The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phontomassassins, 2021-10-27 03:09:47

LAYBODYSIL-2-2-e-book

LAYBODYSIL-2-2-e-book

สาสน์ ท�ำ นุบ�ำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปีท่ี ๒ ฉบบั ที่ ๒ ประจ�ำ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ - สิงหาคม ๒๕๖๐

๑๐ ศลิ ปวัฒนธรรม
กับการเปล่ียนแปลงของยุคสมยั
รองศาสตราจารยศ์ ภุ ชัย สงิ หย์ ะบุศย์
๓๓ ‘ปฐมนิเทศ’
โครงการทำ�นุบ�ำ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม
ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐
๓๗ มนู มงั บ้ังไฟสนิ ถ่นิ ขามเรยี ง
ครง้ั ท่ี ๒
๔๑ ผา้ ไหมมัดหม่ี
ลายสร้อยดอกหมาก
๔๕ จากไขเป็นเทยี นพรรษา สบื ศรทั ธา
วิทยาศาสตรส์ ชู่ ุมชน

๔๙ เชิดชูเกียรติ
“นักสิ่งแวดลอ้ มทอ้ งถน่ิ ดเี ด่น” ครัง้ ท่ี ๓
๕๓ ฮกั แพงเบง่ิ แยงฮูปแต้มดงบงั
๕๙ คุณแม่ค�ำ สอน สระทอง
ศิลปินแหง่ ชาติ ประจ�ำ ปี พ.ศ.๒๕๕๙

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม เปน็ สถาบนั วิสยั ทศั น์ ​
การศึกษาท่ีปฏิบัติพันธกิจตาม ​ใช้มิติทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมในการขับเคล่ือนและ
วัตถุประสงค์ของการจัดต้ังสถาบัน ประสานความร่วมมอื กับทกุ ภาคส่วน เพอื่ สรา้ งสงั คมคณุ ธรรม
อนั ประกอบดว้ ย การจดั การเรยี นการสอน
การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ และการท�ำ นุ พันธกจิ
บ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยมกี ารด�ำ เนนิ งาน ​๑. อปุ ถัมภ์ ค้มุ ครองและส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ
ในลกั ษณะการบรู ณาการพนั ธกจิ หลกั ทงั้
๔ ด้านเขา้ ดว้ ยกันเพื่อใหก้ ารดำ�เนนิ งาน และความหลากหลายทางวฒั นธรรมใหค้ งอยูอ่ ย่างมน่ั คง
เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรับ ​๒. สนองงานสำ�คัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
การดำ�เนินงานด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลป
วัฒนธรรมถือเป็นนโยบายหลักที่สำ�คัญ ใหส้ บื ทอดและพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื
ทั้งในระดับสถาบัน และระดับคณะ/ ๓​ . สรา้ งสรรคส์ งั คมสนั ตสิ ขุ ดว้ ยมติ ทิ างศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม
หนว่ ยงานทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบและกลไกในการ
ส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อให้งานด้าน ในทกุ ระดบั
ศลิ ปวฒั นธรรมเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจดั การ ๔​ . สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นสนบั สนนุ และมสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ งาน
เรียนการสอน และการจัดกิจกรรมของ
นิสิตทั้งโดยทางตรงและโดยออ้ ม เพ่ือให้ ทางวฒั นธรรมเพอ่ื เชดิ ชคู ณุ คา่ และจติ วญิ ญาณของความเปน็ ไทย
ผเู้ รยี นและบคุ ลากรของสถาบนั ไดร้ บั การ ​๕. สร้างคุณค่าทางสังคม และส่งเสริมมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจด้วย
ปลกู ฝงั ใหม้ คี วามรู้ มจี ติ ส�ำ นกึ ตระหนกั ถงึ
คุณค่าเกิดความซาบซ้ึงและมีสุนทรียะ ทุนทางวฒั นธรรม
ต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถนำ� เจา้ ของ
ไปใช้เป็นเครื่องจรรโลงความดีงามใน กองสง่ เสรมิ การวิจยั และบรกิ ารวิชาการ
การดำ�รงชีวิต และประกอบอาชีพใน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
อนาคตได้ และเพื่อเป็นการตอบสนอง ที่ปรกึ ษา:
แนวนโยบายของชาติ มหาวทิ ยาลยั จึงได้ ศาสตราจารย์ ดร. สมั พนั ธ์ ฤทธิเดช
ก�ำ หนดนโยบายทจ่ี ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ รองศาสตราจารย์ ดร. ประยกุ ต์ ศรวี ไิ ล
โครงการ เพอื่ ที่จะขยายผลโครงการดา้ น รองศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ ประมวล
ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมให้ครอบคลุม นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง
องค์ความรู้ ภูมิปัญญา และบริบทด้าน ผทู้ รงคณุ วุฒิ
พื้นที่ให้ชุมชนมากข้ึน โดยสนับสนุนให้ รองศาสตราจารย์วณี า วสี เพ็ญ
คณะ/หน่วยงานต่างๆ มีสว่ นร่วมในการ รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภชยั สงิ ห์ยะบุศย์
ท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม และสรา้ งความ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ราชนั ย์ นิลวรรณาภา
เขม้ แขง็ ด้านการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู เผยแพร่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราโมทย์ ด่านประดษิ ฐ์
วฒั นธรรม โดยบรู ณาการความเชย่ี วชาญ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชาย นิลอาธิ
ของคณะ/หนว่ ยงานเขา้ กบั การเรยี นการ อาจารยว์ ิวัฒน์ วอทอง
สอน และกจิ กรรมนสิ ติ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง นางพรพมิ ล มโนชยั
กบั ความตอ้ งการของประเทศ พนั ธกจิ ของ บรรณาธกิ าร:
มหาวทิ ยาลยั และชมุ ชน ทต่ี อ้ งการอนรุ กั ษ์ ปรีชา ศรีบญุ เศษ
สบื สานฟนื้ ฟศู ลิ ปวฒั นธรรมใหค้ งอยสู่ บื ไป กองบรรณาธิการ:
เมษา ศรีสมนาง
ณัฐกฤตา ศรสี ุพรรณ
บรรจง บรุ ินประโคน
ภาพปก:
อาจารยส์ ันติ สิงหส์ ุ

สารผู้อำ�นวยการกองสง่ เสริมการวจิ ยั และบริการวชิ าการ

กองส่งเสริมการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ระบบกลไกในการขับเคล่ือนพันธกิจการทำ�นุบำ�รุง นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐงั
ศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ท่ีสำ�คัญ
อย่างหนึ่งคือการมีผู้เช่ียวชาญด้านการทำ�นุบำ�รุง
ศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลายสาขา เข้ามาร่วมเป็น
คณะกรรมการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งทำ�ให้
การทำ�งานด้านน้ีง่ายข้ึน เพราะผู้เช่ียวชาญจะเป็นผู้ให้
ข้อเสนอแนะวิธีการทำ�งานแก่หัวหน้าโครงการ ต้ังแต่
การพิจารณาข้อเสนอโครงการ การลงพื้นที่เพื่อติดตาม
การดำ�เนินโครงการ ตลอดจนถึงการนำ�เสนอผลการ
ดำ�เนนิ โครงการ ทงั้ ในรปู แบบของเลม่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์
การนำ�เสนอภาคโปสเตอร์ การนำ�เสนอภาคบรรยาย
การนำ�เสนอในรูปแบบของนทิ รรศการ สดุ ทา้ ยคือนำ�เสนอ
เปน็ บทสรปุ ในรปู แบบสาสน์ เพอ่ื การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์
ดังน้ัน ในสาส์นแต่ละเล่มก็จะหลากหลายไปด้วยเรื่องราว
ทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป แต่ไม่ว่า
จะนำ�เสนอในรูปแบบไหน มีความหลากหลายเรื่องราว
เพยี งใด จดุ ประสงคแ์ ละความมงุ่ หวงั สงู สดุ กค็ อื การอนรุ กั ษ์
ฟน้ื ฟู และสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
และภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เป็นทุนทางวัฒนธรรมที่สามารถ
นำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อสังคมได้ท้ังในปัจจุบันและอนาคต
นน่ั เอง



กองสง่ เสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม เปดิ เล่ม

ก อ ง บ ร ร ณ า ธิ ก า ร

สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธธรม มมส ฉบับนี้ กองบรรณาธิการมี
โอกาสนำ�เสนอแนวคิดของคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ นักเขียน นัก
คติชนวิทยาและวิชาการทางศิลปศาสตร์มากมาย รวมถึงศิลปินแห่งชาติ
สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศลิ ป-์ ทอผา้ ) ประจำ�ปี พ.ศ.๒๕๕๙ คณุ แม่คำ�สอน
สระทอง ทเี่ ปน็ แนวคิดคนทท่ี ำ�งานมาอยา่ งต่อเนื่อง
นอกจากนั้น ยงั มกี ิจกรรมขับเคลื่อนงานทำ�นุบำ�รุงศลิ ปวฒั นธรรมหลาย
โครงการ อาทิ “ปฐมนิเทศโครงการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม ประจำ�ปี
๒๕๖๐” “โครงการมนู มงั บงั้ ไฟสนิ ถน่ิ ขามเรยี ง ครง้ั ที่ ๒” “โครงการผา้ ไหม
มดั หมล่ี ายสรอ้ ยดอกหมาก” “โครงการจากไขเปน็ เทยี นพรรษา สบื ศรทั ธา
วทิ ยาศาสตรส์ ชู่ มุ ชน” “โครงการเชดิ ชเู กยี รตนิ กั สง่ิ แวดลอ้ มทอ้ งถนิ่ ดเี ดน่
คร้งั ท่ี ๓” และ “โครงการฮักแพงเบิง่ แยงฮปู แตม้ ดงบัง”
หวังอยา่ งย่ิงว่า เนื้อหาสาสน์ ทำ�นบุ ำ�รุงศิลปะและวฒั นธธรม มมส จะเป็น
อีกช่องทางที่เช่ือมต่อความรู้ความเข้าใจของสถาบันการศึกษา กระท่ัง
หน่วยงานท่ีทำ�งานด้านภูมิปัญญาแผ่นดิน ให้มองเห็นความเคล่ือนไหว
ของการทำ�งานในภาคส่วนต่างๆ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วม และ
บูรณาการร่วมในวันข้างหน้า เพื่อให้สังคมได้ก้าวผ่านสู่ยุคสมัยของการ
เปลีย่ นแปลงนี้ ด้วยความเข้มแข็งของฐานทางวฒั นธรรมชาติ

๑๐ ศลิ ปวฒั นธรรมกับการเปลย่ี นแปลงของยคุ สมัย
รองศาสตราจารย์ศุภชยั สงิ หย์ ะบุศย์

6 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม
กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ

ส า ร บั ญมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

๓๓ ‘ปฐมนิเทศ’ โครงการทำ�นบุ �ำ รุงศลิ ปวัฒนธรรม
ประจำ�ปี ๒๕๖๐
๓๗ มูนมงั บงั้ ไฟสนิ ถิน่ ขามเรยี ง ครัง้ ท่ี ๒
๔๑ ผ้าไหมมดั หม่ีลายสรอ้ ยดอกหมาก
๔๕ จากไขเป็นเทียนพรรษา สบื ศรัทธาวิทยาศาสตรส์ ชู่ ุมชน
๔๙ เชดิ ชูเกียรติ “นักสง่ิ แวดล้อมทอ้ งถิ่นดเี ด่น” ครั้งท่ี ๓
๕๓ ฮักแพงเบ่งิ แยงฮูปแตม้ ดงบัง

๕๙ คณุ แม่คำ�สอน สระทอง
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศลิ ป์-ทอผ้า)
ประจ�ำ ปี พ.ศ.๒๕๕๙

กองส่งเสริมการวจิ ัยและบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 7



คันแม่นผ้เู ฒ่า บ่เขา้ วัดฟังธรรม
เขาสิกำ�ดินพกึ ใส่โฮยนำ�หน้า
เขาสนิ นิ ทาทว้ ง ติเตยี นทง้ั โลก
เขาสสิ ับโขกเวา้ คนเฒา่ บด่ ี

เขาสิวา่ เฒ่าแกแ่ ดด บเ่ หลียวเบิง่ ทางตม
เขาสวิ ่าเฒา่ แกล่ ม บเ่ หลียวเบ่ิงทางหนา้
เขาสวิ ่าเฒา่ แข้ววำ้ � บ่เหลยี วเบงิ่ ทางธรรม

เขาสบิ ่ยำ�แยง นบท่อใยยองน้อย



ส า ส์ น ท ำ� นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

สมั ภาษณ์พเิ ศษ ศิลปวฒั นธรรม
กองบรรณาธกิ าร
กบั การเปลยี่ นแปลงของยคุ สมยั

รองศาสตราจารย์ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์

หลายท่านรู้จัก รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย
สิงห์ยะบุศย์ ในนามอาจารย์ประจำ�สาขาวิชา
ทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม อีกด้าน ในฐานะผู้ทำ�งานศิลปะน้ัน
ไดม้ ผี ลงานเชงิ สรา้ งสรรคม์ ากมาย คอื ปี พ.ศ.๒๕๓๖
“คนเถ่อื น” (รวมเรอ่ื งสน้ั เข้ารอบสุดท้ายรางวลั ซีไรท์
ปี ๒๕๓๖) ปี พ.ศ.๒๕๓๖ “ใต้เงาอสูร” (นวนิยาย
สะท้อนชีวิตศิลปินเพื่อชีวิตในประเทศไทย) ปี
พ.ศ.๒๕๓๗ “เพลงของเขา” (เรอื่ งสน้ั รางวลั สภุ าว์ เทวากลุ
โดยสมาคมนกั เขียนแหง่ ประเทศไทย) ปี พ.ศ.๒๕๔๑
“มิตรภาพท่ีชายป่า” (วรรณกรรมเยาวชน ได้รับ
คดั เลอื กเปน็ หนงั สอื อา่ นประกอบของนกั เรยี นระดบั

ประถมศกึ ษา) ปี พ.ศ.๒๕๔๒ “จะไปใหถ้ งึ ดวงดาว” (รวมเรอื่ งสนั้
ได้รับคัดเลือกเป็นหนังสืออ่านประกอบของนักเรียนระดับ
ประถมศกึ ษา) ปี พ.ศ.๒๕๔๖ “ลาวตอนล่าง” (โครงการอาณา
บริเวณศกึ ษา ๕ ภมู ิภาค สกว) ปี พ.ศ.๒๕๔๘ “มาดเกรียง:
วิถีแห่งคนไพรและสายน้ำ�” (ชุดโครงการสารคดีชนเผ่าใน
อุษาคเนย์ ลำ�ดบั ท่ี ๑) และปี พ.ศ.๒๕๕๓ “พระบางเมืองมรดก
โลก: ราชธานีแห่งความทรงจำ�และพื้นที่พิธีกรรมในกระแส
โลกาภิวตั น์”
ผลงานทางวิชาการ คือ ปี พ.ศ.๒๕๓๗ “ทัศนศิลป์เพอ่ื
ชีวิตในประเทศไทย” ปี พ.ศ.๒๕๓๙ “เกษมราษฎร์ กษัตริย์
ผดุง ศาสน์รุ่ง เรืองอีสาน” ปี พ.ศ.๒๕๔๑ “ศิลปนิยม” ปี
พ.ศ.๒๕๔๓ “สุนทรียศาสตร์ในทัศนศิลป์” ปี พ.ศ.๒๕๔๕
ชุมชนเคร่ืองปั้นดินเผา ปี พ.ศ.๒๕๔๖ ชุมชนผ้าทอย้อมสี
ธรรมชาติ ปี พ.ศ.๒๕๔๖ “ทศั นศลิ ปป์ รทิ ศั น”์ และปี พ.ศ.๒๕๔๗
“ประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะตะวันตกฉบับสมบรู ณ”์
นอกจากผลงานเชิงสร้างสรรค์ดังกล่าว ยังรับบทบาท
หน้าท่ีเป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม กองบรรณาธิการได้มีโอกาสได้ขอความคิดเห็น
เกยี่ วกบั งานดา้ นท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ซง่ึ รองศาสตราจารย์
ดร.ศุภชยั สิงห์ยะบุศย์ ได้ให้ทัศนะว่าด้วยศลิ ปวัฒนธรรมกบั
การเปลี่ยนแปลงของยคุ สมยั

12 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ัยและบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 13

ï ศลิ ปวฒั นธรรมในบริบททางสงั คม

ถา้ เรานยิ ามค�ำ วา่ “วฒั นธรรม” จะมหี ลายความหมาย
ท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจคำ�ว่า ตวั ของศลิ ปะ ตัวของสงั คม อยา่ งไร
เพราะศลิ ปวฒั นธรรมมหี ลายกลมุ่ กลมุ่ ของวฒั นธรรม
ในระดับชาติก็มองศิลปวัฒนธรรมในแบบตายตัว ถ้า
เปน็ การแสดงทด่ี กี จ็ ะเปน็ รามเกยี รต์ิ เรอื่ งทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั
ศลิ ปะขนั้ สงู ในกลมุ่ นจี้ ะมองรปู แบบศลิ ปวฒั นธรรมใน
รปู ทค่ี อ่ นขา้ งตายตวั แตม่ นั กเ็ ปน็ อกี ชดุ หนง่ึ วฒั นธรรม
อกี ความหมายหนง่ึ กจ็ ะมองในมติ วิ ฒั นธรรม คอื เรอื่ ง
ของมนษุ ยท์ กุ คน มนษุ ย์และความสัมพันธก์ ับมนษุ ย์
เปน็ เรอ่ื งของกลุ่มของคน ของกลมุ่ สังคม แต่วา่ มนุษย์
หรือกลมุ่ มนุษยก์ ับความสัมพันธก์ ับส่งิ แวดล้อม หรอื
สง่ิ ตา่ งๆ ในโลก มนั กเ็ ปน็ เรอ่ื งของมนษุ ยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม
ระบบนิเวศ เขาเรียกวา่ “นิเวศวัฒนธรรม”

มนุษยห์ รือกลมุ่ มนษุ ย์กบั ความสมั พนั ธ์กบั สิ่งแวดล้อม
หรือสง่ิ ตา่ งๆ ในโลก มนั กเ็ ป็นเร่อื งของมนษุ ยก์ บั สิง่ แวดลอ้ ม

ระบบนเิ วศ เขาเรยี กว่า นิเวศวัฒนธรรม

14 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวิจัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ในระดบั ทอ้ งถ่นิ ก็จะกวา้ งขน้ึ
อยา่ งเช่นทอ้ งถ่ินอสี าน

ก็ยงั เป็นท้องถิน่ วฒั นธรรมอยู่
อย่างกล่มุ ลา้ นช้าง กจ็ ะเป็น
ทอ้ งถ่นิ ในลุม่ น้ำ�โขงรว่ มกนั

กองส่งเสรมิ การวิจัยและบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 15

16 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ทั้งสามสว่ นมนั กค็ ลุกเคลา้ กันอยู่
มันไม่สามารถทจ่ี ะแยกขาดออกจากกนั ได้

วฒั นธรรมกม็ หี ลายระดบั ระดบั พน้ื บา้ น ระดบั
ท้องถ่ิน ระดับพื้นบ้านอาจมีสเกลที่ติดอยู่กับชุมชน
หมู่บ้านใดหมู่บ้านหน่ึง ที่มีการดำ�รงอยู่ท่ีสำ�คัญอยู่
กับท้องถิ่น ท้องที่ ดังน้ัน พวกเขาจะมีวัฒนธรรม
ที่สัมพันธ์กับตาแฮก สัมพันธ์กับแม่นำ้�ชีคุ้งนี้คุ้งนั้น
คือระดับพ้ืนบ้าน แต่ในระดับท้องถ่ินก็จะกว้างข้ึน
อยา่ งเชน่ ทอ้ งถน่ิ อสี าน กย็ งั เปน็ ทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรมอยู่
อยา่ งกลมุ่ ลา้ นชา้ ง จะเปน็ ทอ้ งถนิ่ ในลมุ่ น�ำ้ โขงรว่ มกนั
วัฒนธรรมอีกชุดหน่ึง ก็จะเป็นวัฒนธรรมใน
ระดบั ชาติ หรอื nation-state อนั นกี้ จ็ ะเปน็ วฒั นธรรม
ท่ีดึงให้เห็นว่า อะไรคือชาติ อะไรคือประเทศ ผ่าน
การมองทางวัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรมในการทำ�
พระเมรุมาศก็เป็นวัฒนธรรมระดับชาติหรือหัวใจ
ของชาติ เพราะฉะนนั้ การแสดงนาฏยศลิ ป์ของชาติ
ก็จะเปน็ กลุ่มทมี่ ีลักษณะพิเศษ ที่บ่งบอกว่า เราคือ
ชาตไิ ทย
อกี วฒั นธรรมหนง่ึ เปน็ วฒั นธรรมระดบั สากล
ซึง่ เป็นวฒั นธรรมทีม่ กี ารเชื่อมโยง ลื่นไหลเข้าหากัน
บางทีเราก็เรียกว่า “วัฒนธรรมร่วมสมัย” บางทีเรา
กเ็ รยี กวา่ วฒั นธรรมในระดับ International อยา่ งไร
กต็ าม ทง้ั สามสว่ นมนั กค็ ลกุ เคลา้ กนั อยู่ มนั ไมส่ ามารถ
ทีจ่ ะแยกขาดจากกนั ได้

กองสง่ เสริมการวิจัยและบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 17

ï ศลิ ปะกับวัฒนธรรม

ศลิ ปะคืออะไร ศิลปะมีหลายมิติ ถา้ แยกตามการรับรู้
ของคนก็จะมีกลุ่มท่ีเรียกว่า ทัศนศิลป์ คือศิลปะท่ี
มองด้วยตา จิตรกรรม ปฏิมากรรม ภาพพมิ พ์ อาคาร
สถานที่หรือว่าสถาปัตยกรรม อะไรพวกนี้ ศิลปะอีก
พวกหนงึ่ กค็ อื ทร่ี บั รโู้ ดยการไดย้ นิ พวกดนตรี เสยี งกลอง
เสียงเพลงต่างๆ พวกน้ี ศิลปะอกี ประเภทเป็นศิลปะ
ประสมประสาน คอื ศลิ ปะการแสดง ศลิ ปะอกี จ�ำ พวกหนงึ่
ก็เก่ียวข้องกับสัญลักษณ์ อย่างเช่น ภาษา ใบลาน
อกั ษรธรรม ไทนอ้ ย อนั นก้ี �ำ ลงั พดู ถงึ พน้ื ฐานอยู่ แตถ่ า้
มองตามฟงั ชนั่ ศลิ ปะคอื สงิ่ ทถี่ กู สรา้ งขนึ้ เพอ่ื ประโยชน์
ใช้สอย อีกพวกหน่ึงก็คือศิลปะเพ่ือความงาม ศิลปะ
เพื่อศาสนา ศิลปะเพื่อความเช่ือ ตัวของศิลปะคือ
วฒั นธรรมชนดิ หนงึ่ เพราะวฒั นธรรมในความหมายชดุ นี้
คือ เร่อื งของความสัมพนั ธข์ องมนุษย์หรือส่ิงทเี่ กดิ ขึน้
กบั มนษุ ย์ เพราะฉะนนั้ วฒั นธรรมในความหมายทเ่ี ปน็
ความสมั พนั ธข์ องมนษุ ยเ์ ขาจงึ เรยี กวา่ วฒั นธรรมมนี ยั ยะ
ทางความหมายตอ่ กลมุ่ ตอ่ ชวี ติ และสงั คมของมนษุ ย์
ดงั น้ัน เม่ือมองศลิ ปะในชีวติ และวฒั นธรรม ศลิ ปะจงึ
เปน็ เง่อื นไขหน่งึ ในชวี ิตและสังคมมนษุ ย์ ไมว่ า่ จะเปน็
อดีตหรอื ปัจจบุ นั เมอื่ เราอธิบายแบบนเี้ รากจ็ ะเห็นว่า
ตัวของสังคม ตัวของมนุษย์มีการอยู่แบบสถิตนิ่ง
หรอื มกี ารปรบั เปลย่ี นไปเรอื่ ยๆ มกี ารเปลยี่ นแปลงไป
อย่างต่อเน่ือง เปล่ียนแปลงไปตามบริบทของสังคม
โลก ของสงั คมชาติ ของสิง่ ทนี่ �ำ มาส่กู ารเปลยี่ นแปลง
แมแ้ ตเ่ ทคโนโลยกี ส็ ามารถเปลยี่ นแปลงระบบสงั คมได้
เชน่ สตฟี จอบส์ คดิ คน้ ไอโฟนกเ็ ปลยี่ นวฒั นธรรมในการ
สอื่ สาร วฒั นธรรมมที ง้ั ในเรอื่ งวฒั นธรรมทางความคดิ
วัฒนธรรมในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับการเดินทาง ต้อง
อาศัยส่ือ เทคโนโลยี สารสนเทศ เพราะฉะนั้น ส่ือ

18 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ตวั ของสงั คม ตวั ของมนษุ ยม์ กี ารอยแู่ บบสถิตนิง่ หรอื
มีการปรบั เปลี่ยนไปเรื่อยๆ มกี ารเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งตอ่ เนื่อง

เปลี่ยนแปลงไปตามบรบิ ทของสังคมโลก ของสังคมชาติ
ของสิง่ ทน่ี ำ�มาสกู่ ารเปล่ียนแปลง

กองส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 19

ส่ิงของ หรือการคมนาคม การศึกษา การ
เคล่ือนตัวของผู้คน ยิ่งมีความสลับซับซ้อน
ขนึ้ มากเทา่ ไหร่ วฒั นธรรมกย็ งิ่ มคี วามซบั ซอ้ น
มากขนึ้ เทา่ น้ัน
ศิลปะก็มีความซับซ้อนหรือมีความ
เชอ่ื มโยงกบั ตวั ของวฒั นธรรมทเ่ี ปลย่ี นไปอยา่ ง
ไม่หยุดน่ิง อย่างเร่ืองของศิลปะการแสดง
กไ็ มใ่ ชว่ า่ จะเปน็ การแสดงแบบดง้ั เดมิ ทง้ั หมด
ถา้ เราดใู นระดับพ้นื บ้าน เช่น คำ�ชะโนดเป็น
พ้ืนท่ีเล็กๆ ในระดับชุมชน ที่มีลักษณะ
พิเศษทางกายภาพ ก็มีคนในท้องถ่ินไปให้
ความหมาย วา่ เปน็ ทอ่ี ยู่ ทพ่ี �ำ นกั ทส่ี ถติ ของ
ศรสี ทุ โธนาคราช เรอ่ื งนน้ี า่ จะจบไปในระดบั
ของโฟลค์ แตต่ อ่ มาในกระแสของวกิ ฤตมนษุ ย์

20 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวจิ ัยและบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

โดยเฉพาะในประเทศไทย ท่ีขาดที่พ่ึงหรือสะท้อนการขาด
ท่ีมั่นในบางอย่าง เพราะฉะนั้น ศรีสุทโธนาคราชจึงถูกเรียก
ข้ึนมา สุดท้ายจึงเกิดกระแสของการเข้าไปท่องเที่ยวในพ้ืนท่ี
ดงั กล่าว เปน็ การท่องเท่ียวทางความเช่อื เกิดวัฒนธรรมและ
ศิลปะมากมาย อย่างศิลปะรูปพญานาค ศิลปะพานบายศรี
รปู นาค เกิดมากมาย คนท่ีเข้าไปท่คี ำ�ชะโนด แต่กอ่ นกจ็ ะมี
เฉพาะชาวบ้าน แต่ตอนนี้มีทั่วไป ซบั ซอ้ น เชน่ คนที่ไปดว้ ย
ความวิกฤตของชีวิต สามีมีเมียน้อย สามีมีกิ๊ก คนท่ีรองรับ
กจ็ ะอธบิ ายดว้ ยการบชู าดว้ ยนาคเจด็ หวั คนทต่ี อ้ งการทจี่ ะเปน็
นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล เดนิ ทางไปจากเชยี งใหม่ กต็ อ้ ง
บชู าดว้ ยพญานาคทม่ี คี วามเกรย้ี วกราด เพราะฉะนน้ั พญานาค
จงึ เปน็ ศลิ ปะทผ่ี กผนั ไปตามผคู้ นทเี่ ขา้ ไปหลากหลาย มคี วาม
สลับซับซ้อน ก็มีการประดิษฐิ์ศิลปะยุคใหม่ เช่น การฟ้อน
การฟอ้ นเพ่ือทจี่ ะบชู า การฟ้อนเพอื่ ท่จี ะบาบนหรอื การฟอ้ น
เพอื่ ทจ่ี ะแกบ้ น กจ็ ะเกดิ มคี วามสมั พนั ธก์ บั พนื้ ที่ ผคู้ นมากมาย
ไปเข้าคิวฟ้อน สิ่งนี้คือศิลปะในมิติของวัฒนธรรม แต่เป็น
วัฒนธรรมที่เพ่ิงเกิดข้ึน ลักษณะน้ีเขาเรียกว่า “วัฒนธรรม
กระแสนยิ มหรือสมยั นิยม”

กองสง่ เสริมการวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 21

ï เทคโนโลยกี ับการเปล่ียนแปลงทางสังคม

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี สง่ ผลตอ่ ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลง
ของสังคม ตัวศลิ ปะชนิดหน่งึ ทีเ่ ราจะเหน็ เช่น ในอดตี เรารับสอ่ื
จากชอ่ งสาม ชอ่ งเจด็ ทเี่ ขาสรา้ งภาพยนตร์ แลว้ เรากต็ อ้ งบรโิ ภค
แต่ทุกวันนี้เราก็รู้แล้วว่า สื่อ อย่างมือถือก็ตาม กล้องซึ่งราคา
ถกู มากเน่ีย เป็นทางออกให้กบั ผ้คู น สามารถทจี่ ะแสดงส่ิงท่ีเขา
ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นเพลง ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ ถ่ายแล้ว
นำ�เสนอท่ีไหน ไม่ต้องพึ่งช่องสาม เขาอัพโหลดลงไปไปใน
ระบบของอนิ เทอรเ์ น็ต ใน youtube บางวนั คนดเู ป็นล้านๆ คน
สิ่งเหล่านี้ทำ�ให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ เช่น เกิดวัฒนธรรมไทบ้าน
หนงั ลกู ศษิ ยอ์ าจารย์ นายตอ้ งเตกลายเปน็ ดาราขน้ึ มาชว่ั ขา้ มคนื
คนสร้างหนังไม่จำ�เป็นต้องบริษัทใหญ่นะครับ มีมือถือตัวเดียว
และก็มีพล็อตท่ีสามารถกวาดเอาผู้คนที่อยู่ในกลุ่มขึ้นมาได้
เช่น เพลงไสว่าสิบ่ถ่ิมกัน เพราะฉะนั้น เพลงพวกนี้
พอดงั ขนึ้ มา จะเหน็ วา่ ลกั ษณะภาพยนตร์ ลกั ษณะเพลง ลกั ษณะ
อะไรต่างๆ เกิดข้ึนตามมา ลักษณะนี้ยังไม่ตกผลึก อาจจะยัง
ไมใ่ ชบ่ รบิ ท แตเ่ ป็นกระแส เขาเรยี กวา่ “วัฒนธรรมกระแสสด”
กระแสวฒั นธรรมท่ีเรียกวา่ popular couture หรอื วฒั นธรรม
สมยั นยิ ม กเ็ หมอื นกบั เราบรโิ ภค การกระตนุ้ ใหช้ น่ื ชมวฒั นธรรม
เกาหลีท่มี าพร้อมกบั สินค้า

22 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ï สถาบันกับการเปลย่ี นแปลงทาง
วัฒนธรรม

วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงปรับเปลี่ยนเล่ือนไหล
แต่อย่างไรก็ตาม เราในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานที่เก่ียวกับ
วฒั นธรรม ศลิ ปะในมติ ขิ องวฒั นธรรมทจ่ี ะเปน็ เสาหลกั ในการ
ชที้ ิศทางอย่ดู ี เราไม่สามารถทีจ่ ะตา้ นความเปลยี่ นแปลงได้
และเราไมส่ ามารถทจี่ ะไปอยฝู่ ง่ั ตรงขา้ มของการเปลยี่ นแปลง
แตภ่ ายใต้การเปลีย่ น ไมว่ า่ จะเรือ่ งของสื่อ ไม่วา่ จะเป็นเร่อื ง
ของเทคโนโลยี ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งของอาเซยี นหรอื ภมู ภิ าคทเ่ี รา
ผสมปนเปกันอยู่ เราอาจจะพูดอยตู่ ง้ั สามถงึ สีภ่ าษา อยา่ ง
ที่อาจารย์มานง่ั มีลูกศิษยจ์ ากจีน จากพมา่ จากเวียดนาม
จากลาว มากองอยู่ด้วยกัน เราพูดด้วยเนื้อหาเดียวกัน
แตค่ วามหลากหลายทางภาษา วธิ คี ดิ มนั กม็ คี วามแตกตา่ งกนั
เพราะฉะนั้น เราจะหาจุดท่ีเป็นหน่ึงเดียวตายตัวไม่ได้ ใน
บรบิ ทใหมเ่ ราจะไปแสวงหาศลิ ปะทเี่ ปน็ รปู แบบทเ่ี ปน็ ของแท้
บริสุทธิ์ผุดผ่องไม่ได้ แต่ลักษณะของศิลปะ ลักษณะของ
วัฒนธรรมสมัยนี้ มันจะดำ�รงอยู่ในลักษณะลูกผสม หรือ

กองส่งเสริมการวิจยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 23

Highbridge life station ภายใต้ความเป็นลกู ผสมดังกล่าว
นีแ่ หละ คือ ส่งิ ทก่ี ำ�ลังดำ�รงอย่ใู นสังคม วัฒนธรรม และใน
การให้ทุนสนับสนุนการวิจัย หรือการมองในมิติการพัฒนา
วฒั นธรรมดงั กลา่ ว เราจะหยบิ สง่ิ ใดมาผสมกนั ใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สดุ มนั จะไมเ่ หมอื นเดมิ ซะทเี ดยี ว อยา่ งเชน่ เราจะสง่ เสรมิ

ประเพณบี ญุ บงั้ ไฟ กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่
มนั จะตอ้ งบญุ บง้ั ไฟแบบโบราณ มนั อาจ
จะเป็นบุญบ้ังไฟอีกชุดหน่ึงที่สามารถ
เชอ่ื มโยงกบั ระบบของการถา่ ยท�ำ อาจจะ
จดั บุญบ้ังไฟอยู่เพียงชุมชนเล็กๆ แต่เรา
ใชส้ ่ือทด่ี ี เป็นระบบ บุญบัง้ ไฟดงั กลา่ วก็
จะเปน็ ภาพตวั แทนทางศลิ ปะทีส่ ามารถ
ท่ีจะส่งไปยังโลกภายนอกและได้สร้าง
ภาพลักษณข์ น้ึ มา เพราะฉะนั้น ในการ
ท�ำ บญุ ในการจดั งานศลิ ปะ งานวฒั นธรรม
ต่างๆ มันไม่ใช่จบอยู่แค่เวลาที่เราจัด
แตม่ นั สามารถทจ่ี ะทะลทุ ะลวงหรอื ไรข้ ดี
ของเวลา ดว้ ยสอ่ื ของระบบของอนิ เทอรเ์ นต็
หรอื ระบบของอนิ ฟอรเ์ มชนั เพราะฉะนนั้
เราจะต้องคิดในการรวมเอาศลิ ปะในมิติ
ของวฒั นธรรมใหม่

ในการทำ�บุญ ในการจดั งานศิลปะ งานวฒั นธรรมต่างๆ
มันไม่ใช่จบอยแู่ คเ่ วลาท่ีเราจดั แต่มนั สามารถที่จะทะลทุ ะลวง
หรอื ไร้ขดี ของเวลา ดว้ ยสอื่ ของระบบของอินเทอรเ์ นต็
หรอื ระบบของอินฟอรเ์ มชนั

24 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ï สอ่ื สมัยใหม่ในวฒั นธรรม

วฒั นธรรมคอื ความส�ำ คญั ของมนษุ ย์ เปน็ ผลผลติ
จากความสัมพันธ์และความเจริญก้าวหน้าด้าน
ต่างๆ ของมนุษย์ เมอื่ มนษุ ย์สามารถท่ีจะสร้าง
เทคโนโลยีหรือส่ิงใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในสังคม
วัฒนธรรมก็ย่อมจะเปลี่ยน เช่น การคิดไฟฟ้า
การคิดไอโฟน ทำ�ให้โทรศัพท์ดั้งเดิมสูญหายไป
เพราะฉะนน้ั ในเรอื่ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โลกในปจั จบุ นั
โลกที่วางอยู่บนกระแสของโลกเสมือนจริง
เป็นโลกของความเป็นจริงท่ีซ้อนกันอยู่กับ
โลกเสมือนจริง โลกเสมือนจริงที่มันเต็มไป
ด้วยระบบอินเทอร์เน็ต ระบบเทคโนโลยี
อนิ ฟอรเ์ มชนั ท�ำ งานของมนั อยตู่ ลอดเวลาเหมอื น
กัน เพราะฉะนั้น ในการใช้สื่อหรือการทำ�งาน
ด้านศิลปวัฒนธรรม เราจะขาดในเร่ืองของการ
พิจารณาการใช้สื่อไม่ได้เป็นอันขาด เพราะการ
ใชส้ ื่อ การเกบ็ ภาพ มันไม่ใช่เปน็ เรือ่ งของความ
เปน็ จรงิ ทง้ั หมด แตเ่ มอื่ เราถา่ ย เมอื่ เราเลอื กภาพ

กองสง่ เสริมการวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 25

จะเห็นว่า เม่ือเราถ่ายทำ�หรือถ่ายรูป เราจะ
มกี ารคัดออก เราจะมีการเลอื กเขา้ เพอ่ื ท่ีจะ
นำ�เสนออย่างไร เพราะฉะน้ัน มันเป็นเรื่อง
ของการสรา้ งภาพลกั ษณจ์ ากภาพตวั แทนทเี่ รา
ถ่ายท�ำ คัดออก เลือกเขา้ คัดเอาสิ่งท่ีดที ีส่ ดุ
มา ส่งออกไปเกาะไว้ในระบบของโลกมีเดีย
โซเชยี ล ท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ภาพตวั แทน เพอ่ื ทจี่ ะท�ำ
ให้เกิดส่ิงต่างๆ ติดตามมายังมหาวิทยาลัย
หรือในท้องถิ่นตามท่ีเราต้องการได้อย่างไร
เพราะฉะน้ัน สื่อมีความสำ�คัญมาก เป็น
ผู้กำ�หนดในระดับหนึ่งทีเดียว ท่ีจะทำ�ให้
วฒั นธรรมหรอื ศลิ ปะการแสดงใดๆ แมจ้ ะเปน็
ศลิ ปะของทอ้ งถนิ่ มนั กจ็ ะกลายเปน็ ศลิ ปะของ
ชุมชนในจินตนาการใหญ่ๆ เพลงบางเพลง
เชน่ เพลงไสวา่ สบิ ท่ ม่ิ กนั ถกู รอ้ งเพยี งคนื เดยี ว
แต่แพรอ่ อกไปสัปดาห์หนง่ึ เปน็ ลา้ นๆ ววิ มนั
แพรไ่ ปไดอ้ ยา่ งไร เปน็ เร่ืองของการใชโ้ ซเชยี ล
มีเดยี เขา้ มาเกย่ี ว โซเชยี ลมเี ดียมพี ลังอำ�นาจ
ในตวั มนั คอื สว่ นหนงึ่ ของศลิ ปะ สว่ นหนงึ่ ของ
วัฒนธรรม มันเป็นศิลปะของโซเชียลมีเดียที่

26 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ซ้อนอยู่ในศิลปะและวัฒนธรรม เพราะฉะน้ัน
ในทางมนุษยวิทยาหรือทางวัฒนธรรมเนี่ย ใน
ชดุ ใหม่ เขาจงึ อธบิ ายวา่ พธิ กี รรมหรอื ศลิ ปวฒั นธรรม
แตก่ อ่ นเวลาเขาจะจดั พธิ กี รรม ดอกไม้ ธปู เทยี น
เครอ่ื งบชู าครบ หมอสตู รมาพรอ้ มกจ็ ดั แตท่ กุ วนั นี้
เราสงั เกตไหมวา่ แมว้ า่ เราจะจดั งาน จรงิ ๆ นผี่ นู้ �ำ
ในระดับคณบดฯี พรอ้ ม ถา้ กล้องยังไมพ่ รอ้ ม ท�ำ
ไมไ่ ด้ ใชไ่ หมครบั มอื กลอ้ งยงั ไมพ่ รอ้ ม มอื โสตทศั น์
ยงั ไมม่ า ท�ำ ไมไ่ ด้ เพราะฉะนนั้ มอื กลอ้ ง โสตทศั น์
ต่างๆ ก็เป็นส่วนหน่ึงของพธิ กี รรม เปน็ ส่วนหนงึ่
ของปฏิบัติการทางพิธีกรรม และก็พิธีกรรม
ดงั กลา่ วกไ็ มใ่ ชเ่ รอ่ื งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
เท่านั้น แต่กลายเป็นฉากที่จะบอกว่า ตัวตน
ของเราคอื อะไร คนอืน่ คืออะไร ทำ�ไมเราถึงตอ้ ง
น�ำ เสนออะไรแบบน้ี เพราะฉะนน้ั ส่อื ที่เป็นเรือ่ ง

กองสง่ เสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 27

ท่ีทันสมัยสุดๆ กับตัวของพิธีกรรมท่ีเป็นเรื่อง
ทส่ี ืบทอดมาจากอดีต ทำ�งานรว่ มกันในบรบิ ท
ใหม่ ไมถ่ กู แยกออกจากกัน เพราะฉะนน้ั เรา
จะท�ำ โครงการใดๆ เราจะตอ้ งท�ำ ใหผ้ สมผสาน
กนั ใหไ้ ด้ หรอื วางเป้าหมายใหช้ ดั ว่าแกนหลกั
ของเราจะเอาอะไร แกนร่วมจะเอาอะไร จะ
ส่งสารนอ้ี ย่างไร

28 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 29

30 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ผา้ ลายมัดหม่ีของดีประจำ�อำ�เภอ จังหวัดมหาสารคาม

โครงการคดั สรรผา้ ลายมัดหมี่ ของดีประจำ�อำ�เภอ: หนึง่ คณะหนึง่ ศลิ ปะวฒั นธรรม ๒๕๕๙

มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 31

32 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

กองบรรณาธกิ าร ป‘ปรฐะมจน�ำ ิเปที ศ๒’๕โ๖ค๐รงการทำ�นบุ �ำ รุงศลิ ปวฒั นธรรม

กองสง่ เสริมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ มมส

เดือนมีนาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมศูนย์ความ
เป็นเลิศทางนวัตกรรมไหม ชั้น ๑ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ
ไดจ้ ดั ปฐมนเิ ทศโครงการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมประจ�ำ
ปี ๒๕๖๐ โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก รศ.ดร.ประยกุ ต์ ศรวี ไิ ล
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยแผนและกจิ การพเิ ศษ เปน็ ตวั แทน
กล่าวต้อนผู้เข้าร่วมปฐมนิเทศและปาฐกถาพิเศษ
ว่าด้วย “บทบาทและภารกิจของมหาวิทยาลัย
มหาสารคามกบั การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม” กอ่ น
จะเป็นการช้ีแจงแนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณ
โครงการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ประจ�ำ ปงี บประมาณ

๒๕๖๐ โดยนางฉวีวรรณ
อรรคะเศรษฐัง ผู้อำ�นวยการ
กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ าร
วิชาการ พร้อมทั้งเปิดเวที
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ตอบขอ้ ซกั ถาม
เกี่ยวกับโครงการ รวมถึง
ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วม
เกี่ยวกับการพัฒนาพันธกิจ
ท�ำ นุบ�ำ รุงศลิ ปวฒั นธรรม

34 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 35

36 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

กองบรรณาธิการ มูนมังบ้งั ไฟสนิ ถ่ินขามเรยี ง ครง้ั ที่ ๒

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ชุมชนบ้านขามเรียง หมู่ ๒๐ ตำ�บลขามเรียง
อ�ำ เภอกนั ทรวชิ ยั จงั หวดั มหาสารคาม อาจารยว์ า่ ที่
ร้อยตรี ดร.เกิดศิริ นกน้อย ในฐานะผู้รับผิดชอบ
โครงการบอกเลา่ ถงึ ประเพณดี งั กลา่ ววา่ เปน็ ประเพณี
ทช่ี าวบา้ นสบื ทอดกนั มานาน และเพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ
และสนับสนุนนโยบายการขับเคล่ือนงานด้านทำ�นุ
บ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมของมหาวทิ ยาลยั เพอื่ สรา้ งความ
เข้มแข็งด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู เผยแพร่วัฒนธรรม
และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ จงึ ไดจ้ ดั โครงการดงั กลา่ วขน้ึ
ทง้ั นี้ ไดเ้ ชญิ วทิ ยากรผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการท�ำ บง้ั ไฟสนิ
มาบรรยายในหัวข้อ “กระบวนการสับลายดอก

กระดาษ” ท้ังนี้ เพื่อให้นิสิตและชุมชน
ไดเ้ รยี นรใู้ นกระบวนการสบั ลายดอกกระดาษ
ก่อนจะมาเป็นขั้นตอนการปิดกระดาษ
บนตัวบั้งไฟ และกิจกรรมการซ้อมรำ�
ในขบวนแห่บญุ บ้ังไฟ

38 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวจิ ยั และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 39

40 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

กองบรรณาธกิ าร ผา้ ไหมมัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

คณะกรรมการโครงการ ‘หน่ึงคณะหนึ่งศิลป-
วัฒนธรรม’ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำ�
โดย ผศ.สมชาย นลิ อาธิ คณะกรรมการโครงการฯ
ผู้เช่ียวชาญ นักวิชาการอาวุโส และนางฉวีวรรณ
อรรคะเศรษฐงั คณะกรรมการโครงการฯ ผอู้ �ำ นวยการ
กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ พรอ้ มคณะ
ทำ�งานโครงการ ‘หนึ่งคณะหน่ึงศิลปวัฒนธรรม’
ได้ลงพ้ืนท่ีร่วมสังเกตการณ์ การจัดประชาพิจารณ์
เกณฑ์มาตรฐานผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก
จังหวดั มหาสารคาม อันเป็นส่วนหนง่ึ ของโครงการ
สร้างมาตรฐานผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก

จังหวัดมหาสารคาม ภายใต้โครงการ
ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม (แบบมุ่งเป้า)
ณ บ้านหนองบัว หมู่ท่ี ๒ ตำ�บลกุดรัง
อ�ำ เภอกดุ รงั จงั หวดั มหาสารคาม ภายในงาน
มีกิจกรรมดังนี้ การกล่าวถึงท่ีมาที่ไป
ของโครงการและการประชาพิจารณ์
เบือ้ งตน้ โดยการแแบ่งกลุ่มตัง้ ค�ำ ถามกับ
ชุมชนว่า “ผ้าไหมมัดหม่ีลายสร้อยดอก
หมากทด่ี ี ราคาแพง พจิ ารณาจากสง่ิ ใด?”
โดย ผศ.ดร.ศักด์ชิ าย สิกขา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
โครงการ กอ่ นจะใหช้ าวบา้ นออกมานำ�เสนอ
ถงึ สง่ิ ทตี่ นเองและกลมุ่ ไดร้ ว่ มกนั พจิ ารณา
ร่วมกันถึงคุณภาพของผ้าไหมมัดหม่ี
ลายสร้อยดอกหมาก ก่อนจะแจกเกณฑ์
มาตรฐานการประเมินผ้าไหมมัดหม่ีลาย
สรอ้ ยดอกหมาก ทผ่ี า่ นการใหค้ ะแนนโดย
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผเู้ ชย่ี วชาญ และตวั แทนผผู้ ลติ
เพ่ือสร้างความเข้าใจแก่ชุมชนในการ
พจิ ารณาผา้ ไหมมดั หมขี่ องตนเองและทาง
กลุ่มฯ ท้ังน้ี เพื่อให้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน
ทจี่ ะน�ำ ไปสกู่ ารก�ำ หนดคณุ ภาพของผา้ ไหม
มดั หม่ี เพอ่ื ใหผ้ า้ ไหมมดั หม่ีของชุมชนได้
รับมาตรฐาน อันเป็นการเพิ่มมูลค่าและ
คุณคา่ ของผ้าไหมมดั หมตี่ ่อไป
จากการสอบถามนสิ ติ ปรญิ ญาโท
สาขาการวจิ ยั ทางศลิ ปกรรมศาสตร์ คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ ท่ีมาช่วยงานโครงการ
ถึงที่ไปท่ีมาและบทบาทหน้าท่ี ด้าน
นางสาวจรรยาภรณ์ กติ ตกิ ลู ครุ านนท์ และ
นางสาวสุดารัตน์ อาฒยะพันธ์ุ ทั้งสอง
เล่าให้ฟังว่า ตนและเพื่อนๆ ได้มาช่วย

42 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวิจัยและบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ลงพ้ืนที่โดยการแบ่งกลุ่มเพื่อ
สัมภาษณ์และสอบถามถึงท่ีมาที่ไปของ
ผ้าไหมมัดหม่ี ลายสร้อยดอกหมากใน
จังหวัดมหาสารคาม โดยตนได้เลือก
ลงพนื้ ที่ อ�ำ เภอเชยี งยนื อ�ำ เภอกนั ทรวชิ ยั
อำ�เภอโกสุมพิสัย อำ�เภอวาปปี ทมุ ฯลฯ
ทั้งนี้ เพ่ือสร้างความเข้าใจและรับรู้ถึง
ลักษณะของลายสร้อยดอกหมากเพ่ือท่ี
จะได้เอามาสรุปร่วมกัน เพ่ือสร้างเป็น
เกณฑ์มาตรฐานต่อไป โดยท้ังสองต่าง
พูดเปน็ เสียงเดียวกันว่า การจัดโครงการ
ดังกล่าวถือเป็นการเปิดเวทีให้ชุมชน
ชาวบา้ น ผปู้ ระกอบการดา้ นผา้ ไหมมดั หมี่
ได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
เพ่ือที่จะกำ�หนดเกณฑ์มาตรฐานในการ
สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผ้าไหมมัดหมี่ลาย
สรอ้ ยดอกหมากของจงั หวดั มหาสารคาม
อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำ�นึกของการ
ทำ�นุบำ�รุงมรดกทางภูมิปัญญา อันเป็น
คณุ คา่ ทม่ี อิ าจประเมินเป็นราคาได้
หลงั จากชาวบา้ นไดร้ ว่ มกนั สรา้ ง
เกณฑม์ าตรฐานโดยการพจิ าณาตามเกณฑ์
ทก่ี �ำ หนดโดยผเู้ ชย่ี วชาญ ๔ สว่ นใหญ่ คอื
๑. การพิจาณณาด้านวัสดุ
การผลติ
๒. การพจิ าณณาดา้ นการผลติ
๓. การพจิ าณณาด้านคณุ ภาพ
๔. การพจิ าณณาด้านคณุ คา่

กองส่งเสรมิ การวิจยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 43

ทั้งน้ี เพ่อื ก�ำ หนดเปน็ บรรทดั ฐานการรบั รู้รว่ มกัน ตอ่ การพจิ าณา
ผา้ ไหมมัดหมล่ี ายสร้อยดอกหมากของจงั หวัดมหาสารคามต่อไป
ก่อนท่ีนางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง คณะกรรมการโครงการฯ
ผู้อำ�นวยการกองส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ จะบอกกล่าวถึง
ทมี่ าทไ่ี ปของโครงการทเี่ กดิ ขน้ึ และแนวนโยบายการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
ผา่ นโครงการ ‘หนงึ่ คณะหนงึ่ ศลิ ปวฒั นธรรม’ ของมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ที่เล็งเห็นความสำ�คัญของการพัฒนาชุมชน และการส่งเสริมสนับสนุนด้าน
ศลิ ปวฒั นธรรม ทเี่ สมอื นเปน็ มรดกอนั ล�้ำ คา่ ทค่ี วรแกก่ ารอนรุ กั ษร์ กั ษาสบื ทอดไว้
ใหล้ กู หลานได้ตระหนกั ในคณุ ค่าให้มคี วามย่งั ยนื ตลอดไป

44 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

กองบรรณาธกิ าร จากไขเป็นเทียนพรรษา
สืบศรัทธาวทิ ยาศาสตร์สู่ชุมชน

คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ณหอ้ ง sc-๓๐๓ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
มหาสารคาม ได้จัดกิจกรรมอบรมเชิง
ปฏิบัติการ “การเล้ียงผ้ึงเชิงการค้า” ซึ่งเป็นหนึ่ง
ในกิจกรรมโครงการ “จากไขเป็นเทียนพรรษา
สบื ศรทั ธาวทิ ยาศาสตรส์ ชู่ มุ ชน” หนงึ่ ในชดุ โครงการ
หนงึ่ คณะหนงึ่ ศลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐
เม่ือเวลา ๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. หอ้ งประชุม
ภาควชิ าชวี วทิ ยา อาคารวทิ ยาศาสตร์ คณาจารยแ์ ละ
นิสติ กวา่ ๓๐ คน ไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม

กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 45

การบรรยาย เร่ือง
“ชีววิทยาของผึ้ง” โดยผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.ปิยมาศ
นานอก โสภาลดาวัลย์ ซง่ึ เป็น
การเรียนการสอนในสาขาวิชา
ของนิสติ ช้ันปที ่ี ๓
การบรรยาย เรื่อง
“การเลี้ยงผึ้ง (ตลาด โอกาส
และการเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ
ผเู้ ลย้ี งผงึ้ ) โดยอาจารยอ์ าทติ ย์
วงศ์นำ้�คำ� และอาจารย์วนิดา
วงศน์ �้ำ ค�ำ สองวทิ ยากรเจา้ ของ
ณัฐดนัยฟาร์มผ้ึง อ.ปทุมรัตน์
จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
มกี ารสาธติ การเลย้ี งผงึ้
ดว้ ยอปุ กรณก์ ารเลยี้ งผงึ้ จากฟารม์
ใหน้ สิ ติ และคณาจารยไ์ ดศ้ กึ ษา
รวมถึงการนำ�ชมรังผึ้งเล้ียง
การสังเกตลักษณะของผ้ึง
ท้ังผึ้งงาน ผึ้งตัวผู้ และผ้ึง
นางพญา
กจิ กรรมดงั กลา่ ว เปน็
ส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน
ของสาขาวชิ าชวี วทิ ยา ซงึ่ เรยี นรู้
เรื่องราวของผึ้ง และผลผลิต
ส่วนหน่ึง นั่นคือ ไขผ้ึง ท่ีจะ
นำ�มาหลอมเป็นเทียนพรรษา
ถวายในวันเข้าพรรษา ซึ่งเป็น
กิจกรรมสำ�คัญอีกกิจกรรมใน
การขับเคล่ือนโครงการ

46 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 47

48 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

กองบรรณาธกิ าร “เชนิดกั ชสเู กงิ่ แยี วรดตลิ อ้ มท้องถ่นิ ดีเดน่ ” ครงั้ ที่ ๓

คณะส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรศาสตร์ มมส

เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการโครงการ
หน่ึงคณะหน่ึงศิลปวัฒนธรรม ได้ร่วมงานพิธี
มอบโล่เชิดชูเกียรติ “นักสิ่งแวดล้อมท้องถ่ินดีเด่น”
ครงั้ ที่ ๓ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๐ ณ ศูนย์วจิ ยั และฝกึ อบรม
ส่ิงแวดล้อมศึกษา คณะส่ิงแวดล้อมและทรัพยากร
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ทั้งน้ี โครงการดังกล่าวได้รับเกียรติจาก
รองศาสตราจารย์ ดร.ประยกุ ต์ ศรวี ไิ ล รองอธกิ ารบดี
ฝ่ายแผนและกิจการพิเศษ ร่วมเป็นประธานในพิธี
พร้อมท้ังกล่าวถึง การพัฒนาส่งเสริมให้ประชาชน
เห็นคุณค่าและร่วมมือกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมน้ัน
และการยกยอ่ งบคุ คลตวั อยา่ งทอ่ี นรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม
ในทอ้ งถน่ิ ตน เพอื่ เปน็ การเผยแพรก่ จิ กรรมทมี่ สี ว่ นชว่ ย
ในการอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม และท�ำ ประโยชนแ์ กส่ งั คม

เกดิ ความตระหนกั และมคี วามรู้
ความเข้าใจในการอนุรักษ์
สงิ่ แวดล้อมต่อไปในอนาคต
ดา้ น ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
ดร.ประยูร วงศจ์ ันทรา ประธาน
มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาและ
อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาสงิ่ แวดลอ้ ม
ศกึ ษา ในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
กลา่ วถงึ ทไี่ ปทมี่ าของโครงการและ
การจดั โครงการดงั กลา่ ววา่ เกดิ จาก
การอยากสร้างขวญั และกำ�ลงั ใจ
ใ ห้ แ ก่ บุ ค ค ล ท่ี ทำ � ง า น ด้ า น
ส่ิงแวดล้อมศึกษา โดยเฉพาะ
บุคคลท่ียอมเสียสละตนเองเพ่ือ
ส่วนรวม โดยท่ีมิได้คาดหวังว่า
จะได้รับผลตอบแทนใดใด อนึ่ง
การจดั โครงการดงั กลา่ วจงึ เสมอื น
เป็นการตอบแทนบุญคุณแก่
ผืนแผ่นดินไทย ท่ีได้ให้ท่ีอยู่
ท่ีกิน ความอุดมสมบูรณ์ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ อาจกล่าว
ได้ว่าเป้าประสงค์ของโครงการ
ดงั กลา่ ว เพอ่ื เปน็ การหวา่ นเมลด็
พันธุ์ท่ีมีคุณค่าสู่ผืนแผ่นดินไทย
เพ่ือให้เมล็ดพันธ์ุดังกล่าวได้
ออกลูกออกหลาน และสบื ทอด
ขยายเผ่าพันธุ์แห่งการอนุรักษ์
สงิ่ แวดลอ้ มใหย้ ง่ั ยนื นานตลอดไป

50 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


Click to View FlipBook Version