ เนื่อง
๒. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีความกระตอื รือร้น มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ทนั โลก ทนั เหตุการณ์
๓. พัฒนาส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มสี นุ ทรียภาพ เรียนรไู้ ด้อยา่ งมีความสขุ
๔. ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนสามารถดาเนินการไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
๕. พัฒนาปรบั ปรุงอาคารสถานที่ ภมู ิทศั นแ์ ละสภาพแวดล้อมใหเ้ ออื้ ต่อการเรยี นรู้
๖. พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีศักยภาพในการบริหารจดั การ และกระบวนการจดั การเรยี นรู้

คู่มอื นักเรยี นโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรยี นบางล่ีวิทยา อาเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี



๗. นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มาใช้ในการบริหารจดั การทมี่ ปี ระสิทธิภาพการจดั การ
เรยี นรู้

๘. ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากแหล่งเรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ
๙. จัดทาแผนการใช้งบประมาณทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพตรงตามเป้าหมาย นโยบายและยทุ ธศาสตร์ เพือ่ เตรียมรบั

การประเมนิ ภายนอก
๑๐. สร้างความสัมพนั ธท์ ่ดี รี ะหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชนโดยการให้บริการและความร่วมมือกับชุมชนอย่าง

ตอ่ เนือ่ ง
๑๑. พฒั นาหลกั สูตรทีต่ รงตามความต้องการของสงั คมและชุมชน
จุดเน้นการส่งเสรมิ คุณภาพการจดั การศึกษา
๑. นักเรียนมสี มรรถนะความสามารถทีห่ ลากหลาย
๒. การยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนให้สูงขึ้น
๓. ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ สาธารณะ
๔. การพฒั นาคณุ ภาพโรงเรยี นใหไ้ ดม้ าตรฐานเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล
๕. การส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงแบบย่งั ยนื
๖. พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนด้าน ICT
๗. สง่ เสรมิ การดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
๘. ส่งเสริมการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
๙. ส่งเสริมการใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
๑๐. ส่งเสริมกิจกรรม zero waste school

ค่มู อื นักเรียนโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา อาเภอสองพี่นอ้ ง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี



คณะกรรมการสถานศกึ ษา

ลาดับท่ี รายชอ่ื ตาแหนง่
ประธานกรรมการ
๑ นายดเิ รก พละเลศิ กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง
กรรมการผูแ้ ทนครู
๒ นายสิน ศรคี าวรรณ กรรมการผแู้ ทนองคก์ รชุมชน
กรรมการผู้แทนองคก์ รปกครองท้องถน่ิ
๓ นางสาวมารยาท บุญเกิด กรรมการผู้แทนศษิ ย์เกา่
กรรมการผแู้ ทนพระภิกษสุ งฆ์
๔ นายสรุ ชัย สุขสถาวรพนั ธ์ กรรมการผแู้ ทนองคก์ รศาสนา
กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
๕ นายแหลม ศรีนุ้ย กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๖ นายชนายสุ คนดี กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๗ พระเอกชัย อตตฺ ทโม กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ
กรรมการและเลขานุการ
๘ พระมหาธเนตร ธมฺมรโต

๙ นายพสิ จู น์ ใจเทีย่ งกลุ

๑๐ นายวิโรจน์ คณูวัฒนา

๑๑ นายมนต์ วงษ์วิจารณ์

๑๒ นายสุธรรม เยี่ยมสวสั ดิ์

๑๓ นายธวชั เล้าภาษติ

๑๔ พ.ต.ท.ไพโรจน์ ไทยโพธศ์ิ รี

๑๕ นายเช่ียวชาญ ดวงใจดี

คูม่ ือนักเรยี นโรงเรียนบางลีว่ ทิ ยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพ่ีน้อง จงั หวัดสุพรรณบุรี



รายช่อื ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

คู่มือนักเรียนโรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา

โรงเรยี นบางลี่วิทยา อำเภอสองพน่ี ้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี



งานหลกั สตู ร

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบางลีว่ ิทยา จัดสอนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรยี นได้จดั สัดส่วนสาระการเรยี นร้แู ละเวลาเรียน ดงั แสดงในตารางดังนี้
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑–๓) จดั การเรียนการสอน เป็น ๒ กลุม่ ได้แก่
หอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ และ หอ้ งเรยี นปกติ
ตารางโครงสรา้ งหลักสูตร หอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
วทิ ยาศาสตร์
การออกแบบเทคโนโลย/ี วิทยาการคานวณ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
 ประวตั ศิ าสตร์ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
 หน้าท่ีพลเมือง ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
วฒั นธรรม และการดาเนิน
ชวี ิตในสังคม ๒๐ (๐.๕นก) ๒๐ (๐.๕นก) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕นก) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕นก)
 ภมู ศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน)
รวมเวลาเรียน(พน้ื ฐาน) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
รายวิชาเพ่มิ เตมิ (กลุม่ สาระ)
คณติ ศาสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
วทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร)์ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
สงั คมศกึ ษา(หน้าทพ่ี ลเมือง)
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.)
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี )
การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้:IS๑ ๘๘๐ ชม. ๘๘๐ ชม. ๘๘๐ ชม.
การสอื่ สารและการนาเสนอ:IS๒
รวมเวลาเรียนเพ่ิมเติม ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
รวมเวลาเรยี นเพม่ิ เติม
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก)
 กิจกรรมแนะแนว
 กิจกรรมนกั เรยี น ลกู เสอื เนตรนารี ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก)

ชุมนุม ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
IS๓
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
รวมเวลาเรียนท้งั หมด
๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)

๔๐ (๑.๐ นก)

๔๐ (๑.๐ นก)

๒๘๐ (๗.๐ นก.) ๒๘๐ (๗.๐ นก.) ๓๐๐ (๗.๕ นก.) ๓๐๐ (๗.๕ นก.) ๒๘๐ (๗.๐ นก.) ๒๘๐ (๗.๐ นก.)

๕๖๐ ชม ๖๐๐ ชม ๕๖๐ ชม

ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๒๐

๖๐ ๖๐ ๘๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐
๑๒๐ ชม ๑๒๐ ชม
๑๕ ๑๔๐ ชม ๑๕
๑,๕๗๕ ชม. ๑,๕๗๕
๑๕

๑,๖๓๕ ชม.

ค่มู ือนักเรียนโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพ่นี ้อง จงั หวดั สุพรรณบุรี



ตารางโครงสรา้ งหลักสูตร หอ้ งเรยี นปกติ

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ม.๑ เวลาเรียน ม.๓
ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
ภาษาไทย ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ม.๒ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
คณิตศาสตร์ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
วทิ ยาศาสตร์ ๒๐ (๐.๕นก) ๒๐ (๐.๕นก) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
การออกแบบเทคโนโลยี ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕นก)
๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
 ประวตั ิศาสตร์ ๒๐ (๐.๕) ๒๐ (๐.๕นก)
 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
 หนา้ ที่พลเมือง ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
วฒั นธรรม และการดาเนนิ
ชีวิตในสังคม ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
 ภมู ศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ศลิ ปะ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.) ๔๔๐ (๑๑ นก.)
ภาษาต่างประเทศ
รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๘๘๐ ชม. ๘๘๐ ชม. ๘๘๐ ชม.
รวมเวลาเรยี น(พ้นื ฐาน) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ (กลมุ่ สาระ) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
วิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร์) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
สังคมศึกษา(หน้าท่ีพลเมอื ง) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจีน) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก)
เลือกเรียนจาก ๘ กลมุ่ สาระ ๔๐ (๑.๐ นก)
การศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้:IS๑ ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.)
การสอ่ื สารและการนาเสนอ:IS๒ ๓๖๐ ชม ๔๐ (๑.๐ นก) ๓๖๐ ชม
รวมเวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ ๒๐๐ (๔.๐ นก.) ๒๐๐ (๔.๐ นก.)
รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๒๐ ๒๐ ๔๐๐ ชม ๒๐ ๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๒๐ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ๒๐ ๒๐
 กิจกรรมนกั เรียน ลกู เสอื เนตรนารี ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
๒๐ ๒๐
ชุมนมุ ๖๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๖๐ ๖๐
IS๓ ๑๒๐ ชม ๒๐ ๒๐ ๑๒๐ ชม
รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๑๕ ๑๕
รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑,๓๗๕ ชม. ๒๐ ๑,๓๗๕ ชม.
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๖๐ ๘๐
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด
๑๔๐ ชม
๑๕

๑,๔๓๕ ชม.

คู่มือนักเรยี นโรงเรียนบางลว่ี ิทยา

โรงเรยี นบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี



ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย(ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖) จัดการเรยี นการสอน ๓ แผนการเรยี นรู้ ได้แก่
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์ แผนการเรียนศลิ ปภ์ าษาจนี และแผนการเรียนศลิ ป์ - ทว่ั ไป
ตารางโครงสรา้ งหลักสูตร แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู/้ กจิ กรรม ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ม.๔ ม.๕ ม.๖
ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
คณติ ศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
วิทยาศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ประวัติศาสตร์
 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม - ๒๐ (๐.๕ นก) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 หนา้ ที่พลเมอื ง
วฒั นธรรม และการดาเนนิ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ชีวิตในสงั คม
 ภมู ศิ าสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) -
 เศรษฐศาสตร์
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ศลิ ปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ภาษาต่างประเทศ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ (กลุม่ สาระ) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๘๐(๗.๐นก) ๒๖๐(๖.๕นก.)
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๕๔๐ ชม.
วิทยาศาสตร์/คอมพวิ เตอร์ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
สงั คมฯ/หนา้ ท่พี ลเมือง ๒๖๐ (๖.๕.นก.) ๒๘๐ (๗.๐ นก) ๒๘๐ (๗.๐ นก) ๒๘๐ (๗.๐นก) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
สงั คมฯ/พระพทุ ธศาสนา ๒๐๐(๕.๐ นก.) ๒๐๐(๕.๐ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๕๔๐ ชม. ๕๖๐ ชม. ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
การศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้:IS๑
การสอื่ สารและการนาเสนอ:IS๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ --
รวมเวลาเรยี นเพิม่ เตมิ ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
รวมเวลาเรียนเพมิ่ เตมิ ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
 กิจกรรมแนะแนว ๑๘๐ (๔.๕ นก) ๒๐๐ (๕.๐ นก.) ๒๐๐ (๕.๐ นก.) ๒๐๐ (๕.๐ นก.) ๓๘๐(๙.๕นก.) ๓๘๐(๙.๕นก.)
 กิจกรรมนกั เรยี น บาเพ็ญ ๗๖๐ ชม.
๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
ชมุ นมุ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
IS๓ ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ ๒๐
กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๒๐ ๒๐
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ ๒๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๒๐
๑๔๐
๔๐ (๑.๐ นก) ๑,๔๔๐

๔๐ (๑.๐ นก)

๓๘๐(๙.๕ นก.) ๔๐๐(๑๐.๐ นก.) ๔๔๐(๑๑.๐ นก.) ๔๔๐(๑๑.๐นก.)
๗๘๐ ชม.
๘๘๐ ชม.
ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
๒๐ ๒๐ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
๒๐ ๒๐
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๒๐ ๒๐ ๒๐
๑๔๐
๑,๔๖๐ ๒๐ ๒๐

๒๐

๒๐

๑๖๐

๑,๖๐๐

๔.๕๐๐ ช่ัวโมง /๓ ปี

คมู่ ือนักเรียนโรงเรียนบางลีว่ ทิ ยา

โรงเรยี นบางลวี่ ิทยา อาเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๑๐

ตารางโครงสรา้ งหลกั สตู ร แผนการเรียนเรยี นศลิ ป์ - ภาษาจีน

กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ม.๔ เวลาเรียน ม.๖
ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ภาษาไทย ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ม.๕ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
คณติ ศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
วทิ ยาศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
 หน้าทพ่ี ลเมือง - ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) -
วัฒนธรรม และการดาเนิน
ชีวิตในสังคม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ภูมศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์

สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ศลิ ปะ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
รวมเวลาเรียน(พ้ืนฐาน) ๒๖๐ (๖.๕.นก.) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๖๐(๖.๕

รวมเวลาเรียน(พนื้ ฐาน) ๕๔๐ ชม. ๕๖๐ ชม. นก.)
รายวิชาเพ่ิมเตมิ (กลมุ่ สาระ) ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ๕๔๐ ชม.
ภาษาไทย ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
วทิ ยาศาสตร์/คอมพิวเตอร์ ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
สังคมฯ/หนา้ ที่พลเมอื ง ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก)
สงั คมฯ/พระพทุ ธศาสนา ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) --
สังคมฯ/อาเซยี น ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
ภาษาตา่ งประเทศ/ภาษาจีน ๑๒๐(๓.๐ นก.) ๑๒๐(๓.๐ นก.) ๑๒๐(๓.๐ นก.) ๑๒๐(๓.๐ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
ภาษาต่างประเทศ/ภาษาองั กฤษ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๑๒๐(๓.๐ นก.) ๑๒๐(๓.๐ นก.)
การศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้:IS๑ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
การสอ่ื สารและการนาเสนอ:IS๒ ๓๒๐ (๘.๐ ๓๒๐(๘.๐
รวมเวลาเรยี นเพิม่ เติม นก.) นก.) ๔๐ (๑.๐ นก) ๓๒๐ (๘.๐ ๓๒๐ (๘.๐
๖๔๐ ชม. ๓๘๐(๙.๕ ๓๘๐ (๙.๕ นก.) นก.)
รวมเวลาเรียนเพม่ิ เติม ๖๔๐ ชม.
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ นก.) นก.)
 กิจกรรมแนะแนว ๒๐ ๒๐ ๖๘๐ ชม. ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
 กจิ กรรมนกั เรยี น บาเพญ็ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
๒๐ ๒๐ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ๒๐ ๒๐
ชุมนมุ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
IS๓ ๒๐ ๒๐ ๒๐
กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๒๐ ๒๐ ๒๐
สาธารณประโยชน์ ๒๐
๒๐

คมู่ ือนักเรยี นโรงเรียนบางลว่ี ทิ ยา

โรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๑๑

รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๔๐ ๑๖๐ ๑๔๐
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด ๑,๓๒๐ ๑,๔๘๐ ๑,๓๒๐
๔,๑๒๐ ช่ัวโมง /๓ ปี
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

ตารางโครงสรา้ งหลักสตู ร แผนการเรียนศลิ ป์ – คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ สมยั ใหม่

กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม ม.๔ เวลาเรยี น ม.๖
ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ภาษาไทย ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ม.๕ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
คณิตศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
วิทยาศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
 หนา้ ท่พี ลเมอื ง - ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) -
วัฒนธรรม และการดาเนนิ
ชีวิตในสงั คม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ภมู ศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
สขุ ศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
การงานอาชพี และเทคโนโลยี
ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน)
๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน)
รายวิชาเพ่มิ เตมิ (กลุ่มสาระ) ๒๖๐ (๖.๕.นก.) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๘๐(๗.๐ นก) ๒๖๐(๖.๕
ภาษาไทย
วทิ ยาศาสตร์/คอมพวิ เตอร์ นก.)
สังคมฯ/หนา้ ที่พลเมือง
สังคมฯ/พระพทุ ธศาสนา ๕๔๐ ชม. ๕๖๐ ชม. ๕๔๐ ชม.
การงาน
ภาษาตา่ งประเทศ/ภาษาจีน ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
ภาษาตา่ งประเทศ/ภาษาอังกฤษ
การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ - ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) - -
ความรู้:IS๑
การสอ่ื สารและการนาเสนอ:IS๒ ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก)
รวมเวลาเรียนเพิม่ เตมิ
๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) - -
รวมเวลาเรียนเพ่มิ เตมิ
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
 กจิ กรรมแนะแนว
๑๒๐ (๓.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก)

๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) - - - -

๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)

๔๐ (๑.๐ นก)

๓๐๐ (๗.๕ ๓๔๐(๘.๕ ๔๐ (๑.๐ นก) ๒๖๐ (๖.๕ ๒๖๐ (๖.๕
นก.) นก.) ๓๖๐(๙.๐ ๓๖๐ (๙.๐ นก.) นก.)
๖๔๐ ชม. ๕๒๐ ชม.
นก.) นก.)
ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ๗๒๐ ชม. ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒
๒๐ ๒๐

คู่มือนกั เรียนโรงเรียนบางลว่ี ิทยา

โรงเรยี นบางลว่ี ิทยา อาเภอสองพ่ีนอ้ ง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๑๒

 กิจกรรมนกั เรียน บาเพญ็ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
ชุมนมุ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
IS๓
๒๐ ๒๐ ๒๐
กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๒๐
สาธารณประโยชน์ ๑๔๐ ๑๔๐
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑,๓๒๐ ๑๖๐ ๑,๒๐๐
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ๑,๔๔๐
รวมเวลาเรียนท้ังหมด ๓,๙๖๐ ช่ัวโมง /๓ ปี

ตารางโครงสร้างหลกั สูตร แผนการเรียนเรยี นศิลป์ – ทว่ั ไป

กลมุ่ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ม.๔ เวลาเรยี น ม.๖
ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ภาษาไทย ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ม.๕ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
คณิตศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
วทิ ยาศาสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ๒๐ (๐.๕ นก) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก) -
 ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
วัฒนธรรม และการดาเนิน
ชวี ติ ในสังคม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
 ภมู ศิ าสตร์
 เศรษฐศาสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
ศลิ ปะ ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๒๖๐ (๖.๕.นก.) ๒๘๐ (๗.๐นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก) ๒๐ (๐.๕ นก)
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน)
รวมเวลาเรยี น(พื้นฐาน) ๕๔๐ ชม. ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.)
รายวชิ าเพ่มิ เติม (กลุ่มสาระ) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
ภาษาไทย ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๒๘๐ (๗.๐นก) ๒๘๐ (๗.๐นก) ๒๘๐ (๗.๐นก) ๒๖๐ (๖.๕ นก.)
วทิ ยาศาสตร์/คอมพิวเตอร์ ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
สังคมฯ/หนา้ ท่ีพลเมือง ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๕๖๐ ชม. ๕๔๐ ชม.
สงั คมฯ/พระพุทธศาสนา ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
สังคมฯ/อาเซียน ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ ๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
การงาน
ภาษาต่างประเทศ/ภาษาจีน ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
การศกึ ษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้:IS๑
การสือ่ สารและการนาเสนอ:IS๒ ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) --
รวมเวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ
รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
 กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
 กจิ กรรมนักเรยี น บาเพ็ญ
๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
๔๐ (๑.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก)
๘๐ (๒.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๔๐ (๑.๐ นก) - ๔๐ (๑.๐ นก) -
๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)
๘๐ (๒.๐ นก) ๑๒๐(๓.๐ นก) ๘๐ (๒.๐ นก) ๑๒๐ (๓.๐ นก)

๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.)

๔๐ (๑.๐ นก)

๔๐ (๑.๐ นก)

๓๔๐ (๘.๕ นก.) ๓๔๐(๙.๕ นก.) ๔๐๐(๑๐.๐นก) ๔๐๐(๑๐.๐นก) ๓๐๐ (๗.๕นก) ๓๐๐ (๗.๕ นก.)
๖๘๐ ชม. ๖๐๐ ชม.
๘๐๐ ชม.
ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒
๒๐ ๒๐ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ๒๐ ๒๐
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
๒๐ ๒๐

๒๐ ๒๐

คู่มือนักเรยี นโรงเรียนบางล่วี ิทยา

โรงเรียนบางล่ีวิทยา อาเภอสองพ่ีน้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ชมุ นมุ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๓
IS๓ ๒๐
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๒๐ ๒๐ ๒๐
รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๔๐ ๒๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๑,๓๖๐ ๑๖๐ ๒๐
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ๑,๕๒๐ ๑๔๐
๔.๑๖๐ ชวั่ โมง /๓ ปี ๑,๒๘๐

ค่มู อื นักเรียนโรงเรียนบางล่วี ิทยา

โรงเรียนบางลว่ี ิทยา อาเภอสองพน่ี อ้ ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๑๔

ระเบยี บสถานศกึ ษา
ว่าดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
โรงเรียนบางล่วี ทิ ยา พ.ศ. ๒๕๖๔
----------------------------------------------
โดยท่ีโรงเรียนบางล่ีวิทยา ได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๘ เดือน สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๐ เร่ืองให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
จึงเป็นการสมควรท่ีจะกาหนดระเบียบสถานศึกษา ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูต ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนบางล่ีวิทยา พ.ศ. ๒๕๖๔ ให้สอดคล้องกับคาส่ัง
ดังกล่าว
ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และ
วิชาการ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน จึงวางระเบียบไวด้ ังต่อไปน้ี
ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นบางลีว่ ทิ ยา พ.ศ. ๒๕๖๔”
ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ีให้ใช้บงั คบั ต้งั แต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังอ่ืนใด ในส่วนท่ีกาหนดไว้ในระเบียบก่อนนี้ซึ่งขัดหรือแย้ง
กบั ระเบียบนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนี้แทน
ข้อ ๔ ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบางลี่วิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตาม
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ข้อ ๕ ให้ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษารักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบน้ี

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรียนบางล่ีวทิ ยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพีน่ ้อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๑๕

หมวด ๑
หลักการดาเนนิ การวดั และประเมินผลการเรียนร้สู ถานศกึ ษา
ข้อ ๖ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องสถานศกึ ษา ให้เป็นไปตามหลักการในต่อไปนี้
๖.๑ สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้
ทกุ ฝา่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ งมีสว่ นร่วม
๖.๒ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตรและจัดให้มีการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
๖.๓ การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติการสังเกต
พฤติกรรมการเรียนรู้ การรว่ มกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรยี นการสอน ตามความเหมาะสม
ของแตล่ ะระดบั และรูปแบบการศึกษา
๖.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียน
การสอนต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบ
ด้านท้ังด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชา
และระดบั ชนั้ ของผเู้ รียน โดยต้ังอยบู่ นพืน้ ฐานความเที่ยงตรง ยตุ ธิ รรม และเชอื่ ถือได้
๖.๕ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ มจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือปรบั ปรุงพัฒนาผ้เู รยี น พฒั นาการจดั การ
เรียนรแู้ ละตดั สนิ ผลการเรยี น
๖.๖ เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนและผู้มีส่วนเก่ียวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู้
๖.๗ ใหม้ กี ารเทียบโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ
๖.๘ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่อื เป็นหลกั ฐานการประเมินผลการ
เรยี นรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒกิ ารศกึ ษาและรบั รองผลการเรยี นของผูเ้ รยี น

คมู่ อื นักเรยี นโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพ่ีน้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

๑๖

หมวด ๒
วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียน

ขอ้ ๗ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีให้ผสู้ อนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ได้ข้อมูล
สารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรยี นของผู้เรยี น ตรวจสอบความก้าวหน้า
ในการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน เพ่ือนาผลการประเมินมาใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง ประกอบด้วย

๗.๑ การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดผลและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวน
การเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน
ในการประเมินเพ่ือพัฒนา ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดที่กาหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละ
หน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การแสดงออกใน
การปฏบิ ัตผิ ลงาน การแสดงกริ ยิ าอาการต่าง ๆ ของผู้เรียนตลอดเวลาทจ่ี ดั กจิ กรรม เพื่อดวู า่ บรรลุตัวช้วี ดั หรือมี
แนวโนม้ วา่ จะบรรลตุ ัวชวี้ ดั เพียงใดแล้วแก้ไขข้อบกพรอ่ งเปน็ ระยะ ๆ อย่างตอ่ เน่ือง

การประเมินเพื่อตัดสินเป็นการตรวจสอบ ณ จุดท่ีกาหนด แล้วตัดสินว่าผู้เรียนมีผลอัน
เกิดจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด ทั้งน้ี โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื เกบ็ คะแนน
ของหน่วยการเรียนรู้ หรือของการประเมินผลกลางภาค หรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมินท่ีสถานศึกษา
กาหนด ผลการประเมินนอกจากจะให้เป็นคะแนนหรือระดบั ผลการเรยี นแก่ผู้เรยี นแล้ว ต้องนามาเป็นข้อมูลใช้
ปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนตอ่ ไปอีกดว้ ย

๗.๒ การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นราย
ปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รยี น การอนุมัตผิ ลการเรียน การตัดสนิ การเล่ือนเรียน และเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมลู เก่ียวกับการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีส่ิงที่ต้องได้รับการ
พัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผเู้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติและ
ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูล และสารสนเทศเพื่อการปรับปรุง
นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผู้ปกครอง
และชมุ ชน

๗.๓ การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบสามารถดาเนินการ โดย
ประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยวิธีการและเคร่ืองมือที่เป็นมาตรฐานซึ่งจัดทาและดาเนินการโด ยเขตพ้ืนที่
การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดและ/หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นอกจากน้ียังสามารถ
ดาเนนิ การได้ดว้ ยการตรวจสอบขอ้ มูลจากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา

คมู่ ือนกั เรียนโรงเรียนบางลว่ี ทิ ยา

โรงเรียนบางลว่ี ิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี

๑๗

๗.๔ การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนใน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ
เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ตลอดจนเป็นขอ้ มูลสนบั สนุนการตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างตน้ เป็นประโยชนต์ อ่ สถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ
ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่าง
บคุ คลทจี่ าแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ไดแ้ ก่ กลุ่มผูเ้ รยี นทัว่ ไป กลุม่ ผเู้ รยี นทม่ี คี วามสามารถพิเศษ
กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มผู้เรียนท่ีพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น
ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที อันเป็น
โอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพฒั นาและประสบความสาเรจ็ ในการเรียน

ข้อ ๘ แนวดาเนินการประเมนิ ผลการเรียนของสถานศกึ ษา
เพื่อให้การวัดและการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีการดาเนินการตามหลักการกระจายอานาจ มี
การประเมินผู้เรียนตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกากับติดตามประเมิน
คุณภาพการประเมินผลการเรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จึงกาหนดแนวดาเนินการวัดและ
ประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา ดังนี้

๘.๑ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนดรูปแบบ ระบบและระเบียบประเมินผล
ของสถานศกึ ษา เพอื่ ใช้เป็นแนวปฏบิ ัตใิ นการประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา

๘.๒ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ของสถานศึกษา
กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยวิ เคราะห์จากมาตรฐาน
การเรียนรู้ช่วงช้ัน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และมาตรฐาน การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เพ่ือใช้เป็น
เป้าหมายในการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ายภาค

๘.๓ คณะอนุกรรมการระดับกลุ่มสาระ ให้ความเห็นชอบของรูปแบบ วิธีการ เคร่ืองมือ
สาหรบั การประเมนิ และผลการตดั สินการประเมินผลการเรียนรายวิชาของผสู้ อน

๘.๔ ผู้สอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนและประเมินสรุป
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยกาหนดอัตราส่วนคะแนนระหว่างเรียน :
ปลายปี/ปลายภาค ดังน้ี

ค่มู ือนักเรียนโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรยี นบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพี่นอ้ ง จงั หวัดสพุ รรณบุรี

๑๘

๘.๔.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย , คณิตศาสตร์ , วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี , สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ ให้ใช้อัตราส่วนคะแนน ระหว่างเรียน :

ปลายภาค เท่ากบั ๗๐ : ๓๐

๘.๔.๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ,การงานอาชีพ , วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี(คอมพวิ เตอร)์ และศลิ ปะ ให้ใชอ้ ัตราสว่ นคะแนน ระหว่างเรยี น : ปลายภาค เทา่ กบั ๘๐ : ๒๐

๘.๕ หัวหนา้ สถานศึกษาอนมุ ัตผิ ลการเรียน ปลายภาคและการผา่ นช่วงชัน้

๘.๖ สถานศึกษา จัดทารายงานผลการดาเนินการประเมินผลการเรียนโดยความ

เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา

ชั้นพืน้ ฐาน

ข้อ ๙ การให้ระดบั ผลการเรียน ประกอบด้วย

๙.๑ การให้ระดับผลการเรียนรายวชิ าของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล

การเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาบนพื้นฐานของ

ตัวช้ีวัดในรายวิชาพื้นฐานและผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพ่ิมเติม ตามที่กาหนดในหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนใช้

วิธีการท่ีหลากหลายจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ได้ผลการประเมินท่ีสะท้อนความรู้ ความสามารถท่ี

แท้จริงของผู้เรียน โดยวัดและประเมินการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกต

พัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรม การเรียน การร่วมกิจกรรม ผู้สอนควรเน้นการ

ประเมินตามสภาพจริง เช่น การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือการประเมินจากแฟ้ม

สะสมงาน ฯลฯ ควบคู่ไปกับ การใช้การทดสอบแบบต่างๆ อย่างสมดุล ต้องให้ความสาคัญกับการประเมิน

ระหว่างเรียน มากกวา่ การประเมินปลายป/ี ปลายภาค และใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู เพ่ือประเมินการเล่ือนช้ันเรยี นและการ

จบการศึกษาระดับต่าง ๆ ให้ตัดสินผลการประเมิน โดยใช้ตัวเลขแสดงเป็นระดับผลการเรียน ๘ ระดับ

ดงั ต่อไปน้ี

“๔” หมายถงึ ดีเยีย่ ม ชว่ งคะแนน ๘๐-๑๐๐

“๓.๕” หมายถงึ ดมี าก ชว่ งคะแนน ๗๕ – ๗๙

“๓” หมายถงึ ดี ชว่ งคะแนน ๗๐ – ๗๔

“๒.๕” หมายถงึ คอ่ นขา้ งดี ชว่ งคะแนน ๖๕ – ๖๙

“๒” หมายถึง ปานกลาง ชว่ งคะแนน ๖๐ – ๖๔

“๑.๕” หมายถึง พอใช้ ช่วงคะแนน ๕๕ – ๕๙

“๑” หมายถึง ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่า ช่วงคะแนน ๕๐ – ๕๔

“๐” หมายถงึ ต่ากว่าเกณฑ์ ช่วงคะแนน ๐ - ๔๙

๙.๒ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์

และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนใน การอ่านหนังสือ เอกสาร และสื่อต่าง ๆ เพื่อหาความรู้

เพ่ิมพูนประสบการณ์ ความสุนทรีย์และ ประยุกต์ใช้ แล้วนาเน้ือหาสาระท่ีอ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การ

แสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเร่ืองต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันด้วยการ

คู่มอื นักเรยี นโรงเรียนบางล่ีวิทยา

โรงเรียนบางล่ีวิทยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวัดสุพรรณบุรี

๑๙

เขยี นทม่ี ี สานวนภาษาถกู ต้อง มีเหตผุ ลและลาดับขน้ั ตอนในการนาเสนอสามารถสรา้ งความเข้าใจแก่ ผู้อ่านได้
อยา่ งชัดเจนตามระดบั ความสามารถในแต่ละระดับช้นั กรณผี เู้ รยี นมคี วามบกพร่องในกระบวนการด้านการเห็น
หรือท่ีเกี่ยวข้องทาให้เป็น อุปสรรคต่อการอ่าน สามารถปรับวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับผู้เรียน
กลุ่มเป้าหมายนั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และสรุปผลเป็น
รายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและประเมินการเลื่อนชั้น ตลอดจนการจบ
การศึกษาระดับต่าง ๆ เพ่ือการเลื่อนชั้นและจบการศึกษา ตามเงื่อนไขและวิธีการที่สถานศึกษากาหนดและ
ตดั สนิ ผลการประเมินเป็น ๔ ระดับ ดงั น้ี

“ดเี ยย่ี ม” หมายถึง มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น
คดิ วิเคราะห์ และเขียนทีม่ คี ุณภาพดีเลศิ อยู่เสมอ

“ด”ี หมายถึง มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา่ น
คดิ วเิ คราะห์ และเขียนทีม่ คี ุณภาพเปน็ ทีย่ อมรบั

“ผา่ น” หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอา่ น
คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นท่มี ีคุณภาพเป็นทยี่ อมรบั
แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ

“ไมผ่ ่าน” หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอา่ น
คดิ วเิ คราะห์ และเขียน หรือถ้ามผี ลงาน
ผลงานน้ันยงั มีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรงุ
แก้ไขหลายประการ

๙.๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เปน็ การประเมินคุณลักษณะท่ีต้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผูเ้ รียน อนั เปน็ คณุ ลกั ษณะทส่ี งั คมต้องการในด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ทง้ั ในฐานะพลเมืองไทยและพล
โลก หลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘
คุณลักษณะ ในการประเมินให้ประเมินแต่ละคุณลักษณะ แล้วรวบรวมผลการประเมินจาก ผู้ประเมินทุกฝ่าย
และแหล่งข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้ได้ข้อมูลนามาสู่การสรุปผลเป็นรายปี รายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อ
ประเมินการเลื่อนชั้นและการจบการศึกษาระดับต่าง ๆ ตามคุณลักษณะที่สถานศึกษากาหนด และตัดสินผล
การประเมนิ เปน็ ๔ ระดบั ดงั นี้

“ดีเยยี่ ม” หมายถึง ผู้เรยี นปฏิบตั ติ นตามคณุ ลกั ษณะจนเปน็ นิสยั และนาไปใช้
ในชีวติ ประจาวันเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสังคม
โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ดเี ยี่ยม จานวน ๕-๘
คณุ ลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดได้ผลการประเมนิ
ต่ากวา่ ระดับดี

“ดี” หมายถึง ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะในการปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์ เพือ่ ให้เปน็
การยอมรบั ของสังคม โดยพจิ ารณาจาก

คูม่ ือนกั เรยี นโรงเรียนบางล่ีวิทยา

โรงเรียนบางลี่วิทยา อาเภอสองพน่ี อ้ ง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๒๐

๑. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยยี่ ม จานว ๑–๔ คณุ ลกั ษณะ
และไม่มคี ุณลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ตา่ กวา่
ระดับดี หรือ

๒. ได้ผลการประเมินระดบั ดที ง้ั ๘ คุณลกั ษณะ หรือ
๓. ได้ผลการประเมินต้ังแต่ระดบั ดขี ึ้นไป จานวน ๕ – ๗

คณุ ลกั ษณะ และมบี างคณุ ลักษณะได้ผลการประเมนิ
ระดับผ่าน
“ผ่าน” หมายถงึ ผู้เรียนรับรแู้ ละปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์และเงอ่ื นไข
ท่ีสถานศกึ ษากาหนด โดยพิจารณาจาก
๑. ได้ผลการประเมินระดบั ผ่านท้งั ๘ คณุ ลกั ษณะ หรอื
๒. ได้ผลการประเมินต้ังแตร่ ะดับดี จานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ
และคณุ ลักษณะทีเ่ หลือไดผ้ ลการประเมินระดบั ผา่ น
“ไมผ่ า่ น” หมายถึง ผเู้ รียนรบั รู้และปฏบิ ตั ไิ ด้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์ และเง่ือนไข
ที่สถานศึกษากาหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมิน
ระดบั ไมผ่ า่ น ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ
๙.๔ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการ
ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของ ผู้เรียนและเวลาในการเข้ารว่ มกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในแต่
ละกิจกรรม และใช้เปน็ ข้อมูล ประเมนิ การเลื่อนชน้ั เรียนและการจบการศึกษาระดบั ต่าง ๆ จะตอ้ งพจิ ารณาทั้ง
เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด และ
ตัดสินผลการประเมินโดยใชต้ วั อักษรแสดงผลการประเมินเปน็ ๒ ระดบั ดงั นี้
“ผ” หมายถึง ผเู้ รยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ปฏิบัตกิ ิจกรรม
และมีผลงานตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด
“มผ” หมายถึง ผูเ้ รียนมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
และมีผลงานไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนด
๙.๕ การตดั สนิ ผลการเรยี นผา่ นช่วงชน้ั เป็นการนาผลการประเมนิ ในข้อ ๙.๑ ถงึ ๙.๔
มาประมวลสรปุ เพ่ือตัดสินให้ผู้เรียนผา่ นช่วงชนั้ ต่าง ๆ ตามเกณฑก์ ารตดั สินผลการเรียนแต่ละช่วงชน้ั ดงั นี้
๙.๕.๑ ได้รับการตัดสินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทั้ง ๘ กลุ่ม ตาม
เกณฑท์ ี่โรงเรียนกาหนด
๙.๕.๒ ผา่ นการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียนตามเกณฑ์
๙.๕.๓ ผา่ นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามเกณฑ์
๙.๕.๔ ผ่านการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นตามเกณฑ์

คมู่ อื นกั เรยี นโรงเรียนบางล่วี ทิ ยา

โรงเรยี นบางลีว่ ทิ ยา อาเภอสองพ่นี ้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๒๑

ขอ้ ๑๐ การใหร้ ะดบั ผลการเรียนที่มเี ง่ือนไขในแต่ละรายวิชา
การให้ระดับผลการเรียนท่ีมเี งอ่ื นไขในแต่ละรายวิชา เปน็ ดังน้ี
“มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เน่ืองจากผู้เรียนมี

เวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลาย
ภาคเรียน

“ร” หมายถึง รอการตัดสินหรือยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มี
ข้อมูลผลการเรียนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานท่ี
มอบหมายให้ทา ซ่ึงงานนั้นเป็นส่วนหน่ึงของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผล การ
เรยี นไม่ได้ ให้ครผู ู้สอนเขยี นเอกสารขออนุมัตผิ ลการเรียน “ร”

หมวด ๓
การตัดสินผลการเรียน
ข้อ ๑๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น ให้ถือปฏบิ ตั ดิ งั นี้
๑๑.๑ ตดั สนิ ผลการเรียนเปน็ รายวิชา ผ้เู รยี นตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวชิ านนั้ ๆ
๑๑.๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์การประเมินรายวิชา
ตามกลุ่มสาระการเรียนรทู้ งั้ ๘ กลมุ่ ให้ได้ผลการประเมินตามข้อ ๙.๑
๑๑.๓ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นรายภาคเรียน
และนาไปตัดสินการผ่านช่วงชั้น โดยผ่านเกณฑ์การประเมินที่สถานศึกษากาหนดให้ได้ระดับผลการประเมิน
ตามข้อ ๙.๒
๑๑.๔ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นรายภาค
เรียนและนาไปตัดสินการผ่านช่วงชั้น โดยผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีสถานศึกษากาหนดให้ได้ระดับผลการ
ประเมนิ ตามขอ้ ๙.๓
๑๑.๕ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายภาคเรียนและ
รายช่วงชั้น โดยผ่านเกณฑ์การประเมินที่สถานศึกษากาหนดให้ได้ผลการประเมินเป็น “ผ” และถ้าไม่ผ่าน
เกณฑใ์ ห้ไดผ้ ลการประเมนิ เป็น “มผ”
๑๑.๖ การวดั ผลปลายภาคเฉพาะผู้ทม่ี ีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
ของเวลาเรยี นในรายวิชาน้ัน ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของคณะอนุกรรมการกลุม่ สาระการเรียนรู้ เสนอผา่ นหัวหนา้ กลุ่ม
บรหิ ารงานวชิ าการเหน็ ชอบ และเสนอผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ตั ิ
๑๑.๗ ผู้เรียนที่มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในรายวิชาน้ัน และไม่ได้รับ
การผอ่ นผนั ให้เขา้ รบั การวัดผลปลายภาคใหไ้ ดผ้ ลการเรียน “มส”
๑๑.๘ ผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ตามเกณฑ์ประเมินรายวิชา ให้ได้ระดับ
ผลการเรียน “๐” ในครั้งนนั้

คู่มอื นักเรียนโรงเรียนบางล่วี ิทยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพีน่ ้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๒๒

๑๑.๙ ผู้เรียนท่ที ุจริตในการสอบหรือทุจรติ ในงานที่มอบหมายให้ทาในรายวิชาใด คร้งั ใด
กต็ าม ใหไ้ ดค้ ะแนน “๐” ในคร้ังนั้น

๑๑.๑๐ ผเู้ รยี นท่ีไมไ่ ดเ้ ขา้ รับการประเมินผลระหว่างภาคเรียน หรอื ปลายภาคเรียน ไมไ่ ด้
ส่งงานท่ีได้รับมอบหมายให้ทา ซ่ึงงานน้ันเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยท่ีทาให้
ประเมนิ ผลการเรียนไม่ได้ ใหไ้ ด้ผลการเรียน “ร”

กรณีท่ีผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะไม่ส่งงานนั้น จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้/หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เสนอผ่านหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ
เห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมตั ิ

ขอ้ ๑๒ การเปลยี่ นผลการเรียน ให้ถอื ปฏิบตั ดิ งั น้ี
๑๒.๑ การเปล่ียนระดับผลการเรียนจาก “๐” ให้ครูผู้สอนดาเนินการพัฒนาผู้เรียน

โดยจดั สอนซ่อมเสรมิ ปรับปรุง แก้ไขผูเ้ รยี นในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ท่ีผเู้ รยี นสอบไมผ่ ่าน
ก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ คร้ัง ถ้าผู้เรียนไม่ดาเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ีสถานศึกษากาหนด
ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรียนท่ี ๒
ต้องดาเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปีการศกึ ษาน้ัน

การสอบแกต้ วั ให้ได้ระดับไม่เกนิ “๑”
ถ้าสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “๐” อีก ให้สถานศึกษาแต่งต้ัง
คณะกรรมการดาเนินการเกีย่ วกบั การเปล่ยี นผลการเรียนของผเู้ รียน โดยปฏิบัตดิ ังนี้
๑) ถ้าเปน็ รายวิชาพื้นฐาน ใหเ้ รยี นซา้ รายวิชานนั้
๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ท้ังน้ี ให้อยู่ในดุลย
พนิ ิจของสถานศกึ ษา
ในกรณที เ่ี ปล่ยี นรายวิชาเรียนใหมใ่ หห้ มายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นว่าเรียนแทน
รายวชิ าใด
๑๒.๒ การเปลี่ยนผลการเรียนจาก “ร” ให้ผู้เรียนดาเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ
เมือ่ ผู้เรยี นแก้ไขปญั หาเสรจ็ แลว้ ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรียนตามปกติ (ระดับผลการเรียน ๐ - ๔)

ถา้ ผ้เู รียนไม่ดาเนนิ การแกไ้ ขผลการเรียน “ร” ตามระยะเวลาการสอบแกต้ ัวคร้ัง
ที่ ๒ ที่สถานศึกษากาหนด เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาให้ครูผู้สอนนาข้อมูลที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน และส่งผลการ
เรียนที่นักเรียนได้ (ระดับผลการเรียน ๐ – ๔) ต่องานวัดผลเพ่ือดาเนินการต่อไป หากผลการเรียนเป็น “๐”
ใหด้ าเนนิ การแก้ไขตามหลกั เกณฑต์ ่อไป

๑๒.๓ การเปลยี่ นผลการเรยี น “มส” มี ๒ กรณี
๑) กรณผี ูเ้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถ่ ึงร้อยละ ๘๐ แตม่ เี วลาเรียน
ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวชิ าน้ัน ให้ครูผ้สู อนจัดใหเ้ รียนเพ่ิมเตมิ โดยใชช้ ่วั โมงสอนซ่อมเสริม
หรือมอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรียนครบตามท่ีกาหนดไว้สาหรับวิชานั้น แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็น

คมู่ ือนกั เรียนโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรยี นบางลวี่ ทิ ยา อาเภอสองพนี่ อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๒๓

กรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีน้ีให้กระทาให้เสร็จส้ิน
ภายในปกี ารศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาทก่ี าหนดไว้นี้ให้เรยี นซา้ ยกเวน้ มีเหตุ
สุดวสิ ยั ให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาท่จี ะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไมเ่ กิน ๑ ภาคเรยี น

๒) กรณผี ู้เรยี นไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาน้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ของเวลาทงั้ หมด
ใหส้ ถานศึกษาดาเนินการดังน้ี

๒.๑) ถ้าเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ให้เรียนซา้ รายวิชานนั้
๒.๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้าหรือ

เปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่
การเรียนซ้ารายวิชา ผู้เรียนท่ีได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ ครั้ง
แลว้ ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใหเ้ รียนซา้ รายวิชาน้ัน ทงั้ นี้ ให้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษาในการจัดให้เรียน
ซ้าในช่วงใดช่วงหนึ่งท่ีสถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ช่ัวโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดู
รอ้ น คาบเรียนที่วิชาการกาหนด เปน็ ตน้
ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ให้
ดาเนินการให้เสร็จส้ิน ก่อนเปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อน
เพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียนได้ ท้ังนี้หากสถานศึกษาใดไม่สามารถดาเนินการเปิดสอนภาคฤดูร้อนได้ ให้
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/ต้นสังกัดเป็นผู้พิจารณาประสานงานให้มีการดาเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดู
รอ้ นเพอ่ื แก้ไขผลการเรียนของผเู้ รยี น
๑๒.๔ การเปล่ียนผล “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้
ผ้เู รยี นทากจิ กรรมในสว่ นทีผ่ ู้เรียนไม่ได้เข้ารว่ มหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจงึ เปลย่ี นผลจาก “มผ” เป็น “ผ”
ได้ ท้ังนี้ ดาเนินการให้เสร็จส้ินภายในภาคเรียนนั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ี
จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรียนที่ ๒ ตอ้ งดาเนนิ การให้เสรจ็ สิ้นภายในปี
การศึกษานนั้
ข้อ ๑๓ การเล่ือนช้ัน เม่ือส้ินปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เม่ือมีคุณสมบัติตามเกณฑ์
ดังตอ่ ไปนี้
๑๓.๑ รายวชิ าพ้ืนฐานและรายวชิ าเพิม่ เติมได้รับการตัดสินผลการเรยี นผ่านตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากาหนด
๑๓.๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กาหนดในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
๑๓.๓ ระดับผลการเรียนเฉล่ียในปีการศึกษานน้ั ควรไดไ้ ม่ตา่ กวา่ ๑.๐๐
ท้ังน้ี รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้
ได้รับการแกไ้ ขในภาคเรียนถัดไป ทัง้ น้ีสาหรับภาคเรียนท่ี ๒ ต้องดาเนนิ การให้เสรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศึกษาน้นั
ข้อ ๑๔ การสอนซ่อมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กาหนดใหส้ ถานศกึ ษาจัดสอนซ่อมเสริมเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นเตม็ ตามศักยภาพ

คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนบางลี่วิทยา

โรงเรยี นบางลว่ี ทิ ยา อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๒๔

การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีท่ีผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ
กระบวนการหรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด สถานศึกษาต้องจัดสอนซ่อม
เสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

การสอนซอ่ มเสรมิ สามารถดาเนนิ การได้ในกรณี ดังตอ่ ไปนี้
๑) ผู้เรยี นมคี วามรู้/ทกั ษะพืน้ ฐานไม่เพียงพอท่จี ะศกึ ษาในแต่ละรายวชิ าน้ัน ควรจดั
การสอนซ่อมเสรมิ ปรับความรู้/ทกั ษะพืน้ ฐาน
๒) ผเู้ รยี นไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรอื เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ
ทีก่ าหนดไว้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัดในการประเมินผลระหวา่ งเรียน
๓) ผู้เรียนทไ่ี ดร้ ะดับผลการเรียน “๐” ให้จัดการสอนซ่อมเสริมก่อนสอบแกต้ ัว
๔) กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดรู ้อน เพ่ือแก้ไข
ผลการเรยี น ทง้ั น้ี ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา
ข้อ ๑๕ การเรยี นซ้าช้ัน ผู้เรียนทไี่ ม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ
การเรียนในระดับชั้นท่ีสูงขึ้นสถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าช้ันได้ ท้ังนี้ ให้คานึงถึงวุฒิ
ภาวะและความร้คู วามสามารถของผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
การเรยี นซ้าช้นั มี ๒ ลกั ษณะ คอื
๑) ผู้เรียนมรี ะดับผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศกึ ษานั้นตา่ กว่า ๑.๐๐ และมีแนวโนม้ ว่า
จะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดบั ช้นั ทส่ี ูงขน้ึ
๒) ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร และ มส เกินคร่ึงหน่ึงของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
ในปีการศกึ ษานนั้
ท้ังนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือท้ัง ๒ ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งต้ัง
คณะกรรมการพจิ ารณา หากเห็นวา่ ไม่มีเหตุผลอันสมควรกใ็ หซ้ ้าชั้น ดาเนนิ การแจ้งผูป้ กครองและผู้เรียนทราบ
เหตุผลของการเรียนซ้าชั้น โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดิมและใหใ้ ช้ผลการเรยี นใหม่แทน หากพจิ ารณาแล้วไม่ต้อง
เรียนซ้าชน้ั ให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการเรยี น
ข้อ ๑๖ เกณฑก์ ารตดั สินผลการเรียนผา่ นช่วงชัน้ และจบหลกั สตู รสถานศึก
๑๖.๑ เกณฑก์ ารจบหลกั สตู รระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต
และรายวิชาเพิ่มเตมิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด

๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต
โดยเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมไม่น้อยกว่า ๑๑ หนว่ ยกติ

๓) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ อยใู่ นระดับ “๑” เป็นอยา่ งต่าทุกรายวชิ า

คมู่ ือนักเรียนโรงเรียนบางลว่ี ทิ ยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพน่ี อ้ ง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

๒๕

๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ
“ดเี ยยี่ ม” หรอื “ด”ี หรอื “ผา่ น”

๕) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับ“ดีเยี่ยม” หรือ
“ด”ี หรือ “ผา่ น”

๖) ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมินอยู่ในระดับ “ผ่าน”
ทุกกิจกรรม

๑๖.๒ เกณฑ์การจบหลกั สตู รระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วย

กติ และรายวิชาเพิม่ เตมิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็น

รายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไม่น้อยวา่ ๓๖ หนว่ ยกิต
๓) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ผ่านเกณฑ์การ

ประเมนิ อยใู่ นระดับ “๑” เป็นอยา่ งต่าทุกรายวชิ า
๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ

“ดเี ยี่ยม” หรอื “ดี” หรอื “ผา่ น”
๕) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับ“ดีเยี่ยม” หรือ

“ดี” หรือ “ผ่าน”
๖) ผเู้ รียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและมีผลการประเมินอยู่ในระดบั “ผ่าน”

ทกุ กิจกรรม
การตัดสินผลการเรียนการผ่านช่วงชั้น (จบการศึกษาภาคบังคับ และจบหลักสูตร

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานครบท้ัง ๖ เกณฑ์ ซึ่งสะสมมาจากการประเมินผล
การเรยี นปลายภาค

ถา้ ผเู้ รียนไมผ่ า่ นช่วงชนั้ ใหด้ าเนนิ การสอนซ่อมเสริม แลว้ ทาการประเมินผลจนผ้เู รียน
สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินทีส่ ถานศึกษากาหนด

หมวด ๔
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
ข้อ ๑๗ ใหส้ ถานศึกษาจดั ใหม้ เี อกสารการประเมนิ ผลการเรียน ต่าง ๆ ดังนี้
๑.๗.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ.๑) เปน็ เอกสารบนั ทึกผลการ
เรียนของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้เรียนในแต่ละช่วงช้ันของหลักสูตร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเร็จในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคน
ใชเ้ ป็นหลักฐานในการสมคั รเข้าศกึ ษาต่อ สมคั รทางานหรือดาเนินการในเร่ืองอื่นท่ีเกี่ยวข้อง

คู่มือนกั เรยี นโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรยี นบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

๒๖

๑๗.๒ หลกั ฐานแสดงวฒุ ิการศึกษา (ใบประกาศนยี บตั ร) (ปพ.๒) เป็นเอกสารท่ี
สถานศึกษาออกให้กับผู้สาเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นหลักฐาน
แสดงระดับวุฒกิ ารศกึ ษาของตน

๑๗.๓ แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓) เปน็ แบบรายงานรายชื่อและข้อมูลของ
ผู้สาเร็จการศึกษาภาคบังคับตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยัน
และรับรองความสาเร็จและวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละคน ต่อเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๗.๔ แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (ปพ.๔) เป็นเอกสาร
รายงานพัฒนาการด้านคุณลักษณะของผู้เรียนเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่สถานศึกษากาหนดข้ึนเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นพิเศษ เพื่อการแก้ปัญหาหรือสร้างเอกลักษณ์ให้ผู้เรียน
ตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการประเมินที่แสดงถึงสภาพหรือระดับคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยม หรอื คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี นในแต่ละช่วงชน้ั สถานศึกษาตอ้ งจดั ทาเอกสารน้ีใหผ้ ้เู รียนทุก
ๆ คน ควบคู่กับระเบยี นแสดงผลการเรยี นของผู้เรียนเพ่ือนาไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงคณุ ลักษณะของผู้เรยี นเพื่อ
ประกอบในการสมัครศึกษาตอ่ หรือสมคั รทางาน

๑๗.๕ แบบแสดงผลการพัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รียน (ปพ.๕) เปน็ เอกสารสาหรับ
ผู้สอนใช้บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียนแต่ละคนท่ีเรยี นในห้องเรียนกลุ่มเดียวกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน ปรับปรุง แกไ้ ข ส่งเสริมและตัดสินผลการเรียนของผู้เรยี น รวมท้งั ใชเ้ ป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยัน
สภาพการเรยี น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ และผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รยี นแตล่ ะคน

๑๗.๖ แบบรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นรายบุคคล (ปพ.๖) เปน็ เอกสาร
สาหรบั บันทึกข้อมลู เก่ยี วกบั ผลการเรยี น พฒั นาการในดา้ นตา่ ง ๆและข้อมลู อน่ื ๆ ของผ้เู รยี น

๑๗.๗ ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.๗) เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็น
การเฉพาะกิจเพ่ือรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการช่ัวคราว ทั้งกรณีผู้เรียนยังไม่สาเร็จ
การศกึ ษาและสาเรจ็ การศกึ ษาแลว้

๑๗.๘ ระเบยี นสะสม (ปพ.๘) เป็นเอกสารสาหรบั บนั ทกึ ข้อมลู เก่ียวกบั พฒั นาการและ
ผลงานด้านตา่ ง ๆ ของผ้เู รยี นทงั้ ท่สี ถานศึกษาและทบี่ ้าน เพื่อประโยชน์ในการแนะแนวผเู้ รยี นในทุก ๆ ดา้ น

๑๗.๙ สมดุ บันทึกผลการเรียน (ปพ.๙) เปน็ สมุดบันทกึ ผลการเรยี นรทู้ ส่ี ถานศึกษา
จัดทาข้ึนเพ่ือบันทึกรายการรายวิชาต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนจะต้องเรียนในแต่ละช่วงช้ัน ตามโครงสร้างหลักสูตรของ
สถานศึกษา พร้อมด้วยผลการประเมินผลการเรียนของแต่ละรายวิชา และสถานศึกษา ออกให้ผู้เรียนสาหรับ
ใช้ศึกษาและนาไปแสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีสนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของ
รายวิชาต่าง ๆ ของสถานศึกษา พร้อมด้วยผลการเรียนของผู้เรียนจากการเรียนแต่ละรายวิชา กรณีที่ผู้เรียน
ยา้ ยสถานศึกษาข้อมูลในสมุดบันทึกผลการเรียนรูจ้ ะเปน็ ประโยชน์ในการนาไปใช้เปน็ ข้อมูลในการเทยี บโอนผล
การเรียนจากสถานศกึ ษาเดมิ ไปเปน็ ผลการเรียนตามหลกั สูตรของสถานศึกษาใหม่

คมู่ ือนักเรยี นโรงเรียนบางลีว่ ิทยา

โรงเรียนบางลี่วิทยา อาเภอสองพีน่ อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๒๗

หมวด ๕
การเทียบโอนผลการเรยี น
ข้อ ๑๘ การเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนาผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ ทักษะและ
ประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มา
ประเมินเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั สตู รใดหลักสูตรหนงึ่

แนวการดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น ให้เป็นไปตามระเบยี บสถานศึกษา ว่าด้วยการ
เทียบโอนผลการเรียน ดงั น้ี

๑๘.๑ ผู้ขอเทียบโอนต้องข้ึนทะเบียนเป็นนักเรียนหรือนักศึกษาของสถานศึกษาใด
สถานศึกษาหนึ่ง ท้ังนี้ โดยผู้ขอเทียบโอนจะต้องไม่เป็นผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ในระบบ โดยสถานศึกษาดังกล่าว
ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน ในภาคเรียนแรกที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา ยกเว้นกรณีมีเหตุ
จาเป็น

๑๘.๒ จานวนสาระการเรียนรู้ รายวชิ า จานวนหน่วยกติ ท่จี ะรับเทยี บโอน และอายุของ
ผลการเรียนท่ีจะนามาเทียบโอน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ
สถานศึกษา ท้ังนี้เมื่อเทียบโอนแล้วต้องมีเวลาเรียนอยู่ในสถานศึกษาท่ีจะรับเทียบโอนไม่น้อยกว่า ๑
ภาคเรียน

๑๘.๓ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการ การเทียบโอน
ผลการเรยี นจานวนไมน่ ้อยกว่า ๓ คน แต่ไมเ่ กิน ๕ คน

ข้อ ๑๙ การเทียบโอนระดบั การศึกษา ใหด้ าเนนิ การดงั นี้
๑๙.๑ การเทียบระดับการศึกษา หมายถึง การนาผลการเรียน ความรู้ และ

ประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ไม่แบ่งระดับมาประเมินเพ่ือเทียบเทา่
การศกึ ษาระดับใดระดับหนึ่ง มแี นวทางการเทยี บระดบั การศกึ ษาดงั นี้

๑) ผู้ขอเทียบระดับการศึกษา จะต้องไม่เป็นผู้ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาใน
ระบบ หรือสถานศึกษานอกระบบ ที่จัดการศึกษาเป็นระบบเดียวกันกับการศึกษาในระบบและเป็นผู้สาเร็จ
การศกึ ษาตามหลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในระดับที่ต่ากวา่ ระดับการศึกษาทีข่ อเทียบ ๑ ระดบั ผไู้ ม่เคย
มวี ุฒิการศกึ ษาใด ๆ จะขอเทียบระดบั การศึกษาได้ไม่เกนิ ระดบั ประถมศึกษา

๒) ให้สถานศึกษาซ่ึงเป็นที่ทาการเทียบระดับการศึกษา ดาเนินการเทียบระดับ
ด้วยการประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ขอเทียบระดับ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายท้ังด้วย
การทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ให้ครอบคลุมคุณลักษณะของผู้เรียนท้ังดา้ น
พุทธิพสิ ัย จติ พสิ ัย และทกั ษะพิสยั ตามเกณฑม์ าตรฐานของหลกั สตู รท่ขี อเทียบระดับ

๓) ผู้ผ่านการประเมินจะได้รับหลักฐานแสดงผลการประเมินเทียบระดับความ
และใบประกาศนียบัตรรับรองระดบั ความรขู้ องกระทรวงศึกษาธิการ

๑๙.๒ การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนาผลการเรียนซ่ึงเป็นความรู้ ทักษะ
และประสบการณ์ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และ

คูม่ อื นักเรยี นโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพีน่ อ้ ง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๒๘

ผลการศึกษาจากตา่ งสถานศึกษา มาประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรใดหลักสตู รหน่ึงที่กาลงั
ศกึ ษา มีแนวการดาเนินการดงั น้ี

๑) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร และวชิ าการของสถานศึกษากาหนด
จานวนรายวิชา จานวนหน่วยกิต ท่ีสถานศึกษาจากัดให้ผู้เรียนสามารถขอเทียบโอนได้ในการศึกษาตาม
หลักสูตรของสถานศึกษา แต่ละช่วงช้ัน ทั้งน้ีผู้เรียนจะต้องเหลือรายวิชาท่ีจะต้องศึกษาในสถานศึกษาอีกอย่าง
น้อย ๑ ภาคเรียน พร้อมกับการกาหนดแนวทางและวิธีการเทียบโอน ทั้งกรณีเทียบโอนผลการเรียนเดิมท่ี
ผู้เรียนศึกษาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา และกรณีเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
กฎกระทรวงว่าด้วยการเทยี บโอนผลการเรยี นดว้ ย

๒) สถานศกึ ษาแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียนของ
สถานศึกษาให้ปฏิบัติหน้าที่กาหนดสาระ จัดสร้างเคร่ืองมือ สาหรับการเทียบโอนผลการเรียนและดาเนินการ
เทียบโอนผลการเรยี น

๓) คณะกรรมการดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ทาการเทียบโอนผลการ
เรยี นให้ผเู้ รยี นในกรณีต่อไปนี้

กรณีการเทียบโอนผลการเรียนเดิม ที่ผู้เรียนศึกษามาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษาให้
ดาเนนิ การดงั นี้

(๑) ใหด้ าเนนิ การใหเ้ สรจ็ ในภาคเรียนแรกทผี่ ู้เรยี นเขา้ ศกึ ษาในสถานศกึ ษา
(๒) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรียนเป็นรายวชิ า
(๓) ผู้เรยี นย่นื คาร้องเป็นลายลักษณ์อกั ษรขอเทยี บความรู้ตามรายวิชาใน

หลักสูตรของสถานศึกษา ตามจานวนรายวิชาท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ในระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของ
สถานศึกษาให้ผู้เรียนย่ืนคาร้อง พร้อมเอกสารหลักสูตรท่ีนามาขอเทียบ และเอกสารการศึกษาท่ีได้รับมา (ถ้า
ผเู้ รียนมี)

(๔) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนพิจารณาหลักสูตรและ
หลักฐานเอกสารเดิมของผู้เรียน เพื่อเปรียบเทียบหลักสูตรที่เรียนมากับหลักสูตรของสถานศึกษาในรายวิชาท่ี
ขอเทยี บ ถา้ มจี ดุ ประสงค์และเน้ือหาสาระตรงกันไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ให้รับเทยี บโอนได้ และใหไ้ ด้ระดับผล
การเรียนที่ได้มาในกรณีที่ผู้เรียนย้ายสถานศึกษา แต่ถ้าเป็นกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาต่าง
ระบบ ให้คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนพิจารณาว่าควรยอมรับผลการเรียนเดิมหรือไม่ ถ้าไม่ยอมรับก็
ต้องประเมินใหใ้ หม่ดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ ทเ่ี หมาะสม

(๕) คณะกรรมการดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น จัดใหม้ กี ารประเมินความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ของผู้เรียนใหม่ ตามผลการเรียนท่ีคาดหวังของรายวิชาท่ีผู้เรียนขอเทียบใน
กรณีที่ผู้เรียนไม่มีเอกสารหลักฐานการศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรที่ผู้เรียนนามาขอเทียบโอน มีความ
สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหาสาระของหลักสูตรที่ขอเทียบไม่ถึงร้อยละ ๖๐ ผู้เรียนที่ผ่านการประเมิน

คมู่ ือนักเรยี นโรงเรียนบางล่ีวิทยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๒๙

จะได้รบั การเทยี บโอนผลการเรยี นได้ โดยได้ระดบั ผลการเรียนตามท่ีประเมินได้ สว่ นผูท้ ี่ไม่ผา่ นการประเมินจะ
ไมไ่ ดร้ ับการเทียบโอนผลการเรียน

กรณีผู้เรียนขออนุญาตไปศึกษารายวิชาใดรายวิชาหน่ึง ต่างสถานศึกษาหรือขอ
ศึกษาด้วยตนเองใหด้ าเนนิ การดงั น้ี

(๑) ให้ดาเนินการโดยผู้เรียนยนื่ คารอ้ งไปศกึ ษาตา่ งสถานทห่ี รือตา่ งรปู แบบต่อ
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซึ่งจะพิจารณาผลการเรียนและความจาเป็นของผู้เรียนตามระเบียบการ
จัดการศกึ ษา ๓ รูปแบบ ของสถานศึกษาทจ่ี ะจดั การศกึ ษาในระบบ

(๒) รายวิชาที่ผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานท่ี หรือต่างรูปแบบต้องมีจุดประสงค์
และเนือ้ หาสาระสอดคล้องกบั รายวชิ าในหลักสตู รของสถานศึกษาทจี่ ะนามาเทยี บโอนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐

(๓) กรณีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานศึกษาหรือระบบท่ีมีสถานศึกษาจัดการ
เรียนการสอนแน่นอน ถ้าเห็นควรอนุญาตให้ไปเรียนได้ให้มีการประสานงานเรื่องการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล และการรับโอนผลการเรียนก่อน เม่ือได้ตกลงร่วมกันเรียบร้อยแล้วจึงจะอนุญาตเม่ือศึกษา
สาเรจ็ ใหร้ ับโอนผลการเรยี นไดท้ นั ที

(๔) กรณีผู้เรียนขออนุญาตศึกษาด้วยตนเอง หรือศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่
สามารถติดต่อประสานได้ ถ้าคณะกรรมการพิจารณาความจาเป็นแล้วเห็นควรอนุญาต เม่ือผู้เรียนมารายงาน
ผลการเรียน ใหค้ ณะกรรมการดาเนนิ การเทยี บโอนผลการสถานศึกษา

(๕) คณะกรรมการดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น รายงานผลการเทยี บโอนให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษา
อนุมตั ผิ ลการเทียบโอนผลการเรียน

(๖) คณะกรรมการดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน รายงานผลการเทยี บโอนให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษา
อนมุ ตั ผิ ลการเทียบโอนผลการเรยี น

คู่มือนักเรยี นโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพีน่ ้อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

๓๐

หมวด ๖
บทเฉพาะกาล
ขอ้ ๒๐ ในกรณนี กั เรยี นที่เรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบางลว่ี ิทยา พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แตไ่ ม่สามารถจบหลกั สตู รได้ตามกาหนด ให้ใชร้ ะเบียบฉบบั น้ี
ข้อ ๒๑ ให้ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา
รักษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี
ข้อ ๒๒ กรณีมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ให้เสนอคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐานอนมุ ตั ิ
และใหค้ วามเปน็ ชอบก่อนนาไปใช้

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

(นายดเิ รก พละเลศิ ) (นายเชี่ยวชาญ ดวงใจด)ี
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรียนบางล่ีวิทยา

โรงเรียนบางลีว่ ิทยา

ค่มู อื นกั เรยี นโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพ่นี ้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๓๑

ระเบยี บโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา
วา่ ดว้ ยทรงผมและการแต่งกายของนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๔
******************************************************************************************************
เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบางล่ีวิทยาไว้ทรงผมและการแต่งกายไ ปในแนวทางเดียวกันและ
มคี วามเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย โรงเรียนจงึ ได้ออกระเบยี บวา่ ดว้ ยทรงผมและการแตง่ กายของนักเรียน เพื่อบังคับ
ใช้กบั นักเรยี นโรงเรียนบางล่วี ทิ ยาทกุ คน ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนบางลี่วิทยา ว่าด้วยทรงผมและการแต่งกายของนักเรียน
พ.ศ. ๒๕๖๔”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใชบ้ ังคบั ตั้งแต่วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เปน็ ตน้ ไป
ข้อ ๓ ยกเลิกระเบียบโรงเรียนบางล่ีวิทยาท่ีมีอยู่เดิม บรรดาระเบียบ ประกาศ หรือข้อตกลงอ่ืนท่ี
ขดั แยง้ กับระเบียบน้แี ละให้ใช้ระเบยี บนี้แทน
ข้อ ๔ ให้ผูอ้ านวยการโรงเรยี น เป็นผ้รู ักษาตามระเบียบน้ี
ข้อ ๕ การไว้ทรงผมและการแตง่ กายของนักเรียนให้ปฏิบัตดิ ังน้ี
๕.๑ เคร่อื งแบบนกั เรยี นหญิงระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
๕.๑.๑ ทรงผมนกั เรยี น
- กรณีไว้ผมส้นั ตัดตรงความยาวเลยตง่ิ หูไมเ่ กนิ ๔ ซม. เรียบรอ้ ยดดู ี ไมส่ บั ซอย
และทาสผี ม
- กรณีไวผ้ มยาว มดั รวบตงึ ก่ึงกลางหลงั ศีรษะเหนือใบหดู ้วยยางมัดผมสีดาเท่าน้ัน
ผกู โบว์ด้วยสกี รมท่า วัดจากจดุ มดั รวบตงึ ไมเ่ กนิ ๒๐ ซม. เรยี บรอ้ ยดดู ี ไม่สบั ซอย
และทาสผี ม
๕.๑.๒ ใบหนา้ และความเรียบร้อยของร่างกาย
- ไมก่ นั ควิ้ และตกแต่งใบหนา้ ด้วยเครอื่ งสาอางทุกชนดิ
- เลบ็ ส้ันและไม่ตกแต่งสีเล็บ
- นักเรียนทีม่ ปี ญั หาด้านสายตากรณีใชค้ อนแทคเลนส์ ใหใ้ ช้คอนแทคเลนส์แบบใส
ไมม่ สี ี
- ไม่ใส่เคร่อื งประดบั มีคา่ ทุกชนดิ
- ไม่ใสเ่ ครื่องแบบอ่ืนนอกเหนือจากเครอ่ื งแบบนกั เรยี น เชน่ เสื้อคลมุ เส้ือยดื ดา
ดา้ นใน (เว้นแตไ่ ด้รบั อนุญาตจากโรงเรียนเป็นกรณี)

คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนบางล่วี ทิ ยา

โรงเรยี นบางลี่วิทยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวัดสุพรรณบุรี

๓๒

๕.๑.๓ เครือ่ งแบบนักเรียน
- เสื้อแบบราชนาวี สขี าว เนือ้ เกลยี้ ง ไม่มลี วดลาย ความยาวของปกเส้ือประมาณ
๑๐-๑๕ ซม. แขนส่วนตอ่ ไหล่เรียบ ปลายแขนมจี ีบ ๕-๖ จบี ความยาวแขนเหนือ
ข้อศอกเล็กน้อย มีขอบปลายแขนกวา้ งประมาณ ๓ ซม. มีกระเป๋าด้านลา่ งขวามือ
ผูกดว้ ยโบว์ (คอซอง) สีดา
- ปกั สญั ลักษณร์ ปู ดาวตามระดบั ชน้ั ด้วยดา้ ยสที น่ี กั เรียนสงั กัดเหนือตวั อักษร บ.ล.
- ปักอักษรย่อ บ.ล. ขนาดความสูงของตัวอักษร ๑.๕ ซม. ปัก ชื่อ - สกุล ใต้ตัวอักษร
บ.ล. ขนาดความสูงตัวอักษร ๑ ซม. ท่ีหน้าอกเส้ือด้านขวาด้วยด้ายสีน้าเงินเข้มโดย
ใชต้ วั อักษรราชการ
- เสอ้ื ชน้ั ในสขี าวหรอื สเี นื้อและใสเ่ สือ้ ซับในสีขาวเทา่ น้ัน
- กระโปรงสีดาเข้มเนื้อเกล้ียงไม่มีลวดลายแบบธรรมดา ปลายไม่สอบ มีจีบ
ด้านหน้าและด้านหลัง ข้างซ้ายและขวา ข้างละ ๓ จีบ ความลึกของจีบ
๒ ซม. จากขอบกระโปรงเดินจักร ตีเกล็ดตามจีบลงประมาณ ๘-๑๒ ซม.
กระโปรงยาวคลมุ เข่าจากกึ่งกลางเข่าลงไปประมาณ ๑๐ ซม.
- ถงุ เทา้ ยาวสีขาวเรียบไมม่ ลี วดลายพบั ขนาดกว้างประมาณ ๒ ซม. ๒ ทบ
- รองเท้านักเรียนสีดา หุ้มส้น หุ้มปลายเท้า ปลายมน มีสายรัดหลังเท้า ส้นสูง
ไม่เกิน ๓ ซม.

** มิให้นาข้อความข้างต้น มาใช้บังคับแก่นักเรียนท่ีมีเหตุผลความจาเป็นในการปฏิบัติตาม
หลักศาสนาของตนหรือการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษาหรือสง่ ผลต่อบุคลิกภาพของนักเรียน เช่น
ผมหยกั ศก ใหห้ ัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้มอี านาจพจิ ารณาอนญุ าตเป็นรายกรณี

๕.๒ เครอ่ื งแบบนกั เรยี นชายระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
๕.๒.๑ ทรงผมนกั เรียน
- กรณีไว้ผมทรงนักเรียน ความยาวท้ัง ๓ ด้าน (ซ้าย ขวา หลัง) ยาวไม่เกิน
๐.๕ ซม. ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๔ ซม. เรียบร้อยดูดี ไม่แต่งทรงผมด้วยเจล
นา้ มันและไมย่ อ้ มสีผม
- กรณีไว้ผมรองทรงสูง ด้านข้างและด้านหลัง มีความยาวไม่เกินตีนผม ด้านบน
มีความยาวไม่เกิน ๕ ซม.
- การกระทาอ่ืนใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่ง
ทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณ์หรือลวดลาย การดัดผม ย้อมสีผิดไปจากเดิม
การไว้หนวดหรือเครา

** มิให้นาข้อความข้างต้น มาใช้บังคับแก่นักเรียนท่ีมีเหตุผลความจาเป็นในการปฏิบัติตาม
หลักศาสนาของตนหรือการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษาหรือส่งผลต่อบุคลิกภาพของนักเ รียน
เช่น ผมหยกั ศก ให้หัวหนา้ สถานศกึ ษาเป็นผมู้ อี านาจพจิ ารณาอนุญาตเป็นรายกรณี

คมู่ อื นกั เรียนโรงเรียนบางลี่วิทยา

โรงเรียนบางล่วี ิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๓๓

๕.๒.๒ ใบหน้าและความเรยี บร้อยของร่างกาย
- ไม่กันคว้ิ และตกแต่งใบหนา้ ด้วยเครอ่ื งสาอางทุกชนดิ
- เลบ็ สนั้ และไม่ตกแต่งสีเล็บ
- นักเรียนทม่ี ปี ัญหาดา้ นสายตากรณีใช้คอนแทคเลนส์ ให้ใช้คอนแทคเลนส์
แบบใส ไมม่ ีสี
- ไมใ่ ส่เคร่ืองประดับมคี า่ ทุกชนิด
- ไมใ่ ส่เครื่องแบบอืน่ นอกเหนือจากเครอื่ งแบบนักเรียน เชน่ เสอื้ คลุม เสือ้ ยดื
ดาดา้ นใน (เว้นแต่ไดร้ ับอนุญาตจากโรงเรยี นเป็นกรณี)

๕.๒.๓ เครื่องแบบนักเรยี น
- เส้ือแบบปกติเช้ิ ตคอต้ัง สีขาวผ่าอกตลอด มีสาบกว้างไม่เกิน ๔ ซม.
ติดกระดุมสีขาวธรรมดา มีกระเป๋า ติดระดับราวนมเบ้ืองซ้าย กระเป๋ากว้าง
๘-๑๒ ซม. ลึก ๑๐-๑๕ ซม. ความยาวแขนเหนอื ศอกเลก็ น้อย
- ปั ก สั ญ ลั ก ษ ณ์ รู ป ด า ว ต า ม ร ะ ดั บ ช้ั น ด้ ว ย ด้ า ย สี ท่ี นั ก เ รี ย น สั ง กั ด เ ห นื อ
ตัวอกั ษร บ.ล.
- ปักอักษรย่อ บ.ล. ขนาดความสูงของตัวอักษร ๑.๕ ซม. ปัก ชื่อ - สกุล
ใต้ตัวอักษร บ.ล. ขนาดความสูงตัวอักษร ๑ ซม. ที่หน้าอกเสื้อด้านขวาด้วย
สีน้าเงนิ เขม้ โดยใช้ตัวอกั ษรราชการ
- กางเกงสีดาขาส้ันเหนือเข่าประมาณ ๕ ซม. ส่วนกว้างของขากางเกงเมื่อยืน
ตรงห่างจากขาประมาณ ๘-๑๐ ซม. ตามส่วนของขาปลายพับชายเข้าในกว้าง
ประมาณ ๕ ซม. มีกระเป๋าข้างตรงตามแนวตะเข็บข้างละ ๑ กระเป๋า ไม่มี
กระเปา๋ หลงั มหี ูกางเกงสาหรบั สอดเขม็ ขัด ๖-๗ หู
- เข็มขัดหนังสีดากว้ า งปร ะ มา ณ ๓-๕ ซม. หัว เข็มขัดเป็นโ ลหะ สี เ งิ น
รูปส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ แบบหวั กลัด มปี ลอกหนงั สีดาสาหรับชายเข็มขัด
- ถงุ เทา้ สขี าวเรียบไมม่ ลี วดลาย ยาวคร่ึงหน้าแข้ง ไม่พบั
- รองเทา้ นักเรยี นผา้ ใบสีดา ห้มุ สน้ รอ้ ยเชือกสีดาไม่มีลวดลาย

๕.๓ เครอ่ื งแบบนกั เรียนหญิงระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
๕.๓.๑ ทรงผมนักเรยี น
- กรณีไว้ผมสั้น ตัดตรงความยาวเลยติ่งหูไม่เกิน ๔ ซม. เรียบร้อยดูดี ไม่สับซอย
และทาสผี ม
- กรณีไว้ผมยาว มัดรวบตึงก่ึงกลางหลังศีรษะเหนือใบหูด้วยยางมัดผมสีดา
เท่าน้ัน ผูกโบว์ด้วยสีกรมท่า วัดจากจุดมัดรวบตึงไม่เกิน ๒๐ ซม. เรียบร้อย
ดดู ี ไม่สับซอยและทาสีผม

คู่มอื นกั เรยี นโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา

โรงเรยี นบางล่ีวิทยา อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๓๔

๕.๓.๒ ใบหนา้ และความเรยี บรอ้ ยของรา่ งกาย
- ไมก่ นั ควิ้ และตกแต่งใบหน้าดว้ ยเคร่ืองสาอางทุกชนิด
- เล็บสนั้ และไมต่ กแตง่ สเี ลบ็
- นักเรียนท่มี ปี ัญหาด้านสายตากรณีใชค้ อนแทคเลนส์ ให้ใชค้ อนแทคเลนส์
แบบใส ไม่มีสี
- ไม่ใส่เครอ่ื งประดบั มคี ่าทกุ ชนดิ
- ไม่ใสเ่ คร่ืองแบบอน่ื นอกเหนือจากเคร่ืองแบบนักเรียน เชน่ เส้อื คลุม เสือ้ ยืดดา
ด้านใน (เวน้ แตไ่ ด้รับอนุญาตจากโรงเรียนเปน็ กรณี)

๕.๓.๒ เคร่อื งแบบนักเรยี น
- เส้ือแบบปกเช้ิตสีขาว เน้ือเกล้ียง ไม่มีลวดลาย ผ่าอกตลอดสาบเส้ือตลบเข้าใน
กว้างประมาณ ๓ ซม. ติดกระดุมสีขาวธรรมดา แขนส่วนต่อไหล่เรียบ
ปลายแขนมีจีบ ๕-๖ จีบ ความยาวแขนเหนือข้อศอกเล็กน้อย มีขอบปลาย
แขนกวา้ งประมาณ ๓ ซม. ชายเส้อื สอดเขา้ ไว้ในกระโปรง
- ปักอักษรย่อ บ.ล. ขนาดความสูงของตัวอักษร ๑.๕ ซม. ปัก ช่ือ - สกุล
ใต้ตัวอักษร บ.ล. ขนาดความสูงตัวอักษร ๑ ซม. ที่หน้าอกเส้ือด้านขวาด้วย
สีน้าเงนิ เขม้ โดยใชต้ ัวอักษรราชการ
- มุมขวาของปกเส้ือปักสัญลักษณ์รูปดาวตามระดับช้ันด้วยด้ายสีท่ีนักเรียน
สงั กัด
- กระโปรงสีดาเข้มเนื้อเกลี้ยงไม่มีลวดลายแบบธรรมดา ปลายไม่สอบ มีจีบ
ด้านหน้าและด้านหลัง ข้างซ้ายและขวา ข้างละ ๓ จีบ ความลึกของจีบ ๒ ซม.
จากขอบกระโปรงเดินจักร ตีเกล็ดตามจีบลงประมาณ ๘-๑๒ ซม.
กระโปรงยาวคลมุ เขา่ จากก่ึงกลางเข่าลงไปประมาณ ๑๐ ซม.
- เข็มขัดหนังสีดา กว้างประมาณ ๔-๕ ซม. แบบหัวกลัดรูปสี่เหล่ียมผืนผ้าสีดา
มีปลอกหนงั สดี า ๑ ปลอก สาหรับสอดชายเขม็ ขัด
- ถงุ เท้ายาวสขี าวเรียบไม่มีลวดลายพับขนาดกว้างประมาณ ๒ ซม. ๒ ทบ
- รองเท้านักเรียนสีดา หุ้มส้น หุ้มปลายเท้า ปลายมน มีสายรัดหลังเท้า
สน้ สูงไมเ่ กนิ ๓ ซม.

๕.๔ เครอ่ื งแบบนักเรยี นชายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๕.๔.๑ ทรงผมนกั เรียน
- กรณีไว้ผมทรงนักเรียน ความยาวทั้ง ๓ ด้าน (ซ้าย ขวา หลัง) ยาวไม่เกิน
๐.๕ ซม. ความยาวด้านหน้าไม่เกิน ๔ ซม. เรียบร้อยดูดี ไม่แต่งทรงผมด้วย
เจลนา้ มนั และไม่ย้อมสผี ม

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา

โรงเรียนบางล่ีวิทยา อาเภอสองพ่ีนอ้ ง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๓๕

- กรณีไว้ผมรองทรงสูง ด้านข้างและด้านหลัง มีความยาวไม่เกินตีนผม ด้านบน
มคี วามยาวไมเ่ กนิ ๕ ซม.
- การกระทาอ่ืนใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่ง
ทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณ์หรือลวดลาย การดัดผม ย้อมสีผิดไปจากเดิม
การไวห้ นวดหรือเครา
** มิให้นาข้อความข้างต้น มาใช้บังคับแก่นักเรียนที่มีเหตุผลความจาเป็นในการปฏิบัติ
ตามหลักศาสนาของตนหรือการดาเนินกิจกรรมของสถานศึกษาหรือส่งผลต่อบุคลิกภาพของ
นกั เรยี น เช่น ผมหยักศก ให้หวั หน้าสถานศกึ ษาเป็นผมู้ ีอานาจพิจารณาอนญุ าตเปน็ รายกรณี
๕.๔.๒ ใบหน้าและความเรียบร้อยของร่างกาย
- ไม่กนั ค้ิวและตกแต่งใบหน้าดว้ ยเคร่ืองสาอางทุกชนดิ
- เลบ็ ส้นั และไมต่ กแตง่ สเี ล็บ
- นักเรียนที่มีปัญหาด้านสายตากรณีใช้คอนแทคเลนส์ ให้ใช้คอนแทคเลนส์

แบบใส ไม่มสี ี
- ไม่ใส่เคร่ืองประดับมคี ่าทกุ ชนดิ
- ไมใ่ สเ่ ครื่องแบบอ่ืนนอกเหนือจากเครอื่ งแบบนกั เรียนเช่น เสอ้ื คลุม เสื้อยืดดา
ดา้ นใน (เวน้ แตไ่ ดร้ ับอนุญาตจากโรงเรยี นเป็นกรณี)
๕.๔.๓ เครือ่ งแบบนกั เรยี น
- เส้ือแบบปกติเชิ้ตคอต้ัง สีขาวผ่าอกตลอด มีสาบกว้างไม่เกิน ๔ ซม.
ติดกระดุมสีขาวธรรมดา มีกระเป๋า ติดระดับราวนมเบ้ืองซ้าย กระเป๋ากว้าง
๘-๑๒ ซม. ลกึ ๑๐-๑๕ ซม. ความยาวแขนเหนือศอกเล็กนอ้ ย
- มุมขวาของปกเส้ือปักสัญลักษณ์รูปดาวตามระดับชั้นด้วยด้ายสีท่ีนักเรียน
สังกัด
- ปักอักษรย่อ บ.ล. ขนาดความสูงของตัวอักษร ๑.๕ ซม. ปัก ชื่อ - สกุล
ใต้ตัวอักษร บ.ล. ขนาดความสูงตัวอักษร ๑ ซม. ท่ีหน้าอกเส้ือด้านขวาด้วย
สีน้าเงนิ เข้มโดยใชต้ วั อักษรราชการ
- กางเกงสีดาขาส้ันเหนือเข่าประมาณ ๕ ซม. ส่วนกว้างของขากางเกงเมื่อยืน
ตรงห่างจากขาประมาณ ๘-๑๐ ซม. ตามส่วนของขาปลายพับชายเข้าในกว้าง
ประมาณ ๕ ซม. มีกระเป๋าข้างตรงตามแนวตะเข็บข้างละ ๑ กระเป๋า
ไม่มกี ระเปา๋ หลัง มหี กู างเกงสาหรบั สอดเขม็ ขัด ๖-๗ หู
- เข็มขัดหนังสีดากว้างประมาณ ๓-๕ ซม. หัวเข็มขัดเป็นโลหะสีเงิน
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แบบหวั กลดั มีปลอกหนงั สดี าสาหรับชายเข็มขดั
- ถงุ เทา้ ยาวสขี าวเรยี บไม่มีลวดลาย
- รองเท้านักเรียนผา้ ใบสีดา หมุ้ ส้น รอ้ ยเชือกสดี าไมม่ ีลวดลาย

คู่มอื นกั เรยี นโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรียนบางลวี่ ิทยา อาเภอสองพี่น้อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๓๖

๕.๕ ชุดพลศกึ ษานักเรยี นหญิงระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
๕.๕.๑ เสอื้ สฟี ้า คอโปโลปกสีน้าเงนิ ผ้าโทเร กระเป๋าตดิ ระดบั ราวนมเบื้องซ้าย เบอื้ ง
ขวาปัก ชื่อ - สกุล ด้วยด้ายสีขาว ความสูง ๑ ซม. ปักสัญลักษณ์รูปดาวตาม
ระดับช้ันด้วยด้าย สีที่นักเรียนสังกัดเหนือช่ือ – สกุล (ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น) มุมขวาของปกเส้ือปักสัญลักษณ์รูปดาวตามระดับชั้นด้วยด้ายสีท่ี
นักเรียนสังกดั (ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย)
๕.๕.๒ กางเกงวอรม์ ขายาวสีกรมทา่ แถบฟ้า (ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ) กางเกงวอรม์
ขายาว สีฟา้ แถบกรมทา่ (ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย)
๕.๕.๓ ถงุ เทา้ สีขาวไม่มลี วดลาย
๕.๕.๔ รองเท้านกั เรยี นผ้าใบสขี าว หมุ้ สน้ ร้อยเชือกสขี าวไมม่ ลี วดลาย

๕.๖ ชดุ พลศึกษานกั เรยี นชายระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย
๕.๖.๑ เสือ้ สีฟ้า คอโปโลปกสีน้าเงนิ ผา้ โทเร กระเปา๋ ติดระดับราวนมเบื้องซา้ ย เบอ้ื งขวา
ปักช่ือ - สกุล ด้วยด้ายสีขาว ความสูง ๑ ซม. ปักสัญลักษณ์รูปดาวตามระดับช้ัน
ด้วยด้ายสีท่ีนักเรียนสังกัดเหนือ ชื่อ – สกุล (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) มุมขวา
ของปกเสื้อปักสัญลักษณ์รูปดาวตามระดับชั้นด้วยด้ายสีท่ีนักเรียนสังกัด (ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย)
๕.๖.๒ กางเกงวอร์มขายาวสีกรมท่าแถบฟ้า (ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น) กางเกงวอร์ม
ขายาวสีฟ้าแถบกรมทา่ (ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย)
๕.๖.๓ ถงุ เท้าสีขาวไมม่ ลี วดลาย
๕.๖.๔ รองเทา้ นักเรยี นผ้าใบสดี า หมุ้ สน้ รอ้ ยเชอื กสีดาไมม่ ลี วดลาย

๕.๗ ชุดลูกเสือ ใช้ชุดลูกเสือเหล่าอากาศเป็นไปตามระเบียบการแต่งกายสานักงานลูกเสือ
แหง่ ชาติ

๕.๘ ชดุ นกั ศึกษาวิชาทหาร เป็นไปตามระเบยี บของมณฑลทหารบกท่ี ๑๗ กาญจนบุรี
หนว่ ยบัญชาการรักษาดินแดน

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายดิเรก พละเลศิ ) (นายเช่ยี วชาญ ดวงใจดี)
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางล่วี ทิ ยา

โรงเรียนบางลวี่ ิทยา

คู่มอื นักเรียนโรงเรียนบางลีว่ ิทยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี

๓๗

เคร่ืองหมายบนเครอ่ื งแบบนกั เรียน

โรงเรียนบางล่ีวิทยา มีตรา บ.ล. บริการประทับที่อกเสื้อให้แก่นักเรียน เพื่อความสวยงามและขนาดท่ี
เท่ากันใช้ตัวหนังสือราชการ ไมป่ ระดษิ ฐ์ ขนาดสงู ๑.๕ ซ.ม. กวา้ ง ๑ ช.ม. ตามตวั อย่างด้านล่างน้ี

(ปักด้วยด้ายสนี ้าเงนิ เขม้ )
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปักสัญลกั ษณ์รปู ดาวตามระดับชัน้ ดว้ ยด้ายสที ี่นักเรยี นสังกัดเหนอื
สญั ลกั ษณ์ บ.ล.
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปักสัญลกั ษณร์ ปู ดาวตามระดับชน้ั ด้วยดา้ ยสีทีน่ ักเรยี นสังกัดมุมขวา
ของปกเสื้อ
ม.๑, ม.๔ ปกั ๑ ดาว
ม.๒, ม.๕ ปัก ๒ ดาว
ม.๓, ม.๖ ปัก ๓ ดาว

ตัวอย่างการปักเส้ือ

คู่มือนกั เรียนโรงเรียนบางลี่วิทยา

โรงเรยี นบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพน่ี อ้ ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๓๘

ตัวอยา่ งการแตง่ เครอ่ื งแบบนักเรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น

ตัวอยา่ งการแตง่ เครอ่ื งแบบนักเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

คูม่ อื นกั เรียนโรงเรียนบางลว่ี ทิ ยา

โรงเรยี นบางล่ีวิทยา อาเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๓๙

ตัวอยา่ งการแตง่ ชดุ พลศกึ ษานักเรยี น๙ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ตวั อย่างการแต่งชดุ พลศกึ ษานกั เรยี นระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

คู่มือนกั เรยี นโรงเรียนบางลี่วทิ ยา

โรงเรียนบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๔๐

ตวั อยา่ งการแตง่ ชุดลูกเสือเหลา่ อากาศ

ตัวอย่างการแต่งชดุ นกั ศกึ ษาวิชาทหาร

คู่มอื นกั เรยี นโรงเรียนบางลว่ี ทิ ยา

โรงเรยี นบางลี่วทิ ยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

๔๑

ระเบยี บโรงเรยี นบางลี่วิทยา
ว่าด้วยความประพฤตนิ ักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔
**************************************************************************************************
เพ่ือให้นักเรียนโรงเรียนบางลี่วิทยาเป็นผู้ท่ีมีลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์มีระเบียบปฏิบัติ
ในการเป็นนักเรียนโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา ที่เป็นรูปแบบเดยี วกันและสอดคลอ้ งกับระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร
ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรอื นกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และกฎกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนดความประพฤติของ
นักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนจึงได้ออกระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน
เพื่อบังคบั ใช้กบั นกั เรยี นโรงเรียนบางล่วี ทิ ยาดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบยี บนีเ้ รียกว่า “ระเบยี บโรงเรยี นบางลี่วิทยาว่าดว้ ยความประพฤตนิ ักเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๔”
ขอ้ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบโรงเรียนบางล่ีวิทยาท่ีมีอยู่เดิมบรรดาระเบียบประกาศหรือข้อตกลงที่ขัดแย้งกับ
ระเบยี บนแ้ี ละให้ใช้ระเบยี บน้แี ทน
โรงเรยี น หมายถึง โรงเรียนบางลี่วิทยา
ครู หมายถงึ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบางลวี่ ิทยาทกุ คน
นักเรียน หมายถึง นักเรยี นปจั จุบนั ของโรงเรยี นบางลีว่ ทิ ยา
การตดั คะแนน หมายถึง การท่ีนักเรียนกระทาความผิดตามระเบียบของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ และต้อง
ตัดคะแนนตามลักษณะความผิด ตามเกณฑ์การตัดคะแนนความประพฤติ
นักเรียน
การให้คะแนน หมายถึง การที่นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ควรให้คะแนนความประพฤตินักเรียน
ตามเกณฑ์การให้คะแนนความดีท่ีกาหนดไว้
การลงโทษ หมายถึง การท่ีนักเรียนที่กระทาความผิดเพ่ืออบรมสั่งสอน ท่ีมีเจตนาเพื่อแก้ไขความ
ประพฤตทิ ่ไี ม่เหมาะสมของนกั เรยี นใหป้ ระพฤติตนในทางทถ่ี ูกต้องดงี าม
ข้อ ๔ ให้ผู้อานวยการโรงเรยี น เปน็ ผูร้ ักษาตามระเบยี บนี้
ขอ้ ๕ การปฏบิ ตั ิตนท่ัวไปของนักเรียน
๕.๑ นกั เรยี นทุกคนต้องปฏิบตั ติ นใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บแบบแผนท่โี รงเรยี นกาหนดไวโ้ ดย เครง่ ครัด
๕.๑.๑ นักเรียนตอ้ งมผี ปู้ กครองท่ีถกู ตอ้ งตามระเบียบโรงเรยี นบางลว่ี ทิ ยาวา่ ดว้ ยผู้ปกครองของ
นักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔ หากมีการเปล่ียนแปลงผู้ปกครอง นักเรียนต้องแจ้งให้ทาง
โรงเรียนทราบเพ่ือจัดทาทะเบียนประวัติใหม่และนาผู้ปกครองใหม่มาลงลายมือรับรอง
ต่อหนา้ รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานกิจการนกั เรียน

คู่มือนกั เรยี นโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา

โรงเรียนบางลีว่ ิทยา อาเภอสองพ่ีน้อง จงั หวดั สุพรรณบุรี

๔๒

๕.๑.๒ นักเรียนโรงเรียนบางลี่วิทยาทุกคนต้องแต่งกายตามระเบียบว่าด้วยทรงผมและ
การแตง่ กายของนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๔ ท่ีโรงเรยี นบางลว่ี ิทยาประกาศไว้

๕.๒ นักเรยี นทกุ คนต้องมาโรงเรยี นอย่างสมา่ เสมอ ตรงเวลา การไม่มาโรงเรียนดว้ ยเหตผุ ลใดกต็ าม
จะต้องปฏิบตั ิตนตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการลาหยดุ เรียน

๕.๓ นักเรียนทุกคนจะต้องเป็นผู้ท่ีเลื่อมใสในระบอบประชาธิปไตย เข้าใจสิทธิ หน้าที่ของตน
และร้จู กั เคารพสิทธิของผอู้ ื่น

๕.๔ นกั เรียนทุกคนตอ้ งไมเ่ อาสิง่ ของผู้อ่ืนมาเปน็ ของตนหรอื ไม่กระทาการใด ๆ อนั มิชอบดว้ ย
กฎหมาย

๕.๕ นักเรียนทุกคนต้องไมน่ าอุปกรณ์การพนนั เขา้ มาในโรงเรยี นและไมเ่ ล่นการพนนั ทกุ ประเภท
๕.๖ นกั เรียนต้องไมส่ กั ลาย สกั ยันต์ เจาะหู เจาะลิน้ และบรเิ วณอ่ืน ๆ ของรา่ งกาย
๕.๗ นกั เรยี นทุกคนต้องไม่นาเครอ่ื งประดบั หรอื สงิ่ ของทเี่ กินความจาเปน็ มาโรงเรียน เช่น กาไล

สร้อยคอ แหวน ต่างหู แว่นกันแดด โทรศัพท์มือถือ วิทยุ เครื่องบันทึกเสียง กล้องถ่ายรูป
เครื่องเล่นเสียง หนังสือลามก สิ่งผิดศีลธรรม หรืออื่น ๆ (กรณีมีเหตุจาเป็นเพ่ือนามาประกอบการ
เรียนหรือจัดกิจกรรมน้ันจะต้องขออนุญาตกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียนเป็นคราว ๆ ไป หาก
เกิดกรณีสญู หาย ทางโรงเรยี นไม่รบั ผิดชอบทุกกรณี)
๕.๘ นักเรียนทุกคนต้องไม่ครอบครองและสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า เสพส่ิงเสพติด ด่ืมสุราหรือสิ่ง
มึนเมาทกุ ชนิด
๕.๙ นกั เรียนทุกคนตอ้ งเป็นผปู้ ฏบิ ตั ติ ัวดี มศี ีลธรรม ซ่อื สัตยส์ ุจริต รูจ้ ักแสวงหาความรู้ มีวินัย
ใฝ่เรยี นรู้ รกั ษาความสะอาดและมีมารยาทท่ีดใี นสงั คม
๕.๑๐ นกั เรียนทุกคนตอ้ งไม่ครอบครองอาวธุ สิง่ ประดษิ ฐอ์ น่ื หรอื ส่ิงผดิ กฎหมายเข้ามาในบริเวณ
โรงเรียนทอี่ าจกอ่ ให้เกิดอันตรายต่อบคุ คลอนื่
๕.๑๑ นักเรยี นทุกคนต้องไมล่ ้อเลียน ขม่ ขู่ กา้ วรา้ ว กระดา้ งกระเด่ือง ต่อบคุ คลอืน่
๕.๑๒ นกั เรียนทกุ คนพึงละเวน้ การทะเลาะววิ าท หรือการกระทาอืน่ ใดทีจ่ ะก่อใหเ้ กดิ ความแตกแยกใน
หมู่คณะของโรงเรียน
๕.๑๓ นักเรียนทุกคนต้องปฏิบัติตนให้เป็นคนดีมีควา มขยันขันแข็ง หม่ันศึกษาเล่าเรียน
รจู้ กั การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเองและหมคู่ ณะ
๕.๑๔ นกั เรียนทกุ คนพึงเป็นผมู้ ีความเอ้ือเฟ้อื เสยี สละ มีจติ อาสาทง้ั กาลังกายและกาลังสมอง
ชว่ ยเหลืองานต่าง ๆ เพือ่ พัฒนาโรงเรยี นในทุกดา้ น
๕.๑๕ นักเรียนทุกคนมหี นา้ ที่เสรมิ สร้างและสนบั สนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี นใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงไป
ดว้ ยดมี คี วามเจรญิ มากขน้ึ เป็นลาดับ
๕.๑๖ นักเรียนทุกคนมีหน้าที่ช่วยกันรักษาทรัพย์สินของโรงเรียน หากผู้ใดกระทาให้ชารุดเสียหาย
นกั เรยี นผู้นั้นตอ้ งรับผิดชอบและชดใชค้ ่าเสียหายให้กบั ทางโรงเรยี น

คูม่ ือนกั เรยี นโรงเรียนบางลี่วิทยา

โรงเรยี นบางล่ีวิทยา อาเภอสองพ่นี อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๔๓

๕.๑๗ นักเรียนพึงเป็นคนดี มีความกล้าหาญ กล้าแสดงออกในสิ่งท่ีถูกต้อง เคารพในรุ่นพ่ี ให้
เกียรติเพ่ือน ปกป้องคุ้มครองรุ่นน้อง รู้จักอดกล้ัน รู้จักกาลเทศะ และมีความสุภาพอ่อนโยน
ตอ่ บุคคลท่ัวไป

๕.๑๘ นักเรยี นต้องไมน่ าเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทุกชนิด รวมถงึ โทรศพั ท์มอื ถือชารต์ ในโรงเรยี น
ข้อ ๖ การปฏบิ ตั ิตนในการมาโรงเรยี น

๖.๑ นักเรียนต้องแต่งเคร่ืองแบบนักเรียนและแต่งเครื่องแบบชดุ ลกู เสอื ชุดนักศึกษาวิชาทหาร หรือ
ชดุ ฝกึ พลศกึ ษา ตามวันทีโ่ รงเรียนกาหนด

๖.๒ นักเรียนทุกคนจะต้องใช้กระเป๋าใส่สมุดหนังสือตามท่ีโรงเรียนกาหนดไว้เท่านั้น (กระเป๋าตรา
โรงเรยี นบางลี่วิทยา)

๖.๓ กรณโี รงเรยี นจะให้นักเรียนมาโรงเรียนในวันหยุดราชการ หรอื วันหยดุ ทีโ่ รงเรยี นกาหนดเพ่ือทา
กจิ กรรมใด ๆ โรงเรียนจะทาหนงั สือขออนุญาตผ้ปู กครองก่อนทุกคร้งั

๖.๔ การมาติดต่อกับโรงเรียนในวันหยุดราชการ หรือวันหยุดเรียน จะต้องแต่งเคร่ืองแบบนักเรียน
ใหเ้ รยี บรอ้ ย

๖.๕ โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนนอนค้างคืนที่โรงเรียน เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้อานวยการ
โรงเรียน

ข้อ ๗ การเข้า - ออก บรเิ วณโรงเรยี น
๗.๑ การเข้ามาเรียนในภาคเชา้
๗.๑.๑ นกั เรียนทเี่ ดนิ ใช้รถจักรยาน ใช้รถจักรยานยนตแ์ ละรถรบั -สง่ ใหเ้ ข้าประตโู รงเรยี น
๗.๑.๒ ขณะเขา้ บรเิ วณโรงเรยี นให้นกั เรยี นทาความเคารพครูเวรหน้าประตูด้วยการไหว้
และไหวพ้ ระพุทธรูปประจาโรงเรยี น
๗.๒ เวลาเลกิ เรียน
๗.๒.๑ นกั เรียนตงั้ แถวรอครเู วรประจาสัปดาห์ ระหวา่ งอาคาร ๑ กับอาคาร ๓ (นักเรยี นเดินเทา้
ให้ตั้งแถวด้านซ้ายมือติดกับอาคาร ๑ และนักเรียนท่ีเดินทางด้วยรถจักรยาน
รถจักรยานยนตร์ ถรบั -สง่ ตงั้ แถวดา้ นขวามอื ตดิ กบั อาคาร ๓)
๗.๒.๒ ขณะออกจากโรงเรียนให้นักเรียนทาความเคารพครูเวรประจาสัปดาหด์ ้วย
การไหวแ้ ละไหวพ้ ระพุทธรปู ประจาโรงเรยี น
๗.๒.๓ นกั เรียนทเี่ ดนิ เทา้ ให้ใช้เสน้ ทางฟตุ บาทซา้ ย นักเรยี นที่เดินทางด้วยรถจักรยานยนต์
รถรับ-ส่ง ให้ใช้เส้นทางฟุตบาทขวา การขึ้นรถ การน่ังรถโดยสาร พึงระมัดระวังและให้
ปฏิบตั ิตามกฎจราจรอย่างเคร่งครดั เพื่อความปลอดภยั

ขอ้ ๘ การใช้ยานพาหนะเข้าโรงเรยี น ออกจากโรงเรยี น และใช้ยานพาหนะในบริเวณโรงเรยี น
๘.๑ การใช้ยานพาหนะเข้าโรงเรยี นภาคเช้าเม่ือถึงประตูให้หยุดเพื่อทาความเคารพครเู วรทห่ี นา้ ประตู
และจูงรถผ่านจุดที่กาหนดไปเก็บตามท่ีทางโรงเรียนกาหนดไว้และต้องนารถจอดในโรงรถทันที

คูม่ ือนกั เรยี นโรงเรียนบางล่ีวทิ ยา

โรงเรียนบางล่ีวทิ ยา อาเภอสองพ่ีนอ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๔๔

ก่อนเวลา ๐๘.๐๕ น หลังจากนั้นโรงเรียนจะปิดโรงรถ นักเรียนท่ีมาสายจะต้องจอดนอก
บริเวณโรงรถท่ีโรงเรยี นกาหนดไว้
๘.๒ การใช้ยานพาหนะออกจากโรงเรียน จะต้องใช้ประตูด้านหน้าโรงเรียนเท่าน้ัน ยกเว้นหลังจาก
เลกิ เรยี นเวลา ๑๗.๓๐ น. เป็นตน้ ไป
ขอ้ ๙ การเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงตอนเชา้
๙.๑ เวลา ๐๗.๕๕ น. โรงเรียนเปิดเพลงมาร์ชโรงเรียนบางลี่วิทยา นักเรียนทุกคนต้องรีบเดินมา
รวมทบี่ ริเวณท่ีประกอบกจิ กรรมหน้าเสาธงและพิธีเชิญธงชาติ
๙.๒ เวลา ๐๘.๐๐ น. นักเรียนทกุ คนพร้อมกนั ท่ีจดุ เข้าแถว เตรียมพรอ้ มประกอบกิจกรรม
๙.๓ เวลา ๐๘.๐๕ น. ทาพิธีชักธงสู่ยอดเสา นักเรียนร้องเพลงชาติสวดมนต์ไ หว้พระ
แผ่เมตตา กล่าวคาปฏิญาณตน ครูท่ีปรึกษาสารวจการเข้าร่วมกิจกรรม ฟังการอบรมจาก
ครูเวร/หรอื ผ้บู รหิ าร
๙.๔ เวลา ๐๘.๒๕ น. เสรจ็ กิจกรรมหน้าเสาธง เดนิ เปน็ แถวเขา้ หอ้ งอยา่ งเป็นระเบยี บ
๙.๕ ถ้านักเรียนไมเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมหนา้ เสาธงตอนเช้า ๓ คร้ัง ใน ๑ สปั ดาห์ จะถกู เชิญผปู้ กครองและ
ถูกตัดคะแนนตามระเบยี บว่าด้วยคะแนนความประพฤตนิ กั เรียน พ.ศ. ๒๕๖๔
ขอ้ ๑๐ แนวปฏบิ ัติสาหรับนกั เรยี นทมี่ าสาย
นักเรยี นท่ีมาไม่ทนั กจิ กรรมหนา้ เสาธงหรอื มาหลงั เวลา ๐๘.๐๕ น. คอื นักเรยี นมาสายใหป้ ฏบิ ตั ิดงั น้ี
๑๐.๑ นักเรียนมาสายจะต้องรายงานตัวต่อครูเวรประจาวันท่ีหน้าประตูเพื่อทากิจกรรมตามท่ีกาหนด
ไวห้ รอื ตามความเหมาะสม
๑๐.๒ นักเรียนท่ีมาหลังเวลา ๐๘.๓๐ น. เป็นต้นไป ให้ลงชื่อไว้กับครูเวรประจาวันหรือยาม

รักษาการณ์
๑๐.๓ นักเรียนที่มาสายจะต้องถูกตัดคะแนนว่าด้วยระเบียบว่าด้วยคะแนนความประพฤติ

พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๐.๔ ถ้านักเรยี นมาสาย ๓ ครง้ั ใน ๑ สปั ดาห์ จะถูกเชญิ ผ้ปู กครอง
ข้อ ๑๑ การปฏิบตั ติ นในการขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน
เมื่อนกั เรยี นมาถึงโรงเรียนจะตอ้ งอยู่ภายในโรงเรยี น รวมถงึ ในการควบคุมดูแลของโรงเรยี นหรอื ครู
ประจาวชิ า หา้ มออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นโดยเด็ดขาด ทง้ั นเี้ พ่อื ปอ้ งกันอบุ ัติเหตุที่อาจเกดิ ขนึ้ หรืออาจ
มีเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ชีวิตของนกั เรียน อาจเสยี ชอื่ เสียงและเกียรติภมู ขิ องโรงเรยี นหากนกั เรียน
มีภารกจิ จาเปน็ จะต้องออกนอกโรงเรียนให้นักเรียนปฏิบตั ิดังน้ี
๑๑.๑ เมอ่ื ผู้ปกครองมาตดิ ตอ่ เพือ่ ขอรบั นักเรียนกลับด้วยตนเอง กรณีมีเหตุจาเปน็ โรงเรียนจะ

บนั ทกึ คาขอไวเ้ ป็นหลกั ฐาน แล้วจงึ อนุญาต
๑๑.๒ การขออนุญาตออกนอกโรงเรียนเพ่ือไปทาภารกิจ โรงเรียนจะอนุญาตเม่ือมีเหตุจาเป็น การ

ขออนุญาตนักเรียนต้องกรอกแบบฟอร์มที่กาหนดไว้ รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานกิจการ
นกั เรียนหรือผู้ที่ได้รบั มอบหมายเปน็ ผ้ลู งนามอนุญาต

คู่มอื นกั เรียนโรงเรียนบางล่ีวทิ ยา

โรงเรียนบางลวี่ ิทยา อาเภอสองพีน่ ้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี

๔๕

๑๑.๓ เม่ือได้รับอนุญาตโรงเรียนจะออกใบขออนุญาตออกนอกโรงเรียนให้ และบัตรน้ีจะใช้เฉพาะ
ช่วงเวลาท่ีกาหนดให้เท่านั้น (ส่วนท่ี ๑ เก็บไว้ที่โรงเรียนเป็นเอกสารท่ีผู้ปกครองต้องลงนาม
ส่วนที่ ๒ นักเรียนเก็บไว้เป็นหลักฐาน และส่วนที่ ๓ มอบให้กับยามรักษาการณ์เพื่อเป็น
หลกั ฐานยืนยนั ก่อนออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น)

๑๑.๔ ขณะอยู่นอกบริเวณโรงเรียน นักเรียนต้องรักษาใบขออนุญาต (ส่วนท่ี ๒) เพื่อแสดงต่อครู
ตารวจ หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา เมื่อถูกเรียก
ตรวจบัตร

๑๑.๕ นักเรียนที่ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต และนักเรียนท่ีหลบหนีโรงเรียน
จะต้องถูกตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนตามระเบียบว่าด้วยคะแนนความประพฤติ
นักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๔ หากมีการจับกุมโดยเจ้าหน้าท่ีตารวจทุกกรณี โรงเรียนถือว่าให้อยู่ใน
ความรับผิดชอบของบดิ า มารดา หรือผปู้ กครอง

ข้อ ๑๒ การปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การลา
๑๒.๑ การลาหยุดเรียนทุกคร้ังนักเรียนจะต้องยื่นใบลาต่อครูที่ปรึกษาตามเหตุผลความจาเป็น
ท่เี กดิ ขึ้นจริง
๑๒.๒ ใบลาให้ผู้ปกครองเขียนข้อความว่า “ข้าพเจ้าขอรับรองว่าเป็นข้อความท่ีเป็นจริง”
และลงชื่อกากับไว้ (ท้ังนี้จะต้องเป็นลายมือชื่อของผู้ปกครองท่ีลงนามไว้เมื่อวันมอบตัว
เท่านั้น)
๑๒.๓ กรณีการลาผ่านส่ือโซเชียล แอปพลิเคชันต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ให้ผู้ปกครองเป็นผู้แจ้งการ
ลากบั ครทู ีป่ รกึ ษาโดยตรง
๑๒.๔ หากปรากฏว่านักเรียนคนใดปลอมลายเซ็นผู้ปกครองให้ลงโทษสถานหนัก โทษฐานปลอม
แปลงเอกสารและแจง้ ความเทจ็ แกท่ างโรงเรียน
๑.๒.๕ หากนกั เรยี นขาดโรงเรยี น ๓ วันตดิ ต่อกนั จะดาเนนิ การดังน้ี
(๑) ให้ครูท่ปี รกึ ษาแจง้ ให้ผู้ปกครองนักเรยี นทราบ เพือ่ รว่ มกนั พจิ ารณาแกไ้ ขรว่ มกนั (ใช้
เวลาประสานงานนม้ี ีระยะเวลา ๓ วนั )
(๒) หากผู้ปกครองไมต่ ดิ ตอ่ ประสานงานหรือแจ้งเหตผุ ลความจาเป็น กล่มุ บรหิ ารงานกจิ การ
นกั เรยี นจะเสนอผู้อานวยการโรงเรยี นเชิญผ้ปู กครองเขา้ พบเพ่ือแกไ้ ขปัญหาร่วมกนั และควบคุม
พฤติกรรมนกั เรยี นเป็นกรณีพเิ ศษ
**หมายเหตุ : หลักฐานการลาข้างต้นสามารถใช้เป็นเอกสารยืนยันเพื่อยื่นคาร้องขอมีสิทธิสอบ
กรณนี ักเรียนมีเวลาเรียนไม่เพยี งพอ (มส.) ตามระเบียบการวัดและประเมินผล

ข้อ ๑๓ การปฏิบัตติ นเมือ่ อยูใ่ นหอ้ งเรยี น

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรียนบางลวี่ ทิ ยา

โรงเรยี นบางลว่ี ทิ ยา อาเภอสองพีน่ อ้ ง จงั หวัดสุพรรณบุรี

๔๖

๑๓.๑ นักเรียนทุกคนจะต้องช่วยกันรักษาห้องเรียนให้มีความเรียบรอ้ ย ตามที่ครูท่ีปรึกษาได้กาหนด
ไว้หรือตามที่ได้รับมอบหมายจากครูประจาวิชา ให้มีความเป็นระเบียบ สะอาด สวยงาม
พร้อมที่จะทาการเรียนการสอน

๑๓.๒ ห้ามนกั เรียนใช้โทรศพั ท์มอื ถอื ขณะทาการเรียน (เว้นแตไ่ ด้รับอนุญาตจากครูประจาวชิ าให้ใช้ใน
การจดั การเรยี นการสอน) ผ้ฝู า่ ฝืนจะถูกตัดคะแนนความประพฤติและห้ามนาโทรศัพท์มือถือมา
โรงเรยี นในภาคเรียนนน้ั ๆ

๑๓.๓ นักเรียนจะต้องไม่ว่ิงเล่น เล่นเกม กีฬาต่าง ๆ เช่น ฟุตบอล บาสเกตบอล ตะกร้อ
เทเบิลเทนนสิ ในห้องเรยี นและไม่ทาเสียงดังรบกวนเพ่ือนนักเรียน หรอื นักเรียนหอ้ งอน่ื

๑๓.๔ นักเรียนต้องรักษาความเป็นระเบยี บ ไม่คยุ หรอื ไมเ่ ลน่ กันในห้องเรยี น ตง้ั ใจเรียนฟังคาอธิบาย
ของคณุ ครดู ้วยความเคารพและไมล่ กุ จากท่นี ง่ั โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

๑๓.๕ ไม่นาเอกสารในวิชาอื่น ๆ มาทาโดยท่ีคุณครูผู้สอนไม่อนุญาตและไม่ออกจากห้องเรียนโดย
ไม่ไดอ้ นญุ าต

๑๓.๖ กรณีครูประจาวิชาไม่เข้าห้องเรียนเกิน ๑๕ นาทีไปแล้ว ให้หัวหน้าชั้นเรียนรีบรายงานต่อ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาน้ัน ๆ หรือกลุ่มบริหารวิชาการหรือครูคนใดคนหน่ึงเพื่อที่จะ
แกไ้ ขปญั หาต่อไปน้ี

๑๓.๗ ทาความสะอาดห้องทุกวัน ตามวัน เวลา ทีก่ าหนดหรือตามทีค่ รูทีป่ รกึ ษากาหนดให้
๑๓.๘ ช่วยกันรักษาความสะอาดในห้องเรียนและทรัพย์สินต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพดี และมีความ

เรียบร้อยพรอ้ มเรยี นอยูเ่ สมอ
๑๓.๙ ห้ามเคลื่อนย้ายโต๊ะ เกา้ อี้ ออกนอกหอ้ งเรียนโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต
ข้อ ๑๔ การปฏบิ ตั ิตนเม่ืออยใู่ นโรงเรียน
๑๔.๑ ไม่ขีดเขียนหรือทาลายอาคารเรียนและอาคารประกอบ รวมถึงส่ิงปลูกสร้าง

และทรัพย์สนิ ทางราชการอืน่ ๆ ให้เกิดความสกปรก และหรอื เกิดความชารดุ เสยี หาย
๑๔.๒ นักเรียนต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายแก่ทางโรงเรียนในกรณีที่ทาให้เกิดความสกปรก

หรือทาใหเ้ กดิ ความเสียหายแกท่ รัพยส์ ินของโรงเรียน
๑๔.๓ นักเรียนจะต้องไม่ปีน หรือน่ังลูกกรง ราวบันได ปีนขึ้นบนหลังคา กันสาดอาคาร

ไต่ตามท่อระบายน้าหรือกระทาการอนั ใดท่ีทาใหเ้ กิดอันตรายได้
๑๔.๔ การเดินขนึ้ และลงอาคาร ให้เดินชดิ ขวา
ข้อ ๑๕ การปฏิบตั ติ นในการรบั ประทานอาหาร
๑๕.๑ ใหร้ บั ประทานอาหารในโรงอาหารเท่านน้ั
๑๕.๒ นักเรียนต้องไม่เข้าไปรับประทานอาหารในโรงอาหารหรือสถานท่ีท่ีโรงเรียนจัดเตรียมไว้

กอ่ นเวลาทกี่ าหนดไวห้ รอื ตามท่ปี ระกาศ (นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เวลา ๑๑.๕๐ น. และ
นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เวลา ๑๒.๐๕ น.)

คู่มอื นกั เรียนโรงเรียนบางลวี่ ิทยา

โรงเรยี นบางลวี่ ิทยา อาเภอสองพน่ี ้อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


Click to View FlipBook Version